Halal Life Magazine issue 16

Page 1

ครอบคลุมชีวิต วิถีฮาลาล

FREE/แจกฟรี

ปีที่ 2 ฉบับที่ 16 มกราคม 2555

THE POWER OF

TEAMWORK


อัลกุรอานปากกา 3,500 บาท พิเศษสำหรับสมาชิกซื้อไดในราคา 3,000 บาท อัลกุรอานตัจวีดแทบสี เลมเล็ก, เลมใหญ

เลมเล็ก 500 บาท / เลมใหญ 800 บาท

เสื้อ ยาตีม

เสื้อเด็ก 200 บาท / ผูใหญ 300 บาท

สินคาที่ระลึก ปากกา, เข็มกลัด, แกวยาตีม

สินคาพรีเมียมหลากหลายรูปแบบจากยาตีมทีวี รายไดสนับสนุนการทำยาตีมทีวี

ฮับบะตุซเซาดาอฺ

1 กระปุก 380 บาท / 3 กระปุก 1,000 บาท (ไมคิดคาจัดสง)

คาราพลัส

1 กลอง 690 บาท คาราพลัส 1 ชุด ซื้อ 4 แถม 1 ราคา 2,760 บาท

WANG YEN PAO (หวาง เหวียน เปา)

1 กลอง 3,100 บาท (รวมคาจัดสงแลว)

Sun brand (เครื่องดื่มชนิดผงแหง ตรา ซันน) 1 กลอง 750 บาท

SUN HERB (สบูซัน เฮิรบ) 1 กอน 150 บาท

Z NOR (ซีนอร)

1 กลอง 590 บาท (รวมคาจัดสง), 4 กลอง 2,000 บาท (คิดคาจัดสง 100 บาท)



Editor’s note พรรคพวกเพื่อนฝูงหรือแม้แต่ผู้หลักผู้ใหญ่ ที่เคารพนับถือสอบถามกันมาหลายท่าน ถึงสิ่ง ที่เขียนในบทบรรณาธิการฉบับที่แล้ว ว่าด้วย เรือ่ งของธุรกิจเพือ่ สังคม แล้วได้ทงิ้ ท้ายเอาไว้วา่ ธุรกิจเพือ่ สังคมเป็นธุรกิจทีเ่ หมาะกับมุสลิมมาก ที่สุด หลายคนบอกว่าอยากให้ช่วยยกตัวอย่าง ให้เห็นชัดเจนขึ้นอีกหน่อย ว่าท�ำไมผมถึงบอก เช่นนั้น ฉบับนี้เลยขอน�ำเสนอองค์กรมุสลิมในเมือง ไทย ที่น�ำรูปแบบของธุรกิจเพื่อสังคมมาปรับใช้ กับการหาทุนเพือ่ หล่อเลีย้ งการท�ำงานช่วยเหลือ สั ง คมจนประสบความส� ำ เร็ จ นั่ น คื อ มู ล นิ ธิ ศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า ใน คอลัมน์หลักของเล่มอย่าง Main Halal มูลนิธิศรัทธาชนฯ นั้นเป็นองค์กรที่ด�ำเนิน งานด้านการช่วยเหลือสงเคราะห์เด็กก�ำพร้าและ ผู้ยากไร้ ผ่านโครงการต่างๆมากมาย และเป็น องค์กรมุสลิมทีโ่ ดดเด่นมากในแง่ของการท�ำงาน อย่างจริงจังและต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีความ โดดเด่ น ในแง่ ข องที ม งาน และความคิ ด สร้างสรรค์ในการระดมทุนเพื่อน�ำมาต่อยอด และขยายการช่วยเหลือเด็กก�ำพร้าและผูย้ ากไร้ จนท� ำ ให้ ก ลายเป็ น องค์ กรมุสลิม ที่เติบ โตขึ้น อย่างต่อเนื่องตลอด 15 ปีที่ผ่านมาของการ ท�ำงาน ในอดีต มูลนิธิศรัทธาชนฯ ก็ไม่ต่างจาก องค์กรมุสลิมอืน่ ๆ ในเมืองไทย ทีใ่ ช้วธิ กี ารระดม ทุนส�ำหรับใช้จ่ายในกิจการขององค์กรด้วยการ

จัดงานประจ�ำปีและขอรับบริจาค แต่สองสามปี หลังมานี้ มูลนิธิศรัทธาชนฯ ก็สร้างความแปลก ใหม่ให้กบั สังคม ด้วยการจัดท�ำโครงการก่อสร้าง อพาร์ตเมนต์เพือ่ น�ำรายได้มาใช้สำ� หรับเลีย้ งเด็ก ก�ำพร้าที่มูลนิธิศรัทธาชนฯดูแล แทนทีจ่ ะขอรับบริจาคกันตลอดเวลา มูลนิธิ ศรัทธาชนฯเลือกใช้วิธีการระดมทุนเพียงครั้ง เดียวเพือ่ เป็นทุนส�ำหรับการก่อสร้างอาคาร จาก นัน้ เมือ่ อาคารเปิดให้บริการก็จะมีรายได้เกิดขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยที่ไม่ต้องไปพะวงกับยอด บริจาคเพียงอย่างเดียวเหมือนเช่นแต่ก่อน “อยูแ่ ล้วได้บญ ุ ” จุดขายของศรัทธาการ์เด้น เพลส อพาร์ตเมนต์ทเี่ กิดจากแรงศรัทธาของผูม้ ี จิตศรัทธาที่ร่วมกันบริจาค ตั้งแต่ที่ดินจนไปถึง ค่าใช้จา่ ยการก่อสร้าง ถึงแม้การท�ำอพาร์ตเมนต์ จะไม่ได้เป็นธุรกิจที่สลับซับซ้อนหรือมีรายได้ มากมาย แต่คณะกรรมการมูลนิธฯิ ก็บอกกับเรา ว่า มันปลอดภัยและมั่นคง นอกจากนั้นมูลนิธิศรัทธาชนฯ ยังได้เปิดตัว สถานีโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมในชือ่ YATEEM TV เพือ่ เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์และส่งต่อ ความช่วยเหลือเด็กก�ำพร้าและผูย้ ากไร้ให้ขยาย วงออกไป มูลนิธิศรัทธาชนฯจะท�ำหน้าที่เป็น เหมือนสะพานทีจ่ ะเชือ่ มโยงคนมือบนกับคนมือ ล่างให้ได้พบกัน นอกจากนี้ YATEEM TV ยังเป็น ธุรกิจที่สองของมูลนิธิศรัทธาชนฯ ที่มุ่งหวังจะ สร้างความยัง่ ยืนและเติบโตให้กบั การช่วยเหลือ เด็กก�ำพร้าและผู้ยากไร้

การน�ำแนวคิดการท�ำธุรกิจเพื่อสังคมมา ปรับใช้กับองค์กรของมูลนิธิศรัทธาชนฯ ถึงแม้ จะเป็นเพียงโมเดลธุรกิจขนาดเล็กและไม่ซับ ซ้อนมาก แต่ก็แสดงให้เราได้เห็นถึงความยั่งยืน ของการท�ำงานช่วยเหลือสังคมที่มีมากกว่าการ ขอรับบริจาคอย่างชัดเจน ส่วนใครที่สนใจแนวคิดการท�ำธุรกิจเพื่อหา ทุนมาหล่อเลีย้ งกิจกรรมและการดูแลช่วยเหลือ เด็กก�ำพร้าของมูลนิธิศรัทธาชนฯ สามารถพลิก อ่านได้ในเล่มเลยครับ ไม่แน่คุณอาจเป็นอีกคน หนึง่ ทีล่ กุ ขึน้ มาดูแลสังคมของเราด้วยกับธุรกิจที่ คุณมีอยู่ก็เป็นได้ วิทยากร อิสมาแอล บรรณาธิการบริหาร hala.life.mag@gmail.com

ภาพปกโดย คอลิด เยนา 086-344-0291

Halal Life Magazine: บรรณาธิการบริหาร วิทยากร อิสมาแอล กองบรรณาธิการ ธนพัฒน์ อิสมาแอล, กอมารียะห์ สุเรรัตน์ คอลัมนิสต์ สุภาพ เรืองปราชญ์, สมคิด ลีวนั , อีซา นิยม, สมชาติ มิตรอารีย,์ สุทศิ า เหมเสริม, ปรีชา เริงสมุทร์, อาฎิล ศิรพ ิ ธั นะ, อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม, Ummah Islam, M.Fahmee ศิลปกรรม พรพรรษา โก้กระโทก, อรดา โต๊ะมางี ผู้จัดการ วิลาสินี กันซัน ผู้จัดการฝ่ายการตลาด สิทธิศักดิ์ วงค์เกษร ฝ่ายโฆษณา สาโรช เรืองปราชญ์ ติดต่อโฆษณา 086-890-6055 สมาชิกติดต่อ อัสมา กันซัน 086-890-6055 ที่ปรึกษาฝ่ายการตลาด กฤษดา เรสลี Website: www.halallifemag.com Email: hala.life.mag@gmail.com Facebook: facebook.com/halal.life.magazine เจ้าของ บริษัท ปลูกฝัน จ�ำกัด เลขที่ 336/18 ซ.ราษฎร์อุทิศ 52 แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กทม. 10510

9

26

14 ประโยคที่ว่า รวมกันไม่ใช่แขก คงใช้ไม่ ได้ส�ำหรับมูลนิธิศรัทธาชนฯ ที่ก่อก�ำเนิด และเติบโตมาจากการร่วมแรงร่วมใจกันของ หลากหลายผู้คนที่มีเป้าหมายร่วมกันคือ การช่วยเหลือสังคม

คอลั ม น์ ใ หม่ จ ากหนุ ่ ม นั ก ศึ ก ษาแพทย์ อารมณ์ดจี ากแดนใต้ ความคิดความอ่านของเขา สนุกและเป็นผู้ใหญ่เกินตัว จนเราอดใจไม่ไหวที่ จะเชิญมาเป็นนักเขียนประจ�ำของ Halal Life 4

อีกหนึ่งคอลัมน์ใหม่ที่ส่งตรงมาจากดิน แดนชมพูทวีป ดินแดนที่เต็มไปด้วยเรื่องราว และมนต์เสน่หท์ หี่ ลากหลาย เราเลยชวนเขามา ร่วมถ่ายทอดเรื่องราวที่พบเจอเป็นตัวหนังสือ ให้เราได้เสพกันอย่างหน�ำอุรา


หยิบ

ได้ที่นี่

ร้านอาหารและเครื่องดื่ม

ห้องอาหารโซเฟีย(คลองตัน) ร้านอาหารฟาฮาน่า(พระรามเก้า) สวนอาหารจันทร์เสี้ยว(มอเตอร์เวย์) ภัตตาคารสินธรสเต็กเฮ้าส์(รามค�ำแหง) ร้านริสกี(ทาวน์อินทาวน์) โคบัง(รามค�ำแหง-สุขาฯ 3) Sti Coffee @ The Nine (พระรามเก้า) Istanbul @ Market Walk (ราชพฤกษ์) ร้านอาหารอีสานฝั่งธน(อรุณอัมรินทร์) ห้องอาหารนางพญา(พญาไท) @112 Coffee House (ลาดพร้าว 112) เมี่ยงปลาเผาหลังราม สาขาพระรามเก้า ร้านฮาลาลโฮม ซ.เทคโนบางกะปิ (บางกะปิ) แบ๊คยาร์ดคอฟฟี่ (ถ.สุโขทัย) ร้านฟารีดาโภชนา (เหม่งจ๋าย) ร้านดีโอโรตีโอ่ง (สุขาภิบาล 3) อะลาดิน ซูชิ (เหม่งจ๋าย)

ร้านหนังสือ

แบบฟอร์มสมัครสมาชิก นิตยสารฮาลาลไลฟ์

หมดปัญหา หยิบไม่ทัน หาไม่เจอ

สมั ค รสมาชิ ก แน่นอนกว่า

ศูนย์หนังสืออิสลาม (ศูนย์กลางอิสลาม คลองตัน) ศูนย์หนังสือมานพวงศ์เสงี่ยม (พระรามเก้า) ร้านหนังสือส.วงศ์เสงี่ยม (มหานาค) Halal Express(หนองจอก) ร้านอารีฟ เซ็นเตอร์ (มัสยิดสวนพลู)

โรงพยาบาล

รพ.ปิยเวช, รพ.กรุงเทพ, รพ.เสรีรักษ์,

ข้าพเจ้า นาย นาง นางสาว...................................................................................... อายุ .................. ปี รพ.นวมินทร์, รพ.เวชธานี, รพ.บ�ำรุงราษฎร์ ที่อยู่ ....................................................................................................................................................... ธุรกิจบริการและโรงแรม รหัสไปรษณีย์ ........................ โทรศัพท์ ................................. อีเมล์ ................................................... ทรัพย์เจริญกรีนแลนด์ การศึกษา อาชีพ

มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาตรีขึ้นไป อื่นๆ พนักงานบริษัท รับราชการ,รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่วนตัว นักเรียน, นักศึกษา อื่นๆ

มีความประสงค์จะสมัครสมาชิกนิตยสารฮาลาลไลฟ์ สมาชิก 1 ปี 12 ฉบับ 300 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่......... สมาชิกอุปถัมภ์ 1 ปี 12 ฉบับ 300 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่......... ให้กับห้องสมุด/มัสยิด............................................................................................................................. ที่อยู่ ....................................................................................................................................................... ................................................................................................. รหัสไปรษณีย์ ...................................... วิธีช�ำระค่าสมาชิก โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี นางสาว วิลาสินี กันซัน

(ถ่ายเอกสารได้)

ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนรามค�ำแหง-เทพลีลา เลขที่บัญชี 902-0-06365-8 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลล์ บางกะปิ เลขที่บัญชี 732-2-70060-8

5

รีสอร์ท บางพลัด โรงแรมนิวเวิลด์ (บางล�ำพู) โรงแรมรีเจ้นท์ (รามค�ำแหง) โรงแรมชาลีนา (รามค�ำแหง) โรงแรมนูโว ซิตี้ (บางล�ำพู)

ธนาคารและสหกรณ์

เคาท์เตอร์ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยทุกสาขา สหกรณ์อิสลามสันติชน เครือข่ายสหกรณ์อิสลามภาคใต้

ต่างจังหวัด

ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (เชียงใหม่) ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (แม่สาย) ร้านฟาด้า สเต๊กแอนด์คอฟฟี่ (อยุธยา) ร้านอาหารอิสลามดาวุดชา (กาญจนบุรี) ร้านมุนาซีร กาแฟสด&เค้ก พัทยา (ชลบุรี) ร้านอาหารชุกรี่ ปั๊ม ป.ต.ท. ท่าฉาง (สุราษฎร์ธานี) ห้องอาหารคุณสาหร่าย (ชุมพร) ร้านอาหารคุ้มราชา ควนโดน (สตูล) ศูนย์การค้าวงเวียนวินเทจ หาดใหญ่ (สงขลา) SAMI KITCHEN หาดใหญ่ (สงขลา) ร้านบากุส (ปัตตานี) ร้านอาหารอาบูคอลี (ยะลา) ร้านกีตาบบุ๊กเฮาส์ (ยะลา) Halal Minimart (สตูล) ร้านบังฝรั่ง (สงขลา)


Global

กอมารียะห์ อิสมาแอล haboohoohoo@gmail.com

อิสลามเติบโตอย่างรวดเร็วในอังกฤษ ในประเทศอังกฤษ ถึงแม้ว่าจะมีการพยายามใส่ร้ายป้ายสีจากผู้ไม่หวังดีว่าอิสลามเป็นศาสนาที่รุนแรงและน่าหวาดกลัว แต่ศาสนาอิสลาม กลับมีการเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วทางตะวันตกของประเทศ ซึ่งผู้คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ อังกฤษเป็นตัวอย่างที่ดีอีกประเทศหนึ่งที่ชาวคริสเตียนจ�ำนวนมากเข้ามารับอิสลาม ท�ำให้ศาสนาอิสลามเติบโตขึ้นในประเทศอย่างรวดเร็ว จากผลการส�ำรวจส�ำมโนประชากรล่าสุด ปัจจุบันมุสลิมมีจ�ำนวน 5% ของจ�ำนวนประชากรชาวอังกฤษทั้งหมด อัตราการเติบโตนี้แสดงให้เห็น ถึงแนวโน้มการเติบโตของจ�ำนวนมุสลิมที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคาดการณ์ว่าในปี 2021 ชาวมุสลิมในอังกฤษจะมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 10 % ของจ�ำนวนประชากรทั้งประเทศ กาต้ า ร์ ทุ ่ ม 1 พั น ล้ า นดอลล่ า ร์ ส ร้ า งหนั ง ประวั ติ ศาสดามุฮัมมัด (ศอลฯ) ส�ำนักข่าวอัล-อาราบิญารายงานว่า บริษทั Alnoor Holding ของ กาตาร์ ประกาศรวบรวมเงินทุนเพื่อสร้างหนังประวัติชีวิตของท่าน ศาสดามูฮมั หมัด (ศอลฯ) เป็นเงินสูงถึง 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ราว 3 หมื่นล้านบาท โดยเมื่อ 3 ปีก่อนหน้านี้ บริษัทเคยออกข่าวจะ สร้างหนังประวัติท่านศาสดา โดยแบ่งเป็น 3 ตอน ซึ่งขณะนั้นคาด การณ์วา่ จะใช้เงินเพียง 1.5 ล้านดอลล่าร์เท่านัน้ แต่ในครัง้ นีจ้ ะขยาย ออกเป็น 7 ตอน จึงต้องเพิ่มเงินทุนเป็น 1 พันล้านดอลล่าร์ อัลนูรเคย ประกาศเมือ่ 3 ปีทแี่ ล้วว่า ได้ตดิ ต่อผูส้ ร้างหนังชือ่ ก้อง โลก Barrie Osborne ซึ่งอยู่ในวงการสร้างหนังฮอลิวู้ดมานานกว่า 40 ปี และมีผลงานเป็นที่ยอมรับเช่น เรื่อง ลอร์ด ออฟ เดอะ ริงส์ และ The Matrix ให้เป็นผูส้ ร้างหนังดังกล่าว ซึง่ ขณะนีท้ มี ผูเ้ ชีย่ วชาญ ได้เสร็จสิ้นขั้นตอนในการเขียนบทภาพยนตร์แล้ว ภาพยนตร์ดงั กล่าวจะไม่มภี าพของท่านศาสดามูฮมั หมัด (ศอลฯ) โดยเชค ยูซุฟ เกาะเราะฎอวี ประธานสมาคมอุละมะอฺมุสลิม ใน กาตาร์ จะเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาด้านเทคนิคด้วย 6


โอมาน จัดแสดงนิทรรศการต้นฉบับหายาก ต้นฉบับอัลกุรอาน ต�ำราวิทยาศาสตร์ และบางส่วนของเอกสาร ที่หายากจากศตวรรษที่ 16 ถูกน�ำมาจัดแสดงในนิทรรศการแสดง ต้นฉบับ ประเทศโอมาน การจัดแสดงครั้งนี้ถูกจัดขึ้นพร้อมกับงาน สัมมนาของมหาวิทยาลัย สุลต่าน กาบูส ซึง่ จัดขึน้ โดยศูนย์การศึกษา โอมาน องค์กรการพัฒนาเอกชนที่เชี่ยวชาญในการเก็บรวบรวมและ บ�ำรุงรักษาต้นฉบับและเอกสาร ต้นฉบับจากห้องสมุด และเอกสารเก่าแก่จากอดีต มีตั้งแต่ต�ำรา วิทยาศาสตร์อิสลาม ต�ำรายาแผนโบราณ ดาราศาสตร์ และเคมี รวม ทั้งคัมภีร์อัลกุรอาน จากศตวรรษที่ 16 และเอกสารเก่าแก่เกี่ยวกับ ระบบการก่อสร้าง โดยเอกสารเหล่านีเ้ ขียนโดยปากกาซึง่ ท�ำจากก้าน ไม้ไผ่ หมึกธรรมชาติที่น�ำเข้าจากชมพูทวีป และแอฟริกา รวมไปถึง ปกหนังสือที่ท�ำจากหนัง

ฮิญาบเป็นสัญลักษณ์ของอารยธรรมที่สูงส่งที่สุด “ฮิญาบเป็นสัญลักษณ์ของอารยธรรมทีส่ งู ส่งทีส่ ดุ ” คือค�ำพูดของ ตะวักกุ้ล คาร์มาน (Tawakkul Karman) เจ้าของรางวัลโนเบลสาขา สันติภาพ ซึ่งมีฉายาว่า “มารดานักปฏิวัติชาวเยเมน” เมื่อนักข่าว ถามเธอถึงเรื่องฮิญาบ เธอได้บอกอีกว่า “ในสมัยก่อนคนเรานั้นแทบ จะเปลือยกายล่อนจ้อน ต่อเมือ่ สติปญ ั ญา เริม่ มีการพัฒนา ก็เริม่ มีการ หาเสือ้ ผ้ามาสวมใส่ปกปิดร่างกาย สิง่ ทีฉ่ นั เป็นในวันนีแ้ ละสิง่ ทีฉ่ นั สวม ใส่อยูน่ เี้ ป็นการแสดงให้เห็นถึง ระดับความคิดและอารยะธรรมทีส่ งู สุด ที่มนุษย์จะบรรลุได้ ซึ่งไม่ใช่ความล้าหลัง การเริ่มปลดเปลื้องเสื้อผ้า อีกครั้งต่างหาก ที่ถือว่าเป็นการถอยหลังกลับไปสู่ยุคโบราณ”

7


8


ตัวหนังสือมีคม

M.Fahmee

“ยาก-ง่ า ย” ใครเคยเป็นแบบนีบ้ า้ ง เวลาท�ำงานกลุม่ ทีต่ อ้ งท�ำร่วมกับเพือ่ นหลายๆ คน มีงานง่ายๆกับงานยากๆ ให้เลือกต้องท�ำอย่างใดอย่างหนึง่ ถ้ามีโอกาส เรามักจะเลือกงานง่ายๆมาท�ำก่อน ผมคิดว่าภาวะนี้ ทุกๆคนคงต้องเคย เป็นมาบ้าง ผมเองก็เป็นหนึ่งในนั้น ใครละจะไปเลือกงานยาก จนกระทัง่ วันหนึง่ ผมมานัง่ ไตร่ตรองแล้วค้นพบทางออกของการท�ำให้ เราสามารถรับงานยากด้วยความสมัครใจ ง่าย หรือ ยาก ของแต่ละคนเป็นเรื่องที่กว้างมาก เพราะบรรทัดฐาน ความถนัด ต้นทุน ทีแ่ ต่ละคนมีกแ็ ตกต่างกัน ง่ายของคนหนึง่ อาจเป็นเรือ่ ง ยากของอีกคน ไม่ใช่เรือ่ งแปลกแต่ลองสังเกตกันดีๆ ว่า ความยากของงาน แต่ละอย่างที่เราต้องเจอนั้น มักจะลดลงเรื่อยๆตามจ�ำนวนครั้งที่เราเจอ งานเหล่านัน้ ครัง้ แรกทีเ่ ราต้องเจองานยาก ความยากมันอาจจะอยูท่ รี่ ะดับ 100 คะแนน ท�ำครั้งที่สองเหลือความยาก 99 ท�ำไปร้อยครั้ง ความยากก็ เหลือ 0 พอดี นั่นเป็นเชิงทฤษฎีที่พูดให้เห็นภาพง่ายๆ คนบางคนอาจจะ ลดระดับความยากเหลือ 0 ตัง้ แต่ ครัง้ ทีส่ องหรือสามเลยก็ได้ แต่ยนื ยันได้ เลยว่าสิง่ ทีเ่ รารูส้ กึ ว่าง่ายๆในชีวติ ประจ�ำวันเราท�ำทุกวันเนีย่ ล้วนต้องผ่าน ครั้งแรกๆที่ยากกว่า ณ ขณะนี้แน่ๆ ผมจะพูดให้ความอยากท�ำเรือ่ งยากเพิม่ ขึน้ อีกนิดนะครับ สมมติวา่ ใน โลกเรานี้ มีกิจการทั้งหมด 10,000 กิจการ หากว่าเราสามารถเปลี่ยน กิจการเหล่านี้จากเรื่องยาก ให้กลายเป็นเรื่องง่ายทีละกิจการ การใช้ชีวิต บนโลกนีข้ องเราก็จะเหลือเรือ่ งยากให้เราท�ำน้อยลงเรือ่ ยๆ แล้วแบบนี้ เรา จะรอช้าเพื่อให้ชีวิตเจอแต่เรื่องง่ายๆท�ำไมกัน ผมบอกไปแล้วว่าทางทฤษฎี หากใช้มมุ มองแบบบวกอย่างเดียว ใครๆ ก็อยากวิ่งเข้าหาเรื่องยากๆ อย่างที่ผมเกริ่นไปแล้วว่าผลดีมันเป็นไงบ้าง แต่ในชีวิตจริง ใครบ้างละที่อยากจะเจอกับความผิดพลาด คนที่ท�ำเรื่อง ยากโอกาสจะประสบความส�ำเร็จก็น้อยกว่าคนที่ท�ำเรื่องง่าย ความล้ม เหลวส�ำหรับบางคนอาจเป็นเรือ่ งใหญ่ทสี่ ามารถเปลีย่ นแปลงชีวติ เลย แล้ว ยิง่ เวลาทีต่ อ้ งท�ำงานยากก็เยอะกว่า เวลาในชีวติ ประจ�ำวันของเราก็นอ้ ยๆ กันอยู่แล้ว ใครละอยากให้เวลาเราน้อยลงไปอีก ดังนั้นจึงไม่แปลกที่พบ ว่าคนส่วนใหญ่ทเี่ ราพบเจอกันทุกวันนีจ้ งึ นิยมเสพเรือ่ งง่ายๆทีช่ วี ติ สามารถ ท�ำได้ทุกวันอยู่แล้ว

นักจิตวิทยาท่านหนึง่ ชือ่ Prof. Daniel T. Willingham ได้พดู ถึงเรือ่ ง แรงจูงใจในการท�ำสิ่งใดซักสิ่งหนึ่งของมนุษย์ที่ต้องใช้ปัจจัยเรื่องความ ยาก-ง่ายในการตัดสินใจลงมือท�ำ เค้าว่าไว้ว่า การที่คนคนหนึ่งจะลงท�ำ กิจการอะไรแล้ว สิ่งที่เป็นแรงจูงใจของการลงมือท�ำคือผลรางวัล ที่ตาม หลังความส�ำเร็จทีเ่ กิดจากการงานนัน้ ๆ นอกจากรางวัลทีเ่ ป็นรูปวัตถุแล้ว สมองของเรายังสามารถหลั่งสารแห่งความสุข เมื่อเราสามารถบรรลุ กิจการทีเ่ ราลงมือ ยิง่ เป็นกิจการทีท่ า้ ทายและยากเพียงใด ความรูส้ กึ สุขใจ จากการหลั่งสารความสุขนี้ก็จะมากขึ้น หากเป็นเรื่องง่ายๆคนนั้นก็ สามารถจะท�ำให้ส�ำเร็จได้บ่อยครั้ง จนมีความท้าทายน้อยลงความสุข ก็น้อยลงด้วย การประเมินความยากง่ายของสมองเราจะประเมินจาก “ความจ�ำรูปแบบ” ในการแก้ปญ ั หาเก่าๆ ทีเ่ ราสะสมมา หากประเมินแล้ว เกิดความรู้สึกว่า”ยากเกินไป”เพราะไม่มีรูปแบบการแก้ปัญหาเก่าๆ ในสมองเลย สมองจึงจะสั่งให้ท�ำการ”คิด” แต่หากประเมินแล้วมีความ จ�ำเรื่องรูปแบบการแก้ปัญหา ก็จะกลายเป็นปัญหาง่ายๆทันที โดยทั่วไป แล้วมนุษย์เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีถ่ กู ถนอมการใช้ความคิดนะครับ ความคิดจะถูก ใช้เพื่อแก้ปัญหายากๆ นี่เป็นการลบล้างความเชื่อเก่าของเราที่เคยเชื่อว่า มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ชอบคิดไปโดยสิ้นเชิงเลยครับ ย้อนกลับที่เรื่องยาก-ง่ายใหม่ สรุปแล้วย่อหน้าข้างบนบอกไว้ว่า การ แก้ปัญหาของมนุษย์เรานั้นใช้ “การจดจ�ำ”ในการแก้ปัญหาเก่าๆ แทบ ทัง้ หมด และใช้”ความคิด”ส�ำหรับปัญหาใหม่ๆ เอาละ จากข้อมูลข้างต้น ทัง้ หมดจึงท�ำให้ผมค่อนข้างมัน่ ใจมากขึน้ ในการเชิญชวนผูอ้ า่ นทุกท่าน ไป เผชิญหน้ากับปัญหายากๆ ให้มากขึ้น เพราะเราจะได้ใช้ความคิดในการ แก้ปญ ั หา และจดจ�ำรูปแบบการแก้ปญ ั หานัน้ หลังจากนัน้ ก็ไม่มเี รือ่ งยาก ในปัญหาเดิมๆอีกต่อไป ถึงแม้ว่าความเสี่ยงจากความล้มเหลวมันยังพอมี บ้าง แต่เชือ่ เถอะเมือ่ ใดทีเ่ ราละทิง้ รูปแบบการจดจ�ำรูปแบบการแก้ปญ ั หา แบบเก่าๆ แล้วเริ่มใช้ความคิดในการแก้ปัญหา เรื่องยากส่วนมากจะ เปลีย่ นเป็นเรือ่ งง่าย เปลีย่ นให้เรือ่ งยากเป็นเรือ่ งง่ายอาจจะไม่ใช่งานง่ายๆ เหมือนชื่อ แต่อย่างที่บอกไม่มีอะไรยากตลอดกาลส�ำหรับคนพยายาม พูดถึงตรงนีผ้ มเริม่ สับสนหมดแล้วอะไรง่ายอะไรยาก เอาอย่างงีด้ กี ว่า รีบ ปิดหนังสือ ปิดคอม แล้วไปหาปัญหายากๆที่ยังไม่ได้แก้ของชีวิตท่านกัน เถอะ แล้วชีวิตมันจะง่ายเอง 9


พพื้นที่โฆษณาราคาถูก โทร. 086-890-6055

พื้นที่โฆษณาราคาถูก โทร. 086-890-6055 10


Recommend

กองบรรณาธิการ

นวัตกรรมใหม่เอเชีย : เกษตรกรรมแนวดิ่ง

สิงคโปร์ เปิดตัวนวัตกรรมใหม่ “สกายกรีนส์ฟาร์ม” คือ โรงปลูก ผักเชิงพาณิชย์แนวดิ่งหรือแนวตั้งที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีเป้าหมาย อยากให้ประเทศผลิตผักได้มากขึ้นจนเพียงพอกับการบริโภคในพื้นที่ และสภาพแวดล้อมทีม่ อี ยู่ ซึง่ ก่อนหน้านีส้ งิ คโปร์ตอ้ งน�ำเข้าผักจากต่าง ประเทศมากถึง 93% พูดง่ายๆคือ ปลูกเองได้แค่ 7% เท่านั้น แต่ตอน นี้ทุกอย่างเปลี่ยนไปแล้ว เพราะโรงปลูผักส่งขายตลาดขนาดใหญ่นี้ สามารถสร้างผลิตผลมากถึงหนึ่งตันในทุกๆ 2 วัน และมีโครงการจะ สร้างพื้นที่ปลูกเพิ่มอีก 300 โรงเรือนแถว

ดีไซน์ความสนุกล�้ำยุคด้วย กล้องตัวจิ๋ว “เมโมโต” (Memoto) คือกล้องถ่ายรูปอัตโนมัติ ขนาดจิ๋ว เพียง 1.5 นิว้ ทีม่ าพร้อมคุณสมบัตเิ ด่นไม่ตอ้ งใช้ปมุ่ กด เพียงใช้คลิปทีต่ ดิ มากับกล้อง หนีบติดตัว “เมโมโต” ก็จะบันทึกภาพอัตโนมัติทุกๆ 30 วินาที คุณจะได้ ภาพขนาด 5 ล้านพิกเซล พร้อมระบุสถานที่และเวลา ท�ำให้คุณได้ช่วง เวลาและมุมมองแปลกๆ เก๋ๆ ณ ห้วงเวลาทีผ่ า่ นมาชีวติ ของเราเป็นอย่างไร บ้ า ง ภาพเหล่ า นี้ จ ะถู ก เก็ บ ไว้ ใ นเมมโมรี่ ที่ ส ่ ง ข้ อ มู ล อั พ เดตผ่ า น แอพพลิเคชั่นเสริมอย่างรวดเร็วทันใจ สิ่งที่คุณต้องท�ำเวลาที่ต้องการปิด ก็แค่ปดิ ไฟหรืออยูใ่ นทีม่ ดื ซึง่ จะท�ำให้กล้องหยุดท�ำงานอัตโนมัติ และการ ชาร์จแบตเตอรี่หนึ่งครั้งก็สามารถอยู่ได้นานถึงสองวัน โปสการ์ดมีกลิ่น

Phone Soap ส�ำหรับใครที่รักในความสะอาด จะหยิบจะจับอะไรก็ขอเช็ดล้างให้ สะอาดก่อนเสมอ แล้วอุปกรณ์ที่คุณถืออยู่และใช้ทุกวันอย่างมือถือล่ะ เคยท�ำความสะอาดกันบ้างไหม ขอบอกว่าโทรศัพท์มอื ถือบางทีกส็ กปรก มากกว่าสิ่งอื่นๆ ที่คุณกังวลใจ ฟังแบบนี้ไม่ต้องห่วงเพราะเจ้าเครื่อง Phone Soap เป็นที่ชาร์จแบตมือถือและยังสามารถท�ำความสะอาดฆ่า เชื้อโรคมือถือให้คุณไปพร้อมกัน ด้วยรังสี UV-C ที่สามารถฆ่าเชื้อไวรัส และแบคทีเรียได้ถึง 99% สนใจสามารถเป็นเจ้าของได้ในราคา 39 USD

นับจากนี้รูปโฉมโปสการ์ดอาจเปลี่ยนไป เมื่อนักศึกษาชาวจีน Li Jingxuan ออกแบบคอนเซ็ปต์โปรดักท์ชื่อ “Scent Capturing Printer” กล้องถ่ายรูปแบบพกพามาพร้อมระบบเซ็นเซอร์รับกลิ่นที่ สามารถวิเคราะห์กลิ่นจากอาหารหรือสิ่งของอื่นๆ เพียงน�ำเจ้าเครื่อง นีไ้ ปจ่อใกล้ๆ แล้วถ่ายรูป จากนัน้ เซ็นเซอร์จะท�ำหน้าทีจ่ ดจ�ำกลิน่ เพือ่ ส่งต่อไปทีน่ ำ�้ หมึกชนิดพิเศษทีอ่ ยูใ่ นเครือ่ งแล้วท�ำการพิมพ์เป็นรูปภาพ ออกมา ไอเดียดีจนชนะเลิศคว้ารางวัล Most Fun Award จากการ แข่งขัน Sony Student Design Workshop 2012 ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ www.designboom.com 11


Tasty

ลัญญุตา วงษ์ยุติธรรม

อาหารจีนยูนานแท้ๆ ที่เชียงใหม่ มาเชียงใหม่ ตะเวนหาร้านอาหารฮาลาล รสชาดแปลกใหม่ไฉไล แวะมาที่นี่ ร้าน“รวมมิตร” เค้ามีอาหารแปลกๆสไตล์ยูนาน รสชาด ดั้งเดิม ให้ได้ลิ้มลอง เมนูแนะนำ�ตั้งแต่ ผัดเนื้ออบยูนาน (เค้านำ�เนื้อ มานึ่งและผัดพริกแห้ง) เมนูนี้อร่อยหอม รสชาดครบเครื่องเลื่องลือ จริงๆมาถึงร้านอยากให้ลองก่อนเลยแล้วจะติดใจ และเมนูที่อยากให้ ลิ้มลองอีกมากมาย เช่น เป็ดอบเซี่ยงไฮ้, เกี๊ยวซ่า(เป็นเจ้าแรกเลย) อย่าลืมนะค่ะ ช่วงอากาศหนาวๆ แบบนี้ ใครมาเที่ยวเชียงใหม่ ต้อง ไม่พลาดร้านนี้เลยค่ะ

ข้อมูลจ�ำเพาะ ชื่อร้าน : รวมมิตร (เชียงใหม่) เมนูแนะน�ำ : ผัดเนื้ออบยูนาน,เป็ดอบเซี่ยงไฮ๊,เกี๊ยวซ่า (เจ้าแรก) เวลาเปิด-ปิด : เปิดบริการทุกวัน เวลา 10:00 – 22:00 น. สถานที่ตั้ง : ถ.ช้างคลาน 170/7 อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ใกล้กับโรงแรมลานนาพาเลซ,DMS) บริหารงานโดย : คุณ จรัล จันทร์ต๊ะ โทร.089-853-7217 12 12


13


14


The Power of Teamwork

The Leader of Social Enterprise MAIN HALAL : กองบรรณาธิการ ภาพ : คอลิด เยนา

ปีที่ผ่านมาถือเป็นปีที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านการรับรู้ข่าวสารของสังคมมุสลิมเป็นอย่างมาก จากการกระโดดเข้ามาท�ำ สถานีโทรทัศน์ของหน่วยงานและองค์กรมุสลิมหลายองค์กร ไม่เว้นแม้กระทั่งองค์กรที่ท�ำงานช่วยเหลือเด็กก�ำพร้ามายาว นานอย่างมูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้าในชื่อ ยาตีมทีวี สถานีโทรทัศน์ที่ประกาศอย่างชัดเจนว่าเป็นสถานี ของเด็กก�ำพร้า รายได้ที่เกิดขึ้นทุกบาททุกสตางค์เป็นของเด็กก�ำพร้าที่มูลนิธิศรัทธาชนดูแลอยู่ทั่วประเทศ ด้วยความทีก ่ ารท�ำทีวเี ป็นธุรกิจทีต ่ อ้ งลงทุนสูง จึงหลีกเลีย ่ งไม่ได้ทย ี่ าตีมทีวจี ะถูกตัง้ ค�ำถามจากสังคมถึงความเสีย ่ งทีจ่ ะ เกิดขึ้น แต่ขวบปีที่ผ่านมาได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าแนวคิดของพวกเขาได้ผล และข้อครหาจากใครบางคนที่ว่าเอาเงินเด็กก�ำพร้า มาลงทุนก็ดูจะเงียบหายไป แนวคิดการท�ำธุรกิจเพื่อสังคมเพื่อน�ำรายได้มาหล่อเลี้ยงองค์กรไม่ใช่เรื่องใหม่ของมูลนิธิศรัทธาชนฯ เพราะก่อนหน้านี้ พวกเขาประสบความส�ำเร็จมาแล้วกับโครงการอพาร์ตเมนต์ศรัทธาการ์เด้นเพลส จนกลายเป็นต้นแบบและแรงบันดาลใจใน การท�ำธุรกิจเพื่อสังคมให้หลายองค์กร แนวคิดการท�ำธุรกิจเพื่อหล่อเลี้ยงองค์กรของมูลนิธิศรัทธาชนฯเกิดขึ้นได้อย่างไร มี หลักคิดและแนวทางการบริหารอย่างไรให้ประสบความส�ำเร็จ รวมไปถึงก้าวต่อไปของพวกเขาจะเดินไปทางไหน Main Halal ฉบับนี้จะไปพูดคุยเพื่อหาค�ำตอบกับทีมหาทุนของมูลนิธิศรัทธาชนฯ

จุดเริ่มต้นของการท�ำธุรกิจเพื่อสังคม อ.อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ เลขานุการมูลนิธิศรัทธาชนฯ และผู้อ�ำนวย การสถานีโทรทัศน์ยาตีมทีวี – “งานหลักของมูลนิธิศรัทธาชน ที่แสดง ตัวตนของศรัทธาชนอย่างเด่นชัดคืองานด้านการสงเคราะห์ครอบครัว หญิงหม้ายที่สามีเสียชีวิตและเด็กก�ำพร้า แต่ในกระบวนการของการ สงเคราะห์มันบังคับให้เราต้องท�ำหลายอย่าง อย่างแรกเลยคือการหาทุน เพราะการสงเคราะห์เด็กก�ำพร้าเกือบ 3,000 รายจ�ำเป็นต้องใช้ทุนทรัพย์ สูงมาก และเราคุยกันมาตั้งแต่ตั้งมูลนิธิฯเมื่อ 15 ปีที่แล้วว่าเราจะไม่งอ มืองอเท้ารอการช่วยเหลือจากต่างประเทศ เราเชื่อในศักยภาพของสังคม มุสลิมไทยว่าสามารถดูแลกันเองได้ ส่วนทุนจากต่างประเทศถือเป็นอาหาร เสริมที่เราก็ได้รับมาบ้างเป็นบางวาระ ทีนี้เมื่อพูดถึงการหาทุน มันก็ต้อง ผ่านกิจกรรมต่างๆมากมาย เช่นการจัดงานประจ�ำปี การวางตู้รับบริจาค ในสถานทีต่ า่ งๆ การกระจายกระปุกเพือ่ ลูกก�ำพร้า การจัดทัศนศึกษา รวม ไปถึงการสร้างสายสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ใจดี นักธุรกิจมุสลิมที่พร้อมจะหยิบ ยื่น หรือแม้แต่ให้ยืมก้อนใหญ่ๆ ในบางสถานการณ์ที่มีความเร่งด่วนต้อง ใช้เงิน จากประสบการที่ท�ำงานมา 15 ปี เราพบว่า หากต้องการสร้างความ ยั่งยืนให้กับองค์กรของเรา เราไม่สามารถจะอยู่ได้ด้วยการรอรับเพียงเงิน บริจาคหรือจากการจัดงานระดมทุนเพียงอย่างเดียว เพราะศักยภาพของ การบริจาคในสังคมมุสลิมไทยมีขอบเขตจ�ำกัด เราจะไปผลักภาระของการ

ท�ำงานช่วยเหลือสังคมไปอยู่กับผู้มีอุปการคุณเพียงอย่างเดียวมันก็จะไม่ เติบโตไปอย่างยัง่ ยืน มันมีจดุ อิม่ ตัวของมัน เพราะศักยภาพของสัมคมไทย เราไม่ได้มีมากพอที่จะเป็นผู้บริจาคตลอดไปเรื่อยๆ นอกจากนีย้ งั มีองค์กรอีกหลายองค์กรในเมืองไทยทีค่ าดหวังจุดเดียว กับเราคือเงินบริจาคของสังคม ส่วนเงินบริจาคที่มาจากต่างประเทศ มันไม่มีความแน่นอน ยิ่งในช่วงหลังๆ มีการปิดกั้นการโอนทุนจากต่าง ประเทศมาช่วยเหลือประเทศทีส่ ามอีก ด้วยกับปัญหาต่างๆทีเ่ ราทราบกัน ดีอยูแ่ ล้ว ก็ยงิ่ ท�ำให้เป็นเรือ่ งยากขึน้ ทีเ่ ราจะอาศัยเพียงเงินบริจาคทีม่ าจาก ในประเทศและต่างประเทศ แนวคิดการท�ำธุรกิจเพือ่ สังคมสงเคราะห์หรือ เพื่อการกุศลจึงเกิดขึ้น อันที่จริงการท�ำธุรกิจเพื่อสังคมมันก็ไม่ได้เป็นแนวคิดใหม่อะไร แต่ เป็นแนวคิดทีเ่ ราได้มาจากมุสลิมในยุโรป มุสลิมในอเมริกาทีเ่ ขาไม่สามารถ จะระดมทุนจากการบริจาคได้ เขาจึงใช้วิธีการท�ำธุรกิจ โดยการระดมทุน ครัง้ แรกก้อนใหญ่กอ้ นเดียว ไปก่อร่างสร้างธุรกิจขึน้ มา ท�ำให้การหล่อเลีย้ ง การท�ำงานสังคมสงเคราะห์ยงั่ ยืน เพราะธุรกิจมันเติบโตขึน้ ไปเรือ่ ยๆ อย่าง ที่ท่านนบีบอกการท�ำการค้ามันมีบารอกัต มันก็จะมีการเติบโตไปเรื่อยๆ ถ้าหากอาศัยแค่การบริจาคอย่างเดียวมันก็ไม่เติบโตหรอก และอีกอย่าง ก็คอื ช่วยแบ่งเบาภาระของคนทีจ่ ะบริจาคด้วย เขาคงไม่ไหวทีจ่ ะมาบริจาค ให้เราทุกเดือนทุกปี หรือตลอดไป”

15


ร.ต.อ.พรชัย ไวยศิลป์ ประธานมูลนิธิศรัทธาชนฯ – “ก่อนหน้านี้เรา ท�ำงานในวงแคบๆ เราจึงไม่ตอ้ งอาศัยการท�ำธุรกิจ เราท�ำกันแบบสบายๆ บริจาคเท่าไหร่ก็เท่านั้น แต่พองานมันขยายมันโตขึ้น เราไม่ได้ท�ำแค่ใน ระดับต�ำบล ระดับจังหวัดแล้ว เราท�ำในระดับประเทศ กระทั่งจะไปสู่ อาเซียน มันจึงต้องใช้เงินเยอะ เงินบริจาคอย่างเดียวคงไม่พอแล้ว คงไม่มี ใครที่จะสามารถบริจาคให้ได้ทั้งหมด จึงต้องมีธุรกิจเข้ามาเสริม ไม่เช่น นั้นจะไม่สามารถดูแลเด็กก�ำพร้าได้ทั่วถึง เราไม่ได้รอรับอย่างเดียวแล้ว เราต้องรุกเข้าไปหาเด็กในพื้นที่อื่นๆ ที่เราเห็นว่าต้องเข้าไปช่วยด้วย” ศรัทธาการ์เด้นเพลส ก้าวแรกสู่โอกาสทางธุรกิจ มูฮัมหมัด มากเลาะเลย์ กรรมการบริหารมูลนิธิศรัทธาชนฯ “โครงการแรกที่เราท�ำ คืออาคารศรัทธาการ์เด้นเพลส ที่ถือว่าเป็นธุรกิจ ที่ลงทุนต�่ำ เพราะเราไม่ต้องลงทุนซื้อที่ดิน มีผู้ใจบุญได้บริจาคที่ดินท�ำเล ทองให้ จากนัน้ เราจึงเปิดขอรับบริจาคจากชาวมือบนมาร่วมกันเพือ่ สร้าง ตึกส�ำหรับท�ำอพาร์ทเมนต์ ในโครงการ บ้านดุนยา สายใยที่ไหลริน เพื่อ น�ำรายได้ที่เกิดขึ้นแต่ละเดือนมาเลี้ยงเด็กก�ำพร้าบ้านหทัยรักที่มูลนิธิ ศรัทธาชนฯดูแลอยูก่ ว่า 50 ชีวติ ซึง่ ท�ำให้ในแต่ละเดือนมีคา่ ใช้จา่ ยทีค่ อ่ น ข้างสูง เรามีรปู แบบการบริจาคทีห่ ลากหลาย ทัง้ การร่วมเป็นเจ้าของห้อง ส�ำหรับคนที่มีศกั ยภาพ รวมไปถึงการบริจาคแบบต่อเนื่อง ทัง้ หมดนี้เกิด ขึ้นเพื่อความยั่งยืนของการดูแลเด็กก�ำพร้า ซึ่งโครงการนี้ได้รับการตอบ รับจากสังคมและผู้ใจบุญเป็นอย่างมากเพราะการท�ำอพาร์ทเมนต์ที่อยู่

ในท�ำเลทีด่ ี ถือเป็นธุรกิจทีป่ ลอดภัย มีความเสีย่ งต�ำ่ ทีส่ ดุ ถึงแม้วา่ รายได้ จะน้อยก็ตาม” ยาตีม ทีวี ก้าวที่สองสู่การต่อยอดและเติบโต มนตรี สมานะวณิชย์ กรรมการบริหารมูลนิธิศรัทธาชนฯ - “การที่ เราหันมาจับเพราะเรามองการไกลว่า สื่อจะเป็นก�ำลังส�ำคัญที่ท�ำให้เรา เติบโต เพราะเพียงแค่เราใช้วิทยุตลอด 10 กว่าปีที่ผ่านมา ถือว่าวิทยุมี ส่วนส�ำคัญมาก ท�ำให้เราสามารถใช้สื่อประชาสัมพันธ์สิ่งที่เราท�ำ ท�ำให้ การขยายงานของเรากว้างขวางขึ้น และคนก็ไว้ใจเรา เพราะว่าเราจะ บอกกับประชาชนทุกอย่างว่าเราท�ำอะไร การมีทีวีก็ถือว่าเป็นการต่อ ยอดจากวิทยุ และก็ขยายวงให้มนั กว้างขึน้ แม้วา่ ภาระจะเยอะขึน้ ก็ตาม แต่ถา้ มองไปในอนาคตหากเราบริหารจัดการให้ดี มันคือสิง่ ทีจ่ ะท�ำให้เรา เติบโตอย่างก้าวกระโดด ทัง้ ด้านของการท�ำงานเพือ่ สังคมสงเคราะห์และ ด้านของธุรกิจ อินชาอัลลอฮฺ ก็คดิ ว่าถ้าเราท�ำการบริหารทีวใี ห้ไปได้ดว้ ย ดีมันก็จะท�ำให้ความยั่งยืน และการเจริญเติบโตที่เรามองไว้ว่าจะไปได้ ด้วยดี” อัยยูบ ปิ่นทอง กรรมการบริหารมูลนิธิศรัทธาชนฯ - “แต่การท�ำทีวี มันไม่ง่ายเลย อาจเป็นเพราะมันเป็นสิ่งใหม่ของสังคม ส�ำหรับพวกเรา เองก็ใหม่ เรียกว่าท�ำไปเรียนรู้งานไป” ร.ต.อ.พรชัย ไวยศิลป์ ประธานมูลนิธิศรัทธาชนฯ – “เราจะตอบว่า มันไม่ยาก และเราก็จะตอบว่ามันไม่งา่ ย แต่วา่ มันเป็นงานทีท่ า้ ทายทีเ่ รา

16

ร.ต.อ. พรชัย ไวยศิลป์ ประธานมูลนิธิศรัทธาชนฯ


จะต้องสู้ ต้องรวมพลังกัน เพราะเรารูว้ า่ เราเดินมาแล้ว ยังไงก็ตอ้ งก้าวเดิน ต่อไป ถือว่าหนักไหม มันหนักแน่” อ.อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ เลขานุการมูลนิธิศรัทธาชนฯ และผู้อ�ำนวย การสถานีโทรทัศน์ยาตีมทีวี – “มันไม่ง่าย เพราะมันมีหลายมิติ มันไม่ เหมือนวิทยุที่แค่บอกให้คนรู้ว่าเราท�ำอะไร คนก็โอเคแล้ว คือผู้คนไม่ได้ คาดหวังอะไรกับวิทยุมาก แต่ทีวีมันต้องผลิตคอนเทนต์ ผลิตเนื้อหา รายการที่ดึงดูดคนให้ติดตามเราด้วย สอง ให้คนพอใจที่จะร่วมมือกับเรา ในการทีจ่ ะช่วยเหลือการงานของเรา ทัง้ ด้านของการบริจาคและด้านของ การท�ำธุรกิจ มันจึงมีหลายมิตใิ นเวลาเดียวกัน ทัง้ ต้องสร้างความนิยมด้าน ผลงานที่เราช่วยเหลือสังคม และความนิยมของธุรกิจที่เขาจะมาไว้ใจเรา หรือมาใช้สื่อของเราในการประชาสัมพันธ์ธุรกิจของเขา” ก้าวต่อไปสู่อนาคตที่ยั่งยืนและมั่นคง อ.อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ เลขานุการมูลนิธิศรัทธาชนฯ และผู้อ�ำนวย การสถานีโทรทัศน์ยาตีมทีวี – “ธุรกิจทีเ่ ราจะท�ำกันต่อไปในภายภาคหน้า จะต้องเป็นธุรกิจที่อยู่ในครรลองของความถูกต้อง รัดกุม และปลอดภัย ธุรกิจมันท�ำได้เยอะแยะ แต่ธุรกิจมันก็มีความเสี่ยง มีได้และมีเสีย มีได้ มากได้น้อย มีขาดทุนมีได้ก�ำไร แต่เราก็จะดูอย่างหลักเลยคือถูกต้องตาม หลักการศาสนา 2 คือถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมือง และ 3 คือมีความ ปลอดภัย ไม่โลดโผนจนเกินไป จะเห็นได้ว่าบางองค์กรเขาเลือกท�ำธุรกิจ ที่มันโลดโผนเกินไป มันก็มีความเสี่ยง เราไม่สามารถน�ำเงินที่คนบริจาค มาเพื่อกองทุนเพื่อเด็กก�ำพร้ามาท�ำบนพื้นฐานของความเสี่ยงมากๆได้” มนตรี สมานะวณิชย์ กรรมการบริหารมูลนิธิศรัทธาชนฯ - “แนวคิด ของการท�ำธุรกิจต่อไปเราอาจยังไม่ได้เจาะจงว่าเป็นอะไร แต่เราจะใช้ มาตรฐานนี้ คือ ลงทุนต�ำ่ ผลตอบแทนในระดับหนึง่ และก็ความปลอดภัย สูง” ขับเคลื่อนด้วยอมานะฮ์ การปรึกษาหารือ และการท�ำงานเป็นทีม อับดุรรอชีด สุวรรณดี กรรมการบริหารมูลนิธิศรัทธาชนฯ - “ความ ยากของการท�ำงานตรงนี้คือ เงินที่เอามาท�ำธุรกิจ ไม่ใช่เงินเรา เป็นเงินที่ เราต้องรับผิดชอบด้วยอามานะฮ์ เพราะเป็นเงินที่ผู้บริจาคคาดหวังว่าจะ สามารถต่อยอดการสงเคราะห์เด็กก�ำพร้าไปเรือ่ ยๆ และการสรรหาธุรกิจ การตัดสินใจที่จะท�ำธุรกิจตัวนั้นๆว่ามีความปลอดภัย มีความเหมาะสม แค่ไหน เราต้องรัดกุมมากๆ การตัดสินใจบางอย่างอาจจะล่าช้า เพราะว่า เราไม่ได้ใช้การบริหารที่เป็นจุดศูนย์รวมที่ให้ CEO ตัดสินใจคนเดียว แต่ เราใช้การประชุมในการขับเคลื่อนงานในแต่ละครั้ง ซึ่งบางทีมันก็ต้องใช้ เวลา มันช้าแต่ว่าชัวร์” อัยยูบ ปิ่นทอง กรรมการบริหารมูลนิธิศรัทธาชนฯ - “เราขับเคลื่อน ทุกอย่างโดยผ่านการประชุม ขับเคลื่อนทุกอย่างโดยการชูรอ แม้ตัว ประธานเองก็ไม่ใช่ เป็นประธานแล้วออกค�ำสั่ง ผู้กองฟารุก(ร.ต.อ.พรชัย ไวยศิลป์ ประธานมูลนิธิ) เองก็เรียกได้ว่าอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญของการ ประชุมของเรา ทุกอย่างเราขับเคลื่อนด้วยการประชุม” ปัจจัยความส�ำเร็จและความยั่งยืน อ.อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ เลขานุการมูลนิธิศรัทธาชนฯ และผู้อ�ำนวย การสถานีโทรทัศน์ยาตีมทีวี – “ความสามัคคีครับ ทันทีที่ได้ยินค�ำถามนี้ ค�ำค�ำนี้มาก่อนเป็นอันดับแรกเลย มันมีปัจจัยหลายอย่างนอกเหนือจาก การช่วยเหลือของอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ผมเชื่อว่าความรักความ สามัคคีของคณะท�ำงาน การทุม่ เทแบบไม่ตอ้ งคิดเลยว่าจะได้ผลประโยชน์

อ.อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ เลขานุการ มูลนิธิศรัทธาชนฯ, ผู้อ�ำนวยการสถานีโทรทัศน์ยาตีม ทีวี

อะไรทางด้านดุนยา เวลาประชุมเราจะสนุกกันมาก เถียงกันหน้าด�ำ หน้าแดง แต่พอถึงเวลาท�ำงาน เอาไงเอากัน มันเหมือนคนในครอบครัว เดียวกัน ทะเลาะกันแทบตาย แต่พอถึงเวลาก็ตอ้ งมากินข้าวหม้อเดียวกัน อีกอย่างหนึ่งที่ผมภูมิใจในคณะท�ำงานของเราคือ เราไม่มีตัวเด่น ไม่มี One Man Show ทุกคนเด่นหมด ไม่ว่าวันนี้ หรือวันข้างหน้า ใครจะอยู่ หรื อ ใครจะไป ศรั ท ธาชนก็ ยั ง คงเดิ น งานต่ อ ไปได้ ผมเชื่ อ เช่ น นั้ น อินชาอัลลอฮ์” บ้านจะมั่นคงได้ต้องมี 4 เสา ศรัทธาชนยืนหยัด อย่างมั่นคงมาได้ทุกวันนี้ เพราะเรามีครบ 4 เสา เสาที่ 1. คือ คณะกรรมการ อนุกรรมการ และอาสา สมัคร เสาที่ 2.คือ องค์กรแนวร่วม และบุคลากร เครือข่าย เสาที่ 3. คือ มือบนผู้ให้ ซึ่งหมายถึงผู้ บริจาคทุกท่าน เสาที่ 4. คือ มือล่างผู้รับ คือ เด็ก ก�ำพร้า และหญิงหม้าย จะว่าไปแล้ว การที่ศรัทธาชน เป็นศรัทธาชนในวันนี้ได้ ต้องขอยกค�ำ พูดท่านประธานมูลนิธิฯ ที่บอกว่า บ้านจะมั่นคงได้ต้องมี 4 เสา ศรัทธา ชนยืนหยัดอย่างมั่นคงมาได้ทุกวันนี้ เพราะเรามีครบ 4 เสา เสาที่ 1. คือ คณะกรรมการ อนุกรรมการ และอาสาสมัคร เสาที่ 2. คือ องค์กร แนวร่วม และบุคลากรเครือข่าย เสาที่ 3. คือ มือบนผู้ให้ ซึ่งหมายถึง ผู้บริจาคทุกท่าน เสาที่ 4. คือ มือล่างผู้รับ คือ เด็กก�ำพร้า และหญิงหม้าย ทั้ง 4 เสานี้แหละที่เป็นองค์ประกอบช่วยค�้ำยันให้บ้านศรัทธาชน เติบโตและยืนหยัดอย่างมั่นคง ล�ำพังแค่คณะกรรมการเพียงแค่หยิบมือ เดียวคงไม่สามารถท�ำให้ศรัทธาชนมาถึงวันนี้ได้”

17


HalBiz

Hudhud somchart.mittaree@gmail.com

โรงพยาบาลมุสลิม ภาค2 ธุรกิจเพื่อสังคม จ�ำได้วา่ เคยเขียนเรือ่ ง “โรงพยาบาลอิสลามในประเทศไทย เป็นไปได้ หรือไม่” ในฮาลาลไลฟ์ฉบับเมือ่ ต้นปี ซึง่ เป็นการเกริน่ ถึงความจ�ำเป็นและ โอกาสของธุรกิจโรงพยาบาล จนวันนีโ้ ครงการนีก้ ย็ งั เป็นทีต่ อ้ งการอยู่ และ ก�ำลังถูกผลักดันให้เกิดจากองค์กรที่รับผิดชอบ (ขออุบไว้ก่อน) อย่างไร ก็ตามโครงการนีย้ งั เคาะไม่ได้วา่ โรงพยาบาลมุสลิมในฝันของสังคมมุสลิม บ้านเรา จะออกมาหน้าตาเป็นอย่างไร บริหารจัดการอย่างไร เป็นธุรกิจ เต็มรูปแบบหรือไม่ หรือเป็นโรงพยาบาลการกุศล ฉบับนีเ้ รามาหาค�ำตอบ กัน ขึน้ ชือ่ ว่าโรงพยาบาลมุสลิม ซึง่ แน่นอนต้องอยูใ่ นรูปแบบโรงพยาบาล เอกชน เพราะภาคเอกชนเป็นเจ้าของ แต่ค�ำว่าเอกชนเป็นเจ้าของก็มีอยู่ 2 รูปแบบ คือ เป็นองค์กรที่แสวงหาก�ำไร กับองค์กรที่ไม่แสวงหาก�ำไร ซึ่งก็เป็นไปได้ทั้ง 2 รูปแบบ ซึ่งมีทั้งข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน เมื่อพิจารณา ถึงมูลค่าโครงการซึง่ เป็นหลักหลายร้อยล้านบาท หากองค์กรทีเ่ ป็นเจ้าของ ระดมเงินทุนในรูปแบบเงินบริจาคเพียงอย่างเดียว แน่นอนโรงพยาบาล ดังกล่าวก็จะกลายเป็นองค์กรสาธารณกุศลทีไ่ ม่แสวงหาก�ำไร ซึง่ ต้องอาศัย เงินบริจาคทัง้ การก่อสร้าง เครือ่ งมือแพทย์ และทุกๆ ปีตอ้ งขอเงินบริจาค เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการให้บริการรักษาผู้ป่วย (นอกเหนือจากเงิน อุดหนุนจากรัฐบาล สปสช. สปส.) การระดมเงินทุนบริจาคหลายร้อยล้าน บาทเป็นเรือ่ งทีย่ ากและใช้เวลานาน ดังนัน้ จึงไม่สามารถพิจารณาแค่เพียง เงินบริจาคเพียงอย่างเดียวได้ ทางเลือกอื่นๆ ได้แก่ การขายหุ้น และการ ขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน

วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งองค์กร และวัตถุประสงค์ของโรงพยาบาล ที่ต้องการช่วยเหลือด้านการแพทย์กับสาธารณชน แล้วจะท�ำอย่างไร เมื่อโรงพยาบาลต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล ทั้ง ค่าก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ และเงินทุนหมุนเวียน ครั้นจะท�ำเป็น โรงพยาบาลสาธารณกุศล ก็ติดเรื่องเงินบริจาคที่อาจไม่สามารถหาได้ เพียงพอ เมื่อเปิดด�ำเนินการแล้วก็ต้องขอบริจาคเรื่อยไป มาตรฐานการ บริการอาจไม่ดีเท่าที่ควร ธุรกิจไม่สามารถสร้างก�ำไรมาพัฒนาตัวเองได้ และอาจตอบโจทย์เฉพาะพี่น้องที่มีฐานะยากจน (คนที่มีฐานะปานกลาง ถึงร�่ำรวย อาจไม่เลือกใช้บริการที่นี่ เนื่องจากอาจไม่มั่นใจในมาตรฐาน การบริการ) ครัน้ จะท�ำเป็นธุรกิจเต็มรูปแบบก็ดจู ะเห็นแก่ตวั เกินไป ตอบ โจทย์เฉพาะคนรวย และทีส่ ำ� คัญเป็นการยากทีจ่ ะระดมเงินลงทุนด้วยการ ขายหุ้นเพียงอย่างเดียว ฉะนัน้ โครงการนีจ้ งึ ต้องอาศัยทัง้ เงินบริจาค และการขายหุน้ รูปแบบ องค์กรจะเป็นลูกครึ่ง นั่นคือ “องค์กรธุรกิจที่ไม่เน้นก�ำไร” หรือ “องค์กร กึ่งไม่แสวงหาก�ำไร” (Semi Non Profit) จดทะเบียนในรูปบริษัท โรงพยาบาล มีมลู นิธเิ ป็นผูถ้ อื หุน้ ในนามผูบ้ ริจาค และมีผถู้ อื หุน้ ทัว่ ไป เมือ่ ธุรกิจมีก�ำไร จะมีการแบ่งเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นทั่วไป และมูลนิธิ แต่ มู ล นิ ธิ จ ะไม่ น� ำ เงิ น ปั น ผลนั้ น มาแบ่ ง กั น แต่ จ ะน� ำ ไปพั ฒ นาต่ อ ยอด โรงพยาบาล หรือการจัดตั้งกองทุนสาธารณกุศลเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยที่มี ฐานะยากจน

ขอให้ขอมูลเพิม่ เติมว่า องค์กรทีเ่ ป็นมูลนิธิ สามารถทีจ่ ะแสวงหาก�ำไร หากระดมทุนด้วยการขายหุ้น แน่นอนโรงพยาบาลจะอยู่ในรูปของ ได้ แต่เป็นการหาก�ำไรเท่าที่พออยู่ได้กับค่าใช้จ่าย นอกจากนั้นก�ำไรต้อง บริษทั ทีแ่ สวงหาก�ำไร และเป็นธุรกิจเต็มรูปแบบ ซึง่ ก็คงไม่ตอบโจทย์ของ ไม่น�ำมาแบ่งกัน โดยจะต้องคืนสู่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ เช่น การ พีน่ อ้ งมุสลิมทุกกลุม่ โดยเฉพาะพีน่ อ้ งทีม่ ฐี านะยากจน และทีส่ ำ� คัญองค์กร พัฒนาปรับปรุง การช่วยเหลือ การจัดตั้งกองทุน ฯลฯ ที่เป็นเจ้าของโครงการก็คงไม่เลือกทางนี้ เนื่องจากไม่สอดคล้องกับ 18


รูปแบบธุรกิจดังกล่าวจึงเป็นธุรกิจในฝันของคนรุน่ ใหม่ทสี่ ามารถสร้าง ก�ำไร ในขณะเดียวกันก็สามารถช่วยเหลือสังคมไปได้พร้อมๆ กัน นั่นคือ สิง่ ทีเ่ รียกว่า Social Enterprise หรือ ธุรกิจเพือ่ สังคม เพือ่ ให้เป็นรูปธรรม ยกตัวอย่างง่ายๆ อยากให้พนี่ อ้ งลองนึกถึงโรงพยาบาลของชาวไทยจีนแห่ง หนึ่ง ที่นั้นให้บริการทั้งผู้ป่วยที่รวยสุดจนกระทั่งจนสุด ยกตัวอย่างเช่น โปรแกรมคลอดเหมาจ่ายของที่นี่มีให้เลือกถึง 5 แพ็กเกจ ตั้งแต่คลอด ธรรมดาห้องรวมไม่แอร์ จนกระทั่งคลอดผ่าพรีเมี่ยมห้อง VIP เดี่ยวพิเศษ หลักการของที่นี่คือ “ผู้มาใช้บริการโรงพยาบาลมีส่วนได้ช่วยเหลือผู้ป่วย ยากไร้” นั่นหมายถึง โรงพยาบาลจะจัดสรรก�ำไรที่ได้จากผู้ที่สามารถจ่าย แพง ไปช่วยเหลืออุดหนุนให้กับผู้ป่วยที่มีฐานะยากจน โดยที่ไม่กระทบ ต่อมาตรฐานการให้บริการทางการแพทย์ ผู้ป่วยที่จ่ายแพงจะได้รับการ บริการที่พรีเมี่ยม ซึ่งอาจเกินความจ�ำเป็นไปส�ำหรับผู้ป่วยกลุ่มอื่นๆ พูด ง่ายๆ คือ การน�ำเงินจากมือบน มาช่วยเหลือคนมือล่าง

แล้วจะท�ำอย่างไร เมื่อโรงพยาบาลต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล ทั้ง ค่าก่อสร้าง เครื ่อ่น งมื้อ อแพทย์ และเงินกทุดู นหมุนมุเวีส ยนลิครั ้นบ้ จะท� ำเป็นโรง พี งลองนึ ม า น พยาบาลสาธารณกุศล ก็ติดเรื่องเงินบริจาคที่อาจไม่สามารถหาได้เพียง เรามี น้อจาคเรื ยกว่ า มาตรฐานการบริ 6 ล้าน การ พอ เมื อ่ เปิดด�ป ำเนิระชากรไม่ นการแล้วก็ตอ้ งขอบริ อ่ ยไป อาจไม่ดเี ท่าทีค่ วร ธุรกิจไม่สามารถสร้างก�ำไรมาพัฒนา ตัวเองได้ และอาจ คน แต่ ไ ม่ มี โ รงพยาบาลมุ ส ลิ ม ตอบโจทย์เฉพาะพี่น้องที่มีฐานะยากจน (คนที่มีฐานะปานกลางถึงร�่ำรวย อาจไม่ กใช้บงริกในประเทศไทย ารที่นี่ เนื่องจากอาจไม่มั่นใจในมาตรฐานการบริการ) สัเกลือแห่

มหาวิทยาลัย ธนาคาร โรงแรม ฯลฯ พี่น้องเราต้องทนกับการเสี่ยงต่อ อาหารไม่ฮะลาลในโรงพยาบาลไปอีกนานเท่าไร เราต้องล�ำบากในการ ละหมาดในโรงพยาบาลขนาดไหน ภรรยาของเราต้องฝากครรภ์กับหมอ ที่เป็นผู้ชาย เราไม่สามารถเลือกได้เลยว่าจะรักษากับแพทย์ผู้ชายหรือ เมื่อโรงพยาบาลเป็นไปในรูปแบบนี้ จะสามารถระดมทุนได้หลายๆ ผูห้ ญิง (ในขณะทีป่ ระเทศมุสลิมทัง้ ในเอเชีย และตะวันออกกลางสามารถ ทาง ความเป็นไปได้ที่โรงพยาบาลจะเกิดขึ้นก็มีสูง อีกทั้งตอบสนองกลุ่ม ท�ำได้) เราต้องทนกับสภาพนี้ไปอีกนานแค่ไหน ลูกค้าได้ทกุ กลุม่ ทัง้ คนรวยและคนจน มีมาตรฐานการแพทย์เทียบเท่ากับ ถึงเวลาแล้วพี่น้องที่เราต้องร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อให้โรงพยาบาล โรงพยาบาลเอกชนชั้นน�ำ ธุรกิจสามารถสร้างก�ำไรได้และเลี้ยงตัวเองได้ อิ ส ลามแห่ ง แรกในประเทศไทยสามารถเกิ ด ขึ้ น ให้ จ งได้ เราท� ำ ไม่ตอ้ งพึง่ พาเงินจากภายนอกตลอดเวลา นอกจากนัน้ ยังสามารถน�ำก�ำไร อย่างสุดความสามารถและขอดุอาอ์ และความส�ำเร็จอยู่ที่พระองค์ คืนสู่สังคมได้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งกองทุนสาธารณกุศล การต่อยอดสร้าง อินชาอัลลอฮ์ ตึ ก เฉพาะส� ำ หรั บ ผู ้ ป ่ ว ยด้ อ ยโอกาส การพั ฒ นาโรงพยาบาลสู ่ ค วาม เป็นเลิศ ฯลฯ หากวิเคราะห์ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของโรงพยาบาลมุสลิม จะพบว่ามีแต่ ได้กับได้ สังคมมุสลิมจะมีโรงพยาบาลที่ให้บริการตามหลักการอิสลามที่ ได้มาตรฐาน และค่าบริการไม่แพง ผู้บริจาคจะได้ผลบุญในรูปของ ศอดะเกาะห์ญารียะห์ ผู้ลงทุนจะได้ผลก�ำไรจากธุรกิจ (หรือถ้าทั้งบริจาค และลงหุน้ ก็ได้ทงั้ ดุนยา และอาคีเราะห์) เป็นการสร้างงานให้กบั พนักงาน ได้มีงานท�ำในสิ่งแวดล้อมอิสลาม ผู้ป่วยมีฐานะมีโอกาสได้ท�ำบุญ และที่ ส�ำคัญที่สุดถือเป็น “ฟัรฎูกิฟายะห์” ที่วายิบส�ำหรับสังคมมุสลิมที่จะต้อง รับผิดชอบร่วมกัน ทั้งนี้ทั้งนั้น โรงพยาบาลนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้หากปราศจากความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนในสังคมมุสลิม ต้องเสียสละทั้งแรงกาย ความคิด และ ก�ำลังทรัพย์เพือ่ ให้โรงพยาบาลของเราเกิดขึน้ สักที ต้องอาศัยความร่วมมือ จากผูใ้ หญ่ในสังคม และองค์กรต่างๆ โดยเฉพาะองค์กรทีเ่ ป็นศูนย์รวมของ พี่น้องมุสลิม ได้แก่ มัสยิด สื่อมวลชน ทีวีมุสลิม มูลนิธิ/สมาคม ที่ต้อง ขอความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์ และระดมเงินทุนบริจาค และที่ ส�ำคัญองค์กรแหล่งเงินมุสลิม เช่น สหกรณ์อิสลามต่างๆ หรือแม้กระทั่ง ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ที่ควรจะมีส่วนในการเป็นเจ้าของ โรงพยาบาลโดยการซื้อหุ้น พี่น้องลองนึกดู มุสลิมบ้านเรามีประชากรไม่น้อยกว่า 6 ล้านคน แต่ ไม่มโี รงพยาบาลมุสลิมสักแห่งในประเทศไทย ในขณะทีโ่ รงพยาบาลคริสต์ โรงพยาบาลพุทธ โรงพยาบาลซิกห์ มีอยู่ให้เห็นเต็มบ้านเต็มเมือง มันเป็น ไปได้อย่างไร เราอยู่กันได้อย่างไร แล้วพี่น้องจะตอบกับอัลลอฮ์ (ซบ.) อย่างไรที่เราไม่สามารถท�ำในสิ่งที่เรียกว่า “ฟัรฎูกิฟายะห์” ในขณะที่เรา สามารถท� ำ สิ่ ง ที่ จ� ำ เป็ น ต่ อ สั ง คมอย่ า งอื่ น ๆ ได้ ห มดแล้ ว โรงเรี ย น 19


ศรัทธาชนเพิ่มเงินช่วยเหลือเด็กก�ำพร้ารายเดือน และขยายทุนสู่ภูมิภาค

YATEEM TV เข้าเยี่ยมจุฬาราชมนตรี ศรัทธาชนมอบบ้านหลังที่ 16 ให้ครอบครัวก�ำพร้า

ด้วยแรงสนับสนุนจากผู้มีจิตศรัทธา ท�ำให้มูลนิธิ ศรัทธาชนเพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า สามารถด�ำเนิน การสร้าง บ้านศรัทธาชน หลังที่ 16 ให้ครอบครัวล�ำภา ได้ส�ำเร็จ โดยครอบครัวล�ำภานี้เดิมอาศัยอยู่ในเพิงพัก ขนาดเล็ก กับ 4 ชีวิต มีโต๊ะ แม่ ประกอบอาชีพ จับปลา รับจ้างทั่วไป และมีลูกก�ำพร้า 2 คน คนโตอายุ 5 ขวบ (จมน�้ำเสียชีวิตเมื่อช่วงกุรบานที่ผ่านมา) คนเล็กอายุ 2 ขวบ ทางมูลนิธิฯได้ไปเยี่ยมเยียน และเห็นถึงความ จ�ำเป็น จึงด�ำเนินการก่อสร้างให้ โดยได้รบั บริจาคไม้ และ เงิน จากผู้มีจิตศรัทธา บ้ า นศรั ท ธาชน หลั ง ที่ 16 ตั้ ง อยู ่ ที่ ต.ลุ ม พลี จ.พระนครศรีอยุธยาโดยใช้งบประมาณในการก่อสร้าง ทั้งสิ้นประมาณ 180,000 บาท

เตรี ย มพบกั บ สถาบั น การเงิ น แบบอิ ส ลาม “สหกรณ์ศรัทธาชน” เตรียมพบกับบริการใหม่ของมูลนิธศิ รัทธาชน เพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า กับการให้บริการ ทางการเงิน ที่ถูกต้องตามหลักการอิสลาม เร็วๆนี้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 089-6894352 หรือ ที่ 02-934-3495-6

ยะตีมสัญจร บ้านควนโดน จ.สตูล มอบทุนให้เด็กก�ำพร้า 20


คณะกรรมการมูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า มีมติเพิ่มทุนการศึกษารายเดือนให้ กับเด็กก�ำพร้า เพื่อเพิ่มรอยยิ้มให้กับพวกเขาได้มากขึ้น โดยโครงการมอบทุนการศึกษารายเดือนของ มูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า จากเดิมที่มอบให้เด็กก�ำพร้าทุนละ 700 ,1,200 และ 2,000 บาท เพิ่มเป็น 1,000, 1,500 และ 2,500 บาท ตามล�ำดับ เนื่องจากคณะกรรมการเล็งเห็นว่า ตามสภาวะเศรษฐกิจเช่นนี้ ความจ�ำเป็นและรายจ่ายของครอบครัวก�ำพร้าย่อมมีมากขึ้น ดังนั้นเพื่อ เป็นการบรรเทาความเดือดร้อน ทางคณะกรรมการจึงมีมติเพิ่มทุนให้ดังกล่าว และได้ขยายความช่วย เหลือไปสู่ภูมิภาคมากขึ้น โดยกระจายให้ทั่วทุกภาคให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งในระยะแรกได้มีการเพิ่มจ�ำนวน ทุนจาก 350 ทุน เป็น 450 ทุน ต่อเดือน อีกด้วย และในอนาคตก็จะมีการพิจารณาเพื่อเพิ่มจ�ำนวน ทุนตามล�ำดับต่อไป

ดาวเทียม THAICOM 5 C-Band ความถี่ 3585 V Symbol Rate : 30000 หรือดูออนไลน์ได้ที่ www.Yateem.tv

05

ท่ า นคื อ คนส� ำ คั ญ ที่ จ ะร่ ว ม สานฝันให้เด็กก�ำพร้า ร่วมสานฝันโดยบริจาคเงินเข้าบัญชี

สมัคร หรือ ต่ออายุ สมาชิกยาตีมทีวีวันนี้ พร้อมรับ สิทธิพิเศษ สิ ท ธิ พิ เ ศษส� ำ หรั บ สมาชิ ก เดิ ม หรือ ผู้ที่ประสงค์จะสมัครสมาชิก ใหม่ กับ ยาตีม วันนี้ พร้อมรับสิทธิ พิเศษมากมาย เช่น ส่วนลด 5-10% เมื่อซื้อสินค้าหรือใช้บริการ กับร้าน ค้าที่ร่วมรายการ, รับส่วนลด 5% เมื่ อ ซื้ อ สิ น ค้ า ยาตี ม และรั บ ของที่ ระลึ ก จากยาตี ม ที วี เมื่ อ ต่ อ อายุ สมาชิก เพียงเดือนละ 100 บาท หรือ ปีละ 1,200 บาท สนใจสมัครติดต่อ ได้ที่ 02-934-3160-2

ธนาคารกรุงเทพ สาขาลาดพร้าว 99 บัญชีกระแสรายวัน ชือ่ บัญชี มูลนิธศิ รัทธาชน เพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า เลขทีบ่ ญ ั ชี 181-3-09014-7 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา คลองตัน บัญชีกระแสรายวัน ชือ่ บัญชี มูลนิธิ ศรั ท ธาชน เพื่ อ การศึ ก ษาและเด็ ก ก� ำ พร้ า เลขที่บัญชี 001-6-00162-1 หรื อ ติ ด ต่ อ ส� ำ นั ก งานมู ล นิ ธิ ฯ 48/48 ซ.ลาดพร้ า ว 114 แขวงพลั บ พลา เขต วังทองหลาง กทม. 10310 โทรศัพท์ 02-934-3495 โทรสาร 02934-3496 อีเมล satthachon@hotmail.com เว็บไซต์ www.satthachon.org เฟซบุค www.facebook.com/satthachon

21


22


รับซื้อ

öºŒÒ¹ » ¤ÍѾ ´Ùö¶Ö§·Õ躌ҹ ติดตอ

แบยา

089-1279978

23


Health

สสม www.muslimthaihealth.com

ผงชูรส อันตราย จริงหรือ ? ในปี พ.ศ.2451 ศาสตราจารย์ ดร.คิคุนา เอะ อิเคดะ แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพีเรียล ประเทศญี่ปุ่น ค้นพบว่ามีผลึกมีน�้ำตาลที่สกัด จากสาหร่ายทะเลที่ชื่อว่า คิมบุ คือ กรดกลูตา มิก และเมื่อลองชิมพบว่ามีรสใกล้เคียงกับซุป สาหร่ายทะเล ซึง่ เป็นอาหารประจ�ำวันของชาว ญี่ปุ่นที่บริโภคกันมาหลายร้อยปี จึงตั้งชื่อรส ชาดของกรดกลูตามิกทีส่ กัดได้วา่ “อูมามิ” หลัง จากนั้นได้จดสิทธิบัตรการผลิตกรดกลูตามิกใน ปริมาณมากๆ อันเป็นที่มาของอุตสาหกรรม ผงชูรสในปัจจุบัน กระบวนการผลิ ต ในปั จ จุ บั น เริ่ ม จากใช้ ขบวนการย่อยสลายแป้งมันส�ำปะหลังทางเคมี โดยกรดก�ำมะถันหรือกรดซัลฟิวริกที่อุณหภูมิ 130 องศาเซลเซียส จนได้สารละลายน�้ำตาล กลูโคส จากนั้นผ่านกระบวนการหมักโดยใช้ยู เรีย (ซึ่งเป็นส่วนประกอบส�ำคัญในปัสสาวะ) และเชือ้ จุลนิ ทรียจ์ นได้แอมโมเนียกลูตาเมต ส่ง ผ่านกระบวนการทางเคมีต่อโดยใช้กรดเกลือ หรือกรดไฮโดรคลอริก จนได้เป็นกรดกลูตามิก และผ่านกระบวนการเปลีย่ นแปลงทางเคมีโดย ใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ จะได้สารละลายผงชูรส หยาบ น�ำไปผ่านกระบวนการฟอกสี จนเป็น สารละลายผงชูรสใส แล้วผ่านขั้นตอนสุดท้าย ด้วยการท�ำให้ตกผลึก จนกลายเป็นผลึกผงชูรส ผงชูรส จะกระตุ้นการท�ำงานของต่อมรับ รส และท�ำให้รู้สึกถึงรสชาดอาหารที่ “อร่อย” ขึ้น จนรู้สึกว่าบะหมี่จืดๆ ที่กินเข้าไปมีรสชาด ชวนกิน หรือจะกล่าวอีกอย่างก็คอื ผงชูรสไม่ได้ ท�ำงานกับอาหาร แต่ท�ำงานกับร่างกายของเรา เอง กลู ต าเมตเป็ น กรดอะมิ โ นชนิ ด หนึ่ ง ท� ำ หน้าที่เป็นสารสื่อประสาทรอง เกลือกลูตาเมต หรือทีอ่ ยูใ่ นซองเรียกว่า โมโนโซเดียมกลูตาเมต เป็ น สารสื่ อ ประสาทของร่ า งกายมนุ ษ ย์ จึ ง อธิบายได้ว่าท�ำไมกลูตาเมตจึงเป็น สารเพิ่มรส

สุขสาระ ปีที่ 9 ฉบับ 108 ประจ�ำเดือน ธันวาคม 2555

ชาด เพราะกลูตาเมตสามารถกระตุน้ ตุม่ รับรสที่ ลิ้น (Taste bud) ได้ดีกว่าสารสื่อประสาทอื่นๆ ระหว่างกินอาหาร ประเด็นอันตรายจากผงชูรสนั้น มีข้อมูลทั้ง ฝ่ายทีเ่ ห็นด้วยและไม่เห็นด้วย โดยฝ่ายทีไ่ ม่เห็น ด้วยอ้างข้อมูลจากสหรัฐอเมริกาที่จัดให้ผงชูรส เป็น “Generally Recognized as Safe” (GRAS) ซึ่งหมายถึงสามารถบริโภคได้อย่าง ปลอดภัย โดยพิจารณาให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับ เกลือ น�้ำตาล และพริกไทย เช่นเดียวกับที่ได้รับ การยอมรับในทวี ปเอเชีย ยุ โรป อเมริก าใต้ แอฟริ ก า ออสเตรเลี ย และอี ก หลากหลาย ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งคณะ กรรมการอาหารและยา ประกาศให้ผงชูรสเป็น วัตถุปรุงแต่งรสอาหารและใช้ได้กับอาหารทุก ชนิดตั้งแต่ปี พ.ศ.2522 แต่อย่างไรก็ตาม กับกลุ่มที่มั่นใจว่าผงชูรส มีอันตรายมากนั้น ได้อ้างประสบการณ์ของผู้ บริโภคที่เคยได้พบกับตัวเอง เมื่อบริโภคผงชูรส เช่น อาการชาที่ปาก ลิ้น ปวดกล้ามเนื้อบริเวณ โหนกแก้ม ต้นคอ หน้าอก หัวใจเต้นช้าลง หายใจ ไม่สะดวก ปวดท้อง คลืน่ ไส้ อาเจียน กระหายน�ำ้ อาการลักษณะนี้เรียกกันว่า “ไชนีสเรสทัวรอง ซินโดม” (Chinese Restaurant Syndrome) หรือ “โรคภัตตาคารจีน” หรือโรคแพ้ผงชูรส กล่าวกันว่า ผงชูรสยังมี “พิษแฝง” ในเรื่อง โซเดียม เพราะมีโซเดียมที่มาจากโซดาไฟเป็น องค์ประกอบส�ำคัญ เช่นเดียวกับเกลือแกง แต่ อันตรายมากกว่าเกลือแกงตรงที่ว่าเกลือแกงใช้ เพียงนิดเดียว ก็รสู้ กึ ว่ามีรสเค็ม แต่ผงชูรสใส่มาก เท่าไรก็ไม่รสู้ กึ ตัวว่ามีปริมาณโซเดียมมากเท่าไร เพราะไม่มรี สเค็มให้รสู้ กึ เหมือนเกลือแกง ซึง่ พิษ แฝงในเรื่องโซเดียมนี้ ท�ำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ท�ำให้เกิดการคัง่ ในสมองเด็ก ซึง่ เมือ่ เด็กโตขึน้ จะ เป็นคนปัญญาอ่อนได้ เป็นอันตรายต่อผูป้ ว่ ยโรค ไต ความดันสูง โรคหัวใจ และโรคอื่นๆ ที่แพทย์ 24

ห้ามกินของเค็ม ซึ่งหมายถึงการห้ามกินเกลือ โซเดียมนั่นเอง เป็นต้น ยังมีอันตรายจากตัวผงชูรสเอง เช่น ท�ำลาย สมองส่วนที่ควบคุมการเจริญเติบโต นอกจาก นัน้ ยังไปท�ำลายระบบสืบพันธุ์ ระบบประสาทตา และอาจจะเป็นต้นเหตุของโรคมะเร็งได้ โดย เฉพาะผู ้ ห ญิ ง ที่ ก� ำ ลั ง ตั้ ง ครรภ์ ไม่ ค วรจะรั บ ประทาน เพราะหากรับประทานมากเกินไป ผงชูรสจะผ่านเยื้อที่กั้นระหว่างรก ท�ำให้ทารก ในครรภ์จะได้รับผลโดยตรง ส�ำหรับทารกแรก เกิดถึง 3 เดือนนัน้ หากได้กนิ ผงชูรสเข้าไปจะส่ง ผลต่อการเจริญเติบโตของสมองในเด็กวัยนี้อีก ด้วย เป็นต้น นอกจากนี้บทความของรองศาสตราจารย์ ดร.พิ ชั ย โตวิ วิ ช ญ์ ที่ ยื น ยั น ว่ า ได้ สั ม ภาษณ์ ครอบครัวของเด็กไทยวัย 20 เดือนทีถ่ งึ แก่ความ ตาย เมือ่ กินขนมครกโรยผงชูรสด้วยความเข้าใจ ผิดว่าเป็นน�้ำตาล มีค�ำแนะน�ำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่ผงชูรส หรือไม่ควรรับประทานเกินวันละ 2 ช้อนชาต่อ วัน ข้อเท็จจริงเหล่านี้ผู้บริโภคสมควรเรียนรู้ และตัดสินใจด้วยตัวเอง และส�ำหรับผูท้ เี่ ชือ่ หรือ ไม่เชื่อว่าผงชูรสมีอันตรายจริงหรือไม่นั้น ทางที่ ดีเพือ่ ป้องกันตนเอง ให้เลิกใช้ผงชูรส และน�ำ้ ต้ม กระดูกไว้เพิ่มรสชาติแทนการเพิ่มรสชาติด้วย ผงชูรส หรือรู้จักท�ำผงนัว หรือผงชูรสธรรมชาติ แทนจะดีกว่า ข้อมูล- http://www.kslgroup.com http://www.learners.in.th http://women.thaiza.com http://campus.sanook.com http://www.oknation.net


25


หลักกิโลเมตรที่ศูนย์

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม

เราต่างเป็นหนึ่งใน “สถาปนิกสังคม” ผมได้รับหนังสือพิมพ์“The Time of India” ตั้งแต่เช้าวันที่ 17 ตุลาคม 2555 จากชายปั่น จักรยานด้วยการเริ่มทยอยส่งไปตามซอกซอยของ เมือง ในหนังสือพิมพ์มีฉบับพิเศษชื่อว่า “REMEMBERING SIR SYED AHMAD KHAN DAY” โดยหน้า แรกของหนังสือเขียนว่า “The Life of A Legend” ซึ่งแสดงถึงแนวคิดของสถาปนิกสังคมอย่าง “เซอร์ ซัยยิด อะหมัด คาน” (Sir Syed Ahmad Khan) ที่ ต้องการพัฒนาสังคมมุสลิมและยกระดับแนวคิดใน การต่อสู้เพื่อปลดแอกภายใต้จักรวรรดิแห่งอังกฤษ ที่เริ่มเข้ามาปกครองอินเดียตั้งแต่ปี 1600-1947 ท่านได้เปลีย่ นมุมมองของมุสลิมในการต่อสูจ้ าก การ “จั บ ปื น ต่ อ สู ้ กั บ อ� ำ นาจรั ฐ มาเป็ น การ ศึกษา”ตั้งแต่ประชาชนอินเดียพ่ายแพ้การปฏิวัติ ครั้งใหญ่ของประชาชนในปี 1857 ด้วยเหตุผลคือ “การจับปืนต่อสู้ไม่ใช่ชัยชนะที่ยั่งยืน มันต้องแลก ด้วยหยดเลือด ชีวิต และคราบน�้ำตาเสมอ ทว่า การ ศึกษาคือ การติดอาวุธทางปัญญาทีส่ ามารถสืบทอด ไปสู่คนรุ่นหลังได้อย่างทรงพลัง” หลังละหมาดมักริบ(ช่วงหัวค�่ำ) ของวันที่ 17 ตุลาคม ผมกับเพื่อนกว่า 10 ชีวิตได้เริ่มเคลื่อนตัว เข้ามหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกิจกรรมและงานร�ำลึก วันคล้ายวันเกิดของผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย เซอร์ ซัยยิด อะหมัด คาน พวกเราเป็นคนไทยที่เข้ามา ศึกษาในมหาวิทยาลัยมุสลิมอาลีกัรแห่งนี้ นอกจาก พวกเราแล้วยังมีคนไทยที่นี่อีกมากกว่า 120 ชีวิต นักศึกษาทุกคนต่างหลัง่ ไหลเข้าสูม่ หาวิทยาลัยอย่าง ไม่ขาดสาย บ้างก็เดินทางเข้าสู่หอพัก บ้างเลี้ยวเข้า สู ่ ค ณะและมี ค นอี ก จ� ำ นวนมากทยอยไปสถานที่ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม เราต่างเข้าไปพบเพือ่ นและเข้าเยีย่ มชมสถานที่ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็น “พิพิธภัณฑ์ เซอร์ซัยยิด” (Sir Syed House) หอพักนักศึกษาที่ เราเรียกว่า “หอแดง”( Sir Syed Hall) และอีกสถาน ทีห่ นึง่ ทีค่ บั คัง่ ไปด้วยผูค้ น นัน่ ก็คอื “สุสานของเซอร์ ซัยยิด อะหมัด คาน” ผมได้เจอเพือ่ นและอิหม่ามใน แต่ละมัสยิด ต่างเข้ามาเยีย่ มมัสยิดของมหาวิทยาลัย และสุสานของผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ซัยยิด อะหมัด คาน นับเป็นนักฟื้นฟูคนส�ำหรับของอนุทวีป (SubContinent) ท่านเป็นหนึ่งในนักเขียนและนักฟื้นฟู ผู้ทรงอิทธิพลแห่งยุคสมัยและท่าน คือ “นักบูรพา คดี” (Orientalist) คนส�ำคัญของอินเดียในการน�ำ เสนอ “อิสลามให้เพื่อนร่วมโลกได้เข้าใจ” หนั ง สื อ ของ “Vishnoo Bhagwan” ชื่ อ “Indian Political Thinker” ได้ระบุว่า “ซัยยิด อะหมัด คาน ก�ำเนิดในวันที่ 17 ตุลาคม 1817 และเสียชีวิตในวันที่ 28 มีนาคม 1898 ก�ำเนิดใน

ครอบครั ว ที่ มี เ กี ย รติ ใ นการท� ำ งานในศาลของ ราชวงศ์โมกุล (Mughal Dynasty) ท่านได้รับการ ศึกษาจากบิดาของท่านเอง และอาซิส อัลนิสา บิกมั (Aziz-Un-Nisa Begum) แม่ของท่านคือผู้ทรง อิทธิพลต่อการศึกษาของท่านโดยแท้ ท่านมีความ รูภ้ าษาอาหรับและภาษาเปอร์เซีย อีกทัง้ ยังช�ำนาญ ในวิชาคณิตศาสตร์และการแพทย์ ท่านเป็นหัวหน้า ครอบครัวแทนซัยยิด มูฮัมหมัด มุตตากี (Syed Mohammad Muttaqi) ผู้เป็นพ่อของท่านได้ เสียชีวิต “ ความจริงวิถีแห่งโลก คือ การย�่ำ ผ่านเพียงชั่วคราว มนุษย์อย่างเราไม่ ต่างจากนักเดินทาง ก้าวแรกของมนุษย์ คือคลอดจากครรภ์มารดา ก้าวสุดท้าย คือการฝังเรือนร่างในสุสานอันเปลี่ยว เหงาและว่างเปล่า ค�ำถามไม่ใช่อยู่ที่ว่า มนุษย์จะอยู่นานถึงร้อยปีหรือไม่ สิ่งที่ ส�ำคัญกว่านั้นคือ มนุษย์ได้สร้างสิ่ง ประโยชน์อะไรให้เพื่อนร่วมโลกได้เชยชม หลังจากเขาได้จากไป” (อิหม่ามฆอซาลี , (Al-Ghazali) ในหนังสือ Kimiya-yi saadat หน้า .525-526)

สายตระกูลของท่านย้ายรกรากมาจากอาหรับ ไปยังเมืองฮิราท (Hirat) ในอิหร่าน แต่ไม่นาน ซัยยิด ฮาดี (Syed Hadi)ปู่ของท่านได้ย้ายรกรากมาปัก หลักในประเทศอินเดียตั้งแต่ยุคสมัยของกษัตริย์ อักบัร ในปี 1847 ท่านเขียนหนังสือเล่มโด่งดังชื่อ ว่า “ Asarus Sanadeed” ได้พูดถึงมุสลิม 800 ปี ของอิ น เดี ย กระทั่ ง ปี 1855 หนั ง สื อ อี ก เล่ ม “Ain-e-Akbari” และหนังสือเกี่ยวกับระบบการ ศึกษาคือ “Structure On The Present State of English Education in India” และ ท่านได้เขียน หนังสือเล่มส�ำคัญในปี 1859 หลังปฏิวตั ปิ ี 1857 คือ “Asbab-e-Baghawat-e-Hind” หรือ“สาเหตุที่ ชาวอินเดียก่อการปฏิวัติ” ในปี 1870 หนังสืออีก เล่มอย่าง “Essay on the life of Muhammad” เพื่อให้มุสลิมได้ถือเป็นแบบฉบับที่ดีในการด�ำเนิน ชีวิต David Lelyveld ได้เขียนหนังสือ “Aligarh First Generation ; Muslim Solidarity in British India” สรุปว่า “ท่านได้เปิดโรงเรียนขึ้นในวันที่ 24 พฤษภาคม 1875 ชื่อ “Madrasatul Uloom Musalmanan-e-Hind” และในวันที่ 8 มกราคม 2626

ปี ๑๘๗๗ ได้เปลี่ยนเป็นวิทยาลัย “The Mohammaden Anglo-Oriental College” และปรับ ฐานะเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย “Aligarh Muslim University”( ‫ )علی گڑھ مسلم یونیورسٹی‬ตั้งแต่ ปี 1920 เป็นต้นมา มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนในวัน แรก 1 มิถุนายน 1875 โดยนักเรียนกลุ่มแรกนั้นมี ประมาณ ๒๓ คน และในเดือนธันวาคม 1875 นักเรียนเพิ่มเข้ามาอีก 66 คน นักศึกษาในปีการ ศึกษาแรกมีประมาณ 89 คน พวกเราต่างเดินเลียบพื้นด้านหน้ามัสยิดของ มหาวิทยาลัย สุสานของผูก้ อ่ ตัง้ มหาวิทยาลัยได้วาง อยู่มุมด้านขวาของมัสยิด นักศึกษาและอาจารย์ มากมายได้เข้ามาเยี่ยม ก�ำแพงของสุสานได้เขียน ระบุถงึ สายตระกูลของ เซอร์ ซัยยิด ไว้อย่างน่าสนใจ “เซอร์ ซัยยิด อะหมัด คาน” บิน ซัยยิด มูฮัม หมัด มุตตากี บิน ซัยยิด มูฮัมหมัด ฮาดี บิน ซัยยิด มูฮัมหมัด อัมมาร มุตตากี บิน ซัยยิด บุรฮาน บิน ซัยยิด มูฮัมหมัด ซัตรู บิน ซัยยิด อาซีส บิน ซัยยิด ฮาฟิส อะหมัด บิน ซัยยิด อิบรอฮีม บิน ซัยยิด ชา รีฟุดดีน ฮูเซ็น บิน ซัยยิด มูซา บิน ซัยยิด กุรบา บิน ซัยยิด ยะฟัร บิน ซัยยิด กาสิมุดดีน ฮูเซ็น บิน ซัยยิด ยัรรู ฮูเซ็น บิน ซัยยิด อาลี บิน ซัยยิด อาบู ฟัตตะ บิน ซัยยิด มูฮัมหมัด บิน ซัยยิด ยะฟัร บิน ซัยยิด อาลี บิน ซัยยิด มูฮัมหมัด บิน ซัยยิด อะหมัด บิน ซัยยิด ซัด อะหมัด บิน ซัยยิด ฮามิด บิน ซัยยิด มูฮัมหมัด อะหมัด บิน ซัยยิด มูฮัมหมัด อะรอจ บิน ซัยยิด อาบี อับดุลเลาะ อะหมัด บิน ซัยยิด มูซา มิร รูกอู ์ บิน อิหม่าม มะมีด บิน อิหม่าม อาลี มูซา ริดอ บิน อิหม่าม มูซา กาซีมุต ตากี บิน อิหม่าม ยะฟัร ซอดิก บิน อิหม่าม มูฮัมหมัด บากี ร บิน อิหม่าม ซัยนุล อาบีดีน บิน อิหม่าม ฮูเซ็น บิน อามีรุลมุฮมินีน อาลี บิน อาบีตอลิบ และ ฟาตี มะ บิน มูฮมั หมัด และท่านสุดท้ายคือ “ท่านศาสดา มูฮัมหมัด” “เซอร์ ซัยยิด อะหมัด คานสืบสายตระกูลคนที่ 38 ของฟาตี ม ะ ลู ก สาวท่ า นศาสดามู ฮั ม หมั ด (ศ็อลลอลลาฮูอาลัยฮี วาซัลลัม) ” ผมและเพื่อนต่างเข้ามาเยี่ยมชมเกือบทุกครั้ง ทว่า คืนนี้ ต่างคนล้วนปลืม้ ปิตเิ ป็นอย่างดี อย่างน้อย เราก็ได้เยี่ยมชมบุคคลแห่งประวัติศาสตร์ “แม้เรา อาจเป็นได้ไม่มากขนาดนั้น ทว่า จิตวิญญาณแห่ง การเป็นสถาปนิกสังคมได้เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่เราทอด น่องออกจากบ้าน” “การเริม่ ต้นศึกษาประวัตขิ องนักต่อสูก้ น็ บั เป็น ก้าวแรกที่มั่นคงและเพียงพอแล้วส�ำหรับสถาปนิก สังคมตัวเล็ก ๆ อย่างเรา”


Memories

อาฎิล ศิริพัธนะ facebook.com/ asiripatana

“กากีสามส่วน” ผมเติบโตมาในพหุสงั คมมาตัง้ แต่ตน้ เติบโตมาในสภาวะแวดล้อมของหลาก พูดเป็นนัยว่า ผมคิดว่าผมเป็นใคร? ใหญ่มาจากไหน? จึงคิดจะท� ำอะไรที่ เชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม แตกต่างจากนักเรียนคนอื่นๆเค้าท�ำกัน คุณคงเข้าใจ ว่ามันเจ็บแสบไปถึงทรวง วัยมัธยมศึกษาของผมเอง ก็เป็นเติบโตมาจากโรงเรียนรัฐบาลประจ�ำจังหวัด เพราะในความรู้สึกของผม ผมก�ำลังพยายามท�ำการภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้าแท้ๆ อันโด่งดัง เต็มไปด้วยความสวยงาม เหมือนภาพที่เห็นได้ในภาพยนต์หนังรัก แต่มนุษย์รอบโรงเรียนกลับมองว่าผมเหลิงและถือดี ผมเลือกที่จะอดทนกับ วัยรุ่นของไทย และก็เต็มไปด้วยอบายมุขเหมือนในภาพยนต์โศกนาฏกรรม ความเข้าใจผิดเหล่านี้ อย่างผู้นอบน้อม ไม่มีการโวยวายหรือการขอความช่วย เหลือจากหน่วยงานภายนอกใดๆทั้งสิ้น วัยรุ่นไม่แพ้กัน ท่ามกลางกระแสสังคมอันสับสน เหมือนที่เราเห็นทั่วไป เป็นฉากเดิมๆ ที่เราคุ้นชิน และพบเจอได้ทุกที่ในโรงเรียนมัธยมชั้นน�ำในไทย ผมเหมือนเป็น ตัวหลุดโลก เป็นสิ่งฉีกแอกไร้ที่มาที่ไป ผมเดินไปที่ใด จะมีคนเห็นเด็กผู้ชายใส่ กางเกง”กากีแบบสามส่วน”เหมือนพวกนักร้องเพลงแร็บ ท�ำให้สุนทรียภาพ ของฉากโรงเรียนอันงดงาม พลันสลายลงทันที ใช่แล้วครับ ผมเป็นมุสลิม ผมไม่ใส่กางเกงกากีขาสั้น แต่ผมจะสั่งตัด และ ท�ำให้ขากางเกงยาวเลยหัวเข่ามาแทน จะดูเสล่อขนาดไหน คนจะมองยังไง ผมก็ชัดเจนในจุดยืนนี้ตลอดสิบสองปีในการศึกษาขั้นพื้นฐานของผม เด็กผู้ชายซื่อๆธรรมดาๆหนึ่งคน กลายเป็นตัวปัญหาของโรงเรียนในทันที และถูกเพ่งเล็งเทียบเท่ากับนักเรียนเกเรที่ชกต่อยและเสพยาก็ไม่ปาน เจอครู หลายๆคนที่ไหน เข้าหมวดไหน ผมก็จะโดนสวดเป็นสิบนาทีเพราะขากางเกง พิกลพิการสุดรักของผม ผมใช้เวลาสามปีในการอธิบายอาจารย์และทุกๆคน ที่ต่อต้าน จนทุกคนต้องจนใจยอมรับในที่สุด เฉียดจะถูกไล่ออกก็หลายครั้ง จากความวู่วามมีอารมณ์โกรธของฝ่ายปกครอง ทุกครั้งผมจะอธิบายและเงียบ เฉยกับการยั่วยุต่างๆ เรียกผู้ปกครองก็แล้ว ให้ครูๆช่วยกันถล่มก็แล้ว ผมก็ยัง คงก้มหน้าไปเรียนกับสามส่วนเสล่อๆของผมต่อไป นอกจากนัน้ ผมยังติด ร. วิชา ว่ายน�้ำด้วย เพราะผมขอใส่กางเกงสปีดแบบยาวลงสระ เพราะมีสาวๆอยู่เยอะ แต่อาจารย์บอกว่าต้องใส่กางเกงว่ายน�้ำแบบลิงเท่านั้น จึงจะให้เรียน ผมก็เลย รอไปตามระเบียบ

ผมเรียนรูอ้ กี ว่า อุปทานหมูเ่ กิดได้ในทุกๆวัย แม้แต่ผใู้ หญ่เองก็ไม่หลุด กรอบอันนี้ เมื่อคนจ�ำนวนมากมองว่าเรื่องใดเป็นสิ่งที่ดีต้องธ�ำรงรักษาไว้ พวกเขาจะเริ่มสร้างระเบียบบางอย่าง และค่อยๆโน้มน้าวคนรอบตัวและ คนรุ่นหลังคล้อยตามระเบียบนั้นโดยมีอารมณ์ร่วมเต็มที่ แต่หาได้คิด ไตร่ตรองที่มาที่ไป และจะไม่มองหาทางเลือกใหม่ๆในการรับมือความ หลากหลายในโลกของความเป็นจริงอีกต่อไป ผู้ที่มีความแตกต่าง ไม่ว่า จะดีหรือเลว สุดท้ายจะตกเป็นจ�ำเลย โดนประณาม และจะถูกท�ำให้เจ็บ ปวดอย่างเลี่ยงไม่ได้ ถึงอย่างนั้น ผมก็ขอบคุณมากๆที่ผมได้ไปโรงเรียน เพราะถ้าหากผมจะไปเอาประสบการณ์สนุกแบบเพ้อฝัน ผมไปดูหนังรัก วัยรุ่นเอาก็ได้ โชคดีที่ผมได้เรียนรู้การเป็นผู้มั่นคงในจุดยืน และได้รับ โอกาสทางการศึกษาดีๆที่โรงเรียน

ประเด็นของบทความนี้คงจะไม่ใช่เรื่องเจ้ากางเกงกากีสามส่วน ผมพูดถึง เรื่องนี้เพราะอยากจะชี้ให้คุณเห็นว่า แม้แต่ในสังคมมุสลิมเองก็มีอุปทานหมู่ ที่ น�ำไปสู่การบดบังสายตาของเราเช่นเดียวกัน เช่นเมื่อเกิดการยั่วยุมุสลิม เราจะ เริ่มมีการตื่นตัว และเริ่มมีความคิดเห็นไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งว่าจะลงมือ กระท�ำการอย่างไรบ้าง บางครัง้ มันน�ำไปสูส่ โลแกนยอดฮิตต่างๆ บางครัง้ น�ำไป สูก่ ารประท้วงรุนแรง บางครัง้ เกิดการจัดตัง้ กลุม่ ต่างๆเพือ่ แก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า และบางครั้งน�ำมาซึ่งความขัดแย้งและสิ้นเปลืองทรัพยากร ปรากฎการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นจากอารมณ์รักร่วมกันในอิสลาม เราปลุก ปัน่ กระแสอารมณ์รว่ มนัน้ มากเกินไป จนเราเริม่ ให้นำ�้ หนักกับอารมณ์ความรูส้ กึ ร่วมมากกว่าเนื้อหาที่ว่าด้วยความจริงแท้ ความเผื่อแผ่ และเจตนารมณ์อันดี ของอิสลาม เราจึงชอบที่จะเข้าร่วมกลุ่มก๊วนต่างๆและเริ่มต�ำหนิกลุ่มคนที่มีรูป แบบแตกต่างจากอุปทานหมูข่ องเรา น�ำไปสูค่ วามรุนแรง การดูถกู ดูแคลน และ ฟิตนะฮฺอันมากมาย ทุกๆครั้งที่สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น เรารู้สึกเหมือนกับเราได้ท�ำ อะไรบางอย่างที่ยิ่งใหญ่ แต่หาไม่ เราแค่จุดพลุเสียงดังแต่ดับไว มันเป็นกระแส ที่ผ่านมาผ่านไป และไม่ได้ส่งผลดีอย่างชัดเจนในระยะยาว

ผมเรียนรูส้ งิ่ ทีส่ ำ� คัญจากภาวะกดดันเรือ่ งสามส่วน และความเป็นคนแปลก หน้าในสังคมโรงเรียนอย่างหนึ่ง คือมันไม่ใช่ความผิดของใครเป็นพิเศษ ในการ ทีร่ ะบบไม่สามารถยอมรับผมได้ และไม่แปลกเลยทีร่ ะบบในโลกนี้ จะตัง้ อยูบ่ น อุปทานหมู่ ขาดซึง่ หลักการและเหตุผลอันควรโดยสิน้ เชิง โรงเรียนของผมนี้ เป็น โรงเรียนที่ปลูกฝังค่านิยม ราชาชาตินิยม แบบเข้มข้น ผนวกกับจารีตแบบ ประเพณีไทยพุทธที่ยังเป็นแกนหลักในการด�ำเนินเรื่องราวของคนจ�ำนวนมาก มาตรฐานความดีความชั่วนั้นไม่ได้เหมือนมาตรฐานที่อิสลามได้สอนผมไว้ มัน ในฐานะเหยื่อคนหนึ่งของอุปทานหมู่ ผมอยากเน้นย�้ำพี่น้องมุสลิมว่า ไม่ได้วางอยู่บนการรับฟังเด็กหนึ่งคน มันไม่ได้ตั้งอยู่บนความเห็นอกเห็นใจใน ความเป็นปัจเจคบุคคล แต่มนั วางอยูบ่ นความเข้าใจร่วมกันว่า ระเบียบทีถ่ กู จัด อิสลามคือแนวทางของประชาชาติสายกลาง เป็นประชาชาติทดี่ เี ลิศ เราจะต้อง วางไว้ตามความเชื่อแบบไทยๆ คือสิ่งที่ดีเพียงพอ และเราไม่ควรจะขัดแย้งกับ ไม่ย�้ำรอยเดิมของผู้ที่เคยท�ำผิดพลาดเพราะความไม่รู้ก่อนหน้านี้ เราจะต้องไม่ ตกเป็นเหยื่ออุปทานหมู่ จนเราขาดซึ่งทรรศนะและการยอมรับความหลาก มันเพียงเพราะเหตุผลทางศาสนาและความเชื่อ หลาย เหมือนกับที่ผมเคยประสบปัญหา เพราะอุปทานหมู่ของคนส่วนใหญ่ที่ อย่างไรก็ตาม มันไม่ยุติธรรมส�ำหรับผมเอามากๆ เพราะในขณะที่ผมมี โรงเรียนของผม เหตุผลอันแน่นหนาในการอธิบายการกระท�ำของผม แต่คณะผู้บริหารและ *หมายเหตุ: ศาสนาอิสลามก�ำชับชัดเจนให้ผู้ชายที่บรรลุนิติภาวะ ต้อง อาจารย์ผู้ควบคุม กลับไม่มีเหตุผลที่ชัดเจนในการยับยั้งการกระท�ำนี้ เพียงแต่ ปกปิดร่างกายอย่างน้อยจากเหนือสะดือจนถึงใต้หัวเข่า 27


28


29


The Strangers

ummah islam facebook.com/Ummahfityah

มุฮัมมัด บะดีอฺ ผู้น�ำสูงสุดของ Muslim Brotherhood

การจัดอันดับของ The 500 Most Influential Muslims in the World for 2012 ผู้น�ำสูงสุดของ Muslim Brotherhood อยู่ ล�ำดับที่ 4 เมื่อย้อนกลับไปดูอันดับ 1-5 จากปี ทีผ่ า่ น ๆ มา ไม่เคยมีระดับคนทีม่ ใิ ช่ผนู้ ำ� รัฐบาล ติดมาก่อน ปีนี้หลายสิ่งหลายอย่างเปลี่ยนไป ต�ำแหน่งผูน้ ำ� สูงสุดของ Muslim Brotherhood เรียกในภาษาอังกฤษว่า Supreme Guide ส่วนในภาษาอาหรับเรียก­ ว่า อัล-มุรชิด อั ล -อาม (แปลอั ง กฤษตรงๆว่ า General Guide) ภาษาไทยก็คงต้องใช้ว่า “ผู้น�ำสูงสุด” ต�ำแหน่ง อัล-มุรชิด อัล-อาม เป็นต�ำแหน่ง สูงสุดของ Muslim Brotherhood ซึ่งเคยถูก ปฏิเสธจากชัยคฺ ดร.ยูซุฟ อัล-เกาะเราะฎอวีย์ มาแล้วหลายครั้ง เพราะท่านต้องการรักษา บทบาทในฐานะนักนิตศิ าสตร์อสิ ลาม (ปัจจุบนั ท่ า นเป็ น ประ­ธ านสหภาพอุ ล ะมาอ์ มุ ส ลิ ม นานาชาติ) แต่เราก็เห็นบ่อยครัง้ ว่าสือ่ ตะวันตก โดยทัว่ ไปมักระบุฐานะของชัยคฺเกาะเราะฎอวีย์ ว่ า เป็ น the Muslim Brotherhood’s spiritual leader หน่วยส�ำคัญของ Muslim Brotherhood เรียกว่า มักตับ อัล-อิรชาด (ส�ำนักงานชี้น�ำ) หรือ Guidance Bureau ซึ่งท่านมุฮัมมัด บะดีอไฺ ด้เป็นสมาชิกของสภานีม้ าตัง้ แต่ปี 1993 จนกระทั่งได้เป็น อัล-มุรชิด อัล-อาม คนที่ 8

ของ Muslim Brotherhood ในวั น ที่ 16 มกราคม 2009 การเป็นอัล-มุรชิด ของท่านบะดีอฺแปลก ประการหนึ่งก็คือ มุรชิดคนก่อนยังไม่เสียชีวิต ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน (มุรชิดคนก่อนคือท่าน มุฮัมมัด มะฮฺดี อัล-อากิฟ มุรชิดคนที่ 7) ท่านมุฮมั มัด บะดีอเฺ กิด เมือ่ วันที่ 7 สิงหาคม 1943 ในเมือง มะฮัลลา อัล-กุบรอ จบสัตวแพทย์ จากมหาวิทยาลัย Beni Suef ในปี 1965 เป็น ปีทที่ า่ นถูกจับตัวเข้าคุกในข้อหาเป็นสมาชิกของ Muslim Brotherhood ปี 1974 ถูกปล่อยตัวแต่ยงั อยูใ่ นการควบคุม ของทางการ ท่ า นจึ ง ได้ ศึ ก ษาต่ อ และจบ ปริญญาโท(1977)และปริญญาเอก(1979)ด้าน สัตวแพทย์จากมหาวิทยาลัย Zagazig ท่านเติบโตในสายวิชาสัตวแพทย์ในระดับ ประเทศ มีผลงานเป็นที่ยอมรับกันในสาขาวิชา นี้ เป็นศาสตราจารย์ในปี 1987 ท่านเป็นประธานสภาบริหารของสมาคม พยาธิวทิ ยาในการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของ อียิปต์ เป็นผู้ก่อตั้งสถาบันสัตวแพทย์นานาชาติ ที่ประเทศเยเมน ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ให้ กั บ สถาบั น สั ต วแพทย์ ท่ า นยั ง เป็ น บรรณาธิ ก ารให้ กั บ วารสารวิ จั ย ให้ กั บ คณะ สัตวแพทย์ของมหาวิทยาลัยต่อเนื่องกันถึง 9 ปี 30

เพื่อส่งเสริมงานวิชาการสาขาที่ท่านเชี่ยวชาญ อีกด้วย จนกระทั่งท่านได้รับการบรรจุให้เป็น 1 ใน 100 นักวิทยาศาสตร์อาหรับทีย่ งิ่ ใหญ่แห่งยุคใน หนังสือสารานุกรมนักวิทยาศาสตร์อาหรับในปี 1999 เช่ น เดี ย วกั บ Muslim Brotherhood ท่านอื่นๆ คือการเคยผ่านการจองจ�ำในคุก ในปี 1965 ท่านถูกจับกุมตัวพร้อมกับซัยยิดกุฏบฺและ สมาชิกคนอื่นๆ ท่านถูกตัดสินจ�ำคุก 15 ปี ถูก ขังคุกอยู่ 9 ปี จากนั้นจึงถูกปล่อยตัวออกมา(ใน การดูแลควบคุมของรัฐบาล) ต่อมาและในปี 1999 ก็ถูกจ�ำคุกอีก 3 ปี ท่านได้เล่าถึงเหตุการณ์ในคุกว่า “แม้เป็น ช่วงเวลาที่หนักหน่วงแต่ความหวังไม่เคยจาง หายไป เพราะพวกเราเชื่ อ มั่ น ในค� ำ สั ญ ญา ของอัลลอฮฺ” ท่ า นเป็ น สมาชิ ก ที่ ทุ ่ ม เทของ Muslim Brotherhood ในงานการศึกษาและงานบริหาร จนกระทั่งก้าวขึ้นมาเป็นแกนน�ำคนส�ำคัญใน ส�ำนักงานชี้น�ำ (มักตับ อัล-อิรชาด) ก่อนขึ้นมา เป็นผู้น�ำสูงสุดในปี 2009 และได้กลายเป็นผู้น�ำ สูงสุดคนแรกในยุคที่ Muslim Brotherhood สัมผัสกับเส้นทางแห่งอ�ำนาจหลังอาหรับสปริง เมือ่ ถูกถามว่า Brotherhood ได้เรียงล�ำดับ เรื่องอะไรก่อนหลังจากการปฏิวัติอาหรับสปริง ท่านบาดิอฺตอบว่า คือปัญหาภายในได้แก่การ ศึกษา การจ้างงาน และการพัฒนาวิธีการต่างๆ ในการเข้าถึงปัญหา รวมทั้งปัญหาภายนอกคือ ประเด็นของอุมมะฮฺ รวมไปถึงปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อนักข่าวได้ถามอายะฮฺอัล-กุรอานใดที่ ท่านได้อา่ นประจ�ำในขณะนี้ ท่านมุฮมั มัด บะดีอฺ ตอบว่า คืออายะฮฺดังต่อไปนี้ จงกล่าวเถิด (มุฮัมมัด) ว่า ข้าแต่อัลลอฮฺ ผู้ทรงอภิสิทธิ์แห่งอ�ำนาจทั้งปวง ! พระองค์นั้น จะทรงประทานอ� ำ นาจแก่ ผู ้ ที่ พ ระองค์ ท รง ประสงค์ และจะทรงถอดถอนอ�ำนาจจากผู้ที่ พระองค์ทรงประสงค์ และจะทรงให้เกียรติแก่ผู้ ที่พระองค์ทรงประสงค์ และจะทรงยังความ ต�่ำต้อยแก่ผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ ความดีทั้ง หลายนั้นอยู่ที่พระหัตถ์ของพระองค์ แท้จริง พระองค์นั้นเป็นผู้ทรงอานุภาพเหนือทุกสิ่งทุก อย่าง (อัลกุรอาน 3:26)


31


32


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.