Halal Life Magazine #30

Page 1

ฟรี!

ปีที่ 4 ฉบับที่ 30 มีนาคม 2558




Editor’s note ราวๆ 8 เดือนเห็นจะได้ที่เราไม่ได้พบกันผ่านตัวอักษรบนหน้ากระดาษในนิตยสาร Halal Life เราในที่ นี้ไม่ได้ความแค่เพียงผมในฐานะบรรณาธิการและผู้รับผิดชอบตัวอักษรในหน้านี้เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึง นิตยสารทั้งเล่มด้วย ครับ Halal Life หายไปร่วม 8 เดือนค�ำพูดที่เราไม่อาจจะปฏิเสธได้ในสถานการณ์เช่นนี้คือ ขอโทษ ขอโทษสมาชิกที่วางใจจ่ายเงินเพื่อเป็นหลักประกันว่าจะได้อ่าน Halal Life ในทุกฉบับ แต่จู่ๆ เราก็ หายไปแบบไม่บอกกล่าว ขอโทษนักอ่านทีเ่ ฝ้าติดตามและเป็นก�ำลังใจให้กบั Halal Life ด้วยดีเสมอมา และ ทีส่ ำ� คัญ ขอโทษผูป้ ระกอบการน้อยใหญ่ทคี่ อยเป็นแรงสนับสนุนส�ำคัญในวันที่ Halal Life ต้องต่อสูบ้ นเส้น ทางธุรกิจที่ขรุขระและรกร้าง เราขอโทษจากใจจริงและขอยอมรับค�ำต�ำหนิทุกอย่างแต่โดยดี 8 เดือนที่หายไปเรามีเพียงค�ำอธิบายเดียว และเป็นค�ำอธิบายแบบตรงไปตรงมานั่นคือ เราจ�ำเป็นต้อง หยุดการตีพิมพ์เพราะเหตุผลในด้านการเงิน ไม่ต้องบอกก็คงรู้ว่าการท�ำหนังสือให้เป็นธุรกิจที่เลี้ยงทีมงานได้นั้นเป็นเรื่องยาก ยิ่งในยุคสมัยที่อะไรๆ ก็เป็นดิจิตอล ออนไลน์ กันหมดอย่างในปัจจุบันด้วยแล้ว ไม่ต้องถึงกับเลี้ยงทีมงานหรอก เอาแค่เลี้ยงดู ตัวมันเองยังแทบเป็นไปไม่ได้ด้วยซ�้ำ จริงอยู่ที่ Halal Life ท�ำงานกันแบบกองโจร ไม่ได้มีส�ำนักงาน ทีมงาน หรืออุปกรณ์อะไรที่ต้องใช้เงิน ทุนมากมาย แต่เอาเข้าจริงกว่าจะออกมาเป็นนิตยสารหนึ่งฉบับมันไม่ได้ใช้เพียงเงินทุน แต่มันใช้เวลาของ ทีมงานที่มีอยู่ไม่กี่คนของเราไปแทบทั้งชีวิต หลังจากยือ้ มาได้สามปีกว่า สุดท้ายเราก็ตอ้ งยอมรับความจริงและตัดสินใจพักมันไว้เมือ่ เดือนกรกฎาคม ปีที่แล้ว เราเลือกบอกตัวเองว่าเรา “พัก” แทนค�ำว่า “หยุด” เพราะในเวลานั้นเราคิดตลอดเวลาว่าเราจะ กลับมาอีกครั้ง แต่เอาเข้าจริงในระหว่างที่ห่างหายกันไป หากใครอยู่ในโลกออนไลน์คงได้เห็น Halal Life ในบทบาท อื่นผ่านตากันอยู่เป็นประจ�ำ เราหยุดพักนิตยสารด้วยเหตุผลทางด้านการเงิน (หลักๆ คือค่าพิมพ์) แต่เวลา ของเรายังมี เราจึงหันมาท�ำ Digital Content เพื่อสื่อสารเรื่องราวในแบบ Halal Life ผ่านทาง เว็บไซต์ และโซเชียลมีเดียยอดนิยมอย่างเฟซบุค นอกจากนีเ้ รายังได้ทำ� Video Content ในหลากหลายรายการทีห่ ลายคนคงได้เห็นกันบ้าง เช่น ส.ป.ช. 101 รายการจะพาท่านออกเดินทางไปในโลกกว้าง เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ให้กับชีวิต ด�ำเนินรายการ โดยนาอีม วงค์เกษร หรือจะเป็น อยู่/เป็น/สุข รายการที่จะพาไปพูดคุยกับผู้คนหลากหลายที่ใช้ชีวิตอย่าง เข้าใจ ด�ำเนินรายการโดย ฟารีดา โยธาสมุทร คงไม่มคี วามหมายหากเราพูดถึงแต่สงิ่ ทีผ่ า่ นไปโดยไม่กล่าวถึงสิง่ ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ช่วงเวลาทีผ่ า่ นมาเรา คุยกันหลายรอบ ถกกันหลายครั้ง ถึงอนาคตและเส้นทางของ Halal Life จนได้ข้อสรุปเป็นแนวทางคร่าวๆ ว่า หลังจากนี้ Halal Life จะไม่ได้เป็นเพียงนิตยสาร เว็บไซต์ หรือเป็นเพียงแค่สื่อเท่านั้น แต่ Halal Life จะขอเป็นไลฟ์สไตล์หนึ่งในการใช้ชีวิตของผู้คนยุคสมัยที่ทุกอย่างแอบแฝง ซ่อนเร้น และยากที่จะเข้าใจ เพราะเราเชือ่ ว่า เราสามารถร่วมกันสร้างสรรค์สงั คมทีน่ า่ อยูด่ ว้ ยกันได้ หากเราใช้ชวี ติ อย่างรูเ้ ท่าทันบน โลกที่เต็มไปด้วยความไม่ปลอดภัย ภายใต้แนวคิด “Halal” ที่ออกแบบการใช้ชีวิตให้เหมาะสมกับทุกคน บนโลกใบนี้ Halal Life จึงขออาสาสร้างสรรค์สื่อเพื่อน�ำเสนอแนวคิดในการใช้ชีวิตที่ปลอดภัย โดยวางอยู่ บนเงื่อนไขที่ได้รับอนุมัติจากพระผู้เป็นเจ้า มาร่วมกันสร้างสังคมแบบ Halal Life ด้วยกันนะครับ วิทยากร อิสมาแอล บรรณาธิการบริหาร halallife.tv@gmail.com 4

Halal Life Magazine ที่ปรึกษาฝ่ายการตลาด กฤษดา เรสลี บรรณาธิการบริหาร วิทยากร อิสมาแอล บรรณาธิการต่างประเทศ กอมารียะห์ สุเรรัตน์ บรรณาธิการผู้จัดการ วิลาสินี กันซัน ฝ่ายการตลาด อนุชา ทรงวงษ์ สิทธิศักดิ์ วงค์เกษร ฝ่ายสร้างสรรค์ กวีนิพนธ์ เกตุประสิทธิ์ เอกมล บุญชม ศิลปกรรม อรดา โต๊ะมางี ติดต่อโฆษณา 086-890-6055 Website www.halallifemag.com Email halallife.tv@gmail.com Facebook fb.com/halal.life.magazine เจ้าของ บริษัท ปลูกฝัน จ�ำกัด เลขที่ 336/18 ซ.ราษฎร์อุทิศ 52 แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510


โลกยังคงอยู่ภายใต้การสร้างความ หวาดกลั ว ต่ อ อิ ส ลามและมุ ส ลิ ม เหตุการณ์ความรุนแรงจากการกระท�ำ ที่อ้างอิงศรัทธาของชาวมุสลิมถูกน�ำ เสนอผ่านสือ่ ซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ เล่า ตอกย�ำ้ ด้วย ค�ำจ�ำกัดความทีท่ ำ� ร้ายจิตใจชาวมุสลิม ทั่วโลก เช่น กลุ่มก่อการร้ายมุสลิม มุสลิมหัวรุนแรง นอกจากความจ�ำเป็น ในการตัง้ ค�ำถามถึงผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลัง Halal Life เชื่อว่าการป่าวประกาศออกไปว่า มุสลิมไม่เอาความรุนแรงก็เป็นเรื่อง จ�ำเป็นเช่นกัน ฉบับที่ 30 มีนาคม 2558

แบบฟอร์มสมัครสมาชิก นิตยสารฮาลาลไลฟ์

หมดปัญหา หยิบไม่ทัน หาไม่เจอ

สมั ค รสมาชิ ก แน่นอนกว่า

ข้าพเจ้า นาย นาง นางสาว...................................................................................... อายุ .................. ปี ที่อยู่ ....................................................................................................................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................ โทรศัพท์ ................................. อีเมล์ ................................................... การศึกษา อาชีพ

มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาตรีขึ้นไป อื่นๆ พนักงานบริษัท รับราชการ,รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่วนตัว นักเรียน, นักศึกษา อื่นๆ

มีความประสงค์จะสมัครสมาชิกนิตยสารฮาลาลไลฟ์ สมาชิก 1 ปี 12 ฉบับ 300 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่........................ สมาชิกอุปถัมภ์ 1 ปี 12 ฉบับ 300 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่........................ ให้กับห้องสมุด/มัสยิด............................................................................................................................. ที่อยู่ ....................................................................................................................................................... ................................................................................................. รหัสไปรษณีย์ ...................................... วิธีช�ำระค่าสมาชิก โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี บริษัท ปลูกฝัน จ�ำกัด

ธนาคารไทยพานิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) สาขาเทสโก้โลตัส ทาวน์อินทาวน์ เลขที่บัญชี 404-051345-7

(ถ่ายเอกสารได้) 5

หยิบ

ได้ที่นี่

ร้านอาหารและเครื่องดื่ม ห้องอาหารโซเฟีย (คลองตัน) ร้านอาหารฟาฮาน่า (พระรามเก้า) สวนอาหารจันทร์เสี้ยว (มอเตอร์เวย์) ภัตตาคารสินธรสเต็กเฮ้าส์ (รามค�ำแหง) ร้านริสกี (ทาวน์อินทาวน์) โคบัง (รามค�ำแหง-สุขาฯ 3) Istanbul @ Market Walk (ราชพฤกษ์) ร้านอาหารอีสานฝั่งธน (อรุณอัมรินทร์) ห้องอาหารนางพญา (พญาไท) เมี่ยงปลาเผาหลังราม สาขาพระรามเก้า ร้านฮาลาลโฮม ซ.เทคโนบางกะปิ (บางกะปิ) ร้านฟารีดาโภชนา (เหม่งจ๋าย) อะลาดิน ซูชิ (เหม่งจ๋าย) ร้านครัวบิสมิลลาห์ (หนองจอก) I COFFEE / I YAKI (รามค�ำแหง 53) ร้านครัวมุสลิม (ทาวน์อินทาวน์) MUMKIN KAFE’ (ศูนย์การค้าเซเลเบรท) ร้านหนังสือ ศูนย์หนังสืออิสลาม (ศูนย์กลางอิสลาม คลองตัน) ศูนย์หนังสือมานพวงศ์เสงี่ยม (พระรามเก้า) ร้านหนังสือส.วงศ์เสงี่ยม (มหานาค) Halal Express (หนองจอก) ร้านอารีฟ เซ็นเตอร์ (มัสยิดสวนพลู) โรงพยาบาล รพ.ปิยเวช, รพ.กรุงเทพ, รพ.เสรีรักษ์, รพ.นวมินทร์, รพ.เวชธานี, รพ.บ�ำรุงราษฎร์ ธุรกิจบริการและโรงแรม รีสอร์ท บางพลัด โรงแรมนิวเวิลด์ (บางล�ำพู) โรงแรมรีเจ้นท์ (รามค�ำแหง) โรงแรมชาลีนา (รามค�ำแหง) โรงแรมนูโว ซิตี้ (บางล�ำพู) มุสลิมโฮม 2 (รามค�ำแหง) ธนาคารและสหกรณ์ เคาท์เตอร์ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยทุกสาขา สหกรณ์อิสลามสันติชน เครือข่ายสหกรณ์อิสลามภาคใต้ ต่างจังหวัด ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (เชียงใหม่) ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (แม่สาย) ร้านฟาด้า สเต๊กแอนด์คอฟฟี่ (อยุธยา) ร้านอาหารอิสลามดาวุดชา (กาญจนบุรี) ร้านมุนาซีร กาแฟสด&เค้ก พัทยา (ชลบุรี) ร้านอาหารชุกรี่ ปั๊ม PT (สุราษฎร์ธานี) ห้องอาหารคุณสาหร่าย (ชุมพร) ร้านอาหารคุ้มราชา ควนโดน (สตูล) SAMI KITCHEN หาดใหญ่ (สงขลา) ร้านบากุส (ปัตตานี) ร้านอาหารอาบูคอลี (ยะลา) ร้านกีตาบบุ๊กเฮาส์ (ยะลา) Halal Minimart (สตูล) ร้านบังฝรั่ง (สงขลา) โรงแรมปายอินทาวน์ (แม่ฮ่องสอน) ร้านสเต๊กครูตา (อยุธยา)


Global

ฟินแลนด์เตรียมเผยแพร่กรุ อาน พร้อมความหมายทางวิทยุ

กอมารียะห์ อิสมาแอล - haboohoohoo@gmail.com

ทันตแพทย์มสุ ลิมเปิดคลินกิ บริการฟรี ในอเมริกา

Makbul Patel ชาวมุสลิมอเมริกนั กลายเป็นแบบอย่างทีด่ สี ำ� หรับชาว มุสลิมทัว่ โลก หลังได้รบั การยกย่องจากสังคม จากการเปิดคลินกิ ให้บริการ ฟรี ด ้ า นทั น ตกรรมมายาวนานหลายทศวรรษ ในรั ฐ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย สหรัฐอเมริกา โดยเขากล่าวว่า “ผมเชื่อว่าหมอเป็นอาชีพที่มีเกียรติ ดังนั้น การให้บริการชุมชนถือเป็นหนึ่งในสิ่งที่มีเกียรติที่เราควรจะท�ำ” Makbul อพยพจากอิ น เดี ย มาอยู ่ ใ นสหรั ฐ อเมริ ก านานกว่ า สาม ทศวรรษ เขาได้เริม่ ต้นการให้บริการด้านทันตกรรมของเขาในชิคาโก ก่อน ที่จะย้ายมาอยู่ในแคลิฟอร์เนียในปัจจุบัน ทัตแพทย์วัย 57 ปีที่ย้ายมาอยู่ในแคลิฟอร์เนียในปี 1990 และตั้งแต่ นั้นจนถึงปัจจุบัน เขาได้เป็นอาสาสมัครช่วยเหลือสังคมมาโดยตลอด เขา เปิดคลินิกทันตกรรมชื่อ Al-Shifa ในเมือง San Bernardino ซึ่งเปิดให้ บริการฟรีกับทุกคน โดยไม่เลือกเชื้อชาติหรือศาสนา จากการกระท�ำที่ ทุ่มเทเพื่อสังคมของเขาท�ำให้เขาได้รับรางวัล Riverside Heroes ในปี 2014 นอกจากนี้เขายังได้รับการยกย่องในสาขาบริการชุมชน ในฐานะ ประธานของศูนย์ศึกษาอิสลามแห่งเมือง Riverside อีกด้วย Makbul Patel ยังมีบทบาทโดดเด่นในการต่อสู้กับ โรคหวาดกลัว อิสลาม ที่เติบโตในอเมริกาภายหลังเหตุการณ์ 9/11 ที่ถูกระบุว่าเป็นฝีมือ ของชาวมุสลิม นับตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ 9/11 ชาวมุสลิมในสหรัฐอเมริกา ราว 6 - 8 ล้านคนถูกเลือกปฏิบัติและถูกปองร้าย หากเขาแต่งกายที่แสดง ตัวตนของความเป็นมุสลิม ผลส�ำรวจในสหรัฐได้เปิดเผยว่าชาวอเมริกัน ส่วนใหญ่มคี วามรูน้ อ้ ยมากเกีย่ วกับชาวมุสลิม ผลส�ำรวจของแกลลัปโพลล์ ยังพบว่าส่วนใหญ่ของชาวมุสลิมในสหรัฐอเมริกาเป็นผู้รักชาติและยินดี ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของประเทศ และยังคงมีทศั นคติทดี่ เี กีย่ วกับอนาคต ของพวกเขา นอกจากนี้การส�ำรวจยังพบว่าส่วนใหญ่ของชาวอเมริกันเชื่อว่าชาว มุสลิมในสหรัฐเป็นเหยื่อของการเลือกปฏิบัติท่ามกลางการโจมตีล่าสุดใน ชุมชน ที่มา : i-newsmedia.net 6

สถานีวิทยุฟินแลนด์เตรียมออกอากาศเป็นครั้งแรก ส�ำหรับอัลกุรอานพร้อมความหมายภาษาเยอรมันเพื่อ เสริมสร้างความเข้าใจทีด่ เี พิม่ ขึน้ กับชาวมุสลิมและบุคคล ทั่วไปต่อศาสนาอิสลามมากขึ้น “มันเป็นเรื่องดีที่จะได้ยินความหมายอัลกุรอาน” ศาสตราจารย์ Jaakko Hämeen-Anttila ผู้แปลคัมภีร์ กุรอ่านเป็นภาษาเยอรมันบอกกับสถานีวทิ ยุ Yle’s Radio 1 และกล่าวต่อว่า “มันเป็นสิง่ ส�ำคัญทีค่ มั ภีรก์ รุ อานจะถูก น�ำเสนออย่างครบถ้วน โดยไม่เพียงแค่เลือกน�ำเสนอแต่ เฉพาะในมุมลบต่อศาสนาอิสลาม หรือการเลือกน�ำเสนอ แต่ในมุมบวกต่อศาสนาอิสลามเท่านั้น แต่รายการดัง กล่าวจะน�ำเสนอข้อมูลทัง้ หมดให้กบั ผูฟ้ งั แล้วผูฟ้ งั จะเป็น ผู้ตัดสินเอง” ศาสตราจารย์ Hämeen-Anttila เปิดเผยเรื่องดัง กล่าวหลังเสร็จสิน้ โครงการทีท่ ำ� ร่วมกับ Finnish Broadcasting Company Yle ส�ำหรับการออกอากาศคัมภีร์ กุรอานพร้อมความหมายภาษาเยอรมัน โดยโครงการ สถานีวทิ ยุดงั กล่าวจะเป็นการออกอากาศเนือ้ หาในคัมภีร์ กุรอานพร้อมความหมาย ซึ่งจะเริ่มต้นจากการสนทนา ร่วมกันของอิหม่าม Anas Hajjar ผู้น�ำองค์กรมุสลิมใน ฟินแลนด์ และศาสตราจารย์ Hämeen-Anttila ศาสตราจารย์ Hämeen-Anttila กล่าวว่าเขาจะพูด เรื่องราวเกี่ยวกับสวรรค์และโลกในรายการวิทยุรวมทั้ง บทบาทของชัยตอน เช่นเดียวกับค�ำแนะน�ำส�ำหรับชาย และหญิงในการด�ำเนินการอย่างถูกต้องในที่ท�ำงาน “โครงการนี้เป็นขั้นตอนส�ำคัญในการท�ำความเข้าใจ กับคนต่างศาสนิก มันเป็นความพยายามทีจ่ ะบอกเล่าเรือ่ ง ราวของอัลกุรอานและสิ่งที่มีอยู่ในนั้น “ อิหม่าม Anas Hajjar กล่าว อนึง่ ฟินแลนด์มปี ระชากรทัง้ สิน้ 5.2 ล้านคน เป็นชาว มุสลิมประมาณ 40,000 ถึง 45,000 คน


โรงพยาบาลมุสลิมในพม่า รักษาฟรีทกุ ศาสนิก เรื่องดีๆ ที่โลกไม่อยากรับฟัง ในปี 1937 โรงพยาบาลฟรีของมุสลิม (Muslim Free Hospital) ได้ก่อตั้งขึ้น ในกรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า สร้างขึ้นโดยบรรดาผู้น�ำมุสลิมกลุ่มหนึ่งเพื่อดูแลคน ยากจนในย่างกุ้งที่ไม่สามารถเข้าถึงการรักษาทางการแพทย์อื่นๆ เงินลงทุนเริ่ม ต้นมาจากมุสลิมทั้งหมด ซึ่งปัจจุบันโรงพยาบาล Muslim Free Hospital ยังคง เปิดอยู่ และยังคงได้รับเงินสนับสนุนจากผู้บริจาคชาวมุสลิมในพม่า นับตัง้ แต่เริม่ ต้นโรงพยาบาล Muslim Free Hospital ไม่เคยมีการเลือกปฏิบตั ิ จากพืน้ ฐานของศาสนา กลุม่ ชาติพนั ธุ์ หรือฐานะ ชาวมุสลิมในพม่ายังคงจ่ายเงิน เพื่อให้มีการรักษาทางการแพทย์แก่คนยากจนทั้งที่เป็นมุสลิม พุทธ คริสต์ ฮินดู หรือศาสนาอื่นๆ สิ่งที่น่าสนใจเป็นพิเศษก็คือ เรื่องนี้เกิดขึ้นในพม่า มุสลิมเป็นชนกลุ่มน้อยใน พม่า ประมาณ 4% ของประชากรทั้งหมด มุสลิมจ�ำนวนมากในพม่าใช้ชีวิตอยู่ ด้วยความหวาดกลัว ความรุนแรงต่อชาวมุสลิมที่อยู่อย่างสงบก�ำลังเพิ่มมากขึ้น พระสงฆ์พทุ ธทีช่ อบใช้กำ� ลังส่งเสริมให้ใช้ความรุนแรงต่อชาวมุสลิมอย่างเปิดเผย ในบางพืน้ ทีข่ องพม่า สถานทีท่ างธุรกิจและบ้านเรือนถูกเผา มุสลิมถูกฆ่า พระสงฆ์ พุทธเรียกร้องให้ชาวมุสลิมทัง้ หมดออกไปจากประเทศของพวกเขา และเรียกพวก เขาว่าสัตว์ แต่ถึงกระนั้น โรงพยาบาล Muslim Free Hospital ก็ยังคงให้การักษา พยาบาลแก่ชาวพุทธที่เป็นคนส่วนใหญ่โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่มีข้อคลางแคลงใจ และไม่มีวาระทางการเมือง ความเปิดกว้างต่อความหลากหลายทางศาสนานี้ยังมีอยู่ในตัวของลูกจ้างใน โรงพยาบาล Muslim Free Hospital แพทย์และพยาบาลชาวมุสลิม พุทธ และ คริสเตียน ทุกคนต่างท�ำงานร่วมกันด้วยความเคารพ ปริมาณและคุณภาพของการรักษาพยาบาลเมือ่ ดูจากทรัพยากรอันจ�ำกัดของ โรงพยาบาลอาจเป็นสิ่งที่คาดไม่ถึงในสหรัฐฯ ชาวมุสลิมในพม่าบริจาคเงินปีละ 400,000 ดอลล่าร์ ถ้าผูป้ ว่ ยมีเงิน พวกเขาจะจ่ายเท่าทีส่ ามารถจ่ายได้ ถ้าพวกเขา ไม่มีเงิน พวกเขาก็ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย คลินกิ ผูป้ ว่ ยนอกของโรงพยาบาลรักษาผูป้ ว่ ยมากกว่า 450 คนต่อวัน โรงพยาบาล แห่งนี้มที ั้งหมด 160 เตียง ในปี 2000 มีการบันทึกสถิติไว้ว่ามีการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยถึงประมาณ 6,000 คน โรงพยาบาลแห่งนี้มีแผนกอายุรกรรม ศัลยกรรม สูติเวชกรรม และแผนกพิเศษส�ำหรับผู้ป่วยโรคตา ปัจจุบันมีเด็กคลอดที่นี่ ประมาณเดือนละ 220 คน โรงพยาบาลนี้ยังมีเครื่องเอกซ์เรย์, แผนกเภสัชกรรม ห้องอัลตราซาวด์ และห้องผ่าตัด นอกจากนี้ยังมีแพทย์ทั้งหมด 45 คน ที่ท�ำงาน และสละเวลาให้กับโรงพยาบาลแห่งนี้ ที่มา : fatonionline.com 7


ประโยชน์บอกเล่า

กองบรรณาธิการ

ตู้เย็นดินเผา ไม่ง้อไฟฟ้า นวัตกรรม เพื่อชุมชนท้องถิ่น เชือ่ ไหมว่า ทุกวันนีย้ งั มีผคู้ นอีกมากทีท่ รมานจากการขาดแคลนอาหารหรือได้รบั อาหารไม่พอเพียง ในขณะทีเ่ รากลับทิง้ อาหาร กองพะเนินกว่า 1.4 พันล้านตันต่อปี ในประเทศที่ห่างไกล พวกเขามีปัญหาในการยืดอายุอาหารให้เก็บกินได้นาน เพราะพวกเขา ไม่มีตู้เย็น อาหารสดจึงเน่าเสีย กินไม่ได้ เหตุเพราะตู้เย็นมีราคาสูง และที่ส�ำคัญ หลายๆ ประเทศที่ห่างไกลยังไม่มีแหล่งพลังงาน ที่เพียงพอส�ำหรับอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครัวเรือน Mansukh Prajapati เจ้าของธุรกิจเครื่องปั้นดินเผาชาวอินเดีย มองเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้น�ำคุณสมบัติของเนือ้ ดินหลังการ เผาผสมผสานกับหลักทฤษฎีการระเหยเป็นไอของน�ำ้ สร้างตูเ้ ย็นดินเผาภายใต้ชอื่ MittiCool ทีไ่ ม่จำ� เป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า แต่ สามารถยึดอายุอาหารสด เช่น ผัก ผลไม้ และนม ได้นานขึ้นกว่าเดิมเป็นสัปดาห์ ตู้เย็นดินเผา MittiCool แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักคือ ส่วนด้านบนที่มีฝาเปิด-ปิดส�ำหรับใส่น�้ำให้ความเย็น และส่วนล่างที่เป็น ช่องส�ำหรับใส่อาหารสด โดยใช้เนื้อดินเผาที่มีความพรุนน�้ำซึมผ่านได้เป็นส่วนกั้นระหว่างช่องทั้งสอง น�้ำที่ถูกเก็บไว้ทางด้านบน จะค่อยๆ ซึมผ่านเนื้อดินสู่ด้านล่าง จากนั้นจะค่อยๆ ระเหยกลายเป็นไอ กระบวนการนี้มีส่วนช่วยให้ช่องเก็บอาหารสดมีความเย็น เพิม่ ขึน้ จากการทดลองพบว่า ช่องเก็บอาหารสดทางด้านล่างมีอณ ุ หภูมติ ำ�่ กว่าภายนอกประมาณ 8 องศาเซลเซียส ซึง่ ช่วยให้อาหาร คงความสดได้นานกว่าเดิม ลดปัญหาของเน่าเสียโดยที่เราไม่จ�ำเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มเติมเลย นอกจากนี้พื้นที่ใส่น�้ำด้านบน ยังท�ำหน้าที่เป็นกระติกน�้ำเย็นขนาดย่อม โดยเราสามารถเปิดก๊อกน�้ำทางด้านหน้าเพื่อรินน�้ำใส่แก้วได้อย่างสะดวกอีกด้วย แม้วา่ ตูเ้ ย็นดินเผาจะมีนำ�้ หนักมากไปหน่อย และใช้เวลาในการผลิตต่อชิน้ ถึง 10 วัน แต่ดว้ ยแนวคิดรักษ์โลก ลดพลังงาน แถมยึดอายุ ให้กับอาหารสด ด้วยราคาเพียงเครื่องละ 50 ดอลลาร์ หรือประมาณ 1,600 บาท จึงท�ำให้นวัตกรรมงานออกแบบตู้เย็นดินเผา MittiCool กลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถสร้างคุณภาพชีวิตดีๆ ให้กับชุมชนได้อย่างลงตัว และนี่คือประโยชน์ที่ฮาลาลไลฟ์น�ำมา บอกเล่ากันในฉบับนี้ค่ะ //// ขอบคุณภาพและข้อมูลจาก creativemove.com

8


9


กระชับมิตร

กองบรรณาธิการ

ในโฉนดทีด่ นิ ซึง่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 6 ทรงพระราชทานให้เป็นที่ตั้งของมัสยิดและกุโบร์ (สุสาน) ในปี ร.ศ. 130 ตรงกับ พ.ศ. 2455” มัสยิดบ้านอู่ ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ย่านการค้าที่คลาคล�่ำ ไปด้วยสินค้าและผู้คนนับตั้งแต่อดีตจนถึงทุกวันนี้ ตัวอาคาร มัสยิดถูกล้อมรอบด้วยอาคารสูง ทั้งห้างสรรพสินค้า โรงแรม และส�ำนักงาน ปัจจุบนั ทีด่ นิ อันเป็นทีต่ งั้ ของอาคารมัสยิด กุโบร์ และทีด่ นิ วะกัฟส�ำหรับปลูกบ้านพักอาศัย มีเนือ้ ทีร่ วมกันทัง้ สิน้ 2 ไร่ 22.75 ตารางวา คิดเป็นมูลค่ากว่า 300 ล้านบาทเลยทีเดียว อิสหาก บูรณะกร กรรมการมัสยิดบ้านอู่เล่าให้เราฟังในวัน ที่เราเดินทางไปกระชับมิตรกันที่นี่ว่า ด้วยความที่มัสยิดตั้งอยู่ ในท�ำเลทอง และเป็นย่านการค้าที่ผู้คนพลุกพล่าน จึงท�ำให้ มีนายทุนติดต่อเข้ามาขอซือ้ ทีด่ นิ ของมัสยิดเป็นระยะ แต่กรรมการ มัสยิดยืนยันว่าไม่สามารถขายทีด่ นิ ผืนนีไ้ ด้เพราะเป็นกรรมสิทธิ์ ของมัสยิด ถึงแม้ว่าตัวอาคารมัสยิดในปัจจุบันจะถูกบูรณะขึ้นใหม่เมื่อ ปี พ.ศ.2535 แต่ดว้ ยความทีอ่ ยูม่ านานมัสยิดหลังนีจ้ งึ ยังคงหลง เหลือร่องรอยของความเก่าแก่ให้เห็นกันอยู่ เช่นจานชามและ ตะเกียงเจ้าพายุเก่าแก่ทเี่ รียงรายอยูใ่ นตูก้ ระจกภายในมัสยิด ซึง่ บังอิสหากเล่าให้ฟงั ว่าเป็นของพระราชทานจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 หรือจะเป็นกลองหน้าเดียวส�ำหรับ ตีบอกเวลาละหมาดที่อายุอานามปาเข้าไป 110 ปีเลยทีเดียว การเดินทางมายังมัสยิดบ้านอูน่ นั้ ท�ำได้ไม่ยาก และสามารถ มาได้หลายวิธีการ หากใครถนัดขับรถมาเองก็ขับเข้ามาใน ซ.เจริญกรุง 46 หรือจะจอดทีห่ า้ งโรบินสันซึง่ ตัง้ อยูป่ ากซอยแล้ว เดินเข้าไปยังมัสยิดก็ใกล้นิดเดียว หรือใครจะใช้บริการรถไฟฟ้า ก็ลงที่สถานีตากสิน จากนั้นเดินเลียบแม่น�้ำเลาะตามซอกตึก อึดใจเดียวก็จะมาอยู่ที่หน้ามัสยิดแล้ว แค่เพียงหนึ่งวันกับการมากระชับมิตรที่มัสยิดบ้านอู่ มัสยิด จดทะเบียนหลังแรก บนถนนสายแรกของประเทศ ท�ำให้เราได้ เรียนรูว้ า่ ท่ามกลางความเจริญ เราคงไม่อาจหยุดการเติบโตของ สิ่งปลูกสร้างได้ แต่อย่างน้อยเรายังคงสามารถรักษาพื้นที่แห่ง ศรัทธาของเราไว้ หากหัวใจของเราเราเข้มแข็งและร้อยเรียงเป็น หนึ่งเดียวกัน ////

มัสยิดจดทะเบียนหลังแรก บนถนนสายแรก ของประเทศ

ใครหลายคนคงรู้กันอยู่แล้วว่า เจริญกรุง คือถนนสายแรก ของประเทศไทย (ในนิยามและความหมายของความเป็นถนน แบบในปัจจุบนั ) แต่ใครจะรูบ้ า้ งว่า บนถนนสายแรกของประเทศ สายนี้มีมัสยิดจดทะเบียนหลังแรกตั้งอยู่ มัสยิดบ้านอู่ เป็นมัสยิดจดทะเบียนหลังแรกของประเทศไทย (คนละความหมายกับมัสยิดหลังแรก) เป็นอีกหนึ่งมัสยิดเก่าแก่ ของกรุงเทพมหานคร โดยข้อมูลจากเว็บไซต์ของส�ำนักงานคณะ กรรมการอิสลามประจ�ำกรุงเทพฯ islamicbangkok.or.th ระบุ ความเป็นมาของมัสยิดหลังนี้ไว้ว่า “จากค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ ที่เล่าขานต่อๆ กันมา กล่าว กันว่าในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้อพยพชาวมุสลิมจากจังหวัดปัตตานีจ�ำนวนหนึ่ง เข้ามาอยู่ในกรุงเทพมหานครหรือบางกอกในสมัยนั้น รวมทั้ง กระจายไปตามต่างจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ อยุธยา ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี ชุมชนมุสลิมบ้านอู่ ได้ก่อเกิดมาตั้งแต่สมัยนั้นเช่นกัน โดย ผูค้ นทัว่ ไปเรียนขานกันว่า “สุเหร่าแขก” ตามข้อความทีป่ รากฏ

หมายเหตุ

กระชับมิตร คอลัมน์ใหม่ที่ล้อไปกับรายการทีวีใน ชื่อเดียวกัน ด้วยความตั้งใจที่อยากจะชวนคนอ่านให้ออกเดิน ทางไปพบปะ เรียนรู้ และพูดคุย กับผู้คนในหลากหลายสถานที่ 10


Halal Tasty กองบรรณาธิการ

ครัวเต่าทอง

พังงา จังหวัดที่ว่าเอ่ยถึง ภาพทะเลต้องลอยเข้ามาในหัวเลย จะว่าไปแล้วก็ เคยไปเยือนมาหลายครัง้ แต่ไม่เคยไปทีน่ ที่ ี ^^ ช่วงก่อนหน้านีท้ มี งาน Halal Life ขึน้ เหนือลงใต้ตระเวนเดินทางกันทัว่ ทุกภาคของประเทศ เพือ่ ถ่ายท�ำรายการตอน ช่วงเดือนรอมฎอน เลยถือโอกาสนีห้ าร้านอาหารมาแนะน�ำด้วย ซึง่ ฉบับนี้ Tasty ขอแนะน�ำร้านนี้ค่ะ ร้านอาหารบรรยากาศริมน�้ำตก ที่มีชื่อว่า ครัวเต่าทอง ร้านนี้ตั้งอยู่บริเวณน�้ำตกเต่าทอง อ.ทับปุด จ.พังงา ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ ประมาณ 9 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 ต.บ่อแสน เป็นน�้ำตกที่ไหลจากในถ�้ำ น�้ำใส ไหลเย็น บรรยากาศร่มรื่นสดชื่นมากเลยค่ะ ส่วนเมนูทที่ างทีมงานได้ไปลิม้ ลองนัน้ อร่อยทุกเมนูคะ่ ทัง้ ต้มย�ำ เนือ้ คัว่ ไข่ยดั ไส้ ย�ำเนือ้ สะดุง้ คุณภาพเน้นๆ รสชาติดี อร่อยมากค่ะ ส่วนทีจ่ ะขอแนะน�ำเป็นพิเศษ คือเมนู ส้มต�ำค่ะ นั่งฟังเสียงน�้ำตกไปพลางทานส้มต�ำไปพลาง เพลินดีค่ะ เมนู ส้มต�ำก็มใี ห้เลือกหลากหลายทีจ่ ะขอแนะน�ำคือ ส้มต�ำเห็ดทอดค่ะ ตัวเห็ดชุบแป้ง ทอด กัดเข้าไปค�ำแรกกรอบมาก เข้ากันกับเครือ่ งส้มต�ำและน�ำ้ ส้มต�ำรสแซบ ลอง แล้วจะติดใจ พลาดไม่ได้ที่จะไปลิ้มลองค่ะ มาพังงาครั้งหน้าอย่าลืมแวะมาที่ ร้านอาหารครัวเต่าทอง นะคะ //// 11

ชื่อร้าน สถานที่ตั้ง

ร้านอาหารครัวเต่าทอง น�้ำตกเต่าทอง อ.ทับปุด จ.พังงา เจ้าของกิจการ ธิดา หัศนี เวลาเปิด-ปิด ทุกวัน 10.00-17.00 น. เมนูแนะน�ำ ส้มต�ำเห็ดทอด เนื้อคั่ว ย�ำเนื้อสะดุ้ง ติดต่อ 083-3952625, 086-2803370 nanasemmad@gmail.com


แบรนด์บันดาลใจ

กองบรรณาธิการ

GLORIA แบรนด์

ของคนรักความเรียบง่าย

“เริ่มจากซื้อผ้าไปตัดเสื้อใส่เองแล้ว ถ่ายรูปลงเฟซบุ๊ก แล้วมีคนมาถามว่าซื้อ ที่ไหน ก็เลยคิดว่าลองท�ำขายมันเลยดี กว่ า ” เหตุ ผ ลเรี ย บง่ า ยที่ ก ลายเป็ น จุ ด ก�ำเนิดของ Gloria แบรนด์มุสลิมขวัญใจ คนหนุม่ สาวทีก่ ำ� ลังโตวันโตคืนของ กอเรีย แจ้งบุรี หญิงสาวชาวมุสลิมที่มีอาชีพหลัก เป็นกราฟฟิคดีไซน์ กอเรีย ก็คงเหมือนกับหญิงสาวชาว มุสลิมส่วนใหญ่ที่ต้องประสบปัญหาการ เลือกเสื้อผ้า ที่มักหาความลงตัวยากกว่า คนทั่วไป เพราะนอกจากชุดแล้วพวกเธอ ยังต้องคลุมศรีษะด้วยผ้าฮิญาบ เมื่อหาซื้อไม่ได้ เธอจึงตัดสินใจท�ำเอง โดยเริ่มจากฮิญาบคลุมผมเมื่อราว 3 – 4 ปีกอ่ น “ท�ำผ้าคลุมผมเพราะว่าทีห่ าซือ้ มัน มีแต่แบบที่ไม่ถูกใจเรา ลายมันไม่ใช่เรา ก็ เลยต้องซื้อผ้ามาตัดท�ำเอง” แรกเริม่ เธอไม่ได้ใช้ชอื่ แบรนด์วา่ Gloria เพราะยังไม่ได้คดิ จะต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์

ตัวอื่น โดยชื่อที่ใช้กับสินค้าชิ้นแรกที่เธอ ผลิตคือ “ฮิญาบทูพีช” ซึ่งมีความหมาย ตรงตัวกับรูปแบบฮิญาบของเธอทีม่ ลี กั ษณะ เป็นผ้าสองชิน้ โดยเธอบอกว่าเป็นชือ่ เรียก ที่ต่างประเทศใช้เป็นปกติ แต่เธอเลือก เขี ย นด้ ว ยตั ว อั ก ษรไทย มั น เลยท� ำ ให้ ดู แปลกจนกลายเป็นจุดเด่นของสินค้า จากความแปลกและความง่ายในการ สวมใส่ ท�ำให้ฮิญาบทูพีชได้รับความนิยม จนชื่อของเธอกลายเป็นที่รู้จักและเริ่มมี ลูกค้าประจ�ำ หลังออกฮิญาบทูพชี คอลเลคชัน่ ใหม่มา ตลอดหนึ่งปี เธอจึงเริ่มมองหาผลิตภัณฑ์ ตัวใหม่ และ Gloria ก็เริ่มต้น ณ จุดนี้ “ตอนแรกก็ยงั ไม่ได้ตงั้ ชือ่ ท�ำไปเรือ่ ยๆ จน รูส้ กึ ว่าต้องต่อยอด ต้องมีเสือ้ ผ้าด้วย ก็เลย คิดว่า ถ้าจะมีเสื้อผ้าด้วยมันต้องมีแบรนด์ ไปเลยดีกว่า” ถึงจะออกสินค้าใหม่ ภายใต้แบรนด์ ใหม่ แต่เธอก็ไม่ลืมจะหยิบเอาจุดแข็งของ สินค้าตัวเก่ามาใช้นั่นคือ ความแปลกและ ความง่ายในการสวมใส่ “มันก็ต่อยอดมา จากตอนท�ำฮิญาบ ทีเ่ ราคิดว่าท�ำแบบไหน มันถึงจะสะดวกสบาย พอมาท�ำเสื้อผ้าเรา ก็คิดแบบเดียวกัน มันต้องใส่สบาย ใส่ง่าย แล้วก็ไม่ตอ้ งมานัง่ รีด ไม่ตอ้ งมาติดเข็มกลัด ไม่ต้องเนี้ยบ คือมันก็จะคอนเซปต์เดิม” 12 12

นอกจากความง่ายในการสวมใส่แล้ว Gloria ยังก�ำหนดคอนเซปต์ของสินค้าเธอ เอาไว้อีกว่ามันต้องคุ้มค่า “ตอนออกแบบ แต่ ล ะชุ ด เราจะคิ ด เสมอว่ า ออกแบบ อย่างไรให้คนซื้อไปใส่คุ้มที่สุด ใส่ได้หลาย งาน ไม่ใช่ซื้อไปแล้วต้องใส่ไปงานแต่ง อย่างเดียว แบบนัน้ ไม่ใช่มนั ไม่ใช่เรา ชุดของ Gloria ต้องใส่แล้วไปเดินที่ไหนก็ได้ และ มันก็จะไม่หรูหราจนเกินไป” ถึงแม้ทุกวันนี้ Gloria กลายเป็นหนึ่ง ในแบรนด์เสื้อผ้ามุสลิมที่มีลูกค้าประจ�ำ และเป็นทีร่ จู้ กั มากทีส่ ดุ แต่แนวคิดในการ ออกสินค้าใหม่แต่ละตัวของเธอก็ยังคง เรียบง่ายเหมือนวันที่เธอตัดสินใจปล่อย สินค้าตัวแรก นัน่ คือสินค้าใหม่ของเธอทุก ตัวจะต้องผ่านการใช้งานจริงจากตัวเธอ เองก่อน “ถ้าท�ำชุดมาแล้วตัวเองไม่กล้าใส่ ก็อย่าไปคิดว่าคนอื่นจะใส่ เราต้องท�ำให้ เรากล้าใส่กอ่ น ถ้าเราใส่ได้ เรามัน่ ใจว่ามัน ไม่เหมือนใครหรือมันมีเอกลักษณ์ คนอื่น ก็กล้าใส่” และนี่ อ าจเป็ น อี ก หนึ่ ง จุ ด แข็ ง ของ แบรนด์ Gloria ที่ผูกโยงเข้ากับตัวตนของ เธออย่างลงตัว ////


อยู่/เป็น/สุข กองบรรณาธิการ

อยู่

เป็น

สุข

พอเพียง เพราะเข้าใจ

ชีวิตที่อยู่เป็นแล้วมีความสุขของ สมชาย สมานตระกูล ไม่ว่าใครก็ล้วนอยากมีชีวิตที่เป็นสุข แต่มุมมองของความสุข ของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน สมชาย สมานตระกูล เป็น “ครูภูมิปัญญา” รุ่นที่ ๒ สาขาการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นแกนน�ำชุมชนแผ่นดินทอง คอยรุตตั๊กวา เขตหนองจอก กรุงเทพฯ และเป็นบุคคลส�ำคัญในการ ด�ำรงรักษาภูมปิ ญ ั ญาและองค์ความรูจ้ ากคนรุน่ ก่อนเพือ่ น�ำมาสือ่ สาร บอกต่อให้คนรุ่นหลังได้รับรู้

ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ของอาจารย์สมชาย มาจากการลงมือ ท�ำจริง และเห็นผลจริง ก่อนจะน�ำมาส่งต่อให้กบั ผูอ้ นื่ ภารกิจประจ�ำวัน ของอาจารย์ ส มชายจึ ง ใช้ เวลาส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ กั บ ไร่ กั บ สวนขนาด กะทัดรัดภายในบ้านตัวเอง อาจารย์สมชาย อาจไม่ใช่ชาวนาอาชีพทีม่ ผี นื นาหลายร้อยหลาย สิบไร่ ไม่ใช่เกษตรกรที่ปลูกผักท�ำสวนเพื่อส่งขายตามตลาดหรือห้าง สรรพสินค้า แต่อาจารย์สมชายท�ำนา ปลูกผัก ผลไม้ ไว้เพื่อกิน เพื่อ เรียนรู้ และเพื่อทดลอง เดิมทีอาจารย์สมชายมีอาชีพเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ที่ โรงเรียนอิสลามล�ำไทร ซึ่งอยู่ห่างจากบ้านไม่กี่ร้อยเมตร โดยจะเน้น ไปที่เรื่องสิ่งแวดล้อมและการเรียนรู้นอกห้องเรียน “ชีวิตของผมลูก ทุ่งลูกชาวนา แล้วก็ไปเรียนหนังสือกลับมาแล้วเป็นครู ครูของ กรุงเทพมหานคร ผมก็สอนระดับ ป.5 - ป.6 ให้ผมสอนวิชา วิทยาศาสตร์ กับ คณิตศาสตร์ ซึง่ เป็นวิชาทีผ่ มตกมาตลอด” อาจารย์ สมชายเล่าถึงความหลัง จากลูกชาวนาต้องกลายไปเป็นครูสอนวิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจารย์ สมชายออกตัวว่าเป็นวิชาที่ตัวเองไม่ถนัด แต่การไม่ถนัดไม่ได้ท�ำให้

อาจารย์สมชายกลัว แต่กลับกลายเป็นแรงขับให้ก้าวผ่าน “มันเป็น แรงบันดาลใจ มันท�ำให้เรามุมานะที่จะค้นคว้า แล้วก็ท�ำเรื่องของ วิทยาศาสตร์ให้มันกระชับขึ้น จนกระทั่งเด็กเอาไปใช้ได้ ไม่ใช่แค่ ท่องจ�ำ ซึ่งสมัยก่อนเขาจะเน้นที่การท่องจ�ำ แต่ผมดันจ�ำไม่ได้ มันก็ เลยสอบตก” อาจารย์สมชายเปลี่ยนความน่าเบื่อของวิชาวิทยาศาสตร์ให้เป็น ความสนุกด้วยการพาเด็กๆ ออกนอกห้องเรียน “ผมไม่ให้เด็กอยู่ใน ห้อง ถ้าเด็กอยูห่ อ้ ง มันก็เห็นแค่หอ้ งกับชอล์กทีค่ รูเขียนกับหนังสือที่ ให้เด็กอ่าน มันก็คงได้แค่นั้น ถามว่ามันใช่มั้ย มันก็ใช่ แต่มันไม่จริง ผมก็เลยเอาเด็กมาเดินเล่นข้างนอกเพือ่ ได้สมั ผัส เพือ่ ได้อยูค่ วามเป็นจริง วิชาวิทยาศาสตร์มันก็คือ ค้นคว้า ทดลอง ปฏิบัติ สรุปบทเรียน มันก็แค่นี้ เราก็แค่ตอ้ งท�ำอย่างไรทีจ่ ะให้เด็กเกิดการค้นคว้า ผมก็เลย พามาให้เห็นปัญหา เด็กก็จะเกิดองค์ความรูข้ นึ้ มาด้วยตัวของเขาเอง” จากครูสอนวิทยาศาสตร์ อาจารย์สมชายผันตัวมาเป็นเกษตรกร แต่ก็ยังไม่ลืมเอาแนวคิด ค้นคว้า ทดลอง ปฏิบัติ และสรุปบทเรียน เมื่อสมัยเป็นครูวิทยาศาสตร์มาใช้ และบทเรียนที่อาจารย์สมชายได้ จากการค้นคว้า ทดลอง และลงมือปฏิบตั จิ ริงนัน้ น�ำพาตัวเองไปสูก่ าร เข้าใจชีวติ “เกษตรคือเรือ่ งราวของ ชีวติ ทีเ่ ราจะต้องอยูก่ บั ต้นไม้ ชีวติ ที่เราอยู่กับแผ่นดิน ชีวิตที่เราจะต้องอยู่กับสิ่งรอบข้าง เพราะฉะนั้น ทุกอย่างมันอยูบ่ นวิถขี องอิสลาม การท�ำนาก็บนวิถอี สิ ลาม เลีย้ งปลา ก็บนวิถีอิสลาม สมมุติว่าผมไม่สนใจในหลักค�ำสอนอิสลาม ผมปลูกข้าวผมเอา อะไรใส่ก็ได้ ใส่อะไรก็ได้ที่มันจะโตแล้วขายได้เงินเยอะๆ แต่อิสลาม สอนให้ผมต้องดูวา่ ถ้าผมใส่อะไรลงไปมันจะเกิดอะไร ตัวเองก็ลำ� บาก สิ่งแวดล้อมก็ล�ำบาก คนกินก็ล�ำบาก แล้วถามว่ามันได้อะไร อิสลาม สอนไม่ให้ไปสร้างความล�ำบากให้กบั ตัวเองและผูอ้ นื่ มันต้องอยูร่ ว่ ม การอยู่รวมไม่ใช่อยู่ร่วมกับแค่ลูกหลาน แต่มันอยู่รวมทั้งหมด กบ เขียด งู ปลา เต่าอะไรทัง้ หลาย” จากความเข้าใจน�ำพาชีวติ มาสูค่ วามพอเพียงและความเรียบง่าย ที่อาจารย์สมชายบอกกับเราว่า นี่แหละคือความสุขที่ไม่ต้องดิ้นรน ค้นหา แต่เป็นความสุขที่หาได้รอบตัวเราเอง และนี่คือชีวิตที่อยู่เป็น แล้วมีความสุขของผู้ชายคนนี้ อาจารย์สมชาย สมานตระกูล //// 13


MAIN HALAL

กองบรรณาธิการ

ง า ่ ี ว ่ ไม่มีทวามรุนแรง ค บ ั ร ส�ำห

14


ทันทีทสี่ องมือปืนบุกโจมตีสำ� นักงานกลางกรุงปารีสของ ชาร์ลี แอปโด นิตยสารการ์ตนู ทีม่ กั ตีพมิ พ์ภาพล้อเลียนศาสนทูต มุฮัมมัด(ขอความสันติประสบแด่ท่าน) ต่อเนื่องด้วยความขยันขันแข็งในการสร้างความน่าสะพรึงกลัวให้กับผู้คนบนโลกของ กลุ่ม ISIS ที่เผยแพร่ผ่านภาพและคลิปวิดีโอ โลกก็ตีตราอิสลามว่าเป็นศาสนาแห่งความรุนแรงอีกครั้ง อันที่จริงการตีตราอิสลามว่าเป็นศาสนาแห่งความรุนแรงไม่ใช่เรื่องใหม่ โลกถูกตอกย�้ำจากข่าวและสถานการณ์ความ รุนแรงของมุสลิมทีเ่ กิดขึน้ ในโลกมานับสิบปี หลายทฤษฎีถกู หยิบยกขึน้ มาอธิบายและอภิปรายจนเกิดเป็นข้อถกเถียงในวงกว้าง รวมไปถึงทฤษฎีสมคบคิดที่พยายามเชื่อมโยงและจับผิดข้อมูลต่างๆ ว่าเป็นการจัดฉากของมหาอ�ำนาจและองค์กรลับเพื่อ ท�ำลายล้างอิสลามหรือสร้างความชอบธรรมในการบุกยึดดินแดนมุสลิมที่มักอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ท่ามกลางข้อถกเถียงทีเ่ กิดขึน้ มากมาย บางทีการหาค�ำตอบว่าใครเป็นผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังการสร้างภาพความรุนแรงและผูก้ อ่ การร้าย ให้อิสลาม อาจส�ำคัญน้อยกว่าการตั้งค�ำถามว่า เราในฐานะมุสลิมผู้ศรัทธา ชิงชังความรุนแรงและการก่อการร้ายมากแค่ไหน และ ถึงที่สุดแล้วเราเข้าใจในแก่นแท้ของหลักค�ำสอนอิสลามหรือไม่ คงถึงเวลาแล้วที่เราต้องตั้งค�ำถามเหล่านี้กับตัวเราเอง

อิสลามศาสนาแห่งความรุนแรงจริงหรือ? อิสลามเป็นศาสนาทีส่ อนให้มคี วามกรุณาปรานี และส่งเสริม ให้มีความยุติธรรม และสันติภาพ นอกจากนั้นอิสลามยังรักษา เสรีภาพ เกียรติยศและความมีศักดิ์ศรี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไม่เป็นเพียง ค�ำขวัญแต่เป็นหลักการที่อิสลามยึดเหนี่ยวอยู่ด้วย ดังปรากฏใน คัมภีร์อัลกุรอาน ซูเราะฮ์อัลอันบียา โองการที่ 107 ความว่า “และเราไม่ได้ส่งเจ้ามาเพื่ออื่นใด นอกจากเพื่อเป็นความเมตตา แก่ประชาชาติทั้งหลาย” และท่านศาสนทูตเองก็กล่าวเช่น เดียวกันว่า “ตัวฉันเองได้ถกู ส่ง มาเพือ่ ท�ำให้จรรยาบรรณทีส่ งู ส่ง นั้นสมบูรณ์ยิ่ง” อิสลามอนุญาตให้มนุษย์สามารถที่จะเลือกความเชื่อได้ รวม ทัง้ เรือ่ งของความเชือ่ ในพระผูเ้ ป็นเจ้า หรือปฏิเสธความเชือ่ ก็ตาม ดังมีหลักฐานปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอาน ซูเราะฮ์ กะห์ฟี โองการ ที่ 29 ความว่า “และจงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด) สัจธรรมนั้นมาจาก พระผู้เป็นเจ้า ดังนั้นผู้ใดประสงค์ก็จงศรัทธา และผู้ใดประสงค์ก็ จงปฏิเสธ แท้จริงเราได้เตรียมไฟนรกไว้ส�ำหรับพวกอธรรม ซึ่ง ก�ำแพงของมันล้อมรอบพวกเขา และถ้าพวกเขาร้องขอความช่วย เหลือ ก็จะถูกช่วยเหลือด้วยน�ำ้ เสมือนน�ำ้ ทองแดงลวกใบหน้า มัน เป็นน�้ำดื่มที่ชั่วช้าและเป็นที่พ�ำนักที่เลวร้าย” การเชิญชวนให้นับถือศาสนาอิสลามนั้น เป็นเรื่องของการ เชิญชวนจิตใจคน โดยการเรียกร้องอย่างนิ่มนวลและด้วยการ สนทนาอย่างฉันท์มิตร ไม่ใช่วิธีการบังคับขู่เข็ญใดๆ ในหลักการ ของอิสลามได้เรียกร้องให้บรรดาชาวมุสลิมรักษาความยุติธรรม และเสรีภาพ โดยห้ามสิ่งอยุติธรรมใดๆ ตลอดจนการทารุณ การ ฉ้อราษฎร์บังหลวง การกระท�ำการใดๆ ที่ชั่วร้ายอันเป็นการส่ง

เสริมความชัว่ ให้อยูใ่ นระดับเดียวกับความดี ดังปรากฏในอัล กุรอาน ซูเราะฮ์ ฟุซซิลัต โองการที่ 34 ความว่า “ความดีและ ความชั่วนั้นหาเท่าเทียมกันไม่ เจ้าจงขับไล่(ความชั่ว) ด้วยสิ่งที่ มันดีกว่า แล้วเมื่อนั้นผู้ที่อยู่ระหว่างเจ้ากับระหว่างเขาเคยเป็น อริกัน ก็จะกลับกลายเป็นเยี่ยงมิตรที่สนิทกัน” เมื่อครั้งที่ศาสดามุฮัมมัด ได้รับชัยชนะเหนือประชาชนที่ นครมักกะฮ์นนั้ ท่านได้ให้อภัยกับบุคคลเหล่านัน้ แม้วา่ พวกเขา เคยติดตามประหัตประหารท่านก็ตาม โดยได้กล่าวว่า “พวก ท่านมีเสรีภาพที่สมบูรณ์แล้ว” มีการเปรียบเทียบกันระหว่างความศรัทธาในศาสนาอิสลาม และสันติภาพ ในภาษาอาหรับค�ำว่า อิสลามและสลาม นัน้ แปล ว่าสันติภาพ มาจากรากศัพท์เดียวกัน พระผูเ้ ป็นเจ้าได้ทรงบอก ถึงคุณลักษณะของพระองค์เองในคัมภีร์อัลกุรานว่า พระองค์ เป็นผูส้ นั ติ เมือ่ บรรดามุสลิมทักทายกันก็จะทักทายกันด้วยการ ให้สลาม (อัสลามุอลัยกุม แปลว่า ขอความสันติจงประสบแด่ทา่ น) เสมือนเป็นการเตือนอยูเ่ สมอว่า ความสันตินนั้ เป็นหลักการหนึง่ ที่ส�ำคัญของอิสลามที่จะต้องรักษาไว้ในจิตใจของมุสลิมทุกคน มุสลิมทุกคนเมื่อละหมาดวันละ 5 เวลา ก็จะจบการละหมาด ด้วยการให้สลาม โดยหันหน้าไปทางขวาและทางซ้าย พร้อมกับ กล่าวสลาม (ความสันติ) จากข้อมูลทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้นเห็นได้วา่ อิสลามเป็นศาสนา ที่รักความสันติ โดยไม่เปิดช่องว่างให้ใช้ความรุนแรง ความ บ้าระห�ำ่ การก่อการร้าย หรือการโจมตีบคุ คลหรือทรัพย์สนิ ของ ผูอ้ นื่ ไม่วา่ จะด้วยวิธใี ดก็ตาม ค�ำสัง่ สอนและหลักการของอิสลาม 15


มุ่งที่จะพิทักษ์รักษาสิทธิมนุษยชน ซึ่งหมายรวมถึงสิทธิในชีวิต ครอบครัว ความเชื่อ ความคิด และทรัพย์สิน หลักการศรัทธา ในอิสลามห้ามไม่ให้มีการท�ำร้ายผู้อื่น ซึ่งการท�ำร้ายผู้อื่นนั้น เปรียบเสมือนการท�ำร้ายมนุษยชาติ ซึ่งมีหลักฐานปรากฏใน คัมภีร์อัลกุรอาน ซูเราะฮ์ อัลมาอีดะฮ์ โองการที่ 34 ความว่า “แท้จริงผู้ใดฆ่าชีวิตหนึ่งโดยมิใช่ทดแทนอีกชีวิตหนึ่ง หรือมิใช่ เนื่องจากบ่อนท�ำลายในแผ่นดินแล้ว ก็ประหนึ่งว่าเขาได้ฆ่ามวล มนุษย์ทั้งมวล”

[ ความรุนแรงที่ฉันรู้จัก ]

มุสลิมพึงจะต้องตระหนักเสมอว่า ท่านนบีมฮุ มั มัด (ซ.ล.) ถูกส่งมายังโลก นี้เพื่อจะสอนเราว่า ส�ำหรับผู้ที่เป็น มุสลิมนัน้ เขาจะไม่สร้างความเจ็บปวด ให้กับผู้ใดไม่ว่าจะด้วยค�ำพูดหรือการก ระท�ำ

ถล่มสาปแช่งมุสลิมอย่างยับเยิน มันเป็น 3 ภาพ (เครือ่ งบินชนตึก – มุสลิมดีใจ – มุสลิมถูกสาปแช่ง) ที่เกิดขึ้นกับผมในเวลาพร้อมๆ กัน จนผมรู้สึกสะทือนใจอย่างยิ่งจนนั่งร้องไห้อยู่หน้าจอทีวีและ จอคอมพิวเตอร์ ในห้องพัก ผมในฐานะที่เป็นมุสลิมธรรมดาคน ผศ.ดร.สุชาติ เศรษฐมาลินี ง่ ซีง่ ไม่มคี วามรูเ้ กีย่ วกับค�ำสอนของอิสลามอย่างลึกซึง้ มากมาย หัวหน้าสาขาวิชาสันติศกึ ษา มหาวิทยาลัยพายัพ หนึ อะไรไปกว่าขั้นพื้นฐานที่เรียนมาในมัสยิด อย่างไรก็ตาม จ�ำได้ว่า จ.เชียงใหม่ เกิดค�ำถามขึ้นมาในใจมากมายในขณะนั้นว่า ท�ำไมมุสลิมจึงต้อง หลังละหมาดซุบฮ์ ของเช้าวันนั้น (11 กันยายน 2544) ผม ดีใจในท่ามกลางความรุนแรงและความสูญเสีย ของผูค้ นบริสทุ ธิ์ ล้มตัวลงจะนอนต่ออีกสักงีบ ทันใดนัน้ เสียงโทรศัพท์ในห้องก็ดงั มากมายจ�ำนวนนับพัน ค�ำสอนของอิสลามให้ความชอบธรรมกับ ขึน้ “พี่ รีบเปิดดูทวี เี ดีย๋ วนี!้ ”เป็นโทรศัพท์จากเพือ่ นซึง่ อยูห่ อพัก การใช้ความรุนแรงแบบนี้หรือ อิสลามสอนให้รักและสันติแต่ อีกตึกหนึ่งของ East West Center ณ เมืองโฮโนลูลู มลรัฐ มุสลิมด้วยกันแล้วสามารถท�ำร้ายผู้อื่นกระนั้นหรือ และอิสลาม ฮาวายอิ สหรัฐอเมริกา และภาพที่ผมเห็นยังคงติดตามาจนทุก สอนเรื่องการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างไร เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในช่วง วันนี้ ก็คอื เครือ่ งบินพุง่ เข้าชนตึกแฝดของเวิรล์ เทรดเซ็นเตอร์ใน ระยะเวลาเพียงเดือนกว่าๆ ของการเดินทางมาถึงสหรัฐอเมริกา มหานครนิวยอร์ค และทันทีทตี่ กึ ถล่มลง ทีวซี เี อ็นเอ็นได้ตดั ภาพ เพื่อศึกษาต่อของผม และมันได้เปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และ ไปทีส่ ตรีมสุ ลิมกลุม่ หนึง่ ไชโยโห่รอ้ งดีอกดีใจอย่างมีความสุข (ซึง่ ทัศนคติต่อความรุนแรงของผมโดยสิ้นเชิงมาจนบัดนี้ มาทราบต่อมาภายหลังว่าเป็นภาพคนละเหตุการณ์กนั คือ เป็น นอกเหนือจากรายวิชาทีผ่ มต้องเรียนตามแผนการศึกษาสาขา ภาพตัง้ แต่สงครามอ่าวฯ ปี ค.ศ.1992 ทีส่ ตรีชาวคูเวตโห่รอ้ งดีใจ สังคมวิทยาแล้ว ผมได้ใช้เวลาทุม่ เทเพือ่ ศึกษาหาค�ำตอบในค�ำถาม หลั ง จากทหารอิ รั ก ได้ อ อกไปจากคู เวต) ผมจึ ง เปิ ด เครื่ อ ง ข้างต้นด้วยการระดมค้นคว้าอ่านหนังสือเกีย่ วกับอิสลามมากมาย คอมพิวเตอร์เพือ่ ติดตามข่าว และได้พบข้อความในเว็บบอร์ดรุม ยิง่ อ่าน ก็ยงิ่ ได้เห็นความงดงาม ความยิง่ ใหญ่ของอิสลามจากเรือ่ ง ราวหลายหลากทีไ่ ม่เคยได้ยนิ หรือเรียนรูม้ าก่อน เป็นค�ำสอนแห่ง ความรักที่ไร้ขอบเขต เป็นเมล็ดพันธุ์แห่งสันติที่ไร้พรมแดน และ เป็นแนวทางที่ไม่เคยยอมรับการใช้ความรุนแรงอย่างไร้ขีดจ�ำกัด ดังตัวอย่างเช่น ครัง้ หนึง่ ในระหว่างสงคราม ขณะทีท่ า่ นอาลีกำ� ลัง เงือ้ ดาบจะสังหารศัตรูแต่ถกู ถ่มน�ำ้ ลายใส่หน้า แล้วท่านจึงวางดาบ ลงจนเป็นที่สงสัยของศัตรูที่น่าจะถูกสังหารไปแล้ว ท่านอาลีได้ ตอบไปว่า การทีท่ า่ นจะฟันในครัง้ แรกนัน้ เพราะเป็นการต่อสูเ้ พือ่ ปกป้องศาสนา แต่ทันทีที่ท่านถูกถ่มน�้ำลายรดใบหน้าท่านรู้สึก โกรธขึ้นมาทันที แต่ก็พอมีสตินึกขึ้นได้ว่าหากท่านสังหารศัตรูใน ขณะนั้ นจะเป็ นไปเพราะอารมณ์ โ กรธของท่ า นมากกว่ าเพื่ อ ปกป้องศาสนา และท่านจะต้องถูกสอบสวนจากพระผูเ้ ป็นเจ้าถึง การกระท�ำด้วยอารมณ์โกรธนั้น ท่านจึงวางดาบลงและให้ศัตรู จากไป ศัตรูผู้นั้นจึงถามท่านอาลีว่าอิสลามสอนเช่นนี้หรือ ท่าน อาลีตอบ “ใช่ซิ” และเขาจึงขอเข้ารับอิสลาม 16


สิง่ ทีน่ า่ เศร้าใจในโลกทุกวันนี้ เราได้เห็นผูค้ นจ�ำนวนไม่นอ้ ย มักกล่าวอ้างหลักการของศาสนาเพื่อเป็นเหตุผลรองรับการใช้ ความรุนแรง ในขณะที่ความจริงแล้ว ศาสนายิ่งใหญ่ของโลกทั้ง หลายไม่มีที่ว่างให้กับความรุนแรง โดยเฉพาะมุสลิมพึงจะต้อง ตระหนักเสมอว่า ท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) ถูกส่งมายังโลกนี้เพื่อ จะสอนเราว่า ส�ำหรับผู้ที่เป็นมุสลิมนั้น เขาจะไม่สร้างความเจ็บ ปวดให้กบั ผูใ้ ดไม่วา่ จะด้วยค�ำพูดหรือการกระท�ำ แต่กลับเป็นผูส้ รร สร้างประโยชน์และความสุขให้กับเพื่อนมนุษย์ การศรัทธาต่อ พระผู้เป็นเจ้าคือ การมอบความรักต่อเพื่อมนุษย์

อัศรี่ อิบรอเฮม ช่างภาพประจ�ำสปีดแชนแนล ผมคิดว่าการใช้ความรุนแรงเพื่อโต้ตอบหรือห�้ำหั่นฝ่ายตรง ข้ามนั้นเป็นเรื่องที่งี่เง่าพอๆ กับการดับไฟด้วยน�้ำมัน แทนที่มัน จะดับและมอดลงแต่กลับเพิม่ ทวีคณ ู มันขึน้ อย่างรุนแรง มันยังมี อีกเป็นสิบๆ วิธีที่เราจะโต้ตอบเขาได้โดยไม่ใช้ก�ำลัง แต่ให้ตาย เถอะเปรโดร การใช้ก�ำลังก็กลับถูกเลือกมาเป็นอันดับต้นๆ ใน การโต้ตอบเสมอไป ส่วนตัวแล้วผมคิดว่าหากคุณใช้กำ� ลังโต้ตอบกลับไปคุณเองก็ ไม่ตา่ งจากเขาหรอก วันนีเ้ ราจะท�ำอะไร จะโต้อะไรก็สมควรมอง ย้อนมาดูบ้างว่าชายที่ขึ้นชื่อว่าศาสนทูตมูฮัมมัดเขาท�ำอย่างไร มีคนมาด่าทอท่าน ท่านเอาหินไล่ขว้างเขาไหม? ท่านปฏิบัติกับ เชลยศึกอย่างไร ท่านฆ่าไหม? อันนีเ้ ห็นสมควรอย่างยิง่ ทีเ่ ราต้อง กลับมาดู อย่ามัวแต่เย้วๆตามชาวบ้านโดยที่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย

ซัลมา บุญยงค์ เจ้าของร้านกาแฟ “ความรุนแรง (อังกฤษ: violence) นิยามโดยองค์การ อนามัยโลกว่าเป็น การใช้ก�ำลังหรือพลังทางกายโดยเจตนาต่อ ตนเอง ผูอ้ นื่ หรือต่อกลุม่ หรือชุมชนอืน่ โดยข่มขูห่ รือแท้จริง เพือ่ ให้เกิดหรือมีความเป็นไปได้สงู ว่าจะเกิดการบาดเจ็บการ เสียชีวติ การ ท�ำร้ายจิตใจ การพัฒนาไม่เพียงพอหรือการริดรอน[1] นิยามนี้ เกี่ยวข้องกับเจตนาของการก่อพฤติกรรมนั้น โดยไม่ค�ำนึงถึงผล ที่ตามมา” ส่วนตัวแล้วคิดว่า ความรุนแรงที่รู้สึกว่าเมื่อมันเกิดขึ้นแล้ว เจ็บปวดที่สุด คือ การท�ำร้ายใจของกันและกัน ทั้งโดยมองว่า เป็นเรื่องไกลตัว ไกลใจ จนเราอาจคิดไปได้ว่า มันไม่เคยเกิดขึ้น จนไม่ ส ามารถรั บ รู ้ เสี ย งทางความคิ ด ที่ อ ยู ่ ใ นใจของผู ้ อื่ น สถานการณ์โลกทีเ่ ปลีย่ นไปมนุษย์เรารูส้ กึ อยากมี อยากใช้ อยาก สัมผัส เสรีภาพ ยิ่งขึ้น แต่ทว่าเรากลับน�ำเสรีภาพนี้ ไปใช้อย่าง ไร้สติ จนน�ำมาซึ่งความรุนแรง ความสูญเสียทางรากฐานทาง สังคมอีกนานัปการ

สถานการณ์ โ ลกที่ เ ปลี่ ย นไป มนุษย์เรารู้สึกอยากมี อยากใช้ อยากสัมผัส เสรีภาพ ยิ่งขึ้น แต่ ทว่าเรากลับน�ำเสรีภาพนี้ ไปใช้ อย่ า งไร้ ส ติ จนน� ำ มาซึ่ ง ความ รุนแรง 17


มาร์ท นรา นักธุรกิจ และดีเจสองภาษา แดนใต้

มนุษย์ไม่คอ่ ยน้อมรับในการเห็นต่าง เมือ่ ไม่มรี บั ในความเห็น ที่ต่าง มันก็เป็นเรื่องง่ายที่ความแตกแยกจะปรากฏ บ่อยครั้งเหลือเกินที่ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เกิดขึ้น จากการท�ำร้ายทางจิตใจโดยทางอ้อม และบ่อยครั้งเหลือเกินที่ ความรุนแรงที่ว่านี้ก่อให้เกิดขึ้นซึ่งการต่อสู้ห�้ำหั่น สิ่งที่มีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ในโลกปัจจุบัน ชอบตีกันเรื่อง ความคิด ความคิดเห็นทีไ่ ม่ตรงกัน ไม่วา่ จะเรือ่ งมด เรือ่ งช้าง เรือ่ ง แมลง เรื่องความรัก เรื่องที่มันควรเป็นเรื่องส่วนบุคคล เรื่องที่ไม่ ต้องโหนกระแส ประเด็นใดที่เราควรมองผ่านเรากับน�ำมาตีรัน ฟันแทง แต่เรือ่ งทีม่ นั ควรจะเป็นเรือ่ งเรากลับนิง่ นอนใจ ไม่เดือด ไม่ร้อน เราต่างก็มีจุดยืนบนโลกใบนี้ ในบริบทที่แตกต่างกัน เรามี ความรักที่ไม่เหมือนกัน เรามีความชอบที่ไม่เหมือนกัน เราถูก สร้างมาอย่างแตกต่างกัน ... แต่จะท�ำอย่างไรให้สิ่งเราต่างกัน ด�ำเนินเดินไปอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนกันได้

ส�ำหรับผมมองว่า ความรุนแรงไม่ใช่แนวทางและวิธีการแก้ ปัญหา แต่มันกลับจะเป็นการเพิ่มปัญหา ให้มีมากยิ่งขึ้น ทับถม หมักหมม จนยากเกินเยียวยา อันทีจ่ ริง ความรุนแรง นัน้ เกิดจาก อารมณ์ล้วนๆ ซึ่งมันมีแนวทางปฏิบัติ หลีกเลี่ยงได้ หากคนเรา เลือกทีจ่ ะหยุด ฉุกคิด หายใจเข้าลึกๆ แล้วจะเกิดวิทยปัญญา หนี ห่างความรุนแรงได้เองแหละ เชื่อเหลือเกินว่า ความรุนแรงจะ ไม่ใช่ทางออก และไม่ใช่วธิ กี ารในการแก้ปญ ั หาอย่างแน่นอน ผม มองว่า การแก้ปัญหาที่ดีที่สุด คือ การสร้างความเข้าใจใน อัตลักษณ์ระหว่างกันและกัน การยอมรับในความต่าง ไม่ว่าจะ เป็นต่างทางความคิด กายภาพและชีวภาพของแต่ละบุคคล นี่ จะเป็นการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน ดังที่ท่านศาสนฑูตฯ ได้เคย กล่าวไว้ อิสลามได้ว่าไว้เมื่อพันปีก่อนว่า พระเจ้าได้สร้างมนุษย์ ให้แตกต่างกัน เพื่อที่จะเรียนรู้ซึ่งกันและกัน... อิสลาม ได้ให้แนวทาง แก่เรามาเป็นพันกว่าปีแล้ว เหตุใด เหตุไฉนเล่า เราจึงเลือกทีจ่ ะกลับไป ใช้แนวทาง ญาฮีลยี ะห์ ก่อน หน้าแสงสว่างของอิสลามจะเรืองรองไม่กี่ปีมาใช้แก้ปัญหาด้วย ผมจึงค่อนข้างจะไม่เห็นด้วยกับแนวทางที่ตัดสินกันด้วยความ รุนแรง ผมมองว่า ยังมีอกี หลากหลายวิธใี นการแก้ไขปัญหา หนึง่ ในนัน้ คือ ฮิกมะฮ ในการเจรจา ซึง่ ผมมองว่าเป็นแนวทางทีค่ คู่ วร ส�ำหรับสถานการณ์โลกที่เป็นอยู่ทุกหย่อมหญ้าในปัจจุบัน

เราเชื่อว่า ที่ว่างส�ำหรับความ รุนแรงนัน้ มีอยูท่ วั่ ทุกอณูใจ คือการ วางทุ ก อย่ า งไว้ ด ้ ว ยการเคารพ ความเห็นต่างของกันและกัน

จ�ำเป็นไหมที่เราต้องตีรันฟันแทงเพื่อให้ชนะ เมื่อเราคิดเห็น ไม่ตรงกัน จะเป็นไปได้ไหม หากเราจะปล่อยให้พนื้ ทีท่ างความรุนแรงใน สังคม ตีกันอย่างเปิดเผยโดยใช้ความเงียบ ตีกันอยู่ในใจอย่าง เงียบๆ โดยใช้สติที่พระเจ้าให้มา หรือเราเกรงว่ามันจะก่อให้เกิด ความเก็บกด จนท�ำเกิดรอยแผลในใจ เราเชือ่ ว่า ทีว่ า่ งส�ำหรับความรุนแรงนัน้ มีอยูท่ วั่ ทุกอณูใจ คือ การวางทุกอย่างไว้ดว้ ยการเคารพความเห็นต่างของกันและกัน... เราจักท�ำอย่างไรให้ความว่างในใจนัน้ มันไม่มี ... ให้มนั ไม่ตอ้ งเกิด ความรุนแรงใดๆ เกิดขึน้ หรือมันจะเป็นไปไม่ได้ หรือเพราะไม่มี ทีว่ า่ งส�ำหรับความรุนแรงนัน้ มันไม่มอี ยูจ่ ริง... เราถูกสร้างมาอย่าง แตกต่างกันอย่างมีเหตุมีผล . ถ้าเราเข้าใจค�ำนี้ทุกสิ่งบนโลกใบนี้ จะเบาขึ้นอีกเยอะเลย 18


อุมมะฮฺ อิสลาม นักศึกษาปริญญาโท เมื่อเราพูดถึง “ความรุนแรง” มันจะหมายถึงการพูดถึง “ความขั ด แย้ ง ” เพราะพื้ น ที่ ข องความรุ น แรงตลอด ประวัติศาสตร์นั้นเกิดมาจากความขัดแย้งกันของมนุษย์ ความ ขัดแย้งจะน�ำไปสู่ความรุนแรงได้ถ้าควบคุมมันไม่ดี แต่ความ รุนแรงโดยเนื้อแท้เป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่พึงปรารถนา เพราะฉะนั้น ปัญหาคือเราจะรับมือกับความขัดแย้งอย่างไรโดยไม่น�ำไปสู่ ความรุนแรง อิสลามไม่สง่ เสริมให้จดั การกับความขัดแย้งด้วยความรุนแรง โดยกฎพื้นฐานอิสลามสอนให้จัดการกับความขัดแย้ง “ด้วย ความดี” “ด้วยวิธีการที่ดีกว่า” เช่ น นั้ น แล้ ว ท� ำ ไมจึ ง มี เรื่ อ งของสงครามปรากฏอยู ่ ใ น ประวัติศาสตร์อิสลาม เราต้องเข้าใจให้ถูกว่า ความขัดแย้งมัน ปรากฏอยู่ในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เป็นวิถีปกติของมนุษย์ที่ ปฏิเสธไม่ได้ สงครามหรือความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ ไม่ได้กอ่ ตัวขึน้ มาจากการ สนับสนุนของค�ำสอนอิสลาม อิสลามไม่ได้แสวงหาสงครามและ การหลั่งเลือด แต่มันเป็นสภาพการณ์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อพบ กับความขัดแย้งในระดับที่สร้างความเสียหายบนหน้าแผ่นดิน อิสลามไม่ส่งเสริมให้จัดการกับ การกดขี่ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ความขัดแย้งในระดับนี้จึงเปิดให้มี ความขัดแย้งด้วยความรุนแรง โดย การก้าวไปสูพ่ นื้ ทีข่ องสงครามได้ ไม่ใช่เพือ่ ขยายสงคราม แต่เพือ่ ยุติมันลง กฎพืน้ ฐานอิสลามสอนให้จดั การกับ การท�ำสงครามของอิสลามในแต่ละครัง้ จึงเป็นการก้าวเข้าไป ความขัดแย้ง “ด้วยความดี” “ด้วย สูใ่ จกลางของปัญหาในพืน้ ทีจ่ ำ� กัดเพือ่ ยุตมิ นั และเพือ่ ให้เกิดการ วิธกี ารทีด่ กี ว่า” วางอาวุธ เพื่อไม่ให้พื้นที่ความรุนแรงขยายไปสู่คนบริสุทธิ์ คนที่ ท�ำหน้าที่ดังกล่าวจึงต้องมีการเสียสละสูง แต่ความรุนแรงหรือสงครามก็มิใช่สิ่งที่มุสลิมปรารถนา สิ่งนี้ ถูกกล่าวถึงไว้ในค�ำสอนอิสลามว่าเป็นสิ่งที่มุสลิมไม่อาจชื่นชอบ มันได้ อย่ า งไรก็ ต าม ความขั ด แย้ ง จ� ำ นวนมากที่ เ กิ ด ขึ้ น ตลอด ประวัตศิ าสตร์ เป็นแบบทีต่ อ้ งยุตลิ งด้วยการสนทนาแลกเปลีย่ น ความขัดแย้งเป็นวิถปี กติของมนุษย์ แต่สงิ่ ทีท่ ำ� ให้คนหนึง่ แตก หาความลงตัวในการแก้ปญ ั หาอย่างสันติ แม้แต่บริบททีพ่ บเห็น ความขัดแย้งในปัจจุบนั ไม่วา่ จะเป็นกรณีชาร์ลี เอ็บโด การคลุม ต่างจากคนหนึ่งคือ เขารู้จักวิธีการน�ำพาความขัดแย้งให้ยุติลง ฮิญาบในที่สาธารณะ หรือการสร้างมัสญิดในจังหวัดน่าน มัน เช่นไร จะเปิดพื้นที่ของความรุนแรง หรือจะเลือกวิธีการอื่น ? ไม่ใช่ความขัดแย้งในระดับนัน้ เป็นไปไม่ได้ทจี่ ะลากพาไปสูร่ ะดับ ความรุนแรง อ้างอิง : อิสลามส่งเสริมความรุนแรงหรือไม่ - ศาสตราจารย์ เราสามารถเลือกใช้วธิ ที จี่ ะน�ำไปสูจ่ ดุ ทีด่ กี ว่าได้ สามารถทีจ่ ะ ดร. มะห์มูด ฮัมดี ซักซูก – http://islammore.com ใช้วิธีที่ไม่ต้องใช้ก�ำลังได้ แก้ไขได้ด้วยการสร้างความเข้าใจ ด้วย การพูดคุยแลกเปลีย่ น โดยแต่ละฝ่ายพยายามจะศึกษาธรรมชาติ //// ของกันและกัน และหาระยะที่ลงตัว 19


20


21


Bangkok Halal 2015 ประสบการณ์ล�้ำค่าของประเทศไทย ปิดฉากไปอย่างยิ่งใหญ่กับงาน Bangkok Halal 2015 ซึ่งจัด ต่อเนื่องเป็นปีที่สาม โดยในปีนี้ได้รับการตอบรับจากผู้ประกอบ การและผู้เข้าร่วมงานอย่าล้นหลาม Bangkok Halal 2015 จัดขึ้นในวันที่ 13 - 15 กุมภาพันธ์ 2558 ณ ราชมังคลากีฬาสถาน ทีผ่ า่ นมา มีจดุ ประสงค์เพือ่ พัฒนา ศักยภาพของภาคธุรกิจและบริการฮาลาลให้มีความสามารถใน การแข่งขันเพิ่มมากขึ้นและยังเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับ นักท่องเที่ยวชาวมุสลิมจากทั่วโลกที่เดินทางมายังประเทศไทย โดยในงานมีการออกร้านแสดงสินค้ามากมายหลายประเภท ทั้ง อาหารปรุงสด อาหารปรุงส�ำเร็จ เสือ้ ผ้าเครือ่ งแต่งกาย รวมไปถึง ที่พัก ท่องเที่ยว และบริการต่างๆ นอกจากนี้ภายในงานยังมี กิจกรรมมากมาย โดยมีเวทีกจิ กรรมถึง 4 เวทีเลยทีเดียว กิจกรรม ทีเ่ ป็นไฮไลต์สำ� คัญ เช่น Quran Thailand การแข่งขันอ่านคัมภีร์ อัลกุรอาน การประกวดอะซาน รวมไปถึงการเสวนาวิชาการที่ หลากหลาย นอกจากนีย้ งั มีการประชุมของผูป้ ระกอบการมุสลิม ภายใต้ชอื่ Muslim Business Matching เพือ่ ร่วมมือกันต่อยอด ผลักดัน และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาศักยภาพของ ธุรกิจมุสลิมให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดอาเซียนและตลาดโลก นายมูฮัมหมัด เจ๊ะแว ฝ่ายประชาสัมพันธ์และพิธีกรประจ�ำ สถานีโทรทัศน์ Yateem TV กล่าวว่า งาน Bangkok Halal ปีนี้ ถูกจัดขึ้นเป็นปีที่สามแล้ว เพื่อผลักดันศักยภาพของธุรกิจและ บริการฮาลาลในประเทศไทยโดยการคัดสรรผู้ ประกอบการร้าน อาหารฮาลาลและธุรกิจอืน่ ๆทีเ่ ข้าร่วมในงานนีใ้ ห้เป็นไปตามหลัก การของศาสนา ซึง่ จะส่งผลให้งาน Bangkok Halal สามารถเป็น เครื่องมือบ่งชี้ศักยภาพของธุรกิจและบริการอาหารฮาลาลทั่ว ประเทศได้ และมีแผนที่จะผลักดันศักยภาพของภาคธุรกิจและ บริการฮาลาลให้สามารถก้าวไปสูร่ ะดับอาเซียนและระดับโลกต่อไป นายมูฮมั หมัด กล่าวเกีย่ วกับธุรกิจและบริการฮาลาลว่า ธุรกิจ และบริการฮาลาลไม่เพียงเจาะตลาดผู้บริโภคชาวมุสลิมเท่านั้น แต่จะเจาะตลาดผู้บริโภคทั่วประเทศ เนื่องจากค�ำว่า ฮาลาล หมายถึง สิ่งที่ศาสนาอิสลามอนุมัติให้ท�ำหรือให้บริโภค สินค้า ฮาลาลจึงสามารถเข้าถึงทัง้ ผูบ้ ริโภคชาวมุสลิมและผูบ้ ริโภคทัว่ ไป ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ยกตัวอย่าง กลุม่ ประเทศอาหรับ ใช้เกณฑ์มาตรฐานการผลิตที่ต้องเป็นไปตามหลักฮาลาลใน การน�ำเข้าสินค้าและบริการจากต่างประเทศจึงเป็นโอกาสทีธ่ รุ กิจ และบริการฮาลาลจากประเทศไทยสามารถเข้าไปตีตลาดได้หาก สินค้าและบริการนัน้ ผ่านการตรวจและได้รบั ใบรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาหรับ 22


ศรัทธาชนจับมือสินธร สอนธรรมเป็นประจ�ำทุกเดือน มูลนิธศิ รัทธาชนเพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า ร่วมกับ ภัตตาคารสินธร จัด โครงการ ทางน�ำแห่งถ�้ำฮิรอฮฺ ซึ่งเป็นการเสวนาธรรม ณ ภัตตาคารสินธร ถ.รามค�ำแหง โดยครัง้ ทีผ่ า่ นมาจัดขึน้ ในวันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม 2558 ในช่วงเช้า เป็นการเสวนาในหัวข้อเรือ่ ง “ใครท�ำให้นบีรอ้ งไห้” โดย อ.อับดุลลอฮ์ สุไลหมัด และ อ.รอมดอน คล้ายเจริญ ส่วนช่วงบ่าย อ.อามีน เหมเสริม กับ อ.อะห์หมัด ก้อพิทักษ์ มาร่วมพูดคุยกันในหัวข้อ “ทองไม่รู้ร้อน” ซึ่งได้รับความสนใจจาก พี่น้องผู้ศรัทธาเป็นจ�ำนวนมาก โครงการ ทางน�ำแห่งถ�ำ้ ฮิรอฮฺ จัดขึน้ เป็นประจ�ำทุกเดือน ณ ภัตตาคารสิน ธร ถ.รามค�ำแหง ตั้งแต่เวลา 09.00 – 16.00 น. โดยมีอาหารบริการฟรี และ ของที่ระลึกมอบให้กับผู้เข้าร่วมรับฟัง

หน่วยบรรเทาทุกข์ มูลนิธิศรัทธาชนฯ หน่วยบรรเทาทุกข์ มูลนิธิศรัทธาชนฯ เป็นอีกหนึ่งหน่วยงานของมูลนิธิที่ ท�ำหน้าทีใ่ ห้ความช่วยเหลือพีน่ อ้ งทีเ่ ดือดร้อน โดยการลงพืน้ ที่ เพือ่ ให้การช่วยเหลือ อย่างทันท่วงที หนึง่ ในโครงการทีห่ น่วยบรรเทาทุกข์กำ� ลังด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ ง คือการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ลี้ภัยชาวต่างชาติ ทั้งชาวซีเรีย ปาเลสไตน์ อัฟกานิสถาน โซมาเลีย โรฮิงยา และพีน่ อ้ งเชือ้ สายตุรกี ทีเ่ ข้ามาอาศัย ในประเทศไทย ความช่วยเหลือที่หน่วยบรรเทาทุกข์ มูลนิธิศรัทธาชนฯ ได้ให้การช่วยเหลือ อย่างต่อเนื่องแก่ผู้ลี้ภัยชาวต่างชาติ คือ ถุงยังชีพ ข้าวสารอาหารแห้ง ที่จะแจก จ่ายจ�ำนวน 300 ถุง มูลค่าถุงละประมาณ 500 บาท ทุก 15 วัน และยังมีโครงการ เรียนรู้อิสลามและกุรอาน ให้กับเด็กๆผู้ลี้ภัย ซึ่งขาดโอกาสในการเรียนรู้อิสลาม ที่มุศอลลา ยาตีมทีวี ทุกวันเสาร์ มีเด็กๆมาลงทะเบียนเรียน เกือบ 100 คน และ ในแต่ละสัปดาห์จะมีการเลีย้ งอาหารให้กบั ครอบครัวทีม่ าเรียนด้วย ซึง่ ก็มชี าวมือบน สลับหมุนเวียนกันมาเป็นเจ้าภาพในการเลี้ยงอาหาร ติดต่อสอบถามรายละเอียด และให้การสนับสนุนโครงการได้ที่ คุณเราะห์มดั เรืองปราชญ์ 081-8192624 หรือ ร่วมบริจาคได้ที่ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย บัญชีกระแสรายวัน ชื่อบัญชี มูลนิธิศรัทธาชนเพื่อ เพราะเราคือเรือนร่างเดียวกัน เลขที่บัญชี 001-006-2172 23

ดาวเทียม THAICOM 5 (C-Band) ความถี่ขาลง 3585 Symbol rate 30000 แนวการรับ V หรือดูออนไลน์ ได้ที่ www.Yateem.tv

ท่ า นคื อ คนส� ำ คั ญ ที่ จ ะร่ ว ม สานฝันให้เด็กก�ำพร้า ร่วมสานฝันโดยบริจาคเงินเข้าบัญชี

ธนาคารกรุ ง เทพ สาขาลาดพร้ า ว 99 บัญชีกระแสรายวัน ชือ่ บัญชี มูลนิธศิ รัทธาชน เพื่ อการศึ ก ษาและเด็ ก ก� ำ พร้ า เลขที่บัญ ชี 181-3-09014-7 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา คลองตัน บัญชีกระแสรายวัน ชื่อบัญชี มูลนิธิ ศรั ท ธาชน เพื่ อ การศึ ก ษาและเด็ ก ก� ำ พร้ า เลขที่บัญชี 001-6-00162-1 หรื อ ติ ด ต่ อ ส� ำ นั ก งานมู ล นิ ธิ ฯ 48/48 ซ.ลาดพร้ า ว 114 แขวงพลั บ พลา เขต วังทองหลาง กทม. 10310 โทรศัพท์ : 02-934-3495 โทรสาร : 02-934-3496 อีเมล : satthachonfoundation @hotmail.co.th เว็บไซต์ : www.satthachon.or.th เฟซบุค : www.facebook.com/satthachon


Halal Trip

อะหมัด บุญชม - mudboonchom@gmail.com

ในวันที่อากาศหนาว กับเราสองคนที่...แม่สะเรียง ก่อนอื่นต้องขอออกตัวก่อนนะครับว่า ไม่ค่อยถนัดกับ การเล่าเรื่องเป็นตัวหนังสือสักเท่าไหร่ เพราะอาชีพ หลักของผมคือช่างภาพ และก็มีโอกาสเดินทางบ่อยๆ ถ้าไม่ท�ำงานก็ไปเที่ยว แต่เมื่อได้รับโอกาส ก็ไม่อาจ ปฏิเสธได้ครับ ทริปนี้เกิดขึ้นเมื่อต้นปีที่ผ่านมา ผมกับภรรยาเราชอบเดิน ทางจึงวางแผนกันไว้ว่าช่วงต้นปีจะไปแม่ฮ่องสอนกัน และ แม่สะเรียงคือเมืองที่เราอยากไปครับ 19.00 น. รถบัสกรุงเทพ - แม่สะเรียงก็ออกจากสถานีขนส่ง หมอชิต ที่เราเลือกการเดินทางกลางคืนเป็นเพราะว่า เราจะ ต้องการประหยัดค่าที่พักไปหนึ่งคืน และเช้ามาเราก็สามารถ เที่ยวได้เลย เราสองคนมาถึงแม่สะเรียงประมาณ 7 โมงเช้า สะลึมสะลือ กันลงมาจากรถ จากนั้นก็ตรงดิ่งไปสอบถามข้อมูลและหา มอเตอร์ไซค์เช่า พนักงานทีท่ า่ รถใจดีชว่ ยเป็นธุระโทรหาร้านเช่า รถให้ เราได้ขอ้ มูลมาว่าทีน่ มี่ รี า้ นให้เช่ามอเตอร์ไซค์อยูร่ า้ นเดียว ชือ่ ว่าพีเ่ บิม้ ซึง่ พีเ่ บิม้ นัดแนะให้เรามาทีร่ า้ นประมาณ 10 โมงเช้า เหลือบดูนาฬิกายังพอมีเวลาส�ำหรับอาหารเช้า เราสองคน ตรงไปยังตลาด ลุ้นอยู่ว่าจะมีร้านอาหารมุสลิมหรือเปล่า แต่ก็ อัลฮัมดุลิลลาฮฺอัลลอฮฺทรงโปรดครับ ทันทีที่ถึงตลาดเราก็มอง เห็นร้านโจ๊กทีม่ ผี หู้ ญิงคลุมฮิญาบและผูช้ ายไว้เคราขายชาตัง้ อยู่ ด้วยกัน เช้าวันนีเ้ ราทัง้ สองคนจึงเริม่ ต้นวันด้วยโจ๊กอุน่ ๆ กับชาร้อนๆ

24


ในอากาศหนาว ๆ ที่แม่สะเรียง แถมบังขายชายังให้ข้อมูลเกี่ยว กับร้านเช่ามอเตอร์ไซค์อีกด้วย บังแกบอกว่าเจ้าของร้านเช่า มอเตอร์ไซค์ก็เป็นมุสลิมเหมือนกัน ชื่อลาเบิ้ม ( ที่นี่เขาใช้ค�ำว่า “ลา” น�ำหน้าชื่อ ถ้าจะแปลก็ประมาณว่าพี่ชายครับ ) แถมยัง แนะน�ำเราอีกด้วยว่า “เข้าไปเลย ไม่ต้องรอถึง 10 โมงหรอก มุสลิมเหมือนกัน” เมื่อท้องอิ่มเราสองคนกล่าวลาเจ้าของร้านชาและขอบคุณ ส�ำหรับข้อมูล แค่เพียงก้าวแรกในแม่สะเรียง ก็ท�ำให้ผมรู้สึก ประทับใจผู้คนคนที่นี่เข้าให้แล้ว จากตลาดเราเดินมายังไม่ทนั เหนือ่ ยก็ถงึ ร้านเช่ามอเตอร์ไซค์ ของลาเบิ้ม ร้านแกเปิดให้บริการแล้ว ผมกล่าวสลามก่อนที่จะ เดินไปถึงตัวแก ชายวัยกลางคนหน้าตาใจดี หันมารับสลามผม ด้วยหน้าตายิม้ แย้ม แกบอกว่ารูแ้ ล้วว่าจะมีคนมาเช่ามอเตอร์ไซค์ เพราะมีคนโทรมาบอกแกไว้กอ่ นแล้ว ลาเบิม้ บอกกับเราว่า “เห็น ว่าเป็นพวกกันนะเลยให้เช่า” ผมนัง่ คุยกับลาเบิม้ อยูเ่ กือบชัว่ โมง เพื่อสอบถามข้อมูลร้านอาหารอิสลามรวมไปถึงข้อมูลสถานที่ เทีย่ วต่างๆ ในแม่สะเรียง แกบอกว่า อยากให้เราไปทีแ่ ม่สามแลบ ที่สาละวิน ห่างจากแม่สะเรียงประมาณ 40 กว่ากิโลเมตร ถนน หนทางอาจจะไม่สะดวกมากนัก มีทางลูกรังอยู่บ้าง แต่มอเตอร์ ไปได้ ลาเบิม้ บอกว่าทีน่ นั่ มีมสั ยิดทีค่ นแม่สะเรียงไปสร้างไว้ และ มีพนี่ อ้ งมุสลิมทีเ่ ป็นพม่าเข้ามาอยูอ่ าศัยประมาณ 60 หลังคาเรือน คนมุสลิมหากไปอยูท่ ไี่ หน ก็จะมีมสั ยิดไว้ปฏิบตั ศิ าสนกิจ หรือไว้ เป็นศูนย์กลางเพือ่ พบปะ พูดคุย และสร้างสัมพันธไมตรีของผูค้ น ในชุมชน

หลังจากนั่งคุยกันอยู่นาน ผมก็ขอตัวลาลาเบิ้ม พร้อมกับ ขอบคุณส�ำหรับข้อมูลและพาหนะสองล้อทีแ่ กให้เราเช่ามา อ่อ... ลืมบอกไปครับ ผมถามถึงมัดจ�ำการเช่ารถ แกบอกว่าไม่ต้อง มัดจ�ำหรอก มุสลิมเราไม่โกงกันอยู่แล้ว ผมมานั่งคิดดู ผมนั่งคุย กับแกไม่ถึงชั่วโมง แต่แกกลับไว้ใจถึงขนาดไม่เก็บค่ามัดจ�ำ ซึ่ง ตรงนี้ผมคิดว่าที่ลาเบิ้มไว้ใจไม่ใช่เพราะเป็นผม แต่แกไว้ใจใน ความเป็นมุสลิมของผมมากกว่า... หลังจากลาลาเบิ้มเสร็จ ผมกับภรรยาก็เตรียมตัวเดินทางกัน ต่อครับ เราแพลนกันไว้วา่ ในคืนแรกเราจะพักกันทีบ่ า้ นห้วยห้อม ห่างจากแม่สะเรียงประมาณ 28 กิโลเมตร เราใช้เวลาบิดมอเตอร์ไซค์ประมาณ 40 นาที ก็มาถึงบ้านห้วย ห้อม วินาทีแรกที่มาถึง เราก็ได้ชิมกาแฟที่ชาวบ้านเอามาให้ ถือว่าเป็น welcome drink ทีน่ เี่ ขาว่ากันว่าเป็นแหล่งปลูกกาแฟ อาราบิกา้ ทีม่ ชี อื่ ขนาดร้านกาแฟชือ่ ดังทีม่ สี าขาทัว่ โลกยังต้องมา ซือ้ เมล็ดกาแฟทีน่ ี่ นอกจากกาแฟแล้วทีน่ ยี่ งั เลีย้ งแกะเพือ่ เอาขน มาท�ำเป็นผ้าพันคอขายให้กบั นักท่องเทีย่ วอีกด้วย ผมรูส้ กึ ว่าแกะ ทีน่ มี่ ปี ระโยชน์มากกว่าจะมาเป็นแบบให้นกั ท่องเทีย่ วถ่ายรูป เรา ใช้เวลาอยู่ที่นี่ราวๆ 2 ชั่วโมงก็กลับเข้าที่พักเพื่อพักผ่อนเอาแรง เพราะในวันพรุง่ นีเ้ ราจะกลับไปแม่สะเรียง และไปต่อทีส่ ามแลบ กันครับ อินชาอัลลอฮฺ ฉบับหน้าผมจะกลับมาเล่าเรื่องที่แม่สามแลบ ให้อ่านกันต่อครับ //// 25


The Circle อัลอัค

อิสลามและชาติพันธุ์ต่างๆ

อิสลาม วางสิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง ด้วย มาตรฐาน จากซุนนะฮฺ

แน่ น อนว่ า เมื่ อ อิ ส ลามเข้ า ไปใน แอฟริกา อิสลามท�ำให้พวกเขาต้องรูจ้ กั ใส่ เสือ้ ผ้ามิดชิด นัน่ คือสิง่ ทีต่ อ้ งเปลีย่ นแปลง อิสลามวางสิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลงด้วย “มาตรฐาน” จากซุนนะฮฺ (แบบอย่างจาก ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัม) ซึง่ เราจะเห็นความแตกต่างในกลุม่ ชนต่างๆ กลุ่มชนหนึ่งอาจกินอาหารโดยใช้มือ อีก กลุ่มหนึ่งใช้ซ้อม อีกกลุ่มหนึ่งใช้ตะเกียบ ประเด็นรูปแบบวิธหี ยิบอาหารถูกยอมรับ จากมาตรฐานนี้ แต่ตัวอาหารต่างหากที่ ต้องเปลี่ยนเป็นอาหาร “ฮาลาล” และ หยิบทานด้วยมือขวาที่สะอาด ... จะเป็น ช้อน เป็นซ้อม เป็นตะเกียบ หรือมือเปล่า ก็ไม่มีปัญหา วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุต่างๆ ที่ อิสลามเข้าไปจับนัน้ ไม่ได้ถกู ท�ำลายไป แต่ มีการเปลีย่ นรูปแบบไป... อิสลามไม่ตอ้ งการ ให้คนทุกคนถูกท�ำให้แข็งตัวเป็นแบบเดียวกัน 26

บางคนอาจจินตนาการไปว่าอิสลามเป็น เบ้าหลอมที่น่ากลัว ไปที่ไหนก็หลอมทุก อย่าง และท�ำให้ทุกคนปรากฏรูปทรงเป็น “ชาวอาหรับ” ไปจนหมดสิน้ ไม่วา่ ท่าทาง การแต่งกาย และภาษา แต่วา่ จินตนาการนีเ้ กินจริง ข้อเท็จจริง คืออิสลามก้าวไปสู่แต่ละกลุ่มชนแบบตั้ง ค�ำถามว่า สิ่งไหนที่ควรอยู่ต่อไป สิ่งไหนที่ ไม่ควรอยู่ นอกจากนี้สิ่งไหนที่อยู่ต่อไป บางอย่างยังต้องพัฒนาต่อไปอีกด้วย หรือ สิ่งไหนที่ควรถูกสร้างขึ้นมาใหม่ ผมยกตัวอย่าง เมื่ออิสลามไปถึงดิน แดนอารยธรรมชั้นสูงอย่างเปอร์เซีย อิสลามท�ำให้แนวคิดพระเจ้าสองแบบโซโร แอสเตอร์ ห ายไป แต่ ยั ง คงรั ก ษาและ พัฒนาภาษาเปอร์เซียนให้ยงิ่ ใหญ่กว่าเดิม ด้วยซ�้ำไป รวมไปถึงความรู้และวิทยาการ ต่างๆที่อยู่ในอาณาจักรเปอร์เซีย ในหลายพื้นที่อิสลามท�ำให้เกิดภาษา สือ่ กลางขึน้ ระหว่างกลุม่ ชนระดับภูมฺ ภิ าค อย่างภาษาอูรดู ภาษามาเลย์ ภาษาสวาฮิลี ภาษเฮาซา ... ล้วนแต่เกิดจากแรงผลักดัน จากกระบวนการพัฒนาของอิสลาม และ ท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม ชนต่ า งๆ เข้ า มามี ส ่ ว นใน อารยธรรมอิสลาม

แต่ตอ้ งการเปลีย่ นให้มมี าตรฐานทีย่ นื หยุน่ ในบางประเด็นและยังคงรักษาความเสถียร ไว้ในประเด็นรากฐาน หลายชนชาติยงั คงรักษาบางอย่างทีเ่ ป็น ความพิเศษของพวกเขา และมอบมันให้ อิสลาม อย่างความเป็นนักรบของชาว เติร์ก ความเป็นกวีของเปอร์เซี่ยน ... ความแตกต่างเหล่านีเ้ ป็นธรรมดาของมนุษย์ ที่เติบโตมาในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่าง ... ตราบใดที่ความแตกต่างนั้นไม่ขัด แย้งกับค�ำสอนอิสลาม และไม่น�ำความ แตกต่างนั้นไป “ทับถม” เหนือคนอื่น

////


27


28


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.