Halal Life Magazine issue 13

Page 1

ครอบคลุมชีวิต วิถีฮาลาล

FREE/แจกฟรี

ปีที่ 2 ฉบับที่ 13 มิถุนายน - กรกฎาคม 2555

the next best dream




Editor’s note ฉบับนีม้ เี รือ่ งทีอ่ ยากจะชีแ้ จงกับสมาชิกและผูอ้ า่ น Halal Life หลายเรื่อง ขอถือโอกาสใช้พื้นที่ตรงนี้เลย นะครับ

Life ไว้ส�ำหรับสมาชิกและใครที่สนใจได้ซื้อหากันอีก ด้วย ส่วนใครที่พลาดงานนี้ เตรียมตัวไปพบกับบูธของ เราได้อกี ครัง้ กับงาน “วันเด็กก�ำพร้า” ทีป่ นี จี้ ะจัดขึน้ ใน เรือ่ งแรก ฉบับทีผ่ อู้ า่ นก�ำลังถืออยูน่ เี้ ป็นฉบับที่ 13 วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม ณ ราชมังคลากีฬาสถาน หรือ ซึ่งในความเป็นจริงต้องเป็นฉบับประจ�ำเดือนมิถุนายน หากใครใจร้อนอยากได้เสื้อไว้ในครอบครองเร็วๆ ก็ แต่เนื่องจากสองฉบับที่ผ่านมา Halal Life ออกล่าช้า สามารถโทรมาสั่งสีสั่งไซส์กับเราได้เช่นกันครับ ราคา มาก จึงท�ำให้เราต้องขออนุญาตควบรวมฉบับที่ 13 เป็น เพียงตัวละ 200 บาทรวมค่าจัดส่ง ฉบับประจ�ำเดือน มิถุนายน และ กรกฎาคม ครับ เรื่องที่สี่ Halal Life เรามีของดีมาน�ำเสนอกับผู้ เรื่องที่สอง ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 13 นั่นก็หมายความ อ่านและสมาชิกกันอีกแล้วครับ ตั้งแต่เสาร์ที่ 4 ของ ว่าถึงเวลาต่ออายุของสมาชิกรุ่นแรกกันแล้ว ใครที่อายุ เดือนมิถุนายนเป็นต้นไป ทาง Halal Life จะมีรายการ สมาชิกใกล้หมดทางทีมงานจะท�ำการแนบจดหมาย ทีวีออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ยาตีม ทีวี บ้านใครที่ เตือนไปพร้อมกับซองนิตยสารด้วยครับ หากใครไม่ มีจานดาวเทียมอย่าลืมติดตามกันนะครับ ทุกวันเสาร์ที่ แน่ ใจว่ า สมาชิ ก ของตั ว เองจะเหลื อ อายุ เ ท่ า ไหร่ ก็ 2 และเสาร์ที่ 4 ของเดือน เวลา 10.30 น.หากใครดู สามารถโทรสอบถามได้ และข่าวดีสำ� หรับใครทีต่ อ่ อายุ ไม่ทันก็สามารถดูย้อนหลังได้ทางเฟสบุ๊คเลยครับ สมาชิกเราจะมอบเข็มกลัด Halal Life สุดเท่หใ์ ห้ไปเลย

และนอกจากระบบสมาชิกรับ Halal Life ถึงบ้าน แล้ว ทางเรายังมีระบบสมาชิกอุปถัมภ์อีกด้วยนะครับ หากใครต้องการเป็นผู้สนับสนุนให้มัสยิดหรือโรงเรียน ใดมี Halal Life ไว้อ่าน ก็สามารถสมัครเป็นสมาชิก อุปถัมภ์แล้วทางเราจะจัดส่งไปให้ทุกๆ เดือนครับ เรื่องที่สาม เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมา Halal Life ได้ ไปร่วมออกบูธในงานมหกรรมชายแดนใต้ ทีส่ นามกีฬา หัวหมาก ถึงแม้ว่าตลอดสามวันของการจัดงานจะชุ่ม ช�่ำไปด้วยสายฝนจากความเมตตาของอัลลอฮ์ แต่บูธ ของเราก็อบอุน่ และคลาคล�ำ่ ไปด้วยผูอ้ า่ น สมาชิก และ มิตรสหายทีแ่ วะมาทักทายและอุดหนุนสินค้ากันไม่ขาด สาย โดยในงานนอกจากเราจะเอา Halal Life ฉบับ เก่าๆ ไปแจกแล้ว เรายังได้ท�ำเสื้อยืดสกรีนโลโก้ Halal

เรื่องที่ห้า ซึ่งเป็นเรื่องสุดท้ายที่อยากจะชี้แจงแล้ว ครับ สองสามเดือนทีผ่ า่ นมา Halal Life ของเราได้หนุม่ สาวไฟแรงมาช่วยงานถึงสีค่ น เป็นหนุม่ จาก มอ.ปัตตานี สองคน และอีกสองสาวจากราชมงคล คลองหก ทั้งสี่ คนเข้ามาฝึกงานกับ Halal Life ตามหลักสูตรวิชาทีท่ าง มหาวิทยาลัยก�ำหนด ถึงแม้ว่าเราจะเป็นองค์กรขนาด เล็กและยังไม่มีระบบการท�ำงานที่ชัดเจน แต่เมื่อเห็น ความตั้งใจของน้องๆทั้งสี่คนที่มุ่งตรงมาขอฝึกงานกับ Halal Life จึงท�ำให้เราไม่มเี หตุผลอะไรทีจ่ ะปฏิเสธ ช่วง เวลาสองสามเดือนที่น้องๆ กลุ่มนี้ฝึกงานกับเรา พวก เขาได้พบกับประสบการณ์การท�ำงานที่หลากหลาย ไม่ ว่าจะเป็นงานหนังสือกับ Halal Life งานทีวีกับ ยาตีม ทีวี รวมไปถึงงานค่ายเยาวชน กับมูลนิธิศรัทธาชนเพื่อ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า และถึงแม้ว่าน้องๆกลุ่มนี้จะ ยังเป็นเพียงนักศึกษา แต่เราก็ไม่เคยลังเลที่จะมอบ

หมายหน้าที่หรือภารกิจส�ำคัญให้กับพวกเขา เราเชื่อ ว่าการลงมือท�ำคือการเรียนรูท้ ดี่ ที สี่ ดุ เพราะเราเองกว่า จะมาถึงวันนี้ก็ล้วนมีจุดเริ่มต้นจากความไม่รู้เช่นกัน สิบปีกอ่ น ผมได้รบั โอกาสให้เข้าร่วมทีมท�ำนิตยสาร ฉบับหนึ่งทั้งๆ ที่ตัวผมและคนชวนต่างก็รู้กันดีว่าผมไม่ ความรู้และประสบการณ์ในด้านนี้เลยสักนิดเดียว แต่ ผมก็ได้รับโอกาสและไม่รีรอที่จะคว้าโอกาสนั้นมากอด ไว้อย่างเหนียวแน่นจนถึงทุกวันนี้ เช่นเดียวกันกับน้องๆ กลุ่มนี้ หากเรามองเห็นพวกเขาเป็นเพียงนักศึกษา ไม่ ยอมมอบโอกาสให้พวกเขาได้เรียนรู้จากการลงสนาม จริง โดยทีเ่ ราคอยเป็นพีเ่ ลีย้ งอยูห่ า่ งๆ เมือ่ ถึงเวลาทีพ่ วก เขาต้องก้าวไปเป็นผู้เล่นในสนามจริง อาจต้องพบเจอ กับเหตุการณ์นอกเหนือทฤษฎีทไี่ ม่เคยได้รำ�่ เรียนในชัน้ เรียนก็เป็นได้ - ประสบการณ์สำ� คัญพอๆกับความรูค้ รับ วิทยากร อิสมาแอล บรรณาธิการบริหาร halal.life.mag@gmail.com

ภาพปกโดย คอลิด เยนา 086-344-0291

Halal Life Magazine: บรรณาธิการบริหาร วิทยากร อิสมาแอล กองบรรณาธิการ ธนพัฒน์ อิสมาแอล, กอมารียะห์ สุเรรัตน์ คอลัมนิสต์ สุภาพ เรืองปราชญ์, สมคิด ลีวนั , อีซา นิยม, สมชาติ มิตรอารีย,์ สุทศิ า เหมเสริม, ปรีชา เริงสมุทร์ ศิลปกรรม ธนะ วงษ์มณี ผู้จัดการ วิลาสินี กันซัน ผู้จัดการ ฝ่ายการตลาด สิทธิศักดิ์ วงค์เกษร ฝ่ายโฆษณา สาโรช เรืองปราชญ์ นักศึกษาฝึกงาน มารวัน โต๊ะแม, มูหมัดซูไฮมิง มะเซ็ง, อรดา โต๊ะมางี, ลัญญุตา วงษ์ยุตติธรรม ติดต่อโฆษณา 085-984-9054, 086-890-6055 สมาชิกติดต่อ อัสมา กันซัน 086-890-6055 Website: www.halallifemag.com Email: hala.life.mag@gmail.com Facebook: facebook.com/halal.life.magazine ส�ำนักงานชั่วคราว 31/1 ซ.รามค�ำแหง 53 แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310

09

16

Halal กลางกรุง

07

เรื่อง : ลัญุตา / อรดา

าลาล” ถาพูดถึงคำๆ นี้ หลายคนอาจนึกถึงเพียงแคเรื่องอาหารการกิน แตในความเปนจริง “ฮาลาล” ไมใชแคเพียงอาหาร เพราะฮาลาลใน มีความหมายวา สิ่งที่อนุมัติ สิ่งที่อนุญาต สิ่งที่ถูกตอง เพราะฉะนั้นไมวาจะเปนการเดินทาง การศึกษา การทำงาน การพูดคุย และอื่นๆ มาย สิ่งตางๆ เหลานี้ลวนตองอยูบนหลักของคำวา “ฮาลาล” เชนกัน หากใครคนนั้นไดชื่อวาเปน มุสลิม ลายคนอาจคิดวาการใชชีวิตที่อยูบนพื้นฐานของคำวา “ฮาลาล” นั้นยากลำบาก ยิ่งการใชชีวิตแบบฮาลาลในเมืองหลวงอยางกรุงเทพฯ แลว อาจคิดถึงความยุงยากและความวุนวายเกินกวาที่จะทำได เวลาที่คุณออกนอกบานไมวาจะไปทำงาน ไปเที่ยว หรือไปไหนก็ตามแต มักจะมี ที่หลายคนเคยถามกับตัวเองวา แถวนี้มีรานมุสลิมมั้ย? ไดเวลาแลว แตจะละหมาดที่ไหนละ? ซึ่งไมแปลกที่จะมีคำถามเหลานี้ เพราะวาเราไมรู รานอาหารมุสลิมอยูมากมายในกรุงเทพฯ ไมรูวาหางสรรพสินคาหลายแหงมีหองละหมาด และไมรูวามีโรงแรม มีที่พักสำหรับมุสลิมอีกนับ

สองสามเดือนมานี้ มีนอ้ งๆ นักศึกษา มาฝึกงานกับฮาลาลไลฟ์ 4 คน เราจึงคุย กันว่า จะยกสกู๊ปหลักประจ�ำฉบับนี้ให้ น้องๆ กลุ่มนั้นได้แสดงฝีมือ และนี่เป็น ผลผลิตจากความตั้งใจของน้องกลุ่มนั้น พลิกไปชมฝีมือกันได้เลย

รใชชีวิตในเมืองกรุงแบบฮาลาลไมไดยากอยางที่คิด การดำเนินชีวิตของมุสลิมไมไดอยูบนความลำบาก ฉะนั้นทำฮาลาลใหเปนเรื่องงาย เพราะ าล มีได ไมยาก ฮาลาลไลฟฉบับนี้จึงขออาสานำพาผูอานไปทำความรูจักกับเศษเสี้ยวเล็กๆ ของสถานที่ตางๆ ที่จะชวยใหเราใชชีวิตแบบ ไดอยางงายดาย ในเมืองหลวงที่แสนวุนวายอยางกรุงเทพมหานครแหงนี้

Istanbul คือฝันครั้งล่าสุดของ มุ อาซ โยธาสมุทร เจ้าของร้านกาแฟหนุ่ม ที่เคยขึ้นปกฮาลาลไลฟ์เมื่อปีก่อน ทันที ทีเ่ รารูว้ า่ เขาก�ำลังสนุกอยูก่ บั การปลุกปัน้ ความฝันครั้งใหม่ร่วมกับพี่น้อง เราจึงไม่ รีรอที่จะขอสัมภาษณ์ 4

CSR คือ อะไร? หลายคนคงเคย ได้ยนิ ตามข่าวหน้าหนังสือพิมพ์ หรือตาม โทรทัศน์ เป็นค�ำที่พูดฮิตติดปากกันมาก HalBiz ฉบับนี้จะพาคุณไปมาท�ำความ รู้จักกับ CSR กัน


หยิบ

ได้ที่นี่

ร้านอาหารและเครื่องดื่ม

แบบฟอร์มสมัครสมาชิก นิตยสารฮาลาลไลฟ์

หมดปัญหา หยิบไม่ทัน หาไม่เจอ

สมั ค รสมาชิ ก แน่นอนกว่า

ข้าพเจ้า นาย นาง นางสาว......................................................... อายุ ........... ปี ที่อยู่ ................................................................................................................... ............................................................... รหัสไปรษณีย์ .................................... โทรศัพท์ ...................................... อีเมล์ .......................................................... การศึกษา มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาตรีขึ้นไป อื่นๆ อาชีพ พนักงานบริษัท รับราชการ,รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่วนตัว นักเรียน, นักศึกษา อื่นๆ มีความประสงค์จะสมัครสมาชิกนิตยสารฮาลาลไลฟ์ สมาชิก 1 ปี 12 ฉบับ 250 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่......... สมาชิกอุปถัมภ์ 1 ปี 12 ฉบับ 250 บาท เริ่มตั้งแต่ฉบับที่......... ให้กับห้องสมุด/มัสยิด......................................................................................... ที่อยู่ ................................................................................................................... ....................................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................. วิธีช�ำระค่าสมาชิก โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี นางสาว วิลาสินี กันซัน

ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนรามค�ำแหงเทพลีลา เลขที่บัญชี 902-0-06365-8

(ถ่ายเอกสารได้)

ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลล์ บางกะปิ เลขที่บัญชี 732-2-70060-8

5

ห้องอาหารโซเฟีย(คลองตัน) ร้านอาหารฟาฮาน่า(พระรามเก้า) สวนอาหารจันทร์เสี้ยว(มอเตอร์เวย์) ภัตตาคารสินธรสเต็กเฮ้าส์(รามค�ำแหง) ร้านอาหารเตอร์กเนื้อตุ๋น(ทาวน์อินทาวน์) โคบัง(รามค�ำแหง-สุขาฯ 3) Sti Coffee @ The Nine (พระรามเก้า) Istanbul @ Market Walk (ราชพฤกษ์) ร้านอาหารอีสานฝั่งธน(อรุณอัมรินทร์) ห้องอาหารนางพญา(พญาไท) @112 Coffee House (ลาดพร้าว 112) เมี่ยงปลาเผาหลังราม สาขาพระรามเก้า ร้านฮาลาลโฮม ซ.เทคโนบางกะปิ (บางกะปิ) แบ๊คยาร์ดคอฟฟี่ (ถ.สุโขทัย) ร้านข้าวหมกทรงเครื่อง (พัฒนาการ) ร้านฟารีดาโภชนา (เหม่งจ๋าย) ร้านดีโอโรตีโอ่ง (สุขาภิบาล 3) ธัชคาเฟ่ (สุทธิสาร) อะลาดิน ซูชิ (เหม่งจ๋าย)

ร้านหนังสือ

ศูนย์หนังสืออิสลาม (ศูนย์กลางอิสลาม คลองตัน) ศูนย์หนังสือมานพวงศ์เสงี่ยม (พระรามเก้า) ร้านหนังสือส.วงศ์เสงี่ยม (มหานาค) Halal Express(หนองจอก) ร้านอารีฟ เซ็นเตอร์ (มัสยิดสวนพลู)

โรงพยาบาล

รพ.ปิยเวช, รพ.กรุงเทพ, รพ.เสรีรักษ์, รพ.นวมินทร์, รพ.เวชธานี, รพ.บ�ำรุงราษฎร์

ธุรกิจบริการและโรงแรม ทรัพย์เจริญกรีนแลนด์ รีสอร์ท บางพลัด โรงแรมนิวเวิลด์ (บางล�ำพู) โรงแรมรีเจ้นท์ (รามค�ำแหง) โรงแรมชาลีนา (รามค�ำแหง) โรงแรมนูโว ซิตี้ (บางล�ำพู)

ธนาคารและสหกรณ์

เคาท์เตอร์ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยทุกสาขา สหกรณ์อิสลามสันติชน เครือข่ายสหกรณ์อิสลามภาคใต้

ต่างจังหวัด

ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (เชียงใหม่) ร้านอาหารบิสมิลลาฮ์ (แม่สาย) ร้านฟาด้า สเต๊กแอนด์คอฟฟี่ (อยุธยา) ร้านอาหารอิสลามดาวุดชา (กาญจนบุรี) ร้านมุนาซีร กาแฟสด&เค้ก พัทยา (ชลบุรี) ร้านอาหารชุกรี่ ปั๊ม ป.ต.ท. ท่าฉาง (สุราษฎร์ธานี) ห้องอาหารคุณสาหร่าย (ชุมพร) ร้านอาหารคุ้มราชา ควนโดน (สตูล) ศูนย์การค้าวงเวียนวินเทจ หาดใหญ่ (สงขลา) SAMI KITCHEN หาดใหญ่ (สงขลา) ร้านไก่ทอดบากุส (ปัตตานี) ร้านอาหารอาบูคอลี (ยะลา)


6


HalBiz

Hudhud somchart.mittaree@gmail.com

CSR กับ ซะกาต

CSR คือ อะไร? ท่านผู้อ่านคงเคยได้ยิน ตามข่าวหน้าหนังสือพิมพ์ หรือตามโทรทัศน์ ทีพ่ ดู ฮิตติดปากกันมาก วันนีเ้ ราจะมาท�ำความ รู้จัก CSR กัน CSR หรือ Corporate Social Responsibility แปลตรงตัวคือ ความรับผิดชอบของ กิจการที่มีต่อสังคม เป็นเครื่องมือการตลาด อย่างหนึง่ ในปัจจุบนั ทีช่ ว่ ยสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ี ให้กับกิจการ เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคม การส่งเสริม ด้านการศึกษา ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ฯลฯ ที่นอกเหนือไปจากการท�ำการตลาดโดย ทั่วไป เช่น ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัด จ�ำหน่าย และการส่งเสริมการขาย (4Ps) สมัยก่อนเจ้าของกิจการมองว่าการท�ำ CSR เป็นเรื่องที่ไม่จ�ำเป็น และฟุ่มเฟือย ถือเป็นค่าใช้ จ่ายอย่างหนึง่ ของกิจการ โดยมองว่ากิจการควร มุง่ เน้นการผลิตสินค้าให้มคี ณ ุ ภาพ ภายใต้ตน้ ทุน ที่ต�่ำที่สุด และขายให้ได้ราคาสูงที่สุด เจ้าของ กิจการจึงมองว่าทุกอย่างคือต้นทุน โดยลืมมอง ไปว่าต้นทุนบางอย่างคือ “การลงทุน”

สิ่งรอบตัวเองมากขึ้น จะเห็นได้จากการที่ใคร ก็ตามได้มีส่วนเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมช่วย เหลือสังคมก็จะได้รบั การยกย่อง ยกตัวอย่างเช่น วัยรุ่นที่รวมกลุ่มกันเพื่อปั้น EM Ball หรือกลุ่ม คนทีอ่ าสาไปแจกของให้กบั ผูป้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วม ซึ่งคนเหล่านี้รวมตัวด้วยความบริสุทธิ์ใจ แต่ อย่างไรก็ตามก็มักจะได้รับการสรรเสริญชื่นชม จากคนในสังคม ซึง่ ก็ไม่แตกต่างกัน หากกิจการ ใดท�ำกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน พัฒนาสังคมทีต่ วั เองอาศัยอยู่ ผลทีไ่ ด้ ก็คือ สังคมได้รับการพัฒนาในทางที่ดี และ กิจการก็จะได้รับการยกย่อง ชื่นชมจากคนใน สังคม ซึ่งก็ได้กันทั้งสองฝ่าย ถึงแม้ว่าจะต้องมี ค่าใช้จ่ายในการท�ำกิจกรรมก็ตาม แต่อย่างที่ กล่าวไว้ข้างต้นการท�ำ CSR คือการลงทุนที่ต้อง อาศัยเวลา

ภาคบังคับ โดยให้กับคน 8 กลุ่มในสังคม ได้แก่ คนขัดสน คนยากจน ผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว คน ดูแลซะกาต คนที่รับศาสนาใหม่ คนที่ท�ำงานใน หนทางของอัลลอฮฺ ทาส และคนเดินทาง ซึ่งจุด มุง่ หมายของซะกาตก็เพือ่ ช�ำระทรัพย์สนิ ทีห่ ามา ได้ให้สะอาด เพื่อให้สังคมได้มีความเกื้อหนุน ช่วยเหลือกัน และให้เกิดความเท่าเทียมกันทัง้ ผู้ ร�ำ่ รวยและผูท้ ยี่ ากจน ซึง่ จะเห็นได้วา่ มันคือการ มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมชัดๆๆ ซึ่งอิสลาม เราสั่งใช้ให้ท�ำมากว่า 1,400 ปีแล้ว ดังนั้นมุสลิมเรามีความล�้ำหน้ากว่ามากนัก ในเรื่องนี้ เพียงแต่เราจะท�ำอย่างไรให้สามารถ ผนวกกับกลยุทธ์ในการตลาดเพื่อสินค้าและ บริการของเราให้ได้ อาจมีประเด็นว่ามุสลิมไม่ ควรป่าวประกาศเมือ่ ท�ำการบริจาค โดยส่งเสริม ให้บริจาคมือขวาโดยที่มือซ้ายไม่รู้ (หมายถึง การปกปิดการบริจาคของตนเอง เพื่อให้เจตนา ของการบริจาคเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ใจมาก ที่สุด ไม่มีการโอ้อวด หรือ การต้องการได้หน้า เข้ามาแอบแฝง) แต่กิจการน่าจะสามารถท�ำได้ เพราะเป็นในนาม คณะบุคคล นิตบิ คุ คล องค์กร มูลนิธิ ซึ่งไม่ใช่บุคคล การมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ต่อสังคมก็เพื่อส่งเสริมให้คนอื่นร่วมมามีส่วน ช่วยเหลือสังคมด้วย ยกตัวอย่างเช่น บริษัทฮา ลาล จ�ำกัด บริจาคสินค้าแบรนด์ของตนเองเพือ่ ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ซึ่งสิ่งที่บริษัทจะได้ กลับมาสิง่ แรก อินชาอัลลอฮ์ คือ ผลบุญจากพระ องค์อัลลอฮ กล่าวคือ พนักงานทุกคนในบริษัท มีสว่ นท�ำบุญ ประการทีส่ องคือ บริษทั ได้รบั การ ยอมรับชื่นชมจากผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือ และ จะส่งผลดีต่อภาพลักษณ์ของบริษัทในประการ ต่อมา สิ่งที่ผู้คนชื่นชมไม่ใช่ตัวบุคคลแต่เป็น องค์กรธุรกิจ อาจไม่มีผู้บริจาคคนใดได้รับการ ประกาศชื่อด้วยซ�้ำไป และท้ายที่สุดบริษัทฮา ลาล จ�ำกัดมีส่วนผลักดันให้บริษัทมุสลิมอื่นๆ อยากจะออกมามีส่วนช่วยเหลือสังคมเช่นกัน

ส�ำหรับมุสลิมเรา ผมว่าเราท�ำ CSR มานาน มาแล้วนะ เพราะสังคมของเราถือว่า “มุสลิม เป็นพีน่ อ้ งกัน เปรียบประดุจเรือนร่างเดียวกัน” ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการช่วยเหลือสังคม หรือการ เป็ น มื อ บน เป็ น เรื่ อ งที่ เราถู ก ปลู ก ฝั ง กั น มา นมนานแล้ว ก่อนฝรั่งมังค่าจะตั้งทฤษฎีแนวคิด CSR ถื อ เป็ น การลงทุ น ในรู ป แบบหนึ่ ง CSR ขึ้นมาอีก เพราะเมือ่ เสียเงินไปเพือ่ จัดกิจกรรม CSR ในวัน พี่น้องคงไม่เถียงนะครับว่า เมื่อเวลาพี่น้อง นี้ สิ่งที่ได้กลับมาไม่ใช่วันนี้ในทันทีเหมือนการ ขายสินค้า แต่เหมือนการเพาะปลูกซึ่งต้องใช้ มุสลิมเราเดือดร้อนไม่ว่าจะเป็น ประสบภัย เวลาในการเก็บเกี่ยวดอกผลในอนาคต สิ่งที่ได้ สงคราม ความไม่สงบในประเทศ แม้จะอยู่ใน กลับมาคือ ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร ความ ต่างประเทศ เราก็มีน�้ำจิตน�้ำใจในการละหมาด จงรักภักดีต่อแบรนด์และสินค้านั้น ความภาค ขอพรให้ หรือรวบรวมปัจจัยต่างๆ ส่งไปให้ เวลา ภู มิ ใจของพนั ก งานในองค์ ก ร และอื่ น ๆ อี ก ที่พี่น้องเราประสบไฟไหม้ในชุมชนต่างๆ เรา มากมาย ซึ่งผลตอบแทนที่ได้กลับมาจะเห็นว่า สามารถระดมเงินบริจาคเพือ่ ช่วยเหลือพีน่ อ้ งเรา ไม่ใช่ตวั เงิน แต่มคี ณ ุ ค่าทางจิตใจมากกว่าตัวเงิน ได้อย่างรวดเร็ว เมื่อเดือนรอมฎอนมาถึงพี่น้อง มากมายมหาศาล ซึ่งท้ายที่สุดก็จะส่งผลให้ ของเราทีม่ ฐี านะดีพร้อมทีจ่ ะร่วมรับเป็นเจ้าภาพ กิจการสามารถขายสินค้าได้ และมีก�ำไรในที่สุด เลี้ยงละศีลอดต่อพีน้องของเราที่ยากล�ำบาก และอืน่ ๆ อีกมากมาย ทีเ่ ราได้รว่ มรับผิดชอบต่อ ทุกวันนีผ้ บู้ ริโภคมีพฤติกรรมและทัศนคติที่ สังคมมาช้านาน จากหลักการทั้งกุรอานและ เปลีย่ นไปมาก เช่น ใส่ใจในการรักษาสิง่ แวดล้อม ฮะดีสที่เป็นค�ำสอนของเรา มากขึ้น การประหยัดพลังงานในรูปแบบต่างๆ ไม่แน่นะครับ ต่อไปเราอาจจะได้เห็นการท�ำ CSR ที่มุสลิมเราท�ำมานมนานแล้วอีกรูป การมีจิตอาสาที่เข้ามาช่วยเหลือสังคม ซึ่งคน CSR ของบริษัทมุสลิมมากยิ่งขึ้น ซึ่งที่จริงก็เป็น เหล่านี้เป็นคนรุ่นใหม่ที่มีความรักและเอาใจใส่ แบบหนึง่ คือการท�ำซะกาต หรือการบริจาคทาน สิ่งที่ทำ� อยู่แล้วในอีกรูปแบบหนึ่งเท่านั้นเอง 7


พื้นที่โฆษณาราคาถูก โทร. 086-890-6055 8


Halal กลางกรุง เรื่อง : ลัญุตา / อรดา

“ฮาลาล” ถาพูดถึงคำๆ นี้ หลายคนอาจนึกถึงเพียงแคเรื่องอาหารการกิน แตในความเปนจริง “ฮาลาล” ไมใชแคเพียงอาหาร เพราะฮาลาลใน อิสลาม มีความหมายวา สิ่งที่อนุมัติ สิ่งที่อนุญาต สิ่งที่ถูกตอง เพราะฉะนั้นไมวาจะเปนการเดินทาง การศึกษา การทำงาน การพูดคุย และอื่นๆ อีกมากมาย สิ่งตางๆ เหลานี้ลวนตองอยูบนหลักของคำวา “ฮาลาล” เชนกัน หากใครคนนั้นไดชื่อวาเปน มุสลิม หลายคนอาจคิดวาการใชชีวิตที่อยูบนพื้นฐานของคำวา “ฮาลาล” นั้นยากลำบาก ยิ่งการใชชีวิตแบบฮาลาลในเมืองหลวงอยางกรุงเทพฯ แลว บางคนอาจคิดถึงความยุงยากและความวุนวายเกินกวาที่จะทำได เวลาที่คุณออกนอกบานไมวาจะไปทำงาน ไปเที่ยว หรือไปไหนก็ตามแต มักจะมี คำถามที่หลายคนเคยถามกับตัวเองวา แถวนี้มีรานมุสลิมมั้ย? ไดเวลาแลว แตจะละหมาดที่ไหนละ? ซึ่งไมแปลกที่จะมีคำถามเหลานี้ เพราะวาเราไมรู ไมรูวามีรานอาหารมุสลิมอยูมากมายในกรุงเทพฯ ไมรูวาหางสรรพสินคาหลายแหงมีหองละหมาด และไมรูวามีโรงแรม มีที่พักสำหรับมุสลิมอีกนับ ไมถวน การใชชีวิตในเมืองกรุงแบบฮาลาลไมไดยากอยางที่คิด การดำเนินชีวิตของมุสลิมไมไดอยูบนความลำบาก ฉะนั้นทำฮาลาลใหเปนเรื่องงาย เพราะ ชีวิตฮาลาล มีได ไมยาก ฮาลาลไลฟฉบับนี้จึงขออาสานำพาผูอานไปทำความรูจักกับเศษเสี้ยวเล็กๆ ของสถานที่ตางๆ ที่จะชวยใหเราใชชีวิตแบบ ฮาลาลๆ ไดอยางงายดาย ในเมืองหลวงที่แสนวุนวายอยางกรุงเทพมหานครแหงนี้

9


10


11


12


13


14


15


16


มนต์เสน่ห์แห่งความหลงใหล ความหอม ยังไม่ เสือ่ มคลาย มาวันนีก ้ อ่ ตัวขึน ้ ใหม่ภายใต้ความอบอุน ่ ที่ Istanbul Cafe @ Market Walk หากคุณเป็นคนหนึ่งที่มีไลฟ์สไตล์ แบบนี้ มีเวลาว่าง ช่าง สรรหา ชอบบรรยากาศอบอุน่ หลงใหลในกลิน่ หอมของกาแฟ วันนี้เรามีร้านใหม่มาขอแนะน�ำ ร้านนี้อบอวลไปด้วยความ อบอุน่ ให้บรรยากาศแบบบ้านในสไตล์ อาหรับตุรกี และยุโรป ซึ่งเป็นส่วนผสมของศิลปะที่สวย งามและลงตัว อีกหนึ่งร้าน ที่คุณไม่ควรพลาด “Istanbul” เอ่ยถึง “Istanbul” หลายคนคงนึกถึงเมืองส�ำคัญที่มี ความพิเศษ เพราะเป็นเพียงเมืองเดียวในโลกที่ตั้งอยู่ใน 2 ทวีป คือทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย แหล่งรวมอารยธรรมที่มี มายาวนานและทรงคุณค่า งดงามด้วยศิลปะที่เกิดการผสม ผสานที่ลงตัว กลายเป็นความงดงามที่ถูกขนามนามถึงความ มีเสน่ห์ ด้วยความทีต่ อ้ งการผสมผสานเพือ่ สือ่ ถึงอัตลักษณ์ ความ เป็นมุสลิม กับความทันสมัยและสากล ผสมผสานอย่างลงตัว กลายเป็น ร้าน Istanbul ภายใต้การดูแลของ 3 พี่น้อง คุณ อรอุมา คุณมาริษา และคุณมุอาซ โยธาสมุทร รวมทัง้ ทีป่ รึกษา ผู้ใกล้ชิดอย่าง คุณพ่อมนตรี และคุณแม่อุษา โยธาสมุทร จุดเด่นที่อิสตันบูลแตกต่างจากร้านกาแฟอื่นๆ คือสไตล์ การตกแต่ ง ร้ า นที่ ไ ม่ เ หมื อ นใคร ด้ ว ยศิ ล ปะที่ ผ สมผสาน สวยงามลงตัว บรรยากาศให้ความอบอุ่นเหมือนบ้าน ที่เรา สามารถมานั่งสบายๆ ผ่อนคลายอารมณ์กับกลิ่นหอมของ กาแฟเอสเพรสโซ ที่คัดเลือกวัตุดิบชั้นดี พิถีพิถันในขั้นตอน การชง เพิม่ รสชาดให้กบั กาแฟถ้วยโปรดของคุณได้เป็นอย่าง ดี หรือจะเลือกหอมกรุ่นกับกาแฟนมแพะ อีกหนึ่งเมนูที่จะ ขอแนะน�ำ เพียงได้มาลองชิมแล้วคุณจะติดใจ นอกจากนี้ยัง

มี ฮาเซนัสลาเต้ บานาน่าแฟร้ปเป้ หรือจะรักสุขภาพกับนม แพะสด ก็ได้ พูดถึงเมนูอาหาร Istanbul ใส่ใจทุกขัน้ ตอนการผลิต คุณ อรอุมาพีส่ าวคนโตบอกว่า “เพราะทีบ่ า้ นเราเป็นคนทีใ่ ห้ความ สนใจในเรื่องอาหารการกิน คุณแม่เองก็มีฝีมือในการท�ำ อาหาร ส่วนกาแฟเป็นความชอบและความหลงใหลของมุอาซ ก็เลยเลือกที่จะเปิดร้านกาแฟมาคู่กับร้านอาหาร”

17

“บรรยากาศการท�ำงานของเราอบอุ่นมาก ค่ะ เพราะเป็นครอบครัว มีอะไรเราก็จะคุยกัน ใครถนั ด อะไรท� ำ อย่ า งนั้ น เคารพกั น ให้ เกียรติกน ั เป็นการท�ำงานทีม ่ ค ี วามสุขมาก”


“เราน�ำเสนออาหารเป็นสไตล์เมติเตอร์เรเนี่ยน ไม่ใช่ อาหารมุสลิมทีท ่ านแล้วเลีย ่ นมันเยิม ้ เหมือนทีเ่ ราเคยเจอ ร้านเราจะเน้นความสดของผัก ความสดของเนื้อสัตว์ เราจะไม่ใช้เนื้อสัตว์มากนัก จะเน้นไปทางผักและส่วน ประกอบทีมีประโยชน์ต่อสุขภาพ แล้วที่ส�ำคัญอาหาร ของเราเป็นอาหารโฮมเมดและไม่ใช้ผงชูรสเลย”

“เราน�ำเสนออาหารเป็นสไตล์เมติเตอร์เรเนี่ยน ไม่ใช่ อาหารมุสลิมทีท่ านแล้วเลีย่ นมันเยิม้ เหมือนทีเ่ ราเคยเจอ ร้าน เราจะเน้นความสดของผัก ความสดของเนื้อสัตว์ เราจะไม่ใช้ เนื้อสัตว์มากนัก จะเน้นไปทางผักและส่วนประกอบทีมี ประโยชน์ต่อสุขภาพ แล้วที่ส�ำคัญอาหารของเราเป็นอาหาร โฮมเมดและไม่ใช้ผงชูรสเลย” เมนูเด็ดของร้านที่จะขอน�ำเสนอ ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของ ลูกค้ามาก คือ ชาวัรม่า โรตีแกง ซาโมซา สลัดแขก เกี๊ยวซ่า มีอีกหลากหลายเมนูเอาใจคนทุกวัย รสชาดไม่เป็นรองใคร มุอาซ น้องชายคนเล็กบอกว่า “อยากให้ร้านนี้มีเอกลักษณ์ที่ แสดงถึงความเป็นมุสลิม ในรูปแบบทีเ่ ป็นสากล เรือ่ งของเมนู ต่างๆ ก็เลือกจากพื้นฐานของเรา ว่ามุสลิมมีอะไรดี แล้วไป เอาจากชุมชนต่างๆ มา อย่างซาโมซา ก็มาจากบางกอกน้อย โรตีโอ่งก็อดุ หนุนพีน่ อ้ งเรา แถวคลองหนึง่ เราก็เอามาปรับให้ เป็นแบบอิสตันบูล มันท�ำให้คนมองว่ามุสลิมไม่ได้มีดีแค่ข้าว หมก คนจะบอกว่า มีแบบนี้ด้วยเหรอ นี่แหละคืออัตลักษณ์ ของเรา” “เมนูที่นี่จะหาทานยาก และเป็นเมนูคุณภาพ เพราะท�ำ เองที่บ้าน ที่บ้านทานกันอย่างไรที่ท�ำขายอย่างนั้นใช้วัตถุดิบ

18


ชั้นดี ที่ส�ำคัญราคาไม่แพง เพราะคุณแม่ให้เยอะมาก” คุณ มาริษาพีส่ าวคนกลางเล่าถึงเมนูทไี่ ด้รบั การตอบรับจากลูกค้า เป็นอย่างดี สิ่งที่ Istanbul จะให้ความส�ำคัญคือเรื่องคุณภาพ ความ สะอาด และการบริการที่ใส่ใจ มาที่ร้านนี้อบอุ่นเหมือนมา เที่ยวที่บ้านเพื่อน บ้านญาติเลยค่ะ จากจุดเริ่มต้นของความฝันที่เกิดจากการหลงใหลของ มุอาซ วันนี้เขาบอกกับเราว่า “อัลฮัมดุลิ้ลละห์” เขาประสบ ความส�ำเร็จเพราะเขาได้ท�ำตามความฝันแล้ว และวันนี้กับ การเดินทางครั้งใหม่ที่มีความอบอุ่นเพราะเป็นงานที่ท�ำร่วม กับสมาชิกในครอบครัวที่ทุกคนมีส่วนร่วม “บรรยากาศการ ท�ำงานของเราอบอุน่ มากค่ะ เพราะเป็นครอบครัว มีอะไรเรา ก็จะคุยกัน ใครถนัดอะไรท�ำอย่างนั้น เคารพกัน ให้เกียรติกัน เป็นการท�ำงานที่มีความสุขมากค่ะ” คุณอรอุมากล่าวเสริม “ร้าน Istanbul เกิดจากคุณพ่อมีวิสัยทัศน์ที่อยากจะให้ ลูกๆได้หดั ท�ำธุรกิจด้วยตัวเอง อันนีก้ เ็ ป็นงานแรกทีเ่ ราหัดท�ำ ด้วยตัวเอง ในอนาคตอยากเปิดอีกสาขาหนึ่งเพื่อต่อยอด อัน นีก้ เ็ ปรียบเสมือนโรงเรียนอนุบาลของเรา ในอนาคตทีต่ งั้ ใจไว้ อยากจะมีแฟรนไชน์ เราอยากจะสร้างแบรนด์ที่เป็นของเรา

ถ้ามีพนี่ อ้ งทีอ่ ยากจะร่วมกับเรา เราก็ยนิ ดี อยากให้เป็นธุรกิจ ของพี่น้องมุสลิมอีกตัวนึงที่ทุกระดับสามารถทานได้” มุอาซ กล่าวทิ้งท้าย Istanbul อีกหนึง่ ร้านทีข่ อแนะน�ำ ร้านอบอุน่ ด้วยบรรกา ยาศแบบมิตรภาพ อบอวลไปด้วยวัฒนธรรมและอาหารแบบ อิสลาม ที่คุณไม่ควรพลาดที่จะไปลิ้มลอง 10.00-21.00 น. แวะไปได้ที่ Istanbul ตัง้ อยูท่ ี่ ศูนย์การค้า Market Walk ราชพฤกษ์ วงเวียนนครอินทร์ สอบถามเส้น ทางและรายละเอียดได้ที่ 087-685-5503, 081-700-4721 หรือเข้าไปเยี่ยมชมออนไลน์กันก่อนที่ www.facebook.com/IstanbulCafeAtMarketWalk

19


YATEEM TV เข้าเยี่ยมจุฬาราชมนตรี ประมวลภาพ ยะตีมสัญจร จ.ปัตตานี

คณะของมูลนิธศิ รัทธาชนเพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้าและย น�ำโดย ผู้กองฟารุก ไวยศิลป์ ประธานมูลนิธิฯ เข้าเยี่ยม ฯพณ จุฬาราชมนตรี อาศิษ พิทักษ์คุมพล ณ มัสยิดกลางจังหวัดสงขลา ฟังโอวาทในการท�ำงานช่วยเหลือเด็กก�ำพร้า นอกจากนีท้ า่ นจุฬาร ยังร่วมบริจาคให้เด็กก�ำพร้าผ่านมูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษา ก�ำพร้าด้วย

01

03

ยะตี ม ที วี จั ด อุ ม เราะห์ พาพี่ น ้ อ ง มุสลิมไปที่ดูไบและไปท�ำอุมเราะห์ที่ ประเทศซาอุดิอาระเบีย

ยะตีมสัญจร บ้านควนโดน จ.สตูล มอบทุนให้เด็กก�ำพร้า 20


เข้าช่วยเหลือพี่น้องชุมชนมัสยิด บ้ า นสมเด็ จ อิ ส ระภาพ15 ที่ ไ ด้ รั บ ความเสียหายจากเพลิงไหม้ อัคคีภัย สร้างความเสียหายบ้านเรือนจ�ำนวน 6 หลัง / 8-3 มอบเงินช่วยเหลือ พี่น้อง ชุมชนมัสยิดบ้านสมเด็จ อิสระภาพ15 ที่ได้รับความเสียหายจากเพลิงไหม้ จ�ำนวน 210,000 บาท

ยาตีม ทีวี ณฯ ท่าน า เพื่อรับ ราชมนตรี าและเด็ก

02

04

ดาวเทียม THAICOM 5 C-Band ความถี่ 3585 V Symbol Rate : 30000 หรือดูออนไลน์ได้ที่ www.Yateem.tv

05

(ภาพ 01) ยะตีมสัญจร หน้ามัสยิดกลาง จ.ปัตตานี พร้อมมอบทุนเด็กก�ำพร้า 100 คน (ภาพ 02) ยะตีมสัญจร โรงเรียนบ�ำรุงอิสลาม บราโอ จ.ปัตตานี พร้อมมอบทุนเด็กก�ำพร้า 300 คน (ภาพ 03 - 04) ยะตีมสัญจร มหาวิทยาลัย อิสลามยะลา หอประชุมวัน มูฮัมหมัด นอร์มะทา พร้อมบรรยายพิเศษโดย ดร.อิสมาแอลลุตฟี่ จะปะกียา (ภาพ 05) เข้าเยี่ยมมูลนิธิส่งเสริมจริยธรรม ปัตตานี มอบทุนเด็กก�ำพร้า

ท่ า นคื อ คนส� ำ คั ญ ที่ จ ะร่ ว ม สานฝันให้เด็กก�ำพร้า ร่วมสานฝันโดยบริจาคเงินเข้าบัญชี

ธนาคารกรุงเทพ สาขาลาดพร้าว 99 บัญชีกระแสรายวัน ชือ่ บัญชี มูลนิธศิ รัทธาชน เพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า เลขที่บัญชี 181-3-09014-7 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา คลองตั น บั ญ ชี ก ระแสรายวั น ชื่ อ บั ญ ชี มูลนิธิศรัทธาชน เพื่อการศึกษาและเด็ก ก�ำพร้า เลขที่บัญชี 001-6-00162-1

นักจัดรายการวิทยุภาคมุสลิม ปัตตานีและยะลา มูลนิธิส่งเสริมจริยธรรมปัตตานีร่วมกับ สถาบันอัสลาม มหาวิทลัยอิสลามยะลา เข้าเยี่ยมการท�ำงานของยาตีมทีวี 21

หรือติดต่อส�ำนักงานมูลนิธิฯ 48/48 ซ.ลาดพร้ า ว 114 แขวงพลั บ พลา เขต วังทองหลาง กทม. 10310 โทรศัพท์ 02-934-3495 โทรสาร 02934-3496 อีเมล satthachon@hotmail.com เว็บไซต์ www.satthachon.org เฟซบุค www.facebook.com/satthachon


22


23


24


25


Health

ดาวุด ทับอุไร

การดื่มน�้ำเย็นเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่

สุขสาระ ปีที่ 9 ฉบับที่ 101 ประจ�ำเดือนพฤษภาคม 2555

บทความฉบับนี้ผมเขียนขึ้นด้วยความสงสัยว่าการดื่มน�้ำเย็น เป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่ เพราะแหล่งข้อมูลที่ได้รับรู้มาได้ กล่าวไว้ทงั้ โทษและคุณประโยชน์ของการดืม่ น�ำ้ เย็น ซึง่ เกิดความขัด แย้งกันระหว่าง 2 ประเด็น ดังกล่าว ดังนั้นสุขสาระฉบับนี้ผมขอน�ำ เสนอข้อมูลของการดื่มน�้ำเย็น ว่ามีอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่ โดย เริ่มจากอันตรายจากการดื่มน�้ำเย็น โดยเฉพาะหลังจากการรับ ประทานอาหารในแต่ละมื้อ

การดื่มน�้ำเย็นเป็นผลดีด้วยซ�้ำ เพราะจะช่วยเผาผลาญไขมันใน ร่างกาย เนือ่ งจากร่างกายต้องใช้พลังงานในการท�ำให้นำ�้ อุน่ ขึน้ โดยน�ำ้ 1 แก้ว จะช่วยเผาผลาญไขมันประมาณ 9 กิโลแคลอรี ถ้าเราดื่มน�้ำ 8 แก้ ว ก็ จ ะเผาผลาญไขมั น ได้ ถึ ง 70 กิ โ ลแคลอรี เ ลยที เ ดี ย ว นั่ น ก็ หมายความว่า ยิง่ ดืม่ น�้ำมาก ก็จะยิ่งช่วยลดความอ้วน แต่ในคนที่ก�ำลัง ลดความอ้วน ลดปริมาณอาหารแต่ลืมดื่มน�้ำ ต้องระวัง เพราะน�้ำหนัก จะไม่ลง เพราะน�้ำคือตัวช่วยท�ำให้ไขมันสลายเร็วขึ้นนั่นเอง

อันตรายของการดื่มน�้ำเย็นหลังอาหารก็คือ มันจะท�ำให้บรรดาไข มันที่เราเพิ่งจะกินเข้าไปนั้นจับตัวเป็นไขขึ้นมาอันจะท�ำให้การย่อย อาหารช้าลง อีกทัง้ คราบไขมันเหล่านีจ้ ะเข้าไปท�ำปฏิกริ ยิ ากับกรด โดย มันจะแตกตัวแล้วจะถูกดูดซึมไปที่ล�ำไส้ ซึ่งไขมันที่แตกตัวนี้จะดูดซึม ได้เร็วกว่าอาหารทั่วไป...แล้วก็จะเริ่มเคลือบล�ำไส้ของเราไว้ และในไม่ ช้ามันก็จะแปรสภาพเป็นไขมันก้อนๆ และเป็นบ่อเกิดของมะเร็งในทีส่ ดุ

จะเห็นได้ว่า ไม่ว่าจะดื่มน�้ำเย็น น�้ำร้อน หรือน�้ำอุณหภูมิปกติ ก็ ไม่มีปัญหาอะไร หลักการง่ายๆ คือ น�้ำเย็น ควรดื่มเวลาออกก�ำลังกาย จะดูดซึมเร็ว แต่มีข้อห้ามในผู้หญิงที่มีประจ�ำเดือน ไม่ควรดื่มน�้ำเย็น เพราะจะยิง่ ท�ำให้ปวดท้องมากขึน้ ส่วนน�ำ้ อุน่ ควรดืม่ เพือ่ กระตุน้ ล�ำไส้ ท�ำให้ล�ำไส้บีบตัวดี เช่น เวลาท้องเสีย เจ็บคอ เป็นหวัด

จึงควรดื่มน�้ำอุ่น หรือ น�้ำในอุณหภูมิห้องตามปกติหลังอาหารเป็น ดีทสี่ ดุ มีผลรับรองในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์วา่ ดีกว่า การดืม่ เครือ่ ง ดื่มเย็น หรือ น�้ำเย็นหลังรับประทานอาหารอย่างแน่นอน อีกหนึง่ แนวคิดทีผ่ เู้ ขียนต้องการน�ำเสนอคือแนวคิดทีแ่ ตกต่างจาก นัน้ คือ การดืม่ น�ำ้ เย็นไม่เป็นอันตรายอย่างทีค่ ดิ เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ นพ.กฤษ ดา ศิรามพุช ผอ.ศูนย์เวชศาสตร์ อายุรวัฒน์นานาชาติ อธิบายว่า ความ จริงการดื่มน�้ำเย็นหลังอาหาร คงไม่เป็นอันตรายถึงขั้นท�ำให้ไขมันจับ ตัวเป็นไข เป็นก้อนขนาดนั้น เพราะปกติอุณหภูมิร่างกายคนเราอยู่ที่ ประมาณ 37 องศาเซลเซียส น�้ำที่เราดื่มเข้าไปถึงจะเย็นแต่ร่างกายเรา ร้อนอยูแ่ ล้ว ก็จะเปลีย่ นให้เป็นน�ำ้ อุน่ ๆอยูด่ ี ไขมันกว่าจะจับกันเป็นก้อน แข็งต้องอาศัยอุณหภูมเิ หมือนอยูใ่ นตูเ้ ย็น 3-4 องศาเซลเซียส กรณีการ ดื่มน�้ำเย็นจึงไม่เป็นอันตรายอย่างที่คิด ถ้าถามว่าเราควรจะดืม่ น�ำ้ เย็นหรือน�ำ้ อุน่ ดี ก็ตอ้ งขอเรียนว่า น�ำ้ เย็น จะช่วยเติมน�้ำให้ร่างกายได้ดีกว่าน�้ำอุ่น เพราะว่าน�้ำเย็นดูดซึมได้เร็ว กว่า ตรงนี้เป็นข้อมูลจากสถาบันวิทยาศาสตร์การกีฬาของสหรัฐฯเขา บอกเลยว่าน�้ำที่ควรจะดื่มถ้าอยากให้สดชื่น ออกก�ำลังกายได้อึดขึ้น อุณหภูมิควรอยู่ที่ประมาณ 15-22 องศาสเซลเซียส หรือง่ายๆคือ ให้ ดื่มน�้ำที่อุณหภูมิต�่ำกว่าอุณหภูมิร่างกาย

ส่วนแนวทางการดื่มน�้ำของท่านนบีมุฮัมมัด ซ็อลฯ ในหนังสือการ แพทย์ตามแนวทางของท่านศาสดามุฮัมมัด ซ็อลฯ ที่ประพันธ์โดย อิบ นิกอยยิม อัลเญาซียะห์ ได้กล่าวเกี่ยวกับเครื่องดื่มที่ท่านนบีมุฮัมมัด ซ็อลฯ ชอบดื่ม โดยพระนางอาอีชะห์ รด. ได้รายงานว่า “เครื่องดื่มที่ ท่านนบี ซ็อลฯ ชอบก็คอื เครือ่ งดืม่ ทีห่ วานและเย็น” (ซอเฮียะห์อะหมัด, 38/6) เครื่องดื่มที่เป็นของหวานและให้ความเย็นด้วยนั้นเป็นสิ่งที่มี ประโยชน์กับร่างกายเป็นการรักษาสุขภาพที่ดีที่สุด ท�ำความชุ่มชื่นให้ กับจิตใจ ตับ และหัวใจ เป็นสิ่งที่หัวใจและตับชอบมาก ท�ำให้มันเข้า สูส่ มดุลได้ ยิง่ ถ้าหากมีสองลักษณะร่วมกันคือทัง้ ความหวานและความ เย็นแล้วจะเพิ่มคุณค่าทางอาหารมากขึ้น ท�ำให้อาหารถูกน�ำไปใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและให้ประโยชน์อย่างสมบูรณ์ น�้ำเย็นฉ�่ำ จะดับอันตรายของความร้อนได้ท�ำให้ร่างกายโดยรวมชุ่มชื่น ช่วย ทดแทนน�้ำที่ถูกใช้ออกไปจากร่างกาย ท�ำให้อาหารอ่อนนุ่มลงมากขึ้น ช่วยขับเหงื่อให้ออกมากขึ้น จากข้ อ มู ล ทั้ ง หมดที่ ผู ้ เขี ย นได้ น� ำ เสนอนั้ น ผู ้ อ ่ า นจะต้ อ งใช้ วิจารณญาณให้ดีในการตัดสินใจปฏิบัติตาม เนื่องจากข้อมูลที่กล่าวมา มีหลักฐานทีม่ าของข้อมูลทีต่ า่ งกัน แต่สงิ่ หนึง่ ทีเ่ ราควรปฏิบตั ติ ามอย่าง ยิ่ง คือแนวทางของท่านนบี ซ็อลฯ เพราะท่านรักสิ่งที่ดี ท่านจึงแนะน�ำ ให้ประชาชาติของท่านในสิ่งที่ดีกว่าทั้งโลกนี้และโลกหน้า

แหล่งที่มา: จากหนังสือการแพทย์ตามแนวทางศาสดามุฮัมหมัด ไม่มีงานวิจัยฉบับไหนเลย ที่บอกว่าดื่มน�้ำเย็นแล้วจะเป็นมะเร็ง เรื่องการดื่มน�้ำเย็นในลักษณะนี้มีการบอกต่อกันไปทั่ว แม้แต่ในต่าง ซ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม เขียนโดยอิบนิกอยยิม อัลเญาซียะห์ แปล ประเทศ ดูเหมือนจะเป็น วิชาการ แต่กลับไม่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ โดย นพ.กษิดิษ ศรีสง่า จัดพิมพ์โดยแผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิม มารองนับท�ำให้คนกลัวกันมาก ดังนัน้ คนทีไ่ ด้รบั ข่าวสารดังกล่าวจะต้อง ไทย มูลนิธิสร้างสุขมุสลิมไทย (สสม.) ใช้วิจารณญาณให้ดี 26


27


28


ให้ความรัก ความเมตตา ให้โอกาสทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต ท่านคือคนหนึ่งที่มีส่วนสำ�คัญในการร่วมดูแลเด็กกำ�พร้า กับเราโดยการบริจาคเงินเข้าบัญชี ธนาคารกรุงเทพ สาขาพัฒนาการ ประเภทบัญชีกระแส รายวัน ชื่อบัญชี สุภาพ-ไพทูล-สมบัติ เลขบัญชี 198-306249-6 หรือติดต่อ มูลนิธิสภายุวมุสลิมโลก สำ�นักงานประเทศไทย 7/70 หมู่ 4 ซอยอ่อนนุช 59 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ 02-321-7061 โทรสาร 02-321-7062 อีเมล์ wamythai@gmail.com yateem.wamythai@gmail.com เว็บไซต์ wamythai.org ติ ด ต่ อ บริ จ าคร้ า นอาหารและบริ จ าคกระเช้ า ละศี ล อดเพื่ อ น้ อ ง กำ�พร้า ชุดละ 500 บาท โทร. 086-699-1570 , 02-321-7007-9

เชิญรับฟังวิทยุวามีย์ ทุกวันจันทร์ถึงวันเสาร์ AM 1251 KHz เวลา 17.00-18.00 น.

วามี่ย์จัดสอบชิงทุนสำ�หรับน้องกำ�พร้า เป็นครั้งแรกสำ�หรับโครงการสานฝันให้น้องกำ�พร้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย ที่จัดให้มีการสอบชิงทุน การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย โดยได้จัดให้มีการสอบใน 2 สนามสอบ คือ 1. สนามสอบ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาคาร จ.สงขลา ผู้เข้าสอบจำ�นวน 5 คน สอบเมื่อวันเสาร์ ที่ 9 มิถุนายน 2555 2. สนามสอบ ณ สภายุวมุสลิม สำ�นักงานประเทศไทย กรุงเทพมหานคร ผู้เข้าสอบจำ�นวน 5 คน สอบเมื่อวันอาทิตย์ที่ 10 มิ.ย. 2555 ที่ผ่านมา ผลการสอบ มีดังต่อไปนี้ 1. นางสาวนิบรอส ภัทรนันทกุล ม.พระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาตกแต่งภายใน 2. นายมูฮำ�หมัด อูมา ม.อ.หาดใหญ่ คณะแพทยศาสตร์ สาขากายภาพบำ�บัด 3. นายอับดลฮาลีม องศารา ม.เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมสำ�รวจ 4. นางสาวมาริสา บินรัตแก้ว ม.อิสลามยะลา คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนอิสลามศึกษา 5. นางสาวลัดดา สมานเพ็ชร ม.เกษมบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ สาขาธุรกิจการบิน 6. นางสาวอาลีนา บุญมาเลิศ สถาบันพละศึกษาวิทยาเขตกรุงเทพ คณะศึกษาศาสตร์ สาขาพละศึกษา 7. นายชานนท์ บุญประเสริฐ ม.พะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 29


30


31


32


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.