Halal Life Magazine issue 15

Page 1

ครอบคลุมชีวิต วิถีฮาลาล

FREE/แจกฟรี

ปีที่ 2 ฉบับที่ 15 ธันวาคม 2555

Simply Lightly Plainly




Editor’s note “ตัวเองมีก�ำไร สังคมมีความสุข” ค�ำจ�ำกัด ความที่สั้นกระชับและชัดเจนที่สุดของ กิจการเพื่อ สังคม หรือ Social Enterprise ทีส่ ำ� นักงานส่งเสริม กิจการเพือ่ สังคม (สกส.) ได้ให้เอาไว้ ปัจจุบนั กิจการ เพื่อสังคม หรือ Social Enterprise ก�ำลังเป็นกระ แสอยู่ทั่วโลก ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ๆ หันมาท�ำ ธุรกิจประเภทนี้กันอย่างมากมาย ไม่เว้นแม้แต่ใน บ้านเราที่ธุรกิจเพื่อสังคมก�ำลังเติบโต กิจการเพื่อสังคม คือธุรกิจที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อ แก้ไขปัญหาสังคมด้านใดด้านหนึ่ง และเป็นธุรกิจที่ ค�ำนึงถึงสิง่ แวดล้อมในทุกๆกระบวนการ ดังนัน้ การ ขับเคลื่อนของกิจการประเภทนี้จะเป็นไปเพื่อแก้ ปัญหาสังคมและดูแลสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน ไม่ใช่การตักตวงเอาก�ำไรสูงสุดอย่างเต็มที่แล้วค่อย เจียดก�ำไรมาคืนให้สังคมภายหลัง ในรูปแบบของ CSR ที่เราเห็นกันอยู่บ่อยๆ ในโฆษณาทีวี ที่บริษัท ยักษ์ใหญ่พยายามยัดเยียดให้เราเห็นว่า การปลูกป่า การรักษาต้นน�้ำ หรือการช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส ของพวกเขานั้น คือการแก้ปัญหาสังคมที่ยั่งยืน ซึ่ง มักจะได้ “ภาพ” มากกว่า “ผล” อยู่เสมอ หากยั ง ไม่ เ ห็ น ภาพว่ า ธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คม มั น หน้าตาเป็นอย่างไร ท�ำธุรกิจแบบไหน และช่วย เหลือสังคมอย่างไร ลองมาดูตัวอย่างกันครับ “รองเท้าทุกคูท่ คี่ ณ ุ ซือ้ ไป เราจะบริจาครองเท้า อีกคู่ให้กับเด็กที่ขาดแคลน” สโลแกนเด็ดโดนใจ แสดงจุดยืนของ TOMS แบรนด์รองเท้าเปลีย่ นโลก ทีก่ อ่ ตัง้ ขึน้ ในปี 2006 โดยนักท่องเทีย่ วชาวอเมริกนั Blake Mycoskie เมือ่ ครัง้ ทีเ่ ดินทางไปอาร์เจนตินา เขาได้พบเห็นสภาพความยากจน ปัญหาสุขภาพ ของเด็กและเด็กที่เดินโดยที่ไม่มีรองเท้าสวมใส่ จึง เกิดแรงบันดาลใจที่อยากจะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น

Blake Mycoskie ได้จัดตั้งบริษัทผลิตและขาย รองเท้าในชื่อ TOMS โดยน�ำลักษณะของรองเท้า ท้องถิ่นดั้งเดิมของอาร์เจนติน่าเรียกว่า Alpargata ซึง่ เป็นรองเท้าผ้าทีน่ มุ่ นิม่ สวมใส่สบาย ทนทานและ เป็นรองเท้าที่คนงานชาวอาร์เจนติน่านิยมใส่มาก ร่วมกับการออกแบบให้มีสีสันสดใส ใส่สบาย โดย จ�ำหน่ายทั้งแบบวางขายในร้านค้าและขายเว็บไซต์ ในราคาถูก โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อช่วยให้เด็กมี รองเท้าใส่ผ่านโครงการที่มีชื่อว่า ONE for ONE โดยมีแนวคิดว่า เมื่อมีลูกค้ามาซื้อรองเท้า 1 คู่ TOMS ก็จะบริจาครองเท้าให้แก่เด็กที่ขาดแคลน 1 คู่ในนามผู้ซื้อ โดยในปีแรก TOMS ขายรองเท้าได้ 10,000 คู่ 4 ปีตอ่ มาสามารถบริจาครองเท้าให้เด็กๆ ได้ 600,000 คู่ และ ณ วันนี้ TOMS บริจาครองเท้า ไปแล้วกว่า 1,000,000 คู่ใน 25 ประเทศทั่วโลก TOMS ยังท�ำงานประสานกับ NGO และมูลนิธติ า่ งๆ ที่มีเครือข่ายในประเทศยากจนมากมาย ท�ำให้ สามารถเข้าถึงเด็กๆ ที่ขาดแคลนจริงๆ แนวคิดง่ายๆ แต่สร้างสรรค์ในการท�ำธุรกิจ พร้อมกับการดูแลสังคมของ TOMS ประสบความ ส�ำเร็จเป็นอย่างมากทั้งในแง่ธุรกิจ และการช่วย เหลือสังคมแสดงให้เห็นว่าสิง่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นกิจการ เพื่อสังคมไปข้างหน้าได้ อาจไม่ใช่เงินทุนมหาศาล หรือต้องกู้เงินธนาคารมาทุ่มใส่ธุรกิจอย่างบ้าคลั่ง เหมือนก่อน แต่มกั จะเป็นความคิดสร้างสรรค์ในการ ค้นหาวิธีการและรูปแบบใหม่ๆ ในการแก้ปัญหา สังคม ไปพร้อมกับการหารายได้และท�ำก�ำไรเพือ่ ขับ เคลื่อนองค์กรไปพร้อมๆ กัน Social Enterprise หรือกิจการเพือ่ สังคม มีจดุ มุ่งหมายในการแก้ไขปัญหาสังคมเหมือนเอ็นจีโอ มูลนิธิ และองค์กรการกุศลต่างๆ แต่ที่ต่างกันคือ

กิจการเพื่อสังคมมีวิธีการหาก�ำไร วางระบบการ ตลาดได้เหมือนบริษทั ทัว่ ไป พูดให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือ กิจการเพื่อสังคมคือการหยิบเอาข้อดีของงานภาค ธุรกิจและภาคสังคมมาผสมผสานกัน เพราะหากเรา มัวแต่กอบโกยท�ำก�ำไรสูงสุดโดยไม่สนใจสังคมและ โลก ธุรกิจก็ไม่มีทางยั่งยืนมั่นคงอยู่ได้ในสังคมที่ แหลกเหลว ในขณะเดียวกัน หากเราจะมุ่งท�ำงาน ด้านสังคมในรูปแบบองค์กร หรือมูลนิธิฯ โดยหวัง พึ่งเงินบริจาคและการสนับสนุนจากแหล่งทุนเพียง อย่างเดียว ความมัน่ คงและยัง่ ยืนของงานก็คงมีนอ้ ย และมีความเสี่ยงที่งานจะหยุดชะงักเป็นอย่างสูง ทีเ่ ขียนเล่าเรือ่ ง Social Enterprise หรือกิจการ เพื่อสังคม มาซะยืดยาวก็เพราะที่ผ่านมา ผมคิดมา ตลอดว่า ไม่มีใครเหมาะสมที่จะเป็นผู้ประกอบ กิจการเพือ่ สังคมเท่ามุสลิมเราอีกแล้ว หรือคุณว่าไม่ จริง ? วิทยากร อิสมาแอล บรรณาธิการบริหาร hala.life.mag@gmail.com

ภาพปกโดย คอลิด เยนา 086-344-0291

Halal Life Magazine: บรรณาธิการบริหาร วิทยากร อิสมาแอล กองบรรณาธิการ ธนพัฒน์ อิสมาแอล, กอมารียะห์ สุเรรัตน์ คอลัมนิสต์ สุภาพ เรืองปราชญ์, สมคิด ลีวนั , อีซา นิยม, สมชาติ มิตรอารีย,์ สุทศิ า เหมเสริม, ปรีชา เริงสมุทร์ ศิลปกรรม พรพรรษา โก้กระโทก, อรดา โต๊ะมางี ผู้จัดการ วิลาสินี กันซัน ผู้จัดการฝ่ายการตลาด สิทธิศักดิ์ วงค์เกษร ฝ่ายโฆษณา สาโรช เรืองปราชญ์ ติดต่อโฆษณา 086-890-6055 สมาชิกติดต่อ อัสมา กันซัน 086-890-6055 ที่ปรึกษาฝ่ายการตลาด กฤษดา เรสลี Website: www.halallifemag.com Email: hala.life.mag@gmail.com Facebook: facebook.com/halal.life.magazine เจ้าของ บริษัท ปลูกฝัน จ�ำกัด เลขที่ 336/18 ซ.ราษฎร์อุทิศ 52 แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กทม. 10510

14 09

ปอเนาะกั บ ธุ ร กิ จ เกี่ ย วข้ อ งกั น อย่างไร อ.มนูญ รามบุตร กูรูด้านธุรกิจ มีค�ำตอบใน Main Halal

28

คอลัมน์ใหม่ส่งตรงจากซาอุดิอาระ เบีย ว่าด้วยมายาคติเมียหลวงเมียน้อย ของละครน�้ำเน่าหลังข่าว 4

11

ปลายปีแล้ว Tasty ฉบับนีเ้ ลยขอพา ขึน้ เหนือไปซดของร้อนๆ รับลมหนาวกัน ที่ร้านก๋วยเตี๋ยวบางกอก


หยิบ

ได้ที่นี่

ร้านอาหารและเครื่องดื่ม

ห้องอาหารโซเฟีย(คลองตัน) ร้านอาหารฟาฮาน่า(พระรามเก้า) สวนอาหารจันทร์เสี้ยว(มอเตอร์เวย์) ภัตตาคารสินธรสเต็กเฮ้าส์(รามค�ำแหง) ร้านริสกี(ทาวน์อินทาวน์) โคบัง(รามค�ำแหง-สุขาฯ 3) Sti Coffee @ The Nine (พระรามเก้า) Istanbul @ Market Walk (ราชพฤกษ์) ร้านอาหารอีสานฝั่งธน(อรุณอัมรินทร์) ห้องอาหารนางพญา(พญาไท) @112 Coffee House (ลาดพร้าว 112) เมี่ยงปลาเผาหลังราม สาขาพระรามเก้า ร้านฮาลาลโฮม ซ.เทคโนบางกะปิ (บางกะปิ) แบ๊คยาร์ดคอฟฟี่ (ถ.สุโขทัย) ร้านฟารีดาโภชนา (เหม่งจ๋าย) ร้านดีโอโรตีโอ่ง (สุขาภิบาล 3) อะลาดิน ซูชิ (เหม่งจ๋าย)

ร้านหนังสือ

แบบฟอร์มสมัครสมาชิก นิตยสารฮาลาลไลฟ์

หมดปัญหา หยิบไม่ทัน หาไม่เจอ

สมั ค รสมาชิ ก แน่นอนกว่า

ข้าพเจ้า นาย นาง นางสาว......................................................... อายุ ........... ปี ที่อยู่ ................................................................................................................... ............................................................... รหัสไปรษณีย์ .................................... โทรศัพท์ ...................................... อีเมล์ .......................................................... การศึกษา มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาตรีขึ้นไป อื่นๆ อาชีพ พนักงานบริษัท รับราชการ,รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่วนตัว นักเรียน, นักศึกษา อื่นๆ มีความประสงค์จะสมัครสมาชิกนิตยสารฮาลาลไลฟ์ สมาชิก 1 ปี 12 ฉบับ 300 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่......... สมาชิกอุปถัมภ์ 1 ปี 12 ฉบับ 300 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่......... ให้กับห้องสมุด/มัสยิด......................................................................................... ที่อยู่ ................................................................................................................... ....................................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................. วิธีช�ำระค่าสมาชิก โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี นางสาว วิลาสินี กันซัน

ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนรามค�ำแหงเทพลีลา เลขที่บัญชี 902-0-06365-8

(ถ่ายเอกสารได้)

ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลล์ บางกะปิ เลขที่บัญชี 732-2-70060-8

5

ศูนย์หนังสืออิสลาม (ศูนย์กลางอิสลาม คลองตัน) ศูนย์หนังสือมานพวงศ์เสงี่ยม (พระรามเก้า) ร้านหนังสือส.วงศ์เสงี่ยม (มหานาค) Halal Express(หนองจอก) ร้านอารีฟ เซ็นเตอร์ (มัสยิดสวนพลู)

โรงพยาบาล

รพ.ปิยเวช, รพ.กรุงเทพ, รพ.เสรีรักษ์, รพ.นวมินทร์, รพ.เวชธานี, รพ.บ�ำรุงราษฎร์

ธุรกิจบริการและโรงแรม ทรัพย์เจริญกรีนแลนด์ รีสอร์ท บางพลัด โรงแรมนิวเวิลด์ (บางล�ำพู) โรงแรมรีเจ้นท์ (รามค�ำแหง) โรงแรมชาลีนา (รามค�ำแหง) โรงแรมนูโว ซิตี้ (บางล�ำพู)

ธนาคารและสหกรณ์

เคาท์เตอร์ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยทุกสาขา สหกรณ์อิสลามสันติชน เครือข่ายสหกรณ์อิสลามภาคใต้

ต่างจังหวัด

ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (เชียงใหม่) ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (แม่สาย) ร้านฟาด้า สเต๊กแอนด์คอฟฟี่ (อยุธยา) ร้านอาหารอิสลามดาวุดชา (กาญจนบุรี) ร้านมุนาซีร กาแฟสด&เค้ก พัทยา (ชลบุรี) ร้านอาหารชุกรี่ ปั๊ม ป.ต.ท. ท่าฉาง (สุราษฎร์ธานี) ห้องอาหารคุณสาหร่าย (ชุมพร) ร้านอาหารคุ้มราชา ควนโดน (สตูล) ศูนย์การค้าวงเวียนวินเทจ หาดใหญ่ (สงขลา) SAMI KITCHEN หาดใหญ่ (สงขลา) ร้านบากุส (ปัตตานี) ร้านอาหารอาบูคอลี (ยะลา) ร้านกีตาบบุ๊กเฮาส์ (ยะลา) Halal Minimart (สตูล) ร้านบังฝรั่ง (สงขลา)


Global

กอมารียะห์ อิสมาแอล haboohoohoo@gmail.com

ศิลปะโลกอิสลามในพิพิธภัณฑ์ ลูฟวร์ พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ในกรุงปารีส จัดแสดงนิทรรศการ ศิลปะโลก อิสลาม อันล�้ำค่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ โดยมีผลงานชิ้นเอก มาจัดแสดงมากกว่ า 2,500 ชิ้น ผลงานทั้งหมดเป็นมรดกทาง อารยธรรมของโลกอิสลามทีค่ รัง้ หนึง่ เคยแผ่ขยายครอบคลุมพืน้ ทีจ่ าก สเปนจรดอินเดียในช่วง ศตวรรษที่ 17 จนถึงศตวรรษที่ 19 วัตถุประสงค์หลักของการจัดแสดงในครั้งนี้ คือการหยิบยื่น โอกาสให้ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ที่มีมากถึง 9 ล้านคนต่อปีได้ ท�ำความรู้จักและคุ้นเคยกับศิลปะของโลกอิสลาม โครงการนี้ใช้เงิน มากถึง 100 ล้านยูโร โดยที่รัฐบาลฝรั่งเศส ออกเงินเพียงแค่ 1 ใน 4 เท่านั้นส่วนที่เหลือกลุ่มประเทศอาหรับเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่าย

ผู้น�ำศาสนาอิสลามคนแรกของมหาวิทยาลัยในแคนาดา Amjad Tarsin วัย 28 ปี ชาวมิชิแกน สหรัฐอเมริกา ได้รับการ แต่งตัง้ จากมหาวิทยาลัย โตรอนโต้ ประเทศแคนาดาให้เป็นผูน้ ำ� ศาสนา อิสลามแก่นักศึกษามุสลิมที่มีอยู่ประมาณ 5,000 คนของมหาวิทยาลัย ที่ใหญ่ที่สุดในแคนาดาโดยเขากล่าวว่า “เยาวชนมุสลิมต้องการใคร สักคนที่อยู่ที่นั่นกับพวกเขา และเข้าใจว่าพวกเค้าต้องการเป็นอะไร” เป้ า หมายของการเป็ น ผู ้ น� ำ ทางศาสนา นอกจากการเป็ น อิ ห ม่ า ม น�ำละหมาดในวันศุกร์แล้ว ยังมีหน้าทีด่ แู ลให้คำ� ปรึกษาแก่มสุ ลิมทุกคน เพื่อให้พวกเขาเป็นคนดีและคอยชี้แนะแก่นักศึกษาเมื่อพวกเขาต้อง เผชิญกับปัญหาต่างๆในชีวิต

ซาอุฯเงินสะพัดช่วงเทศกาลฮัจญ์ หนังสือพิมพ์ “อัล ฮายัต” หนังสือพิมพ์รายวันชื่อดังของซาอุดิอาระเบีย มียอดจ�ำหน่ายกว่าวันละ 150,000 ฉบับ ได้ออกรายงานโดยอ้าง แหล่งข่าวในวงการท่องเที่ยว-ศาสนาว่า ยอดรวมของผู้แสวงบุญชาวมุสลิมที่เดินทางมายังนครศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 2 ระหว่างช่วงพิธีฮัจญ์เมื่อปลายเดือน ตุลาคมในปีนี้มีทั้งสิ้นกว่า 12 ล้านคน “อัล ฮายัต” ยังบอกอีกว่า วงเงินที่ผู้แสวงบุญทั้งหมดใช้จ่ายระหว่างช่วงพิธีศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าวในปีนี้ได้ก่อให้เกิดเงินสะพัดในระบบเศรษฐกิจ ของประเทศไม่ต�่ำกว่า 16.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ราว 507,100 ล้านบาท) สูงกว่าปี 2011 ถึง 10 เปอร์เซ็นต์เลยทีเดียว 6


ซาอุฯ เล็งสร้างศูนย์อิสลามขนาดใหญ่กลางกรุงคาบูล ในอัฟกานิสถาน ซาอุ ดิ อ าระเบี ย จะสร้ า งศู น ย์ อิ ส ลามขนาดใหญ่ ก ลางกรุ ง คาบู ล ของ อัฟกานิสถาน ซึ่งจะเป็นศูนย์ที่รวมมหาวิทยาลัยและมัสยิด โครงการดังกล่าว มีมูลค่าประมาณ 100 ล้านดอลลาร์ และจะตั้งชื่อตามชื่อกษัตริย์องค์ปัจจุบัน ของซาอุฯ การก่อสร้างจะเริ่มในต้นปีหน้า รูปแบบของมัสยิดจะคล้ายคลึงกับ มัสยิดไฟซอล ในกรุงอิสลามาบัดของปากีสถาน ซึง่ ซาอุฯไปสร้างไว้ตงั้ แต่ปี 2523 และสามารถจุผู้ปฏิบัติศาสนกิจได้ครั้งละประมาณ 15,000 คน ในส่วนของ มหาวิทยาลัยที่จะสร้างขึ้นพร้อมกัน สามารถรับนักศึกษาได้ 5,000 คนและ จะมีกรรมการบริหารร่วมกันระหว่างซาอุฯ และกระทรวงกิจการศาสนาของ อัฟกานิสถาน 100 ปีที่ไม่โดดเดี่ยว ของคุณยายแห่งเลบานอน คุณยาย Eugenie Bitar ชาวเลบานอน อายุ 100 ปี คงไม่เหมือน คุณยายของใครหลายๆคนทีอ่ าจใช้เวลาอยูก่ บั ลูกๆหลานๆหากแต่คณ ุ ยาย ท่านนีจ้ ะนัง่ อยูห่ น้าจอคอมพิวเตอร์ทอ่ งโลกอินเตอร์เน็ต และใช้ศพั ท์ เช่น ว่า “follow me on twitter…and facebook” คุณยายบอกว่า อิ น เตอร์ เ น็ ต เป็ น ดั่ ง ของขวั ญ ที่ ท ่ า นสามารถติ ด ต่ อ กั บ ผู ้ ค นทั่ ว โลก โดยเฉพาะกับญาติพี่น้อง และลูกหลานที่อยู่ในอีกซีกโลกหนึ่ง ท่าน สามารถคุยเห็นหน้ากับหลาน วัย 12 ปี ที่อยู่สหรัฐอเมริกาผ่าน Skype ท�ำให้ท่านรู้สึกว่า มีหลานมานั่งคุยอยู่ตรงหน้า เพียงเท่านี้ก็ท�ำให้คุณยาย เป็นสุขมากแล้ว

7


8


ตัวหนังสือมีคม

M.Fahmee Talib

“ทางลัดเวลา” ทางลัดเวลา

เมื่อครั้งที่ผมมาเรียนที่เมืองหาดใหญ่ปีแรก เวลาผมจะเดินทางไปไหนมาไหน มักจะเสียเวลา มาก เส้นทางในเมืองดูซบั ซ้อนไปหมด จะไปไหน มาไหนก็ต้องไปตามเส้นทางหลัก ที่เป็นถนน ใหญ่มีรถราสัญจรมาก ไฟแดงมีคั่นตลอด จ�ำได้ ว่าตอนนั้นจากตัวมหาลัยไปในเขตตัวเมือง กิน เวลาเกือบครึ่งชม. แน่นอนว่าการจราจรที่เป็น อุปสรรคเช่นนี้ท�ำให้ผมไปไหนมาไหนล�ำบาก มาก เมื่อไปไหนมาไหนล�ำบากผมจึงต้องเก็บตัว อยู่ในอาณาบริเวณส่วนตัวของผมเท่านั้น ห้าปีผ่านไป ผมท�ำเวลาส�ำหรับการเดินทาง ได้ไฉไลกว่าเดิมมาก เพียง 8 นาที ผมสามารถ เดินทางเข้าตัวเมือง ระยะทางไม่ได้สั้นกว่าเดิม เลยครับ แต่ที่ประหยัดเวลาไปได้เยอะคือทางที่ ผมเลือกคือทางรองที่ทะลุตรอกซอกซอยเล็กๆ ไฟแดงทีเ่ คยต้องติด 6-7 ไฟแดง ตอนนีผ้ มมีทาง ลัดทีไ่ ม่ตอ้ งเจอไฟแดงเลยแม้แต่แยกเดียว ถือว่า คุม้ นะครับกับการใช้เวลา 5 ปี ในการค้นพบทาง ลัดที่ย่นเวลาการเดินทางของผมได้ตั้ง 20 นาที กับกิจกรรมที่ผมต้องท�ำบ่อยๆ และต้องท�ำอีก หลายครัง้ ในช่วงเวลาทีผ่ มยังต้องอยูใ่ นหาดใหญ่ ผมเลยมาตั้งข้อสังเกตว่าชีวิตเรานี่ การเริ่ม ต้นท�ำอะไรซักอย่างมักเป็นช่วงเวลาที่ล�ำบาก ที่สุดของการงานนั้นๆ แต่เมื่อท�ำซ�้ำๆไปเรื่อยๆ เราสามารถพบกับการกระชัน้ เวลาทีใ่ ช้ในการท�ำ กิจกรรมนัน้ ๆทัง้ นัน้ เลยครับ เหมือนกับเป็นทาง ลัดที่ผมเจอตอนจะเข้าเมือง จ�ำได้ไหมครับว่า

ตอนเราเริม่ จับช้อนกินข้าวการกินข้าวแค่ 5 ช้อน อาจกินเวลาของเรากับแม่เกือบ 20 นาที แต่ ปัจจุบันชีวิตที่ผ่านการกินข้าวมาหมื่นๆมื้อ เรา สามารถย้อนเวลาของการตักข้าวเข้าปากจน กระทั่งเคี้ยวและกลืนข้าว 5 ช้อน ในเวลาไม่ถึง 2 นาที หลั ง จากพบว่ า ชี วิ ต ได้ เ จอทางลั ด บน ท้องถนนแล้ว ผมจึงลองเอามาประยุกต์ใช้กับ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น บ้ า งผมมาลองนั่ ง คิ ด ดู ใ นชี วิ ต ประจ�ำวันของเรานี่ กิจกรรมทั้งหลายที่เราต้อง ท�ำในชีวติ 95% ของเวลาทัง้ หมดในแต่ละวันนัน้ ล้วนเป็นกิจกรรมที่ต้องท�ำแทบทุกวัน อาบน�้ำ กินข้าว เดินทาง(เส้นทางไป-กลับเดิมๆ) ท�ำงาน ในทีเดิมๆ หรือเรียนเหมือนๆเดิม กลับบ้านมาก็ มีกิจกรรมผ่อนคลายเดิมๆ ถ้าคนเตะบอลก็จะ เตะบอลเหมือนกันทุกวัน ผมจึงจ�ำเป็นมากๆที่ ต้องหาทางลัดของการท�ำกิจกรรมพวกนี้ เวลา อาบน�้ำต้องมีเสต็ปในการอาบที่ท�ำให้สะอาด และรวดเร็ว เตรียมชุดนศ.ให้เรียบร้อย มีอาหาร เช้าในตูเ้ ย็น มีเส้นทางทีจ่ ะประหยัดเวลาเดินทาง เพื่อให้ทุกกิจกรรมเสร็จทันตามเวลาที่วางไว้ เอาละเราจะเว้นกิจกรรมผ่อนคลายไว้อย่างหนึง่ ละกันทีเ่ ราจะไม่ขอหาทางลัดให้มนั ท�ำได้เร็วขึน้ (ใครๆก็ อ ยากใช้ เวลาช่ ว งนี้ น านๆ) แต่ ล อง ทบทวนดูสิครับว่า ถ้าเราสามารถหาทางลัดให้ กับการใช้เวลาในการท�ำกิจกรรมเดิมๆที่ต้องใช้ 9

ทุกวันได้อย่างละนิดอย่างละหน่อย เราจะมีเวลา เพิ่มขึ้นนานเท่าไหร่ ผมลองเอาตัวเองเป็นบรรทัดฐานในการ เทียบเวลาในแต่ละกิจกรรมกับเพือ่ นๆร่วมคณะ ปรากฏว่าผมรูส้ กึ ยินดีกบั ตัวเองมาก ทีใ่ ช้เวลาได้ คุ้มค่าจริงๆ ผมอาบน�้ำครั้งละ 5 นาที แต่งตัว 3 นาที กินข้าวมื้อละ 6 นาที ขับมอฯไซค์ไปเรียน 2 นาที รวมแล้ว ผมสามารถใช้เวลาเพียง 15 นาที ในการจัดการตัวเองให้เสร็จสรรพ ซึ่ง เพื่อนๆคนอื่นต้องใช้เวลาทั้งหมดกับเรื่องพวกนี้ 25-40 นาที ลองคิดดูว่า ถ้าวันหนึ่งๆเราต้องท�ำ เรื่ อ งพวกนี้ 3 ครั้ ง ผมก็ จ ะได้ ก� ำ ไรเวลาไป 1 ชม.เป็นอย่างน้อย ในทุกวัน แล้วถ้านับเป็น สัปดาห์ เป็นเดือนหรือเป็นปี ก�ำไรของผมก็ เพิ่มพูนขึ้นไปเรื่อยๆ แนะน� ำ เพิ่ ม เติ ม ว่ า การใช้ ชี วิ ต อย่ า งมี ระเบียบวินัย จะท�ำให้เราสามรถประหยัดเวลา ได้มาก การจัดวางของให้เป็นระเบียบเรียบร้อย มีการเตรียมพร้อมเสือ้ ผ้า เครือ่ งแต่งกาย อาหาร หรืออะไรก็ตามที่ต้องใช้ทุกๆวัน ให้เรียบร้อย ง่ายต่อการใช้งาน ยิง่ เพิม่ ประสิทธิภาพขึน้ ไปอีก เมื่ อ เราสามารถมี ท างลั ด เวลาเพิ่ ม ขึ้ น ใน ทุ ก กิ จ กรรมของเราแล้ ว การเผชิ ญ หน้ า กั บ สถานการณ์ใหม่ๆของเราก็จะกลายเป็นเรือ่ งง่าย เราพร้อมที่จะท�ำให้ทุกอย่างท�ำได้รวดเร็วขึ้น มี ประสิทธิภาพและเป็นระเบียบมากขึ้น ชีวิตเรา จะได้ใช้เวลาให้คุ้มค่ามากขึ้นครับ


The Best com&services

ÊØÇÃóÀÙÁÔ à¤Ã×èͧ¡Ãͧ¹éÓ àÃÒ¢Ò¶١¡Ç‹Òˌҧ

¨Ó˹‹Ò à¤Ã×èͧ¡Ãͧ¹éÓ´×èÁ

µÙŒ¡´¹éÓ – µÙŒ¹éÓËÂÍ´àËÃÕÂÞ ¶Ñ§¹éÓ´×èÁ äÊŒ¡Ãͧ¹éÓáÅÐÍÐäËÅ‹à¤Ã×èͧ¡Ãͧ¹éÓ·Ø¡ª¹Ô´

ºÃÔ¡Òà µÔ´µÑé§ ºÃÔ¡Òà µÔ´µÑé§ ÅŒÒ§à¤Ã×èͧ¡Ãͧ¹éÅŒÒÓ§à¤Ã×èͧ¡Ãͧ¹éÓ ©Åͧ໠´ÃŒÒ¹ãËÁ‹ à¤Ã×èͧ¡Ãͧ¹éÓ 5 ¢Ñ鹵͹

Tel. 083 – 4295549 083 – 7597798

»¡µÔÃÒ¤Ò 2,500 ºÒ· àËÅ×Í 1,850 ºÒ· (¾ÃŒÍÁµÔ´µÑé§)

à¤Ã×èͧ¡Ãͧ¹éÓÍÒà âÍ »¡µÔÃÒ¤Ò 6,500 ºÒ· àËÅ×Í 4,550 ºÒ· (¾ÃŒÍÁµÔ´µÑé§)

µÑé§áµ‹Çѹ¹Õé¶Ö§Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2555 ·ÕèÍÂÙ‹ 308 ÅÒ´¡Ãкѧ 20/2

¨Ó˹‹ÒÂ

â»Ãá¡ÃÁºÑÞªÕ Express ÍØ»¡Ã³ ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ÊÒ¡Ōͧǧ¨Ã» ´ (RG6) áÅÐÊÒÂâ·ÃÈѾ·

«‹ÍÁ Computer PC / Note book / UPS. µÔ´µÑé§Ãкº Network / Internet ºÃÔ¡Òù͡ʶҹ·Õè 308 ÅÒ´¡Ãкѧ ¡·Á. 10520 E-mail : menah_xy@hotmail.com adunmat@yahoo.com

Tel. : 083 – 4295549

Tel. 083–4295549, 083-7597798 Tel. : 083 – 7597798

ÊØÇÃÃ³Ò ÁѵÔÇѲ¹ Í´ØÅ ÁѵÔÇѲ¹

พื้นที่โฆษณาราคาถูก โทร. 086-890-6055 10


Tasty

ลัญญุตา วงษ์ยุติธรรม เรื่อง/ภาพ

ก๋วยเตี๋ยว บางกอกที่เชียงใหม่ เอ๊ะยังไง? ขับรถผ่านไปผ่านมาหาร้านอาหารมุสลิมแวะมาที่นี่เลย ร้าน “ก๋วยเตี๋ยวบางกอก” หลากหลายเมนู สด สะอาด อร่อย ข้าวซอย,ข้าวหมกไก่-เนื้อ, ก๋วยเตี๋ยว ไก่-เนื้อตุ๋น, ก๋ ว ยเตี๋ ย วต้ ม ยำ�,ข้ า วคลุ ก กะปิ แ ต่ ถ้ า ท่ า นใดที่ เ บื่ อ เมนู เดิมๆแล้วก็สามารถเลือกรับประทานเป็นสเต็กหรืออิ่มชิล เบาๆ กับขนมปังปิ้งกรอบนอก นุ่มใน หอมกลุ่นจากเตา และเครื่องดื่มต่างๆก็ได้ อย่าลืมแวะมานะคะ รับลองว่าไม่ผิดหวังแน่นอน Confirm ค่ะ

ข้อมูลจำ�เพาะ ชื่อร้าน : ก๋วยเตี๋ยวบางกอก เมนูแนะนำ� : ข้าวคลุกกะปิ ข้าวหมกไก่ ก๋วยเตี๋ยวเนื้อตุ๋น สถานที่ตั้ง : ท่านที่สนใจ ถ้าเดินทางมาจากตัวเมืองเชียงใหม่ มุ่งสู่ อ.หางดง ผ่าน อ.หางดง รพ.หางดง ผ่านปั๊มบางจาก ร้านจะอยู่ทางขวามือ หน้าวัดปราสาทธรรม เวลา : เปิดให้บริการทุกวัน เวลา 8:00 – 15:00 น. หยุดเฉพาะวันที่ 1ของทุกเดือน โทร : 080-614-9735 11


Recommend

กองบรรณาธิการ

1

Chair -Based

นับวันอาการออฟฟิศซินโดรมก็ถามหาคนท�ำงาน รวมถึงคนทีต่ อ้ งนัง่ หน้าคอมพิวเตอร์นานๆ กัน เป็นว่าเล่น โดยจากผลการวิจัย อาการของโรคที่มาเป็นอันดับ 1 ก็คืออาการปวดหลัง และในเมื่อ ผลออกมาเป็นอย่างนี้ Gavrilova นักออกแบบสาวสวยชาวรัสเซียจึงได้คิดค้นเก้าอี้ต้นแบบ ChairBased ทีถ่ กู ออกแบบมาให้รบั กระดูกสันหลังและต้นคอของมนุษย์เพือ่ ให้การจัดเรียงกระดูกของการ นั่งแต่ละครั้งนั้นสอดคล้องกับสรีระมากที่สุด ซึ่งสุดท้ายแล้วจะได้ผลมากน้อยขนาดไหนนั้น อาจขึ้น อยู่กับวิธีการนั่งของเราด้วย เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เหมาะกับคนท�ำงานอย่างเราๆท่านๆ จริงๆ

2

HI -Tech Projected Computers

ในปัจจุบัน Desktop ที่สมบูรณ์ของคอมพิวเตอร์จะต้องประกอบไปด้วย คีย์บอร์ด เมาส์ ระบบลำ�โพง ฯลฯ เจ้าเครื่องมือไร้สายตัวเล็กๆ นี้ จะช่วยขจัดปัญหาเรื่องพื้นที่ในการทำ�งานของ คุณจนหมดสิ้น โดยอุปกรณ์ตัวนี้มีฟังก์ชั่นทุกอย่างที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีอย่างครบครัน การจะใช้ เครื่องนี้คุณต้องมีพื้นที่ว่างซึ่งเป็นพื้นผิวเรียบที่ไม่มีสิ่งใดวางอยู่เลย

Handpresso Auto Machine : GetYour Espresso Fix on the Go

3

สำ�หรับใครที่ติดดื่มกาแฟทุกเช้า ถ้าวันไหนฝนตกรถติดต้องรีบร้อนออกจากบ้าน อย่าให้การต่อ แถวซื้อกาแฟแก้วเดียวเป็นสาเหตุของการเข้างานสายเชียว ถ้าอย่างนั้นใช้เวลาระหว่างนั่งรถไปทำ�งาน ดื่มกาแฟพร้อมกันเลยดีไหม? Handpresso Auto Machine เครื่องชงกาแฟเอสเพรสโซร้อนๆ สำ�หรับหนึ่งแก้วที่รอดื่มได้ภายในไม่กี่วินาที แถมขนาดพอเหมาะพอเจาะสามารถวางตรงช่องใส่ของ ภายในรถได้สบาย ดูเพิ่มเติมได้ที่ www.handpresso.com

4

S anwa USB Reader Copies Memory Cards And More to your Android Gadgets

สำ�หรับใครที่มีทั้งสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต รวมทั้งอุปกรณ์ดิจิตอล ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ คงเคยมีปัญหาเรื่องขนย้ายข้อมูลระหว่างกัน รวมทั้งโอนข้อมูลลงในเอ็กซ์เทอร์ นอลอื่นๆ ฟังแล้วมันช่างวุ่นวาย จนกระทั่งกลายเป็นเรื่องง่าย เมื่อได้มาเจอสิ่งนี้ Sanwa USB Reader ที่สามารถเชื่อมต่อกับ USB drive, micro SD, SD และ mini SD memory card แถมสามารถต่อกับเมาส์ และคีย์บอร์ด เพื่อใช้เลือกไฟล์ในเครื่องได้อีกด้วย ราคาอยู่ที่ 40 USD หรือประมาณ 1,200 บาท น่าหามาใช้จริงๆ

5

P aperfeet Minimalist Sandals by TOMBOLO

เข้าสู่เดือนที่มีสายฝนเริ่มโปรยปรายและนำ�้ที่ระบายลงท่อไม่ทันยามปริมาตรนำ�้ฝนเกินรับ ไหวด้วยบรรยากาศเช่นนี้เองที่ทำ�ให้เรานึกถึงผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมหรือEco(-logy) Product ซึ่งจะว่าไปแล้วก็มีหลากหลายผลิตภัณฑ์ที่ทำ�ให้เราทึ่งได้เหมือนกันอย่างเช่น Paperfeet รองเท้าแตะ จากป้ายไวนิลใช้แล้ว ที่มีคุณสมบัติ ทั้งป้องกันนำ�้ และนำ�้หนักเบาเพียง 85 กรัม เรียกได้ว่าเบาบางเหมือนเราเดินแบบ เท้าเปล่ากันเลยทีเดียว 12


13


14


The Way of

True Happiness MAIN HALAL: กองบรรณาธิการ

เป็นเวลากว่า 37 ปีแล้วที่ อ.มนูญ รามบุตร บ่มเพาะตัวเองอยูใ่ นแวดวงธุรกิจ เขาเริม ่ ท�ำงานด้วยการเป็นพนักงาน บริษท ั เมือ่ อายุ 21 ปี ไต่เต้าขึน ้ ไปเป็นผูจ้ ด ั การฝ่ายบุคคล ก่อนจะตัดสินใจหันหลังจากงานประจ�ำอันมัน ่ คง มาประกอบ ธุรกิจของตัวเองตามที่วาดฝัน จากที่ปรึกษา SMEs ของสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สังกัดกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ผ่านการเป็นทีป ่ รึกษาและเป็นครูให้กบ ั ผูป ้ ระกอบการน้อยใหญ่มากมาย ถึงวันนี้ อ.มนูญ ยัง คงมุ่งมั่นกับการให้ความรู้ความช่วยเหลือทางด้านธุรกิจและการค้าเหมือนเช่นเคย แต่ที่ต่างออกไปจากอดีตก็คือ ลูกศิษย์ในวันนี้เป็น เด็กปอเนาะ น่าสนใจไม่นอ้ ยทีห ่ นุม ่ ใหญ่มาดธุรกิจอย่างเขา เป็นคนเมืองทีเ่ คยใช้ชวี ต ิ สะดวกสบายอยูท ่ า่ มกลางความโอ่อา่ และ ความฟุง้ เฟ้อของสังคม จะหันหลังให้กบ ั ความสุขเหล่านัน ้ จากทีเ่ คยใส่สท ู ผูกเนคไทบรรยายให้ความรูผ ้ ป ู้ ระกอบการ และนักธุรกิจ กลายเป็นใส่โสร่งสวมหมวกกะปิเยาะสอนเรือ่ งการท�ำธุรกิจและการค้าให้เด็กปอเนาะในปอเนาะทีส ่ อนแต่ เรื่องศาสนา เราถามเขาว่า ท�ำไมและอะไรที่ท�ำให้เค้าเปลี่ยนความคิดมาเป็นเช่นนี้ อยากรู้ค�ำตอบไหมครับ ถ้าอยากรู้ ก็กวาดสายตาพร้อมเปิดหัวใจไปที่ย่อหน้าถัดไปกันเลย บ่มเพาะสร้างอาชีพเด็กปอเนาะ ก้าวแรกสู่ธุรกิจธรรมาภิบาล ผมมีโอกาสได้ไปท�ำงานวิจัย เรื่องการสอนอาชีพให้สถาบันปอเนาะ เราก็เริ่มสนใจมากขึ้นในเรื่องธรรมาภิบาล คือสถาบันปอเนาะเป็นแหล่ง ธรรมาภิบาลชัน้ ยอดเลย เพราะมีการสอนเรือ่ งคุณธรรมความดี เรือ่ งหลัก การศาสนา บ่มเพาะนิสัยของคนให้เป็นคนดี ผมไปท�ำงานเรื่องนี้เพราะ เห็นว่าเราควรท�ำอย่างไรให้เขาเป็นคนดีและประกอบธุรกิจได้ด้วย เราชอบแยกศาสนากับการท�ำธุรกิจออกจากกัน บอกว่าไปเรียน ปอเนาะไม่ต้องท�ำอะไรแล้ว เพราะไปเรียนศาสนา แต่ถ้าเราสอนให้เขา เป็นคนดีทอี่ ยูใ่ นหลักการของศาสนา มีธรรมาภิบาล เมือ่ เวลาเขาท�ำธุรกิจ เขาจะใช้หลักศาสนาในธุรกิจของเขาด้วย ซึ่งมันเป็นเรื่องที่ดีมาก ทีนี้เรา จะสร้างคนอย่างนี้อย่างไร ฉะนั้นเราก็ต้องให้ความรู้เรื่องการท�ำธุรกิจให้ เขา เช่นไปสอนให้เขามีทักษะของการเป็นผู้ประกอบการในสถาบัน ปอเนาะ เพราะในหนึ่งวัน พวกเขามีเวลาว่าง มีช่วงเวลาที่จะสามารถท�ำ ธุรกิจได้

มีคนบอกว่า ผมจะสอนพวกเขาได้เหรอ เขาจะสนใจเรียนเหรอ บ้าง ก็บอกพวกเขาเกเรนะ พ่อแม่ยงั เอาไม่อยูถ่ งึ ส่งมาอยูท่ ปี่ อเนาะ แต่ผมมอง ว่าเด็กพวกนี้เก่ง มีความเป็นเลิศมาก วิธีการที่เราสอนเราก็ไม่ได้ไปสอน แบบวิชาการ ต้องเข้าไปแบบกลมกลืนกับเขา ผมเข้าไปสอนนีก่ น็ งุ่ ผ้าโสร่ง สอนเลย เปลี่ยนภาพลักษณ์จากที่เคยใส่สูทสอน ก็มาใส่โสร่งใส่เสื้อของ สถาบันปอเนาะเขา พอท�ำแบบนีเ้ ขายอมรับเราเลย คุยก็คยุ ภาษาเดียวกับ เขา คือ ผมก็พูดภาษามลายูไม่ได้แต่คุยในภาษาเดียวกันคือเอาเขาเป็นที่ ตั้ง เราไม่ได้สอนอย่างเดียวเราจะถามเขาตลอด อยากมีธุรกิจไหม อยาก มี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ไหม อยากมี ชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ไหม เหมื อ นไปจุ ด ประกาย ความคิด พอเขาอยากมีชวี ติ ทีด่ ขี นึ้ เราก็บอกว่า โอเคอย่างนัน้ ต้องมีทกั ษะ ทีจ่ ะท�ำการค้า เราไม่พดู ถึงการท�ำธุรกิจ มันดูใหญ่ไปส�ำหรับเขา ใครได้ยนิ ค�ำนี้อาจจะกลัว ยากแน่เลย เราก็จะถามว่าเริ่มจากการท�ำการค้าไหม กลายเป็นว่าพวกเขาสนใจ พวกเขาถามเราว่าท�ำได้เหรอ เราก็ว่าท�ำได้ท�ำ ในปอเนาะนี่แหละไม่ต้องไปไหน

15


“สถาบั น ปอเนาะเป็ น แหล่ ง ธรรมาภิ บ าล ชั้นยอด เพราะมีการสอนเรื่องคุณธรรมความ ดี เรื่องหลักการศาสนา บ่มเพาะนิสัยของคน ให้เป็นคนดี”

ในปอเนาะพวกเขามีกิจกรรมที่ท�ำกันอยู่แล้ว พอมีทักษะ แบ่งได้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเกษตรกรรม กลุ่มก่อสร้าง และกลุ่มแกะสลัก พวกเขามี ทักษะ มีผลิตภัณฑ์แต่ไม่มีการต่อยอด คือแค่ท�ำเป็นแต่ไม่รู้จะหารายได้ จากตรงนี้อย่างไร อย่างกลุ่มเกษตร พวกเขาปลูกผักทานกันอยู่แล้ว ผมก็บอกพวกเขา ว่า เคยปลูกอะไรก็ให้ปลูก ปลูกมะละกอ ปลูกถั่วฝักยาว ปลูกตะไคร้ แต่ จากทีเ่ ราเคยปลูกไว้กนิ อย่างเดียวก็ให้ปลูกเยอะกว่าเดิม แล้วก็เอาไปขาย พอมาถึงตรงนี้ ผมก็จะสอนทักษะการเป็นผู้ประกอบการให้เขา คือ เอา ไปขายทีไ่ หน ตัง้ ราคาอย่างไร สอนเรือ่ งการตลาด เรือ่ งการดูคแู่ ข่ง ส�ำรวจ ตลาด แต่เป็นการสอนที่ง่ายๆ ไม่ใช่การสอนแบบต�ำรา ใช้ภาษาง่ายๆ ถามเขาให้เขาถามเรา เป็นการพูดคุยพร้อมการสอนไปด้วย

เรียนหนังสือ เรียนศาสนาอย่างเดียว ชีวิตมันมีอะไรที่ท�ำได้ เรียนศาสนา แล้วใช้ชีวิตที่ฮาลาลท�ำอย่างไร มันไม่ได้เป็นเรื่องที่ผิดหลักศาสนาเลย แถมยังเป็นเรื่องที่ศาสนาสนับสนุนให้ท�ำด้วย เพราะเขาใช้ชีวิตที่เป็น ฮาลาลเลย ชีวติ จริงๆเขาจะต้องอยูใ่ นสังคมก็ตอ้ งมีการใช้จา่ ย ต้องมีราย ได้ เหมือนเคยอยูแ่ ต่ในสังคมนามธรรม ทีนพี้ อได้มาอยูใ่ นสังคมทีเ่ ป็นจริง ได้ไปเหยียบสภาพของสังคมจริงๆ เราจะมีรายได้อย่างไร ไม่ตอ้ งไปรับจ้าง ท�ำโน่นท�ำนี่ โดยที่มันไม่ถูกต้อง อันนี้ปลูกผักขายตลาด ปอเนาะอยู่ที่ สงขลา เราก็บอกให้เขาไปติดต่อตลาดทีห่ าดใหญ่ แม่คา้ ยินดีชว่ ยเขาขาย เพราะแม่ค้าบอกยินดี จากปอเนาะใช่ไหม เอามาเลย นี่แหละคือสังคม ฮาลาล มันจะมีการช่วยเหลือเกือ้ กูล ถ้าไม่ใช่สงั คมฮาลาลเขาก็อาจจะคิด ค่าฝากขาย แต่นี่ไม่คิด ฟรีหมด ขายให้ ถ้าไม่มีเงินทุน มีจะให้ยืมเงินไป ซื้อเมล็ดพันธุ์มาปลูกด้วย ส่วนกลุ่มก่อสร้าง หาตลาดยังไง ก็หาจากพ่อแม่ผู้ปกครองปอเนาะ ในชุมชนนี่แหละ ปัจจุบันในชุมชนมีการซ่อมแซมก็เป็นเด็กปอเนาะนี่ แหละทีไ่ ปซ่อมแซม นีก่ เ็ ป็นรายได้ทเี่ พิม่ ขึน้ แล้วชาวชุมชนก็มาคุยกับผม ว่า เขาให้เด็กปอเนาะไปท�ำ เพราะมีความมัน่ ใจ ถ้าไปจ้างช่างทีอ่ นื่ บางที มันไม่มนั่ ใจกลัว เขามาบ้านเรา เขามาดูบา้ นเรา แต่เด็กปอเนาะมาท�ำ เขา มีธรรมาภิบาลเรื่องศาสนา เขาเชื่อใจ อีกกลุ่มคือ กลุ่มแกะสลัก โต๊ะครูคนหนึ่งในปอเนาะ เขาชอบแกะ สลักมาก ผมก็บอกเขาว่าท�ำไมไม่สอนลูกศิษย์ท�ำเป็นหลักสูตรเลย เลือก ไม้อย่างไร แกะอย่างไรท�ำสีอย่างไร พอเสร็จแล้วก็เอาไปขาย โต๊ะครูคน

“เราสอนนักธุรกิจ เขามาเรียนเขาก็ต้องจ่ายเงิน เราเขาไปท�ำส�ำเร็จไม่ส�ำเร็จเป็นเรื่องของเขา แต่กับ เด็กปอเนาะ เขาไม่ได้มาจ่ายเงินเราหากเขาลงมือท�ำ และมันเกิดเป็นผลผลิตขึ้นมา แล้วเขามีรายได้เพิ่ม ขึ้ น เขาก็ รั ก เรามาก ที่ เ ราสอนเขาแล้ ว เขาท� ำ ได้ ดี ความรู้สึกต่างกัน ความสุขมันต่างกัน” เป็นเรื่องดีที่พวกเขาสนใจกันมาก และคิดต่อยอดขยายธุรกิจ จาก การปลูกผัก เพียงอย่างเดียว ก็เพิ่มการเลี้ยงปลา เข้ามาด้วย เราก็หา วิทยากรมาให้ความรู้พวกเขาเพิ่มเติม ท�ำให้เขารู้สึกว่าชีวิตมันไม่ได้มีแค่ 16


นั้นเห็นด้วย เขาก็เริ่มสอนเด็กปอเนาะ ใครสนใจจะมาเรียนแกะสลัก ก็ เป็นอีกวิชาชีพที่เกิดขึ้นในปอเนาะ จากนั้นผมก็จัดให้เขามีการแข่งขันว่ากลุ่มไหนจะมีรายได้มาเลี้ยง ปอเนาะได้มากกว่ากัน แล้วเขาก็ตั้งเลย มีกระทรวงตลาด กระทรวงผลิต ก็แบ่งเป็นกลุ่มๆ เราต้องให้เขาปฏิบัติด้วย เราสอนเขาเป็นเรื่องเป็นราว เราก็ต้องให้เขาปฏิบัติจริงด้วย แต่ให้ง่ายๆ บางทีไปสอนท�ำบัญชี ทุกคน ต้องท�ำบัญชีนะ กระทรวงนี้ต้องท�ำบัญชี แล้วก็ติดไว้ที่ที่เห็นได้ชัดใน ปอเนาะ อันนี้ก็เป็นเรื่องของธรรมาภิบาล ท�ำอะไรต้องโปร่งใส ก็ต้องฝึก เขาตั้งแต่เด็กๆ เขาก็ชอบมาก หลังจากที่ผมไปท�ำมีความรู้สึกว่า เรามีความสุข ถามว่าเมื่อก่อนเคย มีรายได้เยอะ เดี๋ยวนี้รายได้น้อยลงแต่มันมีความสุข เพราะมันเป็นการ เกื้อกูลสังคม ในชุมชน เขาตื่นตัวกัน ทุกคนมาช่วยกัน นี่ถ้าเราสร้างสังคม อย่างนีส้ กั หนึง่ สังคมได้ให้เป็นตัวอย่าง ผมคิดว่าปอเนาะทัง้ หลายก็จะเป็น ปอเนาะทีเ่ ป็นรูปแบบเป็นปอเนาะสอนศาสนาด้วย มีธรุ กิจในนัน้ ด้วย แล้ว ก็เป็นปอเนาะที่โปร่งใส เพราะฉะนั้น ปอเนาะอย่างนี้ ผมคิดว่าหน่วย ราชการ ก็จะไม่เข้าไปยุง่ เพราะถือเป็นปอเนาะทีพ่ ฒ ั นาศักยภาพของเขา เป็นปอเนาะที่สอนเรื่องศาสนาและสอนให้คนท�ำธุรกิจในสังคม อย่างมี ปกติสุข แค่เปลี่ยนวิธีคิด ชีวิตก็เปลี่ยน ความสุขก็ตามมา สมัยก่อนเราไม่ได้ท�ำงานอยู่ในสังคมมุสลิม เราก็จะไปหลงระเริงใน ชีวิตที่มีรายได้ดี หลงระเริงกับสังคมต่างๆ ถามว่า การมีรายได้ดี มีความ เป็นอยู่ที่ดี แต่ความสุขมันไม่มี เพราะมันอยู่ในสังคมที่เอารัดเอาเปรียบ มันไม่ใช่สงั คมทีเ่ อาหลักฮาลาลมาใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน แต่เมือ่ เราเข้ามาใน สังคมมุสลิมแล้ว แปลกแต่จริงก็คอื ชีวติ ความเป็นอยูอ่ าจไม่ดเี หมือนก่อน แต่มันกลับมีความสุข มันมีความสุข เพราะว่าบางทีเราสอนนักธุรกิจ เขามาเรียนเขาก็ต้อง จ่ายเงินเรา เราก็ทำ� แบบเราแลกวิชาชีพ เขาไปท�ำส�ำเร็จไม่สำ� เร็จเป็นเรือ่ ง ของเขา แต่อย่างน้อยเราก็ให้ประสบการณ์ให้เขาไปท�ำเป็นการสอน แต่ กับปอเนาะ เราไปสอน เด็กปอเนาะไม่ได้มาจ่ายเงินเรา เขาสนใจ และ ลงมือท�ำ มันเกิดเป็นผลผลิตขึ้นมา แล้วเขามีรายได้เพิ่มขึ้น เขาก็รักเรา มาก เราก็รักเขา ที่เราสอนเขาแล้วเขาท�ำได้ดี ความรู้สึกต่างกัน เราได้มา อยู่ในสังคมที่ฮาลาล มาท�ำตัวให้ฮาลาลขึ้น ความสุขมันต่างกัน ผมคิดว่าผมชอบแบบนี้ และผมคิดว่าจะท�ำต่อไปเรื่อยๆ นอกจากนี้ เราก็พยายามชักชวนนักธุรกิจทัง้ หลายให้ทำ� ธุรกิจแบบนี้ แทนทีค่ ณ ุ จะท�ำ ธุรกิจแบบแข่งขัน ให้มรี ายได้ขนาดนี้ ขยายสาขามากมาย มันไม่จรี งั ยัง่ ยืน มาเป็นธุรกิจแห่งการให้ดกี ว่า ผมก็มแี นวความคิดว่า ผมจะสอนโต๊ะครูให้ เป็นที่ปรึกษาอย่างผมบ้างเพราะผมก็อายุเยอะแล้ว ในอนาคตก็ต้องกลับ ไปหาพระเจ้าเหมือนกัน เพราะฉะนั้นเราก็ต้องถ่ายทอดวิชาความรู้หรือ องค์ความรู้ให้กับโต๊ะครูปอเนาะทั้งหลายให้เป็นที่ปรึกษาธุรกิจค้าขายใน ปอเนาะได้ด้วย นิยามความส�ำเร็จของธุรกิจมุสลิม นิยามธุรกิจของคนเราแตกต่างกัน บางคนมองว่าธุรกิจคือการแข่งขัน สังคมสอนกันมาว่าการท�ำธุรกิจคือการแข่งขันและการเอารัดเอาเปรียบ ซึ่งดูเหมือนจะประสบความส�ำเร็จ แต่ในมุมของมุสลิม ผมคิดว่าเราท�ำ ธุรกิจมันจะมีข้อแตกต่างจากคนอื่นคือ มุสลิมท�ำธุรกิจเราจะมีพื้นฐานใน เรื่อง ศาสนา เป็นธุรกิจที่ฮาลาล การท�ำธุรกิจที่ฮาลาลไม่ใช่การท�ำธุรกิจ

ขายอาหารฮาลาล การท�ำธุรกิจที่ฮาลาล หมายถึงคุณต้องเข้าใจหลักการ ศาสนา และต้องเป็นธุรกิจที่ไม่เอารัดเอาเปรียบมีความเป็นธรรมต่อลูก น้อง เงินทองทีไ่ ด้มาก็ตอ้ งเป็นเงินทีอ่ ยูใ่ นระบบทีฮ่ าลาล ไม่ใช่เงินทีม่ าจาก การเอารัดเอาเปรียบ จากดอกเบี้ย นี่แหละจะท�ำให้มุสลิมประสบความ ส�ำเร็จ หากถามว่ามุสลิมจะประสบความส�ำเร็จธุรกิจได้อย่างไร ผมคิดว่า คุณ ต้องเป็นมุสลิมทีเ่ ข้าใจหลักการศาสนา แล้วต้องปฏิบตั ดิ ว้ ย ไม่ใช่มแี ต่ภาพ เป็นมุสลิมต้องปฏิบตั แิ ละท�ำธุรกิจทีม่ คี วามเป็นธรรม คุณจะประสบความ ส�ำเร็จ ชีวิตฮาลาล สร้างสังคมแห่งการให้ การมีชีวิตที่ฮาลาลไม่ใช่เรื่องยาก เป็นเรื่องที่ศาสนาก�ำหนดมาให้ท�ำ ง่ายๆ ผมคิดว่าเราต้องเข้าใจว่า ฮาลาลมันเป็นเรื่องอะไรบ้าง ทั้งเรื่องของ การปฏิบัติตน การไม่เอารัดเอาเปรียบ เป็นผู้ให้และใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย ไม่ได้คดิ ถึงแต่เรือ่ งผลประโยชน์ เงินทอง เรือ่ งความมีหน้ามีตาในสังคม นี่ คือฮาลาลในอุดมคติของผม มันอาจท�ำยาก แต่ถ้าเราท�ำได้ ความสุขจะ เกิดขึ้น แล้วก็สังคมก็จะน่าอยู่มากขึ้น

17


HalBiz

Hudhud somchart.mittaree@gmail.com

“ ร้านอาหารมุสลิม “

ขึ้นชื่อว่าร้านอาหารอิสลาม พี่น้องคงจะเคยชินกับวลีที่ว่า “เปิดๆ หยุดๆ” “รวยแล้วเลิก” “ความสะอาดไม่เป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา” หรือแม้กระทั่ง “ร้านแบบแขกๆ รสชาดไม่มาตรฐาน” ซึ่งได้ยินกันมา นมนาน ถ่ายทอดรุ่นต่อรุ่นเหมือนถ่ายทอดกันแบบทายาทอสูร ผมเป็น คนหนึง่ ซึง่ มีประสบการณ์กบั เรือ่ งเหล่านีม้ านานตัง้ แต่เด็กจนปัจจุบนั และ ก็ยังคงจะเจออยู่เรื่อยๆ ตราบใดที่ธุรกิจร้านอาหารของพี่น้องเรายังไม่ พัฒนาปรับปรุง ลองหันไปดูร้านข้างๆ ไม่ว่าจะเป็นพี่น้องไทยจีน ไทยอีสาน ล้วนแต่ ท�ำมาหากินด้วยความขยันขันแข็ง ด้วยน�้ำอดน�้ำทน มานะบากบั่น ร้าน อาหารผ่านเวลากาลสมัย ถ่ายทอดรุ่นต่อรุ่นเป็นมรดกทางธุรกิจ โดย เฉพาะร้านอาหารของพีน่ อ้ งไทยจีน จุดเด่นของเขาคือ เปิดร้านแต่เช้า ตรง เวลา สม�่ำเสมอ รสชาดคงที่ สะอาด ลูกค้ามาแล้วไม่ผิดหวัง ผิดกับร้าน ของพวกเราทีข่ บั รถมากินตัง้ ไกล ทีไ่ หนได้รา้ นปิด (นอกวันอืน่ ๆ ทีบ่ อกว่า ปิด) วันดีคนื ดีกอ็ ร่อย วันไหนโชคร้ายรสชาดผิดแผกแต่งต่างก็ซวยไป หรือ แม้กระทั่ง เรื่องส�ำคัญที่สุดของการรับประทานอาหารคือ อาหารนั้นต้อง ฮาลาลัน และตอยิบัน หมายถึง เป็นที่อนุมัติตามหลักการศาสนาอิสลาม เช่น ไม่มีเนื้อสุกร ไม่ปนเปื้อน เนื้อวัว เนื้อ/ไก่เชือดถูกต้องตามหลักการ และตอยิบัน หมายถึง ต้องเป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภาพ เป็นประโยชน์ ไม่ก่อให้ เกิดโรค เช่น การรักษาความสะอาด การปรุงให้ถกู ต้องตามหลักโภชนาการ แต่ที่เจอๆ มักเป็นร้านที่ฮาลาลแต่ไม่ตอยยิบัน เริ่มตั้งแต่สถานที่ รับประทาน โต๊ะ เก้าอี้ (โดยเฉพาะร้านเพิง) ที่ไม่ค่อยจะให้ความส�ำคัญ กับความสะอาด จานชาม ช้อนส้อม ซึ่งถ้าเป็นไปได้ก็อยากจะเอามาจาก บ้านเอง บางทีถึงกับเจอเอเลี่ยนอยู่ในชามก๋วยเตี๋ยว (คงไม่ต้องบรรยาย มาก) พอไปแจ้งเจ้าของร้านก็เปลีย่ นให้กนิ ใหม่ แล้วๆ กันไป คราวหน้ามา ใหม่อาจได้พบเจออีก ซ�้ำร้ายไม่ดีต่อสุขภาพ ตรงที่เดาะผงชูรสเข้าไปหวัง จะให้อาหารนั้นรสชาดเตะลิ้นแต่ที่ได้กลับมาคืออาการหิวน�้ำ คลื่นไส้ อาเจียน ถ้าคนแพ้มากๆ ถึงกับผมร่วง บ่นมาก็เยอะแล้วทีนี้ลองมาวิเคราะห์ว่าสาเหตุใดที่ร้านอาหารมุสลิม ถึงเป็นเช่นนั้น ก่อนอื่นขอแบ่งกลุ่มร้านอาหารของมุสลิมตามเกณฑ์ต่างๆ

เช่น ประเภทอาหาร ระดับราคา สถานที่ ระดับของร้าน สามารถแบ่งได้ เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มติดตลาด หมายถึง ร้านที่เปิดมาไม่น้อยกว่า 5 ปี รสชาดเป็น มาตรฐานได้รับการยอมรับ สถานที่สะดวกสบาย อาหารสะอาด ราคา ไม่แพงจนเกินไป ยกตัวอย่างเช่น ร้านสเต๊ก-ปิ้งย่างแถวรามค�ำแหง ร้าน อิตาเลียนแถวพระรามเก้า และร้านปิ้งย่างกึ่งอีสานแถวหลังรามหรือร้าน อีสานแถวปิ่นเกล้ากลุ่มนี้ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ น่ายกย่องสรรเสริญและเป็น ตัวอย่างให้กับกิจการร้านอาหารมุสลิม เรื่องส�ำคัญที่สุดของการรับประทานอาหารคือ อาหารนั้นต้อง ฮาลาลันและตอยิบัน หมายถึง เป็นที่ อนุมต ั ต ิ ามหลักการศาสนาอิสลาม เช่น ไม่มเี นือ้ สุกร ไม่ปนเปือ้ น เนือ้ วัว เนือ้ /ไก่เชือดถูกต้องตามหลักการ และตอยิบน ั หมายถึง ต้องเป็นสิง่ ทีด ่ ต ี อ่ สุขภาพ เป็น ประโยชน์ ไม่กอ่ ให้เกิดโรค เช่น การรักษาความสะอาด การปรุงให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ 2) กลุม่ ขึน้ ๆ ลงๆ หมายถึง ร้านทีม่ แี ววว่ารสชาดอร่อยเมนูแปลกใหม่ น่าตื่นตาตื่นใจแต่ขาดความคงที่ ทั้งในด้านรสชาดอาหาร และเวลาเปิด ปิดยกตัวอย่างเช่น ร้านก๋วยเตีย๋ วเนือ้ แห่งหนึง่ แถวทาวน์อนิ ทาวน์ รสชาด ดีมาก แต่ขยันปิดไม่ขยันเปิด (อาจด้วยความจ�ำเป็นบางอย่างของเจ้าของ) หลังๆ ก็ปิดยาวมันซะเลย (เลิกกิจการ) ทั้งๆ ที่แนวโน้มธุรกิจดีมากซึ่งดู ได้จากลูกค้ามีทั้งมุสลิมและไทยพุทธ คนแน่นร้านตั้งแต่เปิดจนของหมด หรืออีกร้านหนึ่งที่ยังเปิดอยู่แถวตรงข้ามศูนย์กลางอิสลาม ร้านใหญ่ ตกแต่งหรูสถานที่สามารถรองรับแขกเหรื่อจากต่างประเทศได้แต่รสชาด อาหารกลับขึ้นๆ ลงๆ (ได้ข่าวว่าเปลี่ยนเชฟบ่อย) หรืออีกร้านหนึ่ง มีทั้ง ปิ้งย่าง สุกี้ และสเต็กแถวสุขา3 อร่อย แต่รอนานมากๆๆๆๆๆ (ลูกค้าหนี หมด) กลุ่มนี้หากสามารถแก้ไขจุดอ่อนเรื่องรสชาดอาหารมาตรฐานได้ และสามารถปรับปรุงเวลาเปิดปิดให้คงที่ได้ จะสามารถพัฒนาเป็นกลุ่ม ติดตลาดได้เนื่องจากมีพื้นฐานค่อนข้างดีอยู่แล้ว

18


3) กลุม่ ร้านเพิง หมายถึง ร้านทีป่ ระกอบการอยูบ่ นเรือนไม้เล็กๆ เก่าๆ ขายอาหารพวกตามสัง่ ทัว่ ไป ก๋วยเตีย๋ วเนือ้ /ไก่ ร้านจ�ำพวกนีเ้ น้นราคาถูก ส่วนรสชาดอีกเรื่องหนึ่ง มีทั้งกลุ่มที่รสชาดอร่อยและไม่อร่อย มีทั้งที่ สะอาดน่าทาน และแบบกินเพื่อประทังชีวิตให้พ้นมื้อนั้นไป สถานที่ก็ อารมณ์ประมาณว่านัง่ กินอิม่ เสร็จแล้วก็รบี ๆ ไปซะ เกิดปวดห้องน�ำ้ ขึน้ มา ก็ตัวใครตัวมัน กลุ่มนี้ไม่ต้องยกตัวอย่างเพราะมีให้เห็นอยู่ทั่วไป กลุ่มนี้ น่าเห็นใจเพราะส่วนใหญ่ฐานะของกิจการไม่ค่อยจะดี เป็นร้านที่เจ้าของ เป็นคนปรุงอาหารเองต้องดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด ที่น่าเป็นห่วงคือ กลุ่มที่ 2 และ 3 สาเหตุอาจสามารถจ�ำแนกได้ดังนี้ วัฒนธรรมและค่านิยมที่ส่งต่อกัน มานาน ได้แก่ ปิดร้านเพราะขี้เกียจ และอาหารไม่สะอาดเพราะคิดว่า ฮาลาลแล้วใช้ได้แล้วๆ กัน ตัวนีส้ ำ� คัญมากเพราะมันคือรากเหง้าของปัญหา ถ้าจะพูดให้เห็นภาพก็คือ การที่คนรุ่นก่อนท�ำกันมาอย่างนี้คนรุ่นต่อมา เห็นว่าอาหารก็ยังขายได้ มีคนมาทาน ร้านไม่เจ๊ง ก็เลยเห็นว่าไม่ซีเรียส อะไรเลยถือปฏิบัติต่อๆ กันมา อีกประเด็นหนึง่ คือ การขาดแคลนทุนในการด�ำเนินกิจการอันนีส้ ำ� คัญ มาก เพราะกลุ่มที่ 3 มักมีทุนในการด�ำเนินกิจการต�่ำ ท�ำให้ต้องกระเบียด กระเสียรในการทีจ่ ะเปิดร้าน อะไรทีป่ ระหยัดได้กต็ อ้ งประหยัด ท�ำให้ ข้าว ของเครื่องใช้ต่างๆ ในร้านอยู่ในสภาพที่ไม่น่านั่งและรับประทานนัก ซึ่ง เป็นประเด็นทีน่ ่าเห็นใจและเข้าใจ เมือ่ ร้านสถานทีเ่ ป็นเช่นนัน้ แล้ว เลยส่ง ผลให้สภาพแวดล้อมในการปรุงอาหารไม่เหมาะสม และท้ายสุดส่งผลให้ อาหารทีน่ า่ รับประทานและเอร็ดอร่อยอาจเป็นอาหารทีไ่ ม่คอ่ ยจะสะอาด นัก ผิดกับร้านคนจีน ถึงแม้จะเป็นร้านเล็กๆ แต่เขาให้ความส�ำคัญกับ สถานที่ เครือ่ งครัวก็ตอ้ งสแตนเลสทัง้ หมด และแม้กระทัง่ เสือ้ ผ้าของผูป้ รุง อาหารก็ดูสะอาดสะอ้าน สรุปว่าปัญหา คือ เรื่องวัฒนธรรม (แย่ๆ) ที่สืบต่อกันมา และการ ขาดแคลนทุน หรือการไม่ให้ความส�ำคัญกับเงินทุนส่วนที่จะต้องจัดการ ให้ร้านสะอาด น่านั่ง น่ารับประทาน เป็นประเด็นที่เราต้องหาทางแก้

เรื่องวัฒนธรรม (แย่ๆ) อาจบรรเทาเบาบางได้จากการที่พี่น้องมุสลิม เรามีระดับการศึกษาที่ดีขึ้น โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ๆ ที่มาแทนคนรุ่นเก่า และการได้เรียนรู้และเห็นจากคู่แข่งร้านข้างๆ ปัญหานี้น่าจะแก้ไม่ยาก แต่เรื่องเงินทุน หรือสายป่านเนี่ยสิที่ยากกว่า เพราะเป็นอุปสรรคใน การด�ำเนินกิจการ หากไม่มีเงินทุนจะสามารถท�ำร้านให้สะอาดเป็น มาตรฐานได้อย่างไรก็ต้องท�ำกันไปทนกินกันไป แต่วันนี้กาลเปลี่ยนไปมี แหล่งเงินทุนที่ฮาลาลเยอะแยะที่ให้มุสลิมสามารถเข้าถึงและน�ำเงินทุน ออกมาพัฒนาร้านอาหารของตัวเองให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับร้านของ ต่างศาสนิกได้ (แว่วมาว่า ไอแบงค์ออกสินเชือ่ “ความสะอาดเป็นส่วนหนึง่ ของการศรัทธา” ให้กับกิจการร้านอาหารมุสลิมได้น�ำไปพัฒนาปรับปรุง ร้านให้ได้มาตรฐาน และสะอาดด้วย) ลองดูตัวอย่างของร้านอีกกลุ่มหนึ่งที่เรามักลืมไป คือ กลุ่มของร้าน ต่างชาติ เช่น ร้านอาหรับตามซอยนานา และร้านอินเดียฮาลาลแถว สุขุมวิท พวกนี้สามารถขายอาหารจานละหลายร้อยได้ รับแขกเหรื่อจาก ต่างประเทศได้ และรสชาดก็เอร็ดอร่อยชวนให้ติดตามไปทานอีก ส�ำคัญทีต่ อ้ งมีหลักในการด�ำเนินงาน ซึง่ อยากจะขอฝากไว้ คือ CARDS ได้แก่ 1) Clean คือ ความสะอาด 2) Atmosphere คือ บรรยากาศ น่านั่งรับประทาน 3) Reasonable Price คือ ราคาเหมาะสม 4) Delicious คือ อร่อย 5) Standard คือ เป็นมาตรฐาน หากสามารถท�ำได้ตามนี้บวกกับสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการ พัฒนาปรับปรุงกิจการร้านอาหาร ผมเชือ่ ว่า สังคมมุสลิมบ้านเราจะมีรา้ น ที่น่านั่ง อาหารอร่อย สะอาด ราคาไม่แพง รับแขกเหรื่อจากต่างประเทศ เกิดขึ้นใหม่อีกจ�ำนวนไม่น้อยเลยทีเดียว

19


โครงการเนื้อกุรบาน เพื่อครอบครัวก�ำพร้า ปี ฮ.ศ.1433

YATEEM TV เข้าเยี่ยมจุฬาราชมนตรี

ในวันอีดิ้ลอัฏฮาที่ผ่านมา มูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า และยาตีมทีวี จัดการ ละหมาด ณ มัสยิดดารุล้ อิหซฺ าน (สุเหร่าขาว) โดยมี อ.อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ เป็นอิหม่ามน�ำละหมาด และ อ.อาบีดีน ฮัดซัน ท�ำหน้าที่คุตบะห์ หลังจากนั้นมีกิจกรรมส�ำหรับเด็กๆ ที่มาร่วมด้วย เพราะเราคือพี่น้องกัน น�้ำใจจากพี่น้องชาวไทย กว่า 5 ล้านบาท ถึงพี่น้องชาวซีเรียเรียบร้อยแล้ว

ยะตีมสัญจร บ้านควนโดน จ.สตูล มอบทุนให้เด็กก�ำพร้า 20


วัว 187 ตัวและแพะ 3 ตัว คือ จ�ำนวนที่พี่น้องร่วมท�ำกุรบานกับ มู ล นิ ธิ ศ รั ท ธาชนเพื่ อ การศึ ก ษา และเด็ ก ก� ำ พร้ า และยาตี ม ที วี ครอบครั ว ของเด็ ก ก� ำ พร้ า และ คนยากจน กว่า 5,000 ครอบครัว ทัว่ ประเทศได้รบั เนือ้ กุรบาน ไม่วา่ จะเป็ น ภาคไหน รวมถึ ง พี่ น ้ อ ง ชาว โรฮิงยา ณ ค่ายผูล้ ภี้ ยั ประเทศ บังกลาเทศ ก็ได้รับเนื้อกุรบาน ด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ เงินบริจาคที่พี่น้องร่วมกันบริจาค ผ่ า นทางยาตี ม ที วี และมู ล นิ ธิ ศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็ก ก�ำพร้า

ดาวเทียม THAICOM 5 C-Band ความถี่ 3585 V Symbol Rate : 30000 หรือดูออนไลน์ได้ที่ www.Yateem.tv

ภาพบรรยากาศในวั น อี ดิ้ ล อั ฏ ฮา ปี ฮ .ศ.1433ณ มั ส ยิ ด ดารุ ้ ล อิ หฺ ซ าน (สุเหร่าขาว)

05

ท่ า นคื อ คนส� ำ คั ญ ที่ จ ะร่ ว ม สานฝันให้เด็กก�ำพร้า ร่วมสานฝันโดยบริจาคเงินเข้าบัญชี

เมื่อวันที่ 5-10 พฤศจิกายน 55 ทีมงานยาตีมทีวี น�ำโดย อ.มัสลัน มาหะมะ อ.อักรอม และนาอีม วงค์เกษร เดินทางสูช่ ายแดนประเทศซีเรีย น�ำน�้ำใจจากพี่น้องมุสลิมไทยที่บริจาคผ่านทางมูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการ ศึกษาและเด็กก�ำพร้า ยาตีมทีวี และเครือข่าย สู่พี่น้องชาวซีเรีย เพื่อน�ำ ไปเป็นค่ารักษา ซื้ออาหาร ยาและเวชภัณฑ์ รวมถึงนมส�ำหรับเด็กด้วย

ธนาคารกรุงเทพ สาขาลาดพร้าว 99 บัญชีกระแสรายวัน ชือ่ บัญชี มูลนิธศิ รัทธาชน เพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า เลขทีบ่ ญ ั ชี 181-3-09014-7 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา คลองตัน บัญชีกระแสรายวัน ชือ่ บัญชี มูลนิธิ ศรั ท ธาชน เพื่ อ การศึ ก ษาและเด็ ก ก� ำ พร้ า เลขที่บัญชี 001-6-00162-1 หรื อ ติ ด ต่ อ ส� ำ นั ก งานมู ล นิ ธิ ฯ 48/48 ซ.ลาดพร้ า ว 114 แขวงพลั บ พลา เขต วังทองหลาง กทม. 10310 โทรศัพท์ 02-934-3495 โทรสาร 02934-3496 อีเมล satthachon@hotmail.com เว็บไซต์ www.satthachon.org เฟซบุค www.facebook.com/satthachon

21


22


รับซื้อ

öºŒÒ¹ » ¤ÍѾ ´Ùö¶Ö§·Õ躌ҹ ติดตอ

แบยา

089-1279978

23


Health

สสม. www.muslimthaihealth.com

สุขสาระ ปีที่ 9 ฉบับที่ 105 ประจ�ำเดือนกันยายน 2555

หมากฝรั่งกับสิ่งแวดล้อม คาดว่าหมากฝรัง่ น่าจะมาจากชาวอินเดียนแดงทีช่ อบเคีย้ วยางไม้บาง ชนิด และแพร่หลายกันมากในหมู่ชาวอินเดียนแดงด้วยกัน ต่อมามี หลักฐานจากทางประเทศเม็กซิโกที่ระบุว่า นายพล อันโตนิโอ โลเปซ เอกซานตา อันนา (Antonio Lopez de Anna) อดีตประธานาธิบดีของ เม็กซิโก เป็นผู้ริเริ่มการเคี้ยวหมากฝรั่ง เมื่อเขาเข้ามาอยู่ในอเมริกาได้น�ำ ยางของต้นไม้ป่าในเม็กซิโกเรียกภาษาแอซเทกว่า ชิเคิล เข้ามาด้วย แต่แรกหมากฝรัง่ ทีซ่ อื้ ขายกันในอเมริกาท�ำมาจากยางสนต�ำรับเดียว กับอินเดียน พอถึงทศวรรษที่ 1850 ผู้ผลิตก็ใช้ขี้ผึ้งพาราฟิน ซึ่งราคาถูก กว่าและเสถียรกว่ายางไม้ แต่ก็ยังไม่น่าพอใจ ต่อมา โทมัส อดัมส์ นักถ่ายภาพและนักประดิษฐ์ได้ทราบเรื่องการ เคี้ยวยางไม้ชิเคิลนี้ จึงทดลองน�ำมาท�ำเป็นหมากฝรั่งเป็นครั้งแรกและได้ เปิดตลาดด้านนี้จนประสบความส�ำเร็จในเวลาต่อมา เมือ่ ยางชิเคิลธรรมชาติหายากขึน้ และมีการค้นพบยางสังเคราะห์ใน ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง บริษัทผู้ผลิตจึงเปลี่ยนวัตถุดิบเป็นโพลีเมอร์ สังเคราะห์ชอื่ polyisobutene ซึง่ นิม่ กว่าเหมาะกับการท�ำเป็นหมากฝรัง่ มากกว่า แต่ว่ามันย่อยสลายไม่ได้ หมากฝรั่งจะไม่มีทางหายไปจากโลก เร็วๆนี้ อย่างหมากรุน่ โบราณ คนอเมริกนั นิยมเคีย้ วหมากฝรัง่ ทีม่ จี ากยาง สังเคราะห์ถึงปีละ 10 ล้านปอนด์ ซึ่งนับว่าเป็นจ�ำนวนมากทีเดียว โดยทั่วไปแล้ว เรามักจะมองว่าเรื่องหมากฝรั่งเป็นเรื่องความสะอาด สกปรก มากกว่าเรื่องสิ่งแวดล้อม อย่างหนึ่งเป็นเพราะสารที่ให้ความ เหนียวและสารคงรสชาติของหมากฝรัง่ เป็นสิง่ ทีท่ ำ� ความสะอาดยากมาก ปัจจุบันผู้ผลิตพยายามท�ำหมากฝรั่งชนิดไม่ติดหนึบออกมา โดยใช้สาร ตั้งต้นจาก dimethyl, diethyl และ dibutyl phthalate ซึ่งเป็นสารที่ ถูกห้ามใช้ในของเล่นที่เด็กอมหรือเคี้ยวได้ แต่บริษัทผลิตสารเคมีเหล่านี้ ก็พยายามหาทางขายของกับตลาดที่เข้มงวดต่อสุขภาพน้อยกว่า นอกจากนี้ การศึกษาในสัตว์ยังพบด้วยว่าแม้พบสารที่เกี่ยวข้องกับ สารข้างต้น (phthalates, dibutyl phthalate และdiethylhexyl phthalate) ปริมาณน้อยในมดลูก ก็ท�ำให้ลูกสัตว์พิการแต่ก�ำเนิดได้ ในขณะเดียวกัน ส�ำหรับมนุษย์ หมากฝรัง่ สังเคราะห์นกี้ ถ็ กู ขนานนาม ว่า “พลาสติกท�ำจากส่วนผสมโน่นนี่ที่เป็นพิษ” อีกต่างหาก และค�ำว่า กัมเบส (gum base) กลายเป็นค�ำย่อของส่วนผสมพิษ ตั้งแต่ปี 2008 แคนาดาถือว่า vinyl acetate (ใช้ผลิตโพลีไวนิล อะซีเตตในกัมเบส) เป็นสารพิษที่ไม่ควรมีในหมากฝรั่ง เพราะอาจเป็น

สารก่อมะเร็งตามรายงานขององค์การอนามัยโลก จนบริษัทผู้ผลิต หมากฝรั่ง ต่อต้านและต้องถอนออกจากรายการในที่สุด อย่างไรก็ตามหมากฝรั่งยังมีส่วนผสมอื่นๆอีก เช่น สารกันเสียชื่อ butylatedhydroxyanisole (BHA) ซึ่งคาดว่าเป็นสารคาร์ซิโนเจนหรือ สารก่อมะเร็ง ส่วนสารตัวอื่นซึ่งได้ชื่อว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างส�ำคัญก็คือ แอสปาร์แตมและ acesulfame K แอสปาร์แตมเป็นสารสังเคราะห์ให้ ความหวานแทนน�้ำตาลที่เคยอยู่ในรายการสารเคมีชีวภาพที่ใช้ในการท�ำ สงครามของเพนตากอนมาก่อน ท�ำมาจากกรดแอสปาร์ติก กับ phenylalanine และเมทิลแอลกอฮอล์ สองตัวแรกอาจท�ำให้สมองเสียหายถ้า ได้รับในปริมาณมาก ส�ำหรับผู้ป่วย phenylketonuria (PKU – ฟีนิล คีโตนูเรีย : โรคทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึมของร่างกาย ท�ำให้ย่อยกรดอะมิโนบางชนิดไม่ได้และเกิดอาการโลหิตเป็นพิษ) ก็อาจ เป็นอันตรายได้แม้ได้รับในปริมาณเล็กน้อย แอสปาร์แตมยังอาจท�ำให้เกิดอาการลมชัก ไฟโบรมัยอัลเจีย (อาการ เจ็บปวดกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เนื้อเยื่อทั่วร่างกายที่ไม่เกิดกับคนปกติ) โรคปลอกประสาทอักเสบ เอสแอลอี (ภูมิแพ้ตัวเอง) สมาธิสั้น เบาหวาน ไทรอยด์ อัลไซเมอร์ อ่อนแรงเรื้อรัง ซึมเศร้า และโรคเกี่ยวกับระบบตา ส่วน acesulfame K ท�ำให้เกิดมะเร็งในสัตว์ต่างๆ และอาจท�ำให้เกิด มะเร็งในมนุษย์ นอกเหนือจากสารให้ความหวานแล้ว หมากฝรัง่ บางชนิดยังใช้นำ�้ ตาล ซูคราโลสซึ่งให้รสชาติเหมือนน�้ำตาลจริง และเป็นสารให้แคลอรีต�่ำที่ใช้ ผสมในเครือ่ งดืม่ ขนมหวาน และลูกอมต่างๆ จากการศึกษาในสัตว์พบว่า ท�ำให้ตอ่ มไทรอยด์หดตัวและเกิดปัญหาในตับและไต หากได้รบั ซูคราโลส ในปริมาณสูง ส�ำหรับไซลิทอล แมนนิทอล และซอร์บิทอลก็มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายและ อาจท�ำให้คนธาตุอ่อนมีปัญหาเรื่องการย่อย ท้องเสีย และน�้ำหนักลด ถ้าเคี้ยวหมากฝรั่งที่มีสารนี้มากเกินไป ยังมีรายงานทีส่ ตั ว์เลีย้ งป่วยเนือ่ งจากกินหมากฝรัง่ ทีม่ ไี ซลิทอลเข้าไป หลายกรณีด้วย หมากฝรั่งร้ายแรงและรุนแรงขนาดนี้แล้ว ถ้าคุณยังจะ เคี้ยวกันอยู่อีก ก็ต้องถือว่าเป็นผู้ท�ำลายโลกแสนสวยนี้ ให้พังสลายไป เพราะความ “อร่อยปาก ล�ำบากโลก” ของคุณอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ 24


25


Listen2Halal

pbuh.

Ahmed bukhatir Album : Samtan Record : Sundus Language : Arabic, English มีหนุ่มๆหลายคนที่หันมาท�ำอนาชีดเพื่อ การเผยแพร่อิสลาม แต่ยังไม่ทิ้งเป้าหมายเดิม ผมหมายถึงบางท่านอาจจะมองเรื่องอนาชีด เป็นงานอดิเรกหรือกิจกรรมเสริมอะไรท�ำนอง นี้ กระทั่งประสบความส�ำเร็จทั้งเป้าหมายหลัก และงานอดิเรก อย่างศิลปินในฉบับนี้ที่จะแนะ ให้ผอู้ า่ นได้รจู้ กั กัน Ahmed bukhatir ชายหนุม่ อายุ 37 ปี ชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เมื่อสมัย อายุย่างเข้าปีที่ยี่สิบเก้าสามารถก้าวขึ้นเป็น ซี อี โ อ Promax ME บริ ษั ท เอกชนของ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เข้าบริหารสองปีบริษัท ก็ ค ว้ า รางวั ล Marketing Effectiveness Award มาครอง เนือ่ งจากเข้าตากรรมการด้าน การบริหารและบริษทั ใหม่ทเี่ ติบโตขึน้ เรือ่ ยๆ ใน คาบสมุทรอาหรับ เขายังเป็นคนขับเคลื่อน บริษัทย่อยของตระกูลให้โตขึ้นด้วยและเป็น โต้โผใหญ่ของบริษัทในเครือ Bukhatir Group นอกจากนีเ้ ขายังถือหุน้ ในบริษทั ใหญ่ๆของดูไบ อีกด้วย หลายครัง้ ทีเ่ ขาบริจาคเพือ่ การศึกษาให้ เด็กๆ ในเมือง และองค์กรต่างๆเพื่อการพัฒนา ด้านการศึกษาโดยตรง โดยเฉพาะองค์กรทีด่ แู ล เด็กๆ ในปาเลสไตน์และเชสเนีย ล่าสุดเห็น จะเป็นลิเบีย, ซีเรียและพม่า Ahmed bukhatir เกิดและโตในเมือง ชาริเกาะฮฺในครอบครัวค้าขาย เริ่มตั้งแต่รุ่นปู่ และบิดา เขาถูกปลูกฝังแนวคิดศาสนาอย่าง เคร่งครัด โดยเฉพาะระบบการเรียนการสอนที่ เน้นการ ท่องจ�ำอัลกุรอ่านและท�ำความเข้าใจ ยังถูกส่งเข้าศึกษาด้านศาสนาในหลักนิตศิ าสตร์ อิ ส ล า ม ก ่ อ น จ ะ เริ่ ม เข ้ า ศึ ก ษ า ใ น ค ณ ะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทีส่ ดุ โดยส่วนตัว เขาชอบภาษาอาหรับเป็นพิเศษและมักจะแต่ง กวีเพื่อน�ำเสนอเพื่อนอยู่เรื่อยๆ หลังจากศึกษา จนจบหลักสูตรเขาจึงเริ่มต้นแต่ง กวี กาพย์ กลอน ภาษาอาหรับและภาษาอังกฤษพร้อมๆ กับบริหารงานหลักของบริษัทไปด้วย ผมหยิบงานหนึง่ ของเขามาน�ำเสนอนะครับ Last Breath เป็ น แทร็ ค จากอั ล บั้ ม ที่ สี่ ซึ่ ง

สามารถขายได้มากกว่าสามแสนก๊อปปี้ทั้งใน กลุม่ ประเทศอาหรับและยุโรป ความจริงเขาเริม่ ท�ำอนาชีดมาตั้งแต่ปี 2000 ออกมาแล้วทั้งหมด เก้าอัลบัม้ ซึง่ บางอัลบัม้ มีเพือ่ นศิลปินท่านอืน่ ๆ เข้าร่วมด้วย ลองมาดูนะครับแทร็คทีผ่ มน�ำเสนอ เป็นต้นฉบับภาษาอังกฤษทีเ่ รียกน�ำ้ ตาหลายคน มาแล้ว ซ�้ำยังฉุดกระชากใครหลายๆคนให้หยุด ฟังและพินิจพิเคราะห์ นั่นเพราะเขาพยายาม น�ำเสนอมุมหนึ่งของคนก�ำลังจะตายจากโลกนี้ ไปและอี ก มุ ม หนึ่ ง ของคนที่ ก� ำ ลั ง ถู ก ลากจู ง วิญญาณไปสอบสวนในหลุมฝังศพ ฉันได้ยินเสียงร้องไห้ระงมรอบๆตัวฉัน เสียงสะอื้น เสียงถอนหายใจอย่างหมดหวัง แล้วฉันก็รวู้ า่ วิญญาณฉันต้องออกโบยบินไป สายลมหนาวเย็นเริ่มกระพือพัด สายลมกระทบวิญญาณ ตั้งแต่หัวจรดเท้า และแล้วลมหายใจสุดท้ายก็หนีหลุดจาก ริมฝีปากของฉัน เป็นช่วงเวลาที่มันต้องออก และฉันต้องไป มันเกิดขึ้นจริงๆและสายไปแล้วส�ำหรับฉัน พวกเขาเคยบอกว่า ทุกๆวิญญาณจะมีวัน สิ้นสุด เมื่อมันต้องออกจากร่าง แล้วจะพบชะตากรรมตลอดชั่วนิจนิรันดร์ โอ้ . ..โปรดเถิ ด ...โปรดพิ นิ จ ค� ำ ที่ ฉั น สบถ ออกไป ใครเลยจะล่วงรูว้ า่ พรุง่ นีอ้ าจเป็นวันของคุณ ณ ที่แห่งสุดท้าย สวรรค์ หรือ นรก ตัดสินใจเดี๋ยวนี้เลยสิ อย่ารอช้า มาสิพี่น้องของฉัน ฉันจะขอพรให้ ตัดสินใจเดี๋ยวนี้เลยสิ อย่ารอช้า โอ้พระเจ้า ฉันมองไม่เห็น ดวงตาฉั น มั น บอดใบ้ แ ต่ เ หมื อ นฉั น ยั ง มี ตัวตน 26

เหมื อ นจิ ต วิ ญ ญาณฉั น ก� ำ ลั ง ถู ก ลากจู ง ไปในทาง เหมือนฉันถูกบังคับขู่เข็ญ โอ้ นี่เราจะกลับกลายไปเป็นผุยผงดินอย่าง นั้นหรือ ความเปรมปรีดิ์ ของฉันก�ำลังถูกแผดเผา อย่างนั้นหรือ หากเพียงฉันรับรู้สิ่งที่จะเกิดขึ้นก่อนหน้านี้ คงดีเป็นแน่ สายใยวิถีถูกตัดขาดและฉันต้องกลับมาที่นี่ กลับมาอยู่ใต้พื้นผิวดิน พวกเขาวางฉันลงพร้อมกับบันทึกที่สิ้นสุด พวกเขาโอดครวญโดยไม่รวู้ ่าฉันก�ำลังร้องไห้ กับผิดบาปที่เลวทรามของฉัน เมื่อพวกเขาหันหลังกลับไปทอดทิ้งฉันไว้ เผชิญหน้ากับพระผู้เป็นเจ้า โอ้ . ..โปรดเถิ ด ...โปรดพิ นิ จ ค� ำ ที่ ฉั น สบถ ออกไป ใครเลยจะล่วงรูว้ า่ พรุง่ นีอ้ าจเป็นวันของคุณ ณ ที่แห่งสุดท้าย สวรรค์ หรือ นรก ตัดสินใจเดี๋ยวนี้เลยสิ อย่ารอช้า มาสิพี่น้องของฉัน ฉันจะขอพรให้ ตัดสินใจเดี๋ยวนี้เลยสิ อย่ารอช้า ... ที่ จ ริ ง ผมอยากให้ ฟ ั ง ต้ น ฉบั บ มากกว่ า นะครับ แล้วพินิจพิเคราะห์ถึงเนื้อหาที่เขาน�ำ เสนอ งานของเขาอีกหลายๆชิ้นที่สื่อไปในทาง ที่ เ ยี่ ย มยอดโดยเฉพาะการเรี ย กร้ อ งถึ ง ปาเลสไตน์ (Al- Quds tunadeena) และเรียก ร้องให้ร่วมกันให้ความส�ำคัญกับอัลกุรอาน พูด ถึงแม่ (Ummi) พูดถึงภรรยา (Zawjati) พูดถึง เพื่อนพี่น้องในอิสลาม (Ya akhi) ประกอบกับ การใช้ ภ าษาอาหรั บ ที่ ส ละสลวยงดงามง่ า ย ต่อการจดจ�ำหรือน�ำไปสอนเด็กๆครับ บูคอติร เขาให้น�้ำหนักไปในทางทัศนะไร้ซึ่งเสียงดนตรี ครับ เพื่อรักษาแนวทางชะรีอะฮฺในทัศนะนี้งาน จึงออกมาแนวคลาสสิคมากทีส่ ดุ โดยการใช้เสียง เป็นแบ็คกราวด์ทั้งสิ้น นี่คือหนึ่งคนจากหลาย คนที่ ผ ลิ ต งานดี ๆ ออกมาเพื่ อ การเรี ย กร้ อ ง สู่อิสลาม ทั้งๆที่ตัวเองสามารถนอนเฉยๆ อยู่ บ้านก็ได้ แต่ดว้ ยกับส�ำนึกต่ออัลลอฮฺเขาจึงลงมือ เรียกร้องให้เพือ่ นมนุษย์ได้ฉกุ คิดถึงพระเจ้าของ เขา


Good News

กองบรรณาธิการ

ยูเอ็นลงมติรับรอง ‘ปาเลสไตน์’ เป็น ‘รัฐ’ แล้ว ที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ลงมติรับรองเลื่อนสถานะของ ปาเลสไตน์จากผูส้ งั เกตการณ์ทไี่ ม่ใช่รฐั เป็นรัฐผูส้ งั เกตการณ์ทไี่ ม่ใช่สมาชิก ซึ่งเป็นสถานะเดียวกับนครรัฐวาติกัน ด้วยคะแนนเสียง 138 ต่อ 9 เสียง และมีประเทศที่ไม่ลงคะแนนมากถึง 41 เสียง ส่งผลให้ปาเลสไตน์ได้รับ การรับรองสถานะเป็นรัฐชาติอย่างเป็นทางการ หลังจากการด�ำเนินการ ทางการทูตยาวนานหลายสิบปี ส�ำหรับประเทศที่ไม่ยินยอมลงคะแนนเสียงรับรองปาเลสไตน์ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อิสราเอล แคนาดา สาธารณรัฐเช็ค ปานามา และประเทศ หมู่เกาะในแปซิฟิก ได้แก่ เกาะมาร์แชล ไมโครนีเซีย นาวรู และพาเลา ขณะทีอ่ งั กฤษและเยอรมนี พันธมิตรส�ำคัญของสหรัฐฯในยุโรป ไม่ได้ออก เสียงในการลงมติครั้งนี้ นายมะห์มูด อับบาส ประธานาธิบดีปาเลสไตน์ ได้กล่าวหลังจากการ ลงมติครั้งประวัติศาสตร์นี้ว่า การรับรองปาเลสไตน์โดยสหประชาชาติ เป็นหนทางสุดท้ายในการแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับ ปาเลสไตน์แบบ Two-State Solution หรือหลักการยอมรับในความเป็น รัฐของทั้งสองฝ่าย หลังจากตลอดการเจรจาแบบทวิภาคีกับอิสราเอลที่ ผ่านมา รัฐบาลอิสราเอลและสหรัฐฯ ไม่เคยยอมรับปาเลสไตน์ในฐานะ รัฐชาติ ส่วนทางด้านของอิสราเอล ก็ออกมาตอบโต้การเลื่อนสถานะของ ปาเลสไตน์อย่างรุนแรง โดยนายเบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรี

อิสราเอล ยืนยันว่าความขัดแย้งระหว่างสองประเทศ จะต้องแก้ไขผ่าน การเจรจาแบบทวิภาคีเท่านั้น ไม่ใช่ผ่านเวทีของสหประชาชาติ การที่ ปาเลสไตน์เรียกร้องความเป็นรัฐผ่านสหประชาชาติ จึงถือเป็นการละเมิด สนธิสัญญาที่ให้ไว้กับอิสราเอล และอิสราเอลจะต้องตอบโต้การกระท�ำ ครั้งนี้อย่างแน่นอน เช่ น เดี ย วกั บ นางซู ซ าน ไรซ์ เอกอั ค รราชทู ต สหรั ฐ ฯประจ� ำ สหประชาชาติ ที่ออกมาเรียกร้องให้ปาเลสไตน์และอิสราเอลหารือกัน เกี่ ย วกั บ ประเด็ น ดั ง กล่ า ว และกล่ า วหาว่ า การเคลื่ อ นไหวผ่ า น สหประชาชาติของปาเลสไตน์ เป็นการกระท�ำโดยพลการแต่เพียงฝ่าย เดียว ขณะที่นางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ก็ยืนยัน ว่าการได้สถานะรัฐชาติของปาเลสไตน์ จะไม่สง่ ผลดีใดๆ ต่อกระบวนการ สันติภาพในตะวันออกกลาง บาร์บาร่า เพลตต์ ผู้สื่อข่าวบีบีซีกล่าวว่า การรับรองนี้ ถูกมองว่าเป็น ก้าวที่ส�ำคัญของปาเลสไตน์ในการได้เป็นรัฐ เพราะการโหวต “รับรอง” ยั ง มี ผ ลทางการทู ต ด้ ว ย เนื่ อ งจากมั น จะอนุ ญ าตให้ ป ระชาชนชาว ปาเลสไตน์มสี ว่ นร่วมในการพูดคุยเรือ่ งต่างๆ ในสหประชาชาติ และพัฒนา โอกาสในการเข้าร่วมองค์การต่างๆ ของสหประชาชาติ เช่น ศาลอาญา ระหว่างประเทศ

27

ที่มา: เรียบเรียงและตัดทอนบางส่วนจาก Prachatai.com


Memories

อาฎิล ศิริพัธนะ facebook.com/ asiripatana

“ไม่เห็นจะเป็นไรเลย”

ขณะนี้ผมก�ำลังนั่งคิด ว่าท�ำไมผมจึงโตขึ้นมาโดยที่ไม่เคยกลัวหรือ อนาคตของครอบครัว ไม่เคยจะต่อว่าหรือโกรธเคืองอะไรเลย หากจะมี แสดงอาการรังเกียจ Polygamy (ครอบครัวแบบ หนึง่ พ่อหลายแม่หลาย ใครมาเพิ่มเข้ามาในครอบครัวแต่ผู้ใหญ่ก็ยังมีเวลาทะเลาะกันและผู้ใหญ่ ลูก) เลย ผมคิดว่าค�ำตอบแรกๆที่ผ่านเข้ามาในใจหลายๆคนทันทีคือ ข้ า งนอกก็ ช ่ า งนิ น ทาและดู ถู ก วิ ถี ชี วิ ต แบบนี้ ซึ่ ง เด็ ก อย่ า งผมมองว่ า “เพราะผมเกิดมาในครอบครัวแบบนี้” ซึ่งผมเองก็เกือบจะคล้อยตาม “ไม่เห็นจะเป็นไรเลย” ซะเหลือเกิน แต่พอหยุดคิดดีๆ ก็พบว่านั่นไม่ใช่ค�ำตอบไม่ใช่สาเหตุที่แท้จริง ผมโตมาด้วยสภาพชีวิตแบบนั้นและยังรู้สึกกับมันเหมือนเดิมคือ สาเหตุที่แท้จริงก็คือ “มันไม่มีสาเหตุ” “มันไม่เห็นจะเป็นไรเลย” ใช่แล้วครับ มันไม่มสี าเหตุใดๆทีผ่ มจะเกลียดหรือจะชอบ Polygamy แม่ ผู ้ ใ ห้ ก� ำ เนิ ด ของผม มั ก จะให้ ค� ำ ปรึ ก ษากั บ บรรดาภรรยาใน มันแค่เป็นแบบที่มันควรจะเป็นมันไม่ส�ำคัญว่าผมจะคิดยังไงกับมัน ครอบครัว Polygamy ว่า “ให้อดทน และอย่าเอาอารมณ์ร้ายของตนเอง ความสงสัยนี้ท�ำให้ผมนึกย้อนกลับไปตอนผมอายุประมาณสิบขวบ ไปสอนลูกๆ ให้รังเกียจพ่อเป็นอันขาด” ท่านบอกว่า ท่านไม่เคยท�ำแบบ ตอนนัน้ มีผหู้ ญิงอีกคนหนึง่ เข้ามาในชีวติ เธอเป็นแม่คนทีส่ องเราเรียกเธอ นั้น ท่านจึงป้องกันไม่ให้ลูกๆรังเกียจ Polygamy ว่า “อุมมี” ผมไม่เคยจดจ�ำว่าเจออุมมีครัง้ แรกในฐานะแม่ และภรรยาอีก นั่นเป็นส่วนหนึ่งของค�ำตอบในค�ำถาม ว่าท�ำไมผมจึงสบายดีมากกับ คนของแดดดี้ นั้ น เป็ น อย่ า งไร ที่ ผ มไม่ จ ดจ� ำ เพราะมั น ไม่ ใช่ อ ะไร Polygamy เสมอ อย่างไรก็ตาม นั่นยังไม่ใช่ค�ำตอบที่ดีที่สุด ค�ำตอบที่แท้ ที่ น ่ า ตื่ น เต้ น หรื อ น่ า ตื่ น จริงก็คือ “จิตใจของเด็กคน จิตใจของเด็กคนหนึ่งที่ยังใสจะไม่สามารถถูก หนึง่ ทีย่ งั ใส จะไม่สามารถถูก ตระหนก จนถึงขัน้ ทีผ่ มต้อง จ�ำ ท� ำ ให้ ห ม่ น หมองลงได้ เ พี ย งเพราะเขาอยู ่ ใ น ท�ำให้หม่นหมองลงได้เพียง เพราะเขาอยู ่ ใ นครอบครั ว แต่ผมจ�ำได้วา่ อุมมีเป็น ครอบครัว Polygamy Polygamy เขาจะไม่ ถู ก หญิ ง สาวที่ เ ปี ่ ย มไปด้ ว ย ท�ำให้เป็น ผู้ยึดติดกับมนุษย์ อุดมการณ์ เป็นคนทีม่ คี วาม เมตตาต่อเด็กๆ ผมรู้ตัวอีกที อุมมีก็เป็นแม่ของผมไปแล้ว ในความรู้สึกที่ และขับเคลื่อนอารมณ์ด้วยความหึงหวง ในทางตรงกันข้าม เขาจะกลาย ไม่ต่างไปจากแม่ผู้ให้ก�ำเนิดผมเลย การมีอุมมีในชีวิต อีกคน ท�ำให้ผม เป็นมนุษย์ทมี่ คี วามอดทน ควบคุมตนเอง พร้อมจะอยูร่ ว่ มกับผูท้ แี่ ตกต่าง ได้มีโอกาสใหม่ๆมากมายในการเรียนรู้ มันคือการมีที่ แตกต่างจากแม่ และจะคิดถึงผูอ้ นื่ ก่อนเสมอ” สิง่ เหล่านีเ้ ริม่ ถูกพิสจู น์ให้เห็นชัด ในตัวของ ผู้ให้ก�ำเนิด มันเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผมเห็นความ หลากหลายและ น้องๆ ตัวเล็กๆ ของผมซึ่งโตขึ้นทุกวัน ความงดงามที่แตกต่างของสตรี สุดท้าย ผมก็นึกขึ้นมาได้ว่า มีประสบการณ์ชิ้นหนึ่งในชีวิตซึ่งช่วย ผมมักจะเข้าไปในตัวเมืองเป็นประจ�ำเพื่อไปอยู่กับอุมมีช่วงสุด ท�ำให้ผมเข้าใจ Polygamy อย่างมาก อันนี้ต้องยกเครดิตให้แดดดี้ สัปดาห์ ที่นั่นผมได้ใกล้ชิดเครือญาติและได้เล่นกับมูญาฮิด น้องชายที่ แดดดี้ ซึง่ ปกติเป็นผูท้ มี่ บี คุ ลิกอ่อนนุม่ กับลูกๆ จะโกรธ และดุเราอย่าง แสนจะน่ารักทะเล้น มันเป็นช่วงแห่งความสุขอีกรูปแบบหนึ่ง จาก จริงจังทุกครั้งที่เราเปิดทีวีไปดูช่องละครน�้ำเน่าต่างๆ ท่านจะพูดด้วย ครอบครัวที่เคยเป็นแค่ครอบครัววิชาการเล็กๆ สู่ครอบครัวขนาดใหญ่ที่ น�้ำเสียงเจ็บปวดว่า “ลูกไม่มีอะไรสร้างสรรค์กว่านี้จะท�ำแล้วเหรอลูก?” เต็มไปด้วยปฏิสัมพันธ์ ประโยคนี้ท�ำให้ผมสะเทือนใจ และตระหนักในธรรมชาติอันเน่าเฟะของ การเริม่ ต้นครอบครัว Polygamy นัน้ เต็มไปด้วยบททดสอบ ทัง้ จาก สังคมไทย ซึ่งขับเคลื่อนจิตใจเยาวชนในชาติด้วยความเพ้อฝัน ความ ภายนอกและภายในครอบครัวเอง มีทั้งการยุแหย่ การถูกข่มขู่คุกคาม หึงหวง การยึดติด ความหลง และความเกลียดชัง ในขณะที่ชีวิตที่ดีนั้น ความหึงหวง และการล่อลวงจากมารร้าย พร้อมๆ กับความสุขสมบูรณ์ จริงๆแล้วมาเพราะความเสียสละ และไม่ยึดว่าตนเองต้องได้สมใจอยาก ที่เพิ่มขึ้น บางครั้งเต็มไปด้วยการถกเถียงทะเลาะเบาะแว้ง ในทรรศนะ เหมือนที่ครอบครัว Polygamy ของแดดดี้ สอนผมมาตลอด ของช่วงนัน้ ทัง้ หมดช่างดูโง่เขลาเสียเหลือเกิน เพราะขณะทีผ่ มเองซึง่ เป็น 28


29


The Strangers

ummah islam facebook.com/Ummahfityah

ชัยคฺ อะหฺมัด ยาสีน ผู้น�ำทางจิตวิญญาณ แห่งปาเลสไตน์

ชัยคฺ อะหฺมัด ยาสีน (อะหฺมัด อิสมาอีล หะสัน ยาสีน) เกิดปี 1938 ในหมูบ่ า้ นญูเราะฮฺซงึ่ อยูท่ างตอนใต้ของฉนวนกาซา พ่อของท่านเสียชีวติ ขณะที่ท่านมีอายุได้ประมาณ 3 ขวบ ปี 1948 ช่วงสงครามอาหรับ-อิสราเอล ครอบครัวของท่านต้องย้าย ออกจากหมู่บ้านไปอยู่ในค่ายลี้ภัยอัล-ชาฏิอ์ ในฉนวนกาซา เนื่องจาก กองก�ำลังป้องกันอิสราเอลเข้าไปบุกยึด ขณะที่ท่านมีอายุได้ 12 ปี แขนและขาของท่านก็เป็นอัมพาตต้องนั่ง รถเข็นเนื่องจากประสบอุบัติเหตุขณะเล่นกีฬากับเพื่อน ท่านไม่สามารถ เดินทางไปเรียนได้เนื่องจากปัญหาสุขภาพจึงศึกษาจากการอ่านหนังสือ ด้วยตนเองที่บ้าน โดยเฉพาะหนังสือที่เกี่ยวกับการเมือง สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ ปรัชญาและศาสนา จนกระทั่งท่านได้รับหน้าที่ให้กล่าว คุฏบะฮฺในละหมาดญุมอัต หลังจากนั้นท่านก็ท�ำงานเป็นครูสอนภาษา อาหรับในโรงเรียนประถมเขตริมาลของฉนวนกาซาและสมรสเมื่ออายุ 22 ปี ปี 1984 ท่านได้เข้าร่วมกับขบวนการ Muslim Brotherhood ใน ปาเลสไตน์ และถูกจ�ำคุกด้วยข้อหาก่อตัง้ ขบวนการทีเ่ ป็นภัยต่ออิสราเอล และครอบครองอาวุธ และได้รับการปล่อยตัวในปี 1985 ตามข้อตกลง แลกเปลี่ ย นนั ก โทษระหว่ า งรั ฐ บาลอิ ส ราเอลกั บ หั ว หน้ า ขบวนการ ปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PFLP) ปี 1987 ท่านเข้าร่วมกับขบวนการอินติฟาเฎาะฮฺในการต่อสู้เพื่อ ต่อต้านการยึดครองปาเลสไตน์ของอิสราเอล และก่อตั้งขบวนการ เคลื่อนไหวติดอาวุธเพื่อปลดปล่อยปาเลสไตน์ร่วมกับ ชัยคฺ อับดุลอะซีซ อัรฺ-ร็อนตีซียฺ ภายใต้ชื่อ “หะมาส ‫( ”حامس‬แปลว่า กระตือรือร้น เป็น ค�ำย่อมาจาก ‫ حركة املقاومة االسالمية‬หะเราะกะฮฺ อัล-มุกอวะมะฮฺ อัล-อิสลามิยยฺ ะฮฺ) ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของ Muslim Brotherhood และท่าน ได้กลายเป็นผู้น�ำทางจิตวิญญาณของหะมาส

ต่อมาในปี 1989 ท่านถูกทหารอิสราเอลจับกุมและถูกตัดสินจ�ำคุก ตลอดชีวิต ท่านถูกทรมานจากทหารอิสราเอลจนตาข้างขวาบอดสนิท ส่วนตาข้างซ้ายเห็นเลือนลาง และถูกปล่อยตัวในปี 1997 ในข้อตกลง แลกเปลีย่ นนักโทษระหว่างชัยคฺ อะหฺมดั ยาสีน กับหน่วยรบมอสสาดของ อิสราเอล 2 นาย ซึ่งถูกทางการจอร์แดนจับกุมตัวหลังจากพยายามลอบ สังหาร คอลิด มิชอัล แกนน�ำหะมาสในจอร์แดนภายหลังจากได้รับการ ปล่อยตัว ท่านก็กลับมาเป็นผู้น�ำของหะมาสอีกครั้ง กองก�ำลังอิสราเอลมีความพยายามที่จะลอบสังหารท่านหลายครั้ง และในปี 2003 กองทัพอากาศอิสราเอล ได้ยิงขีปนาวุธใส่อาคารบ้าน เรือนในฉนวนกาซา โดยกล่าวว่าชัยคฺ อะหฺมดั ยาสีน คือเป้าหมายในการ โจมตี ซึ่งครั้งนี้ท่านรอดชีวิตมาได้แต่ได้รับบาดเจ็บ ต้องเข้าพักรักษาตัว ในโรงพยาบาล ท่านกล่าวกับสื่อว่า “วันเวลาจะพิสูจน์ว่าการลอบสังหารหะมาสไม่มีวันสิ้นสุดผู้น�ำ หะมาสปรารถนาทีจ่ ะเป็นชะฮีดและไม่กลัวความตาย การญิฮาดและการ ต่อต้านจะยังคงด�ำเนินต่อไปจนกว่าเราจะได้รับชัยชนะหรือเป็นชะฮีด” กระทั่งเช้ามืดของวันจันทร์ที่ 22 มีนาคม 2004 ในขณะที่ท่านและ ผู ้ ใ กล้ ชิ ด ออกจากมั ส ญิ ด ในเขตศ็ อ บรอหลั ง จากละหมาดศุ บ หฺ เฮลิคอปเตอร์ของทหารอิสราเอลได้ยิงจรวดถล่มใส่ถึง 3 ลูก ท�ำให้ท่าน เสียชีวิตพร้อมกับผู้ใกล้ชิดทั้งหมด ชัยคฺ อะหมัด ยาสีน ได้รับการกล่าวขานในฐานะของผู้ที่ยืนหยัดมี ความศรัทธาที่เข้มแข็ง เป็นบุรุษผู้พิการแต่เปี่ยมไปด้วยภาวะผู้น�ำ และ เป็นบุรุษที่แข็งแกร่งที่สุดในปาเลสไตน์ .... “การต่อต้านจะยังคงด�ำเนินต่อไป จนกระทั่งทั้งหมดของดินแดน ปาเลสไตน์ได้รับการปลดปล่อยในที่สุด”

30


31


32


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.