Green Network Issue 99

Page 1

ISSUE 99 : May-June 2020

กฟน. จับมือ ออริจิ้น นำนวัตกรรมใหมสราง Smart Eco หนุน “ออริจิ้น สมารท ซิตี้ รามอินทรา” สูเมืองพลังงานทดแทน

FOOD Delivery

คณะวิศวฯ ม.มหิดล เปดตัว “หุนยนตเวสตี้” ชวยเก็บขยะติดเชื้อ รับมือ COVID-19 ฮาวทูทิ้งหนากากอนามัย ใหปลอดภัยกับสังคมและ สิ่งแวดลอม Dow เปดตัวเม็ดพลาสติก รีไซเคิลสูตรใหมสำหรับ ฟลมแพ็กเกจจิ้งรักษโลก เปนครั้งแรกในเอเชียแปซิฟก

ขยะพลาสติก จากฟูดเดลิเวอรี่ เพิ่มขึ้นเทาตัว ในชวง COVID-19

ลดหรือคัดแยก อยางไร ไมกระทบ ตอสิ่งแวดลอม

?

200610







คณะที่ปรึกษา

ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค์ ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต

นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศ์พิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการ

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการข่าว

สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

กองบรรณาธิการ

ณัฐชยา แก่นจันทร์

พิสูจน์อักษร

ธิดาวดี บุญสุยา

ศิลปกรรม

พฤติยา นิลวัตร, ศศิธร มไหสวริยะ

ประสานงาน

ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย

ฝ่ายการตลาด

กัลยา ทรัพย์ภิรมย์

เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมณฑน์ บัวผัน

ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์

ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์

แยกสี

บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด

โรงพิมพ์

หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์

สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในไทย หลายคนต้อง “อยูบ่ า้ น หยุดเชือ้ เพือ่ ชาติ” รวมถึงท�างานอยูบ่ า้ น (Work from Home) ส่งผลให้ตอ้ งใช้บริการสัง่ อาหารในรูปแบบเดลิเวอรี่ เพิ่มขึ้นจากผู้ให้บริการต่างๆ ท�าให้ปริมาณขยะพลาสติกจากบริการ ส่งอาหารในรูปแบบฟูด้ เดลิเวอรีเ่ พิม่ ขึน้ กว่าเท่าตัว โดยคาดว่าขยะพลาสติก จากฟู้ดเดลิเวอรี่จะมีปริมาณสูงถึง 280 ล้านชิ้น ซึ่งเพิ่มขึ้นจากข้อมูล ในช่วงปี พ.ศ. 2562 ก่อนทีจ่ ะมีการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทีม่ ขี ยะ พลาสติกเพียง 140 ล้านชิ้น ทัง้ นีแ้ นวทางจัดการขยะจากฟูด้ เดลิเวอรีใ่ นไทย คือ การให้ผบู้ ริโภค ช่วยกัน “ลด” ขยะพลาสติกโดยปฏิเสธทีจ่ ะรับช้อน ส้อม หรือหลอดพลาสติก เวลาสั่งอาหารผ่านแอพพลิเคชั่น โดยหันมาใช้อุปกรณ์ที่สามารถใช้ซ�้า ได้แทน ในกรณีทไี่ ม่สามารถหลีกเลีย่ งบรรจุภณ ั ฑ์หรือภาชนะพลาสติกได้ ให้ผบู้ ริโภคท�าการ “คัดแยก” บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกทีใ่ ช้แล้ว โดยแยกขยะ ประเภทเศษอาหารออกไป ล้างท�าความสะอาดบรรจุภณ ั ฑ์ ทิง้ ไว้ให้แห้ง แล้วจึงรวบรวมขยะพลาสติกเหล่านีไ้ ปทิง้ ในจุด Drop off Point ส�าหรับ ขยะพลาสติก เพือ่ เข้าร่วมโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” ซึง่ การคัดแยก ดังกล่าวจะช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกที่ถูกส่งไปฝังกลบและเพิ่ม การน�าพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ผ่านกระบวนการ Recycle หรือ Upcycle ของบริษทั เอกชน และเพือ่ ให้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) สามารถเกิดขึ้นได้จริง ส�าหรับนิตยสาร Green Network ฉบับนี้ ขอเกาะติดกระแสเทรนด์ สิง่ แวดล้อม เริม่ จาก “ขยะพลาสติกจากฟูด้ เดลิเวอรีเ่ พิม่ ขึน้ เท่าตัวในช่วง COVID-19 ลดหรือคัดแยกอย่างไร ไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม”, กฟน. จับมือ ออริจิ้น น�านวัตกรรมใหม่สร้าง Smart Eco หนุน “ออริจิ้น สมาร์ท ซิต้ี รามอินทรา” สูเ่ มืองพลังงานทดแทน, Dow เปิดตัวเม็ดพลาสติก รีไซเคิลสูตรใหม่สา� หรับฟิลม์ แพ็กเกจจิง้ รักษ์โลก เป็นครัง้ แรกในเอเชีย แปซิฟิก, เทคโนโลยีรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า และเรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ เชิญติดตามได้ในฉบับครับ และอย่าลืมเข้าไปเยีย่ มชมเว็บไซต์ www.greennetworkthailand. com และ FB: Green Network ทีอ่ พั เดทข้อมูลข่าวสารทางด้านพลังงาน และสิ่งแวดล้อมทุกวันด้วยนะครับ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com


Contents May-June 2020

26 Marketing

13 9

Energy

27 บี.กริม บริจาคเงินกว่า 46 ล้านบาท ผ่านโครงการ Environment

ขยะพลาสติกจากฟูด้ เดลิเวอรีเ่ พิม่ ขึน้ เท่าตัวในช่วง COVID-19 ลดหรือคัดแยกอย่างไร ไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์, ดร.วิชสิณี วิบุลผลประเสริฐ, ประมณฑ์ กาญจนพิมลกุล 13 เดอะมอลล์ กรุ๊ป เดินหน้าสนับสนุนโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” รับมือวิกฤตขยะจาก COVID-19 กองบรรณาธิการ

14

16

17

19 23

การตลาดแห่งอนาคต ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี

Smart City

กฟน. จับมือ ออริจิ้น น�านวัตกรรมใหม่สร้าง Smart Eco หนุน “ออริจนิ้ สมาร์ท ซิต ี้ รามอินทรา” สูเ่ มืองพลังงานทดแทน กองบรรณาธิการ

Innovation

Dow เปิดตัวเม็ดพลาสติกรีไซเคิลสูตรใหม่ ส�าหรับฟิลม์ แพ็กเกจจิง้ รักษ์โลก เป็นครัง้ แรกในเอเชียแปซิฟกิ กองบรรณาธิการ

Report

คณะวิศวฯ ม.มหิดล จับมือ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล เปิดตัว “หุน่ ยนต์เวสตี”้ ช่วยเก็บขยะติดเชือ้ รับมือ COVID-19 กองบรรณาธิการ

How to

ฮาวทูทิ้งหน้ากากอนามัยให้ปลอดภัยกับสังคมและสิ่งแวดล้อม ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์, ดร.วิชสิณี วิบุลผลประเสริฐ

Biz

“บี.กริม ปันน�้าใจ สู้ภัย COVID-19” กองบรรณาธิการ 28 พลังงานชุมชนวิถีใหม่ พิชัย ถิ่นสันติสุข

Mobility

30 “บ้านปู เน็กซ์” ร่วมกับ “ฮ้อปคาร์” จัดโครงการ

“บ้านปู เน็กซ์ อีวี คาร์ แชริ่ง ฟอร์ แคริ่ง” ให้บคุ ลากรทางการแพทย์ใช้รถยนต์ไฟฟ้าฟรี 3 เดือน กองบรรณาธิการ 32 เทคโนโลยีรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า ณฐชา วิริยะพงษ์, ผศ. ดร.กิตติ์ชนน เรืองจิรกิตติ์, รศ. ดร.ยศพงษ์ ลออนวล

19


Environment

ในช่ ว งที่ มี ก ารแพร่ ร ะบาดของ COVID-19 ได้ มี ก าร ประกาศใช้มาตรการต่างๆ ซึ่งรวมถึงมาตรการล็อกดาวน์ ส่งผล ให้ต้องมีการขอความร่วมมือให้ประชาชนจ�ากัดการเดินทาง “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” รวมถึงท�างานอยู่บ้าน (Work from Home) การทีป่ ระชาชนต้องท�างานอยูบ่ า้ นมากขึน้ ส่งผลให้ตอ้ งใช้ บริการสั่งอาหารในรูปแบบเดลิเวอรี่เพิ่มขึ้นจากผู้ให้บริการต่างๆ อาทิ Lineman, Grab Food, Get, Food Panda เป็นต้น ส่งผลให้ ปริมาณขยะพลาสติกจากบริการส่งอาหารในรูปแบบฟู้ดเดลิเวอรี่ เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัว ทั้งนี้ในมุมของประชาชนในฐานะผู้บริโภค การสั่งอาหารผ่านบริการฟู้ดเดลิเวอรี่เปิดโอกาสให้สามารถเลือก บริการที่ดีที่สุด ราคาที่สบายกระเป๋ามากที่สุด และยังมีโอกาส เข้าถึงร้านอาหารใหม่ๆ ทีไ่ ม่เคยได้ลมิ้ ลอง ในขณะเดียวกันธุรกิจ ร้านอาหารต่างๆ ก็มีช่องทางขายมากขึ้น ซึ่งส่วนหนึ่งชดเชยกับ รายได้ทสี่ ญ ู เสียไปจากการมาตรการของภาครัฐทีไ่ ม่อนุญาตให้นง่ั รับประทานอาหารที่ร้าน

ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์, ดร.วิชสิณี วิบุลผลประเสริฐ, ประมณฑ์ กาญจนพิมลกุล

ขยะพลาสติกจากฟู้ดเดลิเวอรี่ เพิ่มขึ้นเท่าตัวในช่วง COVID-19

ลดหรือคัดแยกอย่างไร ไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม คาดในช่วง COVID-19 ปริมาณขยะเดลิเวอรี่ เพิ่มขึ้นเท่าตัว มีขยะพลาสติกสูงถึง 280 ล้านชิ้น

ในช่วงปี พ.ศ. 2562 ก่อนที่จะมีการแพร่ระบาดของ COVID-19 ธุรกิจฟู้ดเดลิเวอรี่มีมูลค่าสูงถึง 33,000-35,000 ล้านบาท (ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย 2562) จากยอดสัง่ ซือ้ 20 ล้านออเดอร์ ซึ่งก่อให้เกิดขยะโดยเฉพาะขยะพลาสติกสูงถึง 140 ล้านชิ้น ซึ่ง ประมาณการจากข้อมูลที่ระบุว่าการสั่งอาหารผ่านฟู้ดเดลิเวอรี่ แต่ละครัง้ สร้างขยะ 7 ชิน้ ได้แก่ กล่องอาหาร ถุงใส่นา�้ จิม้ ถุงน�า้ ซุป ช้อนพลาสติก ส้อมพลาสติก ถุงใส่ชอ้ นส้อม และถุงพลาสติกหูหวิ้ ส�าหรับใส่อาหารทัง้ หมด อย่างไรก็ดี ในช่วงทีม่ กี ารแพร่ระบาดของ เชือ้ COVID-19 คาดการณ์วา่ ปริมาณขยะเดลิเวอรีเ่ พิม่ ขึน้ เท่าตัว (วิจารย์ สิมาฉายา 2563) ซึ่งหมายความว่าในช่วง COVID-19 คาดว่าขยะพลาสติกจากฟู้ดเดลิเวอรี่มีปริมาณสูงถึง 280 ล้านชิ้น

9

GreenNetwork4.0 May-June

2020


ทิ้งขยะจากฟู้ดเดลิเวอรี่โดยไม่คัดแยก เพิ่มภาระให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - กระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม

ปัญหาส�าคัญที่เกิดจากขยะจากฟู้ดเดลิเวอรี่เหล่านี้ คือ ประชาชนส่วนใหญ่ทิ้งเศษอาหารปะปนมากับขยะ พลาสติก ไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ซึ่งปัญหาดังกล่าว เกิดมาจากหลายปัจจัย เช่น การขาดความตระหนักรูว้ า่ ควร คัดแยกอย่างไร การนิยมความสะดวกสบายจากการทีไ่ ม่ตอ้ ง เก็บล้าง และความกังวลว่าจะติดเชื้อ COVID-19 หากไป สัมผัสภาชนะหรือช้อนส้อมของผูท้ ตี่ ดิ เชือ้ เป็นต้น เนือ่ งด้วย ขยะพลาสติกเหล่านีป้ นเปือ้ นเศษอาหาร จึงไม่สามารถน�าไป รีไซเคิล แปรรูปเป็นพลังงาน หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพือ่ เพิม่ มูลค่า (Upcycle) ตามแนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ได้ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จึงจ�าเป็นต้องน�าขยะพลาสติกที่ปนเปื้อนเหล่านี้ไปก�าจัด โดยการเทกองหรือฝังกลบเช่นที่ผ่านมา ซึ่งเนื่องจากขยะ เหล่านี้หากจัดการไม่ถูกต้องอาจรั่วไหลสู่สิ่งแวดล้อม เช่น แม่น�้า ทะเล ฯลฯ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสัตว์ทะเลได้ ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการแพร่ระบาดของ COVID-19 ท�าให้การ ด�าเนินโครงการหรือ Initiative ต่างๆ เกีย่ วกับการขับเคลือ่ น เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ต้องเดินถอยหลัง

สิงคโปร์ - เกาหลีใต้ส่งเสริมการลดขยะพลาสติก จากธุรกิจฟู้ดเดลิเวอรี่

เพื่อลดปริมาณขยะพลาสติกที่เกิดจากบริการฟู้ดเดลิเวอรี่ Food Panda ซึง่ เป็นผูใ้ ห้บริการฟูด้ เดลิเวอรีใ่ นประเทศสิงคโปร์ เริม่ งดให้บริการ ชุดช้อนส้อมพลาสติกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ซึ่งสามารถช่วยลดขยะที่เกิด จากช้อนและส้อมพลาสติกได้ถงึ 250,000 ชิน้ คิดเป็นมูลค่าถึง 100,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ ส�าหรับประเทศเกาหลีใต้ ภาครัฐมีนโยบายด้านการ จัดการขยะจากบริการฟูด้ เดลิเวอรีอ่ ย่างเข้มข้น โดยผลักดันให้เกิดการท�า บันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่าง 3 ฝ่าย ได้แก่ รัฐบาลเกาหลีใต้ ผูใ้ ห้บริการ แอพพลิเคชัน่ และร้านอาหารทีเ่ ข้าร่วมในเครือข่ายฟูด้ เดลิเวอรี่ โดยงดใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ทซี่ อ้ นกัน 2 ชัน้ งดให้บริการช้อนและส้อมพลาสติก ใช้กล่อง กระดาษในการบรรจุอาหารแทนกล่องพลาสติก ใช้ถุงเก็บความเย็น ที่สามารถน�ากลับมาใช้ซ�้าได้ รวมถึงรณรงค์ให้ประชาชนชาวเกาหลีใต้ คัดแยกขยะพลาสติกอย่างถูกวิธี

ผู้ประกอบการฟู้ดเดลิเวอรี่จับมือร้านอาหารในไทย ช่วยลดขยะพลาสติก

อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการฟู้ดเดลิเวอรี่ในประเทศไทย เช่น Grab Food ได้ช่วยลดขยะพลาสติกโดยเพิ่มตัวเลือก (Feature) ใน แอพพลิเคชัน่ ของ Grab ให้ลกู ค้าสามารถกดเลือกรับหรือไม่รบั ช้อน ส้อม และมีดพลาสติกเมือ่ สัง่ อาหาร รวมถึงส่งเสริมให้รา้ นอาหารทีเ่ ป็นพันธมิตร ทางธุรกิจเปลีย่ นมาใช้ถงุ กระดาษเพือ่ ทดแทนถุงพลาสติกทีใ่ ช้ครัง้ เดียวทิง้ 10

นอกจากนี้ Line Man ประเทศไทย ได้ประกาศร่วมรณรงค์ลดการใช้ พลาสติกในการส่งอาหารร่วมกับพาร์ทเนอร์ร้านอาหารดัง โดยพัฒนา แอพพลิเคชัน่ ให้มตี วั เลือกส�าหรับไม่รบั ช้อนส้อมพลาสติกหรือถุงพลาสติก ซึ่งจะเริ่มใช้ในเดือนสิงหาคม 2563 ส�าหรับแนวทางของธุรกิจร้านอาหาร ร้านอาหารในเครือฟูด้ แพชชัน่ ซึ่งประกอบด้วย แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า จุ่มแซ่บฮัท ฌานา สเปซคิว และเรดซัน ได้นา� เอาแนวคิด Wasteless Delivery มาใช้ในการให้บริการ จัดส่งอาหารถึงบ้าน1 โดยเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ที่ใช้จากพลาสติกชนิดใช้ ครั้งเดียวทิ้ง (Single-use Plastics) เป็นภาชนะแบบย่อยสลายได้ โดย ร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจในการผลิตและออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ท�า จากชานอ้อย ซึ่งสามารถย่อยสลายได้ภายใน 45 วัน และถุงพลาสติก คุณภาพสูงพิเศษ ที่ผลิตจากพลาสติกรีไซเคิลที่มีความหนาถึง 5 เท่า ในการให้บริการจัดส่งอาหารเพื่อให้ผู้บริโภคสามารถน�าถุงพลาสติก มาหมุนเวียนใช้ซ�้าได้มากกว่า 20 ครั้ง ซึ่งการด�าเนินการดังกล่าวคาดว่า จะช่วยลดปริมาณการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งได้ 1,200,000 ชิ้น ในปี พ.ศ. 2563 อย่างไรก็ดี สิ่งส�าคัญคือการสร้างความตระหนักให้กับผู้บริโภค เกีย่ วกับการทิง้ ภาชนะหลังจากทีร่ บั ประทานอาหารเสร็จแล้ว โดยผูบ้ ริโภค ไม่ควรทิง้ ภาชนะเหล่านีป้ ะปนกับเศษอาหาร และไม่ควรใส่ภาชนะเหล่านี้ ในถุงพลาสติกที่ย่อยสลายไม่ได้เมื่อน�าไปทิ้ง เพราะจะเป็นอุปสรรคต่อ การจัดการภาชนะที่ใช้แล้วเหล่านี้

GreenNetwork4.0 May-June

2020


สตาร์ทอัพใน USA ให้บริการฟู้ดเดลิเวอรี่แบบไร้ขยะ ทางเลือกหลัง COVID-19

สิ่งส�ำคัญคือ กำรสร้ำง ควำมตระหนักให้กับผู้บริโภค เกี่ยวกับกำรทิ้งภำชนะหลังจำก ที่รับประทำนอำหำรเสร็จแล้ว โดยผู้บริโภคไม่ควรทิ้งภำชนะ เหล่ำนี้ปะปนกับเศษอำหำร และไม่ควรใส่ภำชนะเหล่ำนี้ใน ถุงพลำสติกที่ย่อยสลำยไม่ได้ เมื่อน�ำไปทิ้ง เพรำะจะเป็น อุปสรรคต่อกำรจัดกำร ภำชนะที่ใช้แล้วเหล่ำนี้

11

DeliverZero ซึ่งเป็นบริษัทสตาร์ทอัพในเมืองนิวยอร์ก ประเทศ สหรัฐอเมริกา น�าแนวคิดการให้บริการฟู้ดเดลิเวอรี่แบบไร้ขยะมาใช้ โดยใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบที่สามารถใช้งานซ�้าได้มาใช้แทนภาชนะ พลาสติกแบบใช้ครัง้ เดียวทิง้ เนือ่ งจากเมืองนิวยอร์กมีการประกาศห้ามใช้ กล่องพลาสติกโพลีสไตรีนแบบใช้แล้วทิ้งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา โดยธุรกิจที่ฝ่าฝืนจะต้องเสียค่าปรับมากกว่า 1,000 เหรียญสหรัฐ โดย ภาชนะของ DeliverZero ผลิตจากโพลีโพรพีลนี ซึง่ เป็นพลาสติกชนิดหนึง่ ทีม่ คี วามทนทานสูง สามารถใช้งานซ�า้ ได้มากกว่า 1,000 ครัง้ ปราศจาก พลาสติก BPA (Bisphenol A) ปลอดภัยส�าหรับใช้กับเตาไมโครเวฟและ เครื่องล้างจาน รวมถึงผ่านการรับรองจาก NSF International โดย DeliverZero ไม่คดิ ค่าธรรมเนียมเพิม่ เติมส�าหรับการสัง่ อาหาร แต่ผบู้ ริโภค ต้องจ่ายค่ามัดจ�า (Deposit) จ�านวน 2 เหรียญสหรัฐ ในแอพพลิเคชัน่ ของ DeliverZero ส�าหรับค่าภาชนะทีส่ ามารถน�ากลับมาใช้ใหม่ได้ และผูบ้ ริโภค จะได้รบั เงินมัดจ�าคืนเมือ่ ส่งคืนภาชนะภายใน 6 สัปดาห์ โดยสามารถส่งคืน ได้ 2 ช่องทาง คือ มอบให้พนักงานส่งอาหารในการสั่งอาหารครั้งถัดไป หรือนัดหมายเวลารับกล่องข้าวผ่านทางแอพพลิเคชั่นของ DeliverZero ดังนั้นการให้บริการฟู้ดเดลิเวอรี่แบบไร้ขยะอาจเป็นอีกหนึ่งทางเลือก หลังเหตุการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในประเทศไทยเริ่มมีบริการฟู้ดเดลิเวอรี่แบบน�าภาชนะที่ใช้ซ�้าได้ แล้ว เช่น Indy Dish2 (แต่ปดิ ให้บริการชัว่ คราวในช่วง COVID-19 เพราะ บริษทั กังวลเรือ่ งความปลอดภัยของพนักงาน) ซึง่ มีรปู แบบการให้บริการ เหมือนกับ DeliverZero ข้างต้น โดยร่วมมือกับร้านอาหารบางร้านใน การใช้กล่องบรรจุอาหารที่น�ากลับมาใช้ซ�้าได้ โดยผู้บริโภคจะต้องจ่าย ค่ามัดจ�ากล่องอาหาร 100 บาทต่อครัง้ และส่งคืนกล่องทีท่ า� ความสะอาด แล้วให้กบั ทาง Indy Dish ภายใน 7 วัน โดยทาง Indy Dish จะน�ากล่อง อาหารนั้นไปฆ่าเชื้อซ�้าตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ก่อนที่จะน�ากลับมา ให้บริการต่อไป

แนวทางจัดการขยะจากฟู้ดเดลิเวอรี่ในไทย

ทั้งนี้ประชาชนทั่วไปสามารถมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาขยะ จากฟู้ดเดลิเวอรี่ได้โดยใช้ 2 แนวทาง คือ “ลด” และ “คัดแยก” ส�าหรับ แนวทางที่ 1 “ลด” คือประชาชนในฐานะผู้บริโภคสามารถช่วยลดขยะ พลาสติกโดยปฏิเสธทีจ่ ะรับช้อน ส้อม หรือหลอดพลาสติก เวลาสัง่ อาหาร ผ่านแอพพลิเคชั่น โดยหันมาใช้อุปกรณ์ที่สามารถใช้ซ�้าได้แทน ส่วน ผูป้ ระกอบการธุรกิจฟูด้ เดลิเวอรีค่ วรอ�านวยความสะดวกโดยเพิม่ ทางเลือก ในการสัง่ อาหารผ่านแอพพลิเคชัน่ เปิดให้ผสู้ งั่ อาหารสามารถระบุวา่ จะรับ หรือไม่รับช้อน ส้อม หลอดพลาสติก หรือสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ต้องการ ส�าหรับแนวทางที่ 2 ในกรณีทไี่ ม่สามารถหลีกเลีย่ งบรรจุภณ ั ฑ์หรือ ภาชนะพลาสติกได้ สิง่ ส�าคัญทีผ่ บู้ ริโภคควรท�าคือการ “คัดแยก” บรรจุภณั ฑ์ พลาสติกที่ใช้แล้ว โดยแยกขยะประเภทเศษอาหารออกไป ล้างท�าความ สะอาดบรรจุภัณฑ์ ทิ้งไว้ให้แห้ง แล้วจึงรวบรวมขยะพลาสติกเหล่านี้ ไปทิ้งในจุด Drop off Point ส�าหรับขยะพลาสติก เพื่อเข้าร่วมโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” ซึ่งการคัดแยกดังกล่าวจะช่วยลดปริมาณขยะ พลาสติกที่ถูกส่งไปฝังกลบและเพิ่มการน�าพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์ ใหม่ ผ่านกระบวนการ Recycle หรือ Upcycle ของบริษัทเอกชน และ

GreenNetwork4.0 May-June

2020


เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) สามารถเกิดขึ้น ได้จริง ปัจจุบนั โครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” รับขยะพลาสติก 2 ประเภท คือ พลาสติกยืดและพลาสติกแข็งทีผ่ า่ นการท�าความสะอาดเรียบร้อยแล้ว จากประชาชน ตัวอย่างพลาสติกยืด ได้แก่ ถุงพลาสติกหูหิ้ว ถุงขนมปัง ถุงน�้าตาลทราย ฯลฯ และตัวอย่างของพลาสติกแข็ง ได้แก่ แก้วกาแฟ กล่องใส่อาหารเดลิเวอรี่ ฯลฯ โดยปัจจุบันมีจุด Drop off Point จ�านวน 10 แห่ง บนถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร เช่น Singha Complex ศูนย์การค้า The Emporium ร้านเทสโก้โลตัส สาขาอ่อนนุช เป็นต้น และมีการให้แรงจูงใจกับประชาชนโดยใช้แอพพลิเคชั่น ECOLIFE ใน การสะสมแต้มเพื่อน�าไปแลกของสมนาคุณต่างๆ อีกทางเลือกหนึง่ ในการใช้ประโยชน์ขยะพลาสติกจากฟูด้ เดลิเวอรี่ ที่ผ่านการท�าความสะอาดแล้ว คือการน�าขยะพลาสติกเหล่านี้ไปเป็น เชื้อเพลิงทดแทนถ่านหินในเตาผลิตปูนซีเมนต์ได้อีกด้วย ดังเช่นบริษัท N15 เทคโนโลยีในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครได้ด�าเนินการอยู่ ซึ่ง ทางเลือกนีส้ ามารถรับขยะพลาสติก รวมถึงขยะประเภทอืน่ ๆ ได้หลากหลาย ชนิด จึงเป็นทางเลือกทีด่ ใี นการจัดการกับขยะพลาสติกชนิดทีไ่ ม่สามารถ ไปรีไซเคิลต่อได้ 12

จะสังเกตได้อย่างชัดเจนว่าการด�าเนินการตามแนวทางที่ 2 นั้น จะก่อให้เกิดต้นทุนต่อผูบ้ ริโภคเพิม่ ขึน้ เพราะต้องจัดการคัดแยก ท�าความ สะอาดบรรจุภัณฑ์ รวมไปถึงการรวบรวมบรรจุภัณฑ์เพื่อส่งไปยังจุดรับ ขยะ ซึ่งเมื่อคิดค�านวณค่าใช้จ่ายจริงที่เกิดขึ้นเทียบกับค่าธรรมเนียมการ เก็บขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานครแล้ว ถือว่าแนวทางการคัดแยก ขยะบรรจุภัณฑ์ส่งไปยังจุดรวบรวมนั้นมีต้นทุนสูงกว่าการน�าไปทิ้งรวม กับขยะอื่นๆ ดังนั้นข้อเสนอแนะด้านนโยบายเพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคร่วมกัน คัดแยกขยะบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ ส่งต่อไปยังจุดรับทีเ่ หมาะสม ต้องประกอบด้วย การด�าเนินงาน 2 ด้าน ได้แก่ 1. การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ถึงวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง เช่น ขยะชนิดใดรีไซเคิลได้บ้าง มีวิธีการสังเกตอย่างไร ต้องท�าความ สะอาดอย่างไร และส่งไปจัดการต่อได้ที่ใดบ้าง โดยหน่วยงานภาครัฐ ที่ควรเข้ามารับผิดชอบเรื่องการประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูล และให้ความรู้ แก่ประชาชนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี และการจัดการกับขยะที่ ผ่านการคัดแยกแล้ว ได้แก่ กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กรมควบคุม มลพิษ กรุงเทพมหานคร และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 2. ควรมีการเพิ่มจุด Drop off Point ส�าหรับขยะบรรจุภัณฑ์ ที่รีไซเคิลได้ประเภทต่างๆ ให้ทั่วถึงทุกพื้นที่เพื่อลดต้นทุนของการ คัดแยกและส่งต่อขยะบรรจุภณ ั ฑ์ให้ได้มากทีส่ ดุ ไม่วา่ จะเป็นการส่งต่อให้ โครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” หรือการส่งต่อไปเป็นเชือ้ เพลิงทดแทน ถ่านหิน โดยทางกรุงเทพมหานครควรต่อยอดจากการด�าเนินงานของ ภาคเอกชนทีใ่ ห้บริการจุด Drop off Point จ�านวน 10 จุด บนถนนสุขมุ วิท โดยเพิม่ จุด Drop off Point ให้ครอบคลุมพืน้ ทีใ่ นกรุงเทพมหานครมากขึน้ ส�าหรับพืน้ ทีต่ า่ งจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ควรจัดให้มจี ดุ Drop off Point ส�าหรับรับขยะพลาสติกเพื่อน�าไปใช้ประโยชน์เช่นเดียวกัน เพือ่ ให้สามารถขยายผลโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” ให้ครอบคลุม พื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย 1

ที่มา: http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/856908 https://www.facebook.com/pg/indydishthailand/posts/?ref= page_internal 3 https://www.facebook.com/n15technology/ 2

GreenNetwork4.0 May-June

2020


Environment กองบรรณำธิกำร

บริษทั เดอะมอลล์ กรุป๊ จ�ำกัด เดินหน้ำสนับสนุนโครงกำร “ส่งพลำสติกกลับบ้ำน” ซึ่งด�ำเนินกำรโดยเครือข่ำยเพื่อควำม ยัง่ ยืนแห่งประเทศไทย (TRBN) และกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อรับมือขยะวิกฤตขยะจำกสถำนกำรณ์ COVID-19 ที่ส่งผลกระทบต่อกำรเพิ่มขึ้นของปริมำณขยะใน ประเทศไทย โดยร่วมรณรงค์ ลด ละ เลิกใช้พลำสติกแบบใช้ ครั้งเดียวทิ้ง และแยกขยะเพื่อน�ำกลับมำรีไซเคิล พร้อมติดตั้ง Plastic Drop Point จุดรับพลำสติกสะอำดทีเ่ ดอะมอลล์ทกุ สำขำ และดิ เอ็มโพเรียม, ดิ เอ็มควอเทียร์ บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จ�ำกัด ในฐำนะที่เป็น Green Department Store แห่งแรกของประเทศไทย ที่ได้ร่วมเป็น ภำคีสมำชิกของโครงกำรสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชำชำติ UNEP ผ่ำนโครงกำร The Mall Think Green ตั้งแต่ปี พ.ศ 2550 ตระหนักถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยเฉพำะ ปัญหำทีเ่ กิดจำกขยะพลำสติก จึงร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของโครงกำร “ส่งพลำสติกกลับบ้ำน” เพื่อรับมือวิกฤตขยะจำกสถำนกำรณ์ COVID-19 โดยมีกำรบริหำรจัดกำรแยกขยะเพื่อน�ำกลับมำ รีไซเคิล ใช้ประโยชน์ใหม่ เพื่อลดขยะ ลดกำรใช้ทรัพยำกร ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมน�ำไปสร้ำงประโยชน์เพื่อ ก่อให้เกิดรำยได้กลับคืนสู่สังคมต่อไป และเพื่อเป็นกำรอนุรักษ์ ธรรมชำติอย่ำงยั่งยืน ทั้งนี้ เดอะมอลล์ กรุ๊ป ได้ติดตั้ง Plastic Drop Point จุดรับพลำสติกสะอำด ทีเ่ ดอะมอลล์ทกุ สำขำ ได้แก่ เดอะมอลล์ บำงแค, บำงกะปิ, งำมวงศ์วำน, ท่ำพระ, รำมค�ำแหง และ นครรำชสีมำ บริเวณ Food Hall ชั้น 4 ดิ เอ็มโพเรียม และ บริเวณ Food Hall อำคำร B ชั้น B ดิ เอ็มควอเทียร์

13

e

m o h c i t s a nd pl

se

รุ๊ป ร ก ์ ล ล อ เดอะม สนุนโครงกา บ้าน” หน้าสนับ

บ ั ล ก ก ิ พลาสต ขยะ

เดิน

“ส่ง รับมือวิกฤตID-19 OV จาก C

GreenNetwork4.0 work4.0 May-June

2020


SMART

City

กองบรรณาธิการ

กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผู้ว่าการ การไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA ร่วมด้วย พีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษทั ออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด (มหาชน) ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจ โครงการร่วมมือด้านพลังงานไฟฟ้า เพื่อ พั ฒ นาพื้ น ที่ ภ ายใต้ โ ครงการ ออริ จิ้ น สมาร์ท ซิตี้ รามอินทรา โดยสร้างเมือง อัจฉริยะแบบ Smart Eco น�านวัตกรรม ใหม่ ป ระยุ ก ต์ ใ ช้ ห นุ น พลั ง งานทดแทน วางระบบการบริหารจัดการพลังงานอย่าง คุม้ ค่า ร่วมน�าร่องการพัฒนาสมาร์ทซิตใี้ น กรุงเทพฯ ณ อาคารวัฒนวิภาส การไฟฟ้า นครหลวง ส�านักงานใหญ่ คลองเตย

กฟน. จับมือ ออริจิ้น น�ำนวัตกรรมใหม่ สร้ำง Smart Eco หนุน “ออริจิ้น สมำร์ท ซิตี้ รำมอินทรำ”

กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์

ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA

สู่เมืองพลังงำนทดแทน

กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA กล่าวว่า MEA มุง่ มัน่ ขับเคลือ่ นระบบพลังงานอัจฉริยะเพือ่ วิถชี วี ติ เมืองมหานคร ให้มรี ะบบไฟฟ้าทีม่ นั่ คง มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ไปพร้อมๆ กับการใส่ใจต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ พลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพ โดยในครั้งนี้ MEA ได้ร่วมลงนามกับบริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด (มหาชน) ในบันทึกความเข้าใจโครงการร่วมมือด้านพลังงานไฟฟ้า เพือ่ พัฒนาพื้นที่ภายใต้โครงการ “ออริจิ้น สมาร์ท ซิตี้ รามอินทรา” ซึ่งถือเป็นโครงการน�าร่อง ในการพัฒนาระบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City) แห่งแรกในเขตเมืองของออริจนิ้ ฯ โดย MEA จะสนับสนุนข้อมูลด้านระบบไฟฟ้าและข้อแนะน�าทางเทคนิค เพือ่ การบริหารจัดการพลังงาน คุม้ ค่าและมีประสิทธิภาพทัง้ ภายในห้องพักอาศัยและพืน้ ทีส่ ว่ นกลาง การติดตัง้ ระบบสายไฟฟ้า ใต้ดนิ เพือ่ เพิม่ ความมัน่ คงให้กบั ระบบไฟฟ้าและลดการสูญเสียพลังงานไฟฟ้า รวมถึงการใช้ พลังงานทดแทนร่วมกับระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า ความร่วมมือในครัง้ นีจ้ งึ เป็นโอกาสอันดี

พีระพงศ์ จรูญเอก

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด (มหาชน)

14

GreenNetwork4.0 May-June

2020


ในการผลักดันเมืองต้นแบบอัจฉริยะในด้าน Smart Eco ให้เป็นจริง และ ต่อยอดสู่การพัฒนาโครงการอื่นๆ ต่อไปในอนาคต ด้าน พีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด (มหาชน) หรือ ORI ผูพ้ ฒ ั นาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ครบวงจร กล่าวว่า หลังจากเมื่อช่วงปลายปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้เปิดตัว โครงการออริจนิ้ สมาร์ท ซิตี้ รามอินทรา (Origin Smart City Ramintra) แลนด์มาร์คใหม่ทปี่ ระกอบด้วยคอนโดมิเนียม อาคารส�านักงาน โรงแรม เซอร์วิสอพาร์ทเมนท์ คอมมูนิตี้ มอลล์ ฯลฯ บนพื้นที่ประมาณ 13 ไร่ มูลค่าโครงการกว่า 6,000 ล้านบาท ล่าสุด บริษทั ฯ ได้จบั มือกับการไฟฟ้า นครหลวง หรือ MEA เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบเมืองอัจฉริยะในพื้นที่ โครงการ ให้ตอบโจทย์ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ หรือ Smart Eco โดยทัง้ 2 ฝ่ายจะร่วมกันพัฒนาและน�าระบบต่างๆ เข้ามาใช้ในพืน้ ที่ โครงการ อาทิ ระบบการจัดการพลังงานภายในอาคาร (BEMS) ระบบ การจัดการพลังงานภายในทีอ่ ยูอ่ าศัย (HEMS) การท�าระบบสายไฟฟ้าใต้ดนิ การใช้ระบบกักเก็บไฟฟ้าร่วมกับพลังงานทดแทน เพือ่ ให้ทกุ พืน้ ทีภ่ ายใน โครงการทั้งภายในที่อยู่อาศัย พื้นที่ส่วนกลาง ตลอดจนอาคารต่างๆ มี การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด “การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและการบริหารจัดการพลังงานอย่าง ยัง่ ยืน ถือเป็นหนึง่ ในเรือ่ งทีเ่ ราให้ความส�าคัญเป็นอย่างมาก เราในฐานะ หนึ่งในผู้น�าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จึงได้ตัดสินใจร่วมมือกับ MEA

15

เพือ่ สร้างสรรค์ให้โครงการออริจนิ้ สมาร์ท ซิตี้ รามอินทรา ของเรา กลาย เป็นเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมแห่งแรกๆ ของกรุงเทพฯ ช่วยลูกบ้าน ให้ได้ประหยัดพลังงานไปพร้อมกับช่วยเมืองและประเทศ น�าร่องการใช้ พลังงานอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพมากขึ้น” พีระพงศ์ กล่าว ส�าหรับโครงการออริจิ้น สมาร์ท ซิตี้ รามอินทรา เป็นโครงการ เมืองอัจฉริยะทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ภายใต้คอนเซ็ปต์ Beyond a Living Platform ประกอบด้วย 5 ส่วนอัจฉริยะ ได้แก่ 1. Smart Tech น�านวัตกรรมใหม่ๆ มาเอื้อต่อการอยู่อาศัยและใช้ชีวิตแบบไร้รอยต่อ 2. Smart Eco สร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีต่อผู้อยู่อาศัย ผ่านการบริหารจัดการพลังงานด้วย เทคโนโลยีทนั สมัย สร้างสังคมแห่งพลังงานทดแทน ใช้พลังงานอย่างคุม้ ค่า 3. Smart Community สร้างอาณาจักรมิกซ์ยูสพร้อมบริการครบวงจร ตอบโจทย์ ทั้ง การเป็ น แหล่ ง บ่ ม เพาะสตาร์ ทอั พ สายพัน ธุ์ใหม่ และ ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของคนยุคใหม่ 4. Smart Security เพียบพร้อม ด้วยระบบรักษาความปลอดภัยทีม่ อบความอุน่ ใจในการใช้ชวี ติ 5. Smart Wellness น�านวัตกรรมอ�านวยความสะดวกให้ผู้บริโภคเข้าถึงบริการ สุขภาพ รับทราบข้อมูลที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สร้างสมดุลชีวิต ทัง้ นี้ โครงการฯ เริม่ ก่อสร้างเฟสแรก ซึง่ ประกอบด้วยคอนโดมิเนียม 8 ชัน้ 8 อาคาร ส่วนเฟส 2 และเฟส 3 อยูใ่ นระหว่างช่วงพัฒนา ตัง้ แต่ ไตรมาส 4 ปี พ.ศ. 2562 คาดว่าเฟสแรกจะก่อสร้างแล้วเสร็จในช่วง ไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2564

GreenNetwork4.0 May-June

2020


Innovation กองบรรณาธิการ

เปิดตัวเม็ดพลาสติกรีไซเคิล ส�าหรับฟิล์มแพ็กเกจจิ้งรักษ์โลก เป็นครั้งแรกในเอเชียแปซิฟิก

ดาว (Dow) บริษทั ระดับโลกด้าน Materials Science ได้พฒ ั นาเม็ดพลาสติก รีไซเคิลสูตรใหม่ ที่ออกแบบมาเพื่อผลิตเป็นฟิล์มยืดหดเพื่อแพ็กสินค้า (Collation Shrink Film) พร้อมวางจ�าหน่ายสูต่ ลาดเป็นครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ รวมทัง้ ประเทศไทย เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกอย่างยั่งยืนด้วยนวัตกรรม เม็ดพลาสติกชนิดนี้ได้รับการออกแบบให้มีส่วนผสมของพลาสติกที่ผ่าน การใช้งานจากผู้บริโภค หรือ PCR (Post-Consumer Recycled) ในสัดส่วน 40% ซึง่ สามารถน�ามาผลิตเป็นฟิลม์ พลาสติกชนิดบางส�าหรับแพ็กเกจจิง้ ทีย่ งั คงคุณสมบัติ เทียบเท่ากับฟิล์มที่ท�ามาจากเม็ดพลาสติกใหม่ ผลิตภัณฑ์นี้เรียกว่า XUS 60921.01 เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้เม็ดพลาสติกใหม่แล้ว จะสามารถลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ 17% และประหยัดพลังงานได้กว่า 30% โดยประมาณ (ขึน้ อยู่ กับปัจจัยประกอบ) ซึ่งช่วยให้โรงงานแปรรูปพลาสติก (Converter) เจ้าของแบรนด์ สินค้า (Brand Owner) และบริษทั ค้าปลีก (Retailer) บรรลุเป้าหมายด้านความยัง่ ยืน ของตนเองได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นการช่วยหาทางออกวิธีใหม่ให้กับ พลาสติกใช้งานแล้ว เพื่อไม่ให้ต้องกลายมาเป็นขยะ แบมบัง จันทร์ดรา รองประธานฝ่ายธุรกิจภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า เม็ดพลาสติกรีไซเคิลนีจ้ ะช่วยสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนของพลาสติกให้เกิดขึน้ ได้อย่าง แท้จริง โดยไม่ทา� ให้ประสิทธิภาพของพลาสติกทีเ่ จ้าของแบรนด์หรือผูบ้ ริโภคต้องการ ลดด้อยลง และเนื่องจาก Dow เป็นบริษัท Materials Science ที่มีความมุ่งมั่นด้าน นวัตกรรมและความยั่งยืน เรายินดีที่จะน�าผลิตภัณฑ์ใหม่นี้เข้าสู่ตลาด เพื่อสนับสนุน 16

GreenNetwork4.0 May-June

การน�าพลาสติกรีไซเคิลมาใช้ และช่วยป้องกันไม่ให้ พลาสติกใช้แล้วกลายเป็นขยะและรั่วไหลออกไปสู่ สิ่งแวดล้อม เมื่ อ ความต้ อ งการด้ า นอี ค อมเมิ ร ์ ซ สู ง ขึ้ น จ�าเป็นต้องมีบรรจุภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพ ทนทาน ที่สามารถปกป้องสินค้าให้ปลอดภัยตลอดการขนส่ง ในขณะเดียวกันก็สร้างขยะให้แก่ผู้บริโภคน้อยที่สุด เม็ดพลาสติกรีไซเคิลของ Dow ชนิดนีจ้ ะท�าให้เจ้าของ แบรนด์สินค้าและผู้บริโภคได้ใช้พลาสติกฟิล์มยืดหด ส�าหรับแพ็กสินค้าที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกับฟิล์ม ทีท่ า� มาจากเม็ดพลาสติกใหม่ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าสินค้าจะ ถูกจัดส่งด้วยความปลอดภัย ในขณะทีช่ ว่ ยลดจ�านวน ขยะพลาสติก เม็ดพลาสติกชนิดนีไ้ ด้รบั การออกแบบให้นา� ไป ใช้เป็นชัน้ กลางของฟิลม์ พลาสติกชนิดยืดหดได้ 100% โดยได้ทดสอบและผสมมาอย่างดี ท�าให้โรงงานผลิต ฟิลม์ สามารถน�าไปใช้ทดแทนเม็ดพลาสติกเดิมได้ทนั ที ช่วยประหยัดเวลาและลดความยุ่งยากในการปรับตั้ง ค่าเครือ่ งจักร รวมทัง้ ยังได้รบั บริการด้านเทคนิคจาก ผู้เชี่ยวชาญของ Dow เมื่อผลิตเป็นฟิล์มพลาสติก ที่เสร็จสมบูรณ์แล้วจะมีสัดส่วนของพลาสติกรีไซเคิล อยู่ที่ 13-24% ซุนี มาร์คอส ผูอ้ า� นวยการธุรกิจรีไซเคิลภูมภิ าค เอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า การสร้างตลาดให้กับขยะ พลาสติกจะเพิม่ แรงจูงใจในการจัดเก็บ รีไซเคิล และ ผลักดันให้สินค้ารีไซเคิลได้รับการพัฒนามากขึ้น พร้อมทั้งช่วยลดจ�านวนพลาสติกที่จะหลุดรอดไปสู่ ธรรมชาติอีกด้วย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ นี้ เ ป็ น หนึ่ ง ในกลยุ ท ธ์ ข อง Dow ที่จะพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียนของพลาสติก โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ที่มีสัดส่วนของ พลาสติกรีไซเคิลให้แก่ลูกค้า 2020


Report กองบรรณาธิการ

คณะวิศวฯ ม.มหิดล จับมือ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล

เปิดตัว

ช่วยเก็บขยะติดเชื้อ รับมือ COVID-19

หุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ช่วยเก็บขยะติดเชื้อ

รศ. ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย มหิดล ร่วมสร้างและเปิดตัว 2 นวัตกรรมหุ่นยนต์ คือ หุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ช่วยเก็บขยะติดเชื้อ และหุ่นยนต์ฟู้ดดี้ (Foodie) ช่วยส่งอาหารและยา ในหอผูป้ ว่ ย เพือ่ ลดความเสีย่ งอันตรายต่อการติดเชือ้ และทดแทนงานหนักของบุคลากรทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลในช่วงสถานการณ์ COVID-19 รศ. ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าว ในช่วงทีป่ ระเทศไทยประสบวิกฤตระบาด COVID-19 ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน 2563 ที่ผ่านมา ประกอบกับปริมาณขยะติดเชื้อจากหน้ากากอนามัย และอุปกรณ์ในโรงพยาบาลมีปริมาณที่เพิ่มสูงขึ้น จากมาตรการภาครัฐที่ขอให้ประชาชนทุกคนสวมใส่ 17

GreenNetwork4.0 May-June

แพลตฟอร์มในการควบคุม การท�างานของหุ่นยนต์ หน้ากากอนามัยเมื่อเข้ามารับบริการในโรงพยาบาล เพื่อป้องกันเชื้อ อีกทั้งในช่วงภาวะดังกล่าวบุคลากร ทางการแพทย์ทตี่ อ่ สูก้ บั COVID-19 มีจา� นวนจ�ากัด และเริ่มประสบปัญหาขาดแคลน ท�าให้ต้องท�างาน เกินกว่าเวลาทีก่ า� หนดคือมากกว่า 8-12 ชัว่ โมงต่อวัน ส่งผลให้บุคลากรทางการแพทย์ขาดการพักผ่อน ร่างกายไม่แข็งแรง มีภูมิต้านทานน้อย เสี่ยงต่อการ ติดเชื้อได้ 2020


ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์

หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ หัวหน้าโครงการเอจีวีแพลตฟอร์ม เทคโนโลยีสา� หรับงานบริการ ในสถานประกอบการสาธารณสุข

นพ.สมชาย ดุษฎีเวทกุล

รองผู้อ�านวยการศูนย์การแพทย์ กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และ หนึ่งในทีมผู้วิจัย

ทีมงานวิจยั จึงได้นา� เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ AGV (Automated Guide Vehicle) ซึง่ ก�าลังมีบทบาท ส� า คั ญ ในการพั ฒ นาดิ จิ ทั ล เฮลท์ แ คร์ (Digital Healthcare) มาพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อลดความเสี่ยง ต่อการติดเชื้อและทดแทนงานหนักของบุคลากร ทางการแพทย์ในโรงพยาบาลในช่วงสถานการณ์ COVID-19 โดยความร่วมมือจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และมีผู้สนับสนุนจากภาคเอกชนที่เป็นศิษย์เก่าได้นา� เทคโนโลยีแพลตฟอร์มการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ใช้งาน ทีเ่ หมาะสมเข้ามาร่วมสร้าง 2 นวัตกรรมหุน่ ยนต์ขนึ้ ส�าเร็จในระยะเวลาประมาณ 2 เดือน คือ หุน่ ยนต์เวสตี้ (Wastie) ส�าหรับใช้งานเก็บขยะติดเชือ้ ในโรงพยาบาล และโรงพยาบาลภาคสนามที่เปิดเป็นพื้นที่ส�าหรับ กักตัวผูต้ ดิ เชือ้ ตามนโยบายรัฐบาล และหุน่ ยนต์ฟดู้ ดี้ (Foodie) ส�าหรับช่วยส่งอาหารและยาในหอผู้ป่วย ที่เป็นพื้นที่ติดเชื้อโดยเฉพาะ โดยใช้แพลตฟอร์ม เทคโนโลยีอตั โนมัติ AGV รองรับงานหนักและงานเสีย่ ง อันตรายด้วยระบบการท�างานขนส่งในโรงพยาบาล อย่างมีประสิทธิภาพและแม่นย�า ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ หัวหน้าภาควิชา วิ ศ วกรรมอุ ต สาหการ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และหั ว หน้ า โครงการเอจี วี แพลตฟอร์ ม เทคโนโลยี ส� า หรั บ งานบริ ก ารใน สถานประกอบการสาธารณสุข กล่าวว่า แนวคิดใน การสร้างหุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ส�าหรับเก็บขยะ ติดเชื้อ เกิดจากการมองเห็นปัญหาของขยะติดเชื้อ ที่ มี จ� า นวนมากภายในโรงพยาบาลในก่ อ นเกิ ด COVID-19 ต่อเนือ่ งในช่วง COVID-19 ทางทีมผูว้ จิ ยั จึงได้น�าโจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้นไปคิดค้นและสร้าง หุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ช่วยลดความเสี่ยงในการ เก็บขยะติดเชื้อในโรงพยาบาล โดยตัวหุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ประกอบด้วย AGV แบบระบบน�าทางด้วยเทปแม่เหล็ก และแขนกล (CoBot) ส�าหรับยกถังขยะโหลดขึ้น โดยมีระบบ Machine Vision ในการจ�าแนกประเภทวัตถุและ ต�าแหน่ง การยกแต่ละครัง้ ได้สงู สุด 5 กิโลกรัม และ AGV สร้างให้สามารถรับน�้าหนักบรรทุกได้ถึง 500 กิโลกรัม มีความเร็วในการเคลือ่ นทีไ่ ม่ตา่� กว่า 8 เมตร ต่อนาที ใช้ระบบน�าทางแบบ Magnet ติดเทปแถบ แม่เหล็กไว้ที่พื้นเป็นเส้นน�าทาง การท�างานหุน่ ยนต์จะเคลือ่ นทีไ่ ปตามแนวเส้น น� า ทาง การท� า งานเริ่ ม จากขดลวดกระตุ ้ น ผลิ ต สนามแม่เหล็กไฟฟ้าโดยที่มีชุดตรวจจับท�าให้การ 18

GreenNetwork4.0 May-June

เคลือ่ นทีม่ คี วามเทีย่ งตรงและแม่นย�า เมือ่ ถึงจุดรับขยะ จะอ่านบาร์โค้ด แล้วยกถังขยะติดเชื้อไปยังกระบะ จัดเก็บที่วางไว้ตามจุด และได้ทดลองน�ามาใช้ใน ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกพบว่า สามารถลด ขยะติดเชือ้ ได้ประมาณ 2-2.5 ตันต่อวัน โดยเฉพาะ ในช่วง COVID-19 มีจ�านวนขยะติดเชื้อเพิ่มขึ้นกว่า เท่าตัว เมือ่ มีหนุ่ ยนต์มาช่วยจัดเก็บขยะติดเชือ้ ท�าให้ ช่วยลดเวลาในการเก็บและช่วยลดความเสี่ยงจาก ขยะติดเชื้อสู่บุคลากรทางการแพทย์ที่จัดเก็บได้ดีขึ้น นพ.สมชาย ดุษฎีเวทกุล รองผู้อ�านวยการ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และหนึง่ ในทีม ผู้วิจัย กล่าวว่า จุดเด่นของหุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ส�าหรับเก็บขยะติดเชื้อ และหุ่นยนต์ฟู้ดดี้ (Foodie) ส�าหรับส่งอาหารและยา ซึ่งได้ทดลองน�ามาใช้ที่ ศู น ย์ ก ารแพทย์ ก าญจนาภิ เ ษก เพื่ อ ดู แ ลผู ้ ป ่ ว ย COVID-19 ทีเ่ ข้ามารับการรักษาทีน่ ปี่ ระมาณ 50 คน ในช่วง 2 เดือนที่ผ่าน พบว่าสามารถรับน�้าหนักได้ มากกว่าหุ่นยนต์ทั่วไป โดยสามารถรองรับน�้าหนัก ได้ประมาณ 500 กิโลกรัม ช่วยลดการท�างานของ บุคลากรทางการแพทย์ ผูช้ ว่ ยพยาบาล ในการเข้าไป เก็บขยะติดเชือ้ วันละ 2 ครัง้ ช่วยน�าส่งอาหารและยา แก่ผปู้ ว่ ยทีต่ ดิ เชือ้ COVID-19 วันละ 3 ครัง้ ลดการใช้ หน้ากากอนามัยและชุดป้องกันเชื้อที่ได้มาตรฐาน ส� า หรั บ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ส วมใส่ เ ข้ า ไปให้ บริการผู้ป่วยในแต่ละวันได้จ�านวนมาก ใช้เวลาใน การน� า ส่ ง น้ อ ยกว่ า ใช้ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ลดความเสีย่ งของบุคลากรทางการแพทย์ทจี่ ะเข้าไป สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย COVID-19 เมื่อเข้าไปน�าส่งยา และอาหารในแต่ละวัน และมีความแม่นย�าในการ น�าส่งยาตามแพลตฟอร์มที่แพทย์เจ้าของไข้ระบุใน เส้นทางของพื้นที่ที่จ�ากัดได้คล่องตัวกว่าบุคลากร ทางการแพทย์ ที่ส�าคัญจะช่วยให้บุคลากรทางการ แพทย์สามารถไปดูแลรักษาผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นโรคอืน่ ๆ ตาม ห้องตรวจต่างๆ นอกเหนือจากผู้ป่วย COVID-19 ทดแทนบุคลากรที่ขาดแคลนได้กว่า 30-40% ในอนาคตก�าลังต่อยอดแพลตฟอร์มร่วมกับ ทีมวิจัยในการสร้างหุ่นยนต์ทั้ง 2 แบบนี้เพิ่มขึ้น ให้ได้เดือนละ 5 ตัวในแต่ละประเภท ใช้งานภายใน ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกต่อยอดสูโ่ รงพยาบาล อื่นๆ ในอนาคตต่อไป เนื่องจากต้นทุนการสร้าง หุ ่ น ยนต์ มี ร าคาสู ง และต้ อ งใช้ แ พลตฟอร์ ม จาก พันธมิตรภาคเอกชนเข้ามาเป็นผู้สนับสนุน

2020


ฮาวทูทิ้ง

How to

หน้ากากอนามัย

ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์, ดร.วิชสิณี วิบุลผลประเสริฐ

ให้ปลอดภัยกับสังคม 1 และสิ่งแวดล้อม

หน้ากากอนามัยจัดเป็นวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ใช้ส�าหรับการป้องกันสิ่งปนเปื้อนทั้งอนุภาคขนาดใหญ่และ ขนาดเล็กเข้าสูร่ า่ งกายของแพทย์และคนไข้ผา่ นทางระบบทางเดินหายใจ โดยส่วนใหญ่หน้ากากอนามัยจะถูกใช้โดยศัลยแพทย์ ทันตแพทย์ เทคนิค การแพทย์ และสัตวแพทย์ ระหว่างการวินจิ ฉัย ผ่าตัด หรือเมือ่ จ�าเป็นต้องรักษา ผูป้ ว่ ยอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ป้องกันการติดต่อของเชือ้ โรคทัง้ ในรูปแบบของเหลว เช่น น�้าลาย น�้าเหลือง และเลือด หรือละอองปนเปื้อนเชื้อซึ่งสามารถแพร่กระจาย เข้าสู่ร่างกายผ่านทางปากและจมูก

ความต้องการใช้หน้ากากอนามัยในช่วง COVID-19 เพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว

ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 ความต้องการใช้หน้ากาก อนามัยเพิม่ ขึน้ เกือบเท่าตัว เพราะนอกจากหน้ากากอนามัยจะถูกใช้ทางการแพทย์ ในปริมาณที่มากขึ้นเพื่อรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อแล้ว ประชาชนทั่วไปยังมีความ ต้องการใช้หน้ากากอนามัยมากขึน้ เพือ่ ป้องกันเชือ้ COVID-19 อีกด้วย โดยหากใช้ วิธกี ารประมาณการแบบหยาบๆ โดยก�าหนดให้ปริมาณการผลิตหน้ากากอนามัย ในประเทศอยู่ที่ 1.56 ล้านชิ้น/วัน2 ทั้งในช่วงก่อนและหลังมีการระบาดของ COVID-19 (ซึ่งไม่นับรวมการเพิ่มก�าลังการผลิตของโรงงานที่ผลิตหน้ากาก อนามัยเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนหน้ากากอนามัยในช่วงที่มีการแพร่ระบาด) ซึ่งจากจ�านวนนี้ มีการจัดสรรหน้ากากอนามัยจ�านวน 0.8 ล้านชิ้น/วัน ให้กับ สถานพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์และที่เหลืออีก 0.76 ล้านชิ้น/วัน ให้กับประชาชนทั่วไป ถ้าตั้งสมมติฐานว่าในช่วงก่อนที่จะมีการแพร่ระบาดของ COVID-19 ประชาชนทั่วไปไม่มีความต้องการใช้หน้ากากอนามัย มีแต่บุคลากรทางการ แพทย์ที่ใช้ ดังนั้นปริมาณความต้องการใช้หน้ากากอนามัยในช่วงก่อนมี COVID-19 อยูท่ ปี่ ระมาณ 0.8 ล้านชิน้ /วัน ในขณะทีป่ ริมาณความต้องการใช้ หน้ากากอนามัยในช่วงหลังมี COVID-19 อยู่ที่ 1.56 ล้านชิ้น/วัน เนื่องจาก ประชาชนหันมาสวมใส่หน้ากากอนามัยเพิม่ ขึน้ เพราะหวาดกลัวการระบาดของ 1

ผูเ้ ขียนขอขอบคุณ รศ. ดร.อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ส�าหรับข้อแนะน�าในการเขียน บทความ และขอบคุ ณ ปริ ญ ญารั ต น์ เลีย้ งเจริญ และณัฐพร บุตรโพธิ์ ทีช่ ว่ ยใน การรวบรวมข้อมูล 2 ที่ ม า: https://news.thaipbs.or.th/ content/289780 และ https://thestandard.co/where-arethe-hygiene-masks-distributed/ 19

GreenNetwork4.0 May-June

2020


COVID-19 จะเห็นว่าความต้องการใช้หน้ากากอนามัยเพิม่ ขึน้ เกือบเท่าตัว นัน่ หมายความว่าในแต่ละวันปริมาณขยะทีเ่ กิดจากหน้ากากอนามัยทีใ่ ช้ ครั้งเดียวทิ้งมีจ�านวนมากขึ้นด้วยเช่นกัน

หน้ากากอนามัยเป็นขยะติดเชื้อ หากทิ้งและก�าจัด ไม่ถูกต้องอาจรั่วไหลสู่สิ่งแวดล้อมได้

หน้ากากอนามัยทีใ่ ช้แล้วจัดได้วา่ เป็นขยะติดเชือ้ ซึง่ จ�าเป็นต้องได้ รับการก�าจัดอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน และสิ่งแวดล้อม เนื่องจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วปนเปื้อนด้วยเสมหะ น�า้ ลาย น�า้ มูกของบุคคลผูใ้ ช้ และอาจยังปนเปือ้ นเชือ้ โรคจากบุคคลทีป่ ว่ ย หรือผู้เป็นพาหะน�าโรคได้ ถ้าหากหน้ากากอนามัยเหล่านี้ไม่ได้รับการ คัดแยกอย่างถูกวิธี ถูกทิ้งปะปนกับขยะชุมชน จะส่งผลให้พนักงานที่ ท�าหน้าทีเ่ ก็บขนขยะมีความเสีย่ งสูงทีจ่ ะติดเชือ้ COVID-19 และเมือ่ ขยะ ถูกน�าไปก�าจัดด้วยวิธที ไี่ ม่ถกู ต้อง เช่น เทกองกลางแจ้ง ก็อาจเพิม่ โอกาส ที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชนทั้งทางน�้าและทางอากาศ นอกจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของ พนักงานเก็บขยะและคนในชุมชนแล้ว ปริมาณขยะหน้ากากอนามัยแบบ ใช้ครั้งเดียวทิ้งที่จัดการไม่ถูกต้องยังส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและ สิง่ แวดล้อมได้ เนือ่ งจากหน้ากากอนามัยมีองค์ประกอบทีผ่ ลิตจากวัสดุที่ ย่อยสลายยาก เช่น โพลีโพรไพลีน (Polypropylene : PP) ซึง่ เป็นพลาสติก ชนิดหนึ่งที่น�ามาขึ้นรูปให้เป็นเส้นใยสังเคราะห์แล้วทอให้เป็นแผ่น รวม ไปถึงลวดส�าหรับปรับให้เข้ากับโครงจมูกก็ท�ามาจากแผ่นพลาสติกขนาด เล็ก หรือลวดโลหะอะลูมเิ นียม ซึง่ เป็นส่วนประกอบของหน้ากากอนามัย

จีนและฮ่องกงประสบปัญหาการก�าจัดขยะติดเชื้อ จาก COVID-19

หลายประเทศที่เริ่มมีการระบาดของ COVID-19 ก่อนประเทศ อืน่ ๆ เช่น ประเทศจีนและฮ่องกงพบว่าเริม่ ประสบปัญหาในการก�าจัดขยะ ติดเชือ้ แล้ว โดยในฮ่องกงเมือ่ ประชาชนจ�านวนมากสวมใส่หน้ากากอนามัย เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากหวาดกลัวการระบาด อย่างไรก็ดี หลังจากถูกใช้งานแล้ว

หน้ากากเหล่านีถ้ กู ทิง้ อย่างไม่ถกู ต้อง ส่งผลให้มขี ยะหน้ากากอนามัยจ�านวน มากลอยมาติดบริเวณชายหาดหมูเ่ กาะโซโค ของฮ่องกง ขยะดังกล่าวเป็น ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศของหมู่เกาะโซโค การแพร่ระบาดของ COVID-19 ยังส่งผลให้ประเทศจีนต้องเผชิญ กั บ ปั ญ หาขยะหน้ า กากอนามั ย ที่ ใ ช้ แ ล้ ว และขยะติ ด เชื้ อ ที่ เ กิ ด จาก สถานพยาบาลจ� า นวนมาก การที่ ป ระเทศจี น มี เ ตาเผาขยะติ ด เชื้ อ ไม่เพียงพอส�าหรับก�าจัดขยะเหล่านีอ้ ย่างถูกวิธี และมีเตาเผาขยะติดเชือ้ จ�านวนหนึ่งซึ่งสร้างขึ้นส�าหรับจัดการกับขยะติดเชื้อในช่วงที่เกิดการ แพร่ระบาดของโรค SARs ใกล้สิ้นสุดอายุการใช้งาน ส่งผลให้มีความ จ�าเป็นต้องก�าจัดขยะติดเชือ้ เหล่านีอ้ ย่างไม่ถกู วิธี อีกทัง้ ท�าให้ประชาชน และพนักงานเก็บขนขยะมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อจากมูลฝอยติดเชื้อ เหล่านี้อีกด้วย ในกรณีของเมืองอูฮ่ นั่ ซึง่ เป็นศูนย์กลางของการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ปริมาณมูลฝอยติดเชือ้ ทีเ่ กิดขึน้ ใน แต่ละวันสูงถึง 200 ตัน ซึ่งมากกว่าศักยภาพในการรองรับของเตาเผา ขยะติดเชื้อถึง 4 เท่าตัว3 ส่งผลให้มีมูลฝอยติดเชื้อจ�านวนมากที่ไม่ได้ รับการก�าจัดอย่างถูกวิธี เพิม่ ความเสีย่ งทางด้านสุขภาพและสิง่ แวดล้อม ภายในเมืองอู่ฮั่น

หน้ากากอนามัยเป็นขยะติดเชื้อ ต้องคัดแยกจาก ขยะทั่วไป - น�าไปก�าจัดอย่างถูกวิธี

เนื่องจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วเป็นขยะติดเชื้อ จึง มีความ จ�าเป็นต้องคัดแยกหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วออกจากขยะมูลฝอยทั่วไป พร้อมทัง้ ต้องเก็บขนไปยังสถานทีส่ า� หรับก�าจัดมูลฝอยติดเชือ้ ทีม่ เี ตาเผา อุณหภูมิสูงตามแนวทางที่ก�าหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการ มูลฝอยติดเชือ้ พ.ศ. 2545 ไม่ใช่ดา� เนินการแบบขยะชุมชน ซึง่ จะท�าให้ เกิดการแพร่กระจายและติดเชื้อไวรัสได้มากขึ้น กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชือ้ พ.ศ. 2545 ได้ระบุถงึ แนวทางในการก�าจัดมูลฝอยติดเชื้อไว้ 3 แนวทาง ได้แก่ การใช้เตาเผา การนึง่ ฆ่าเชือ้ ด้วยไอน�า้ และการท�าลายเชือ้ ด้วยความร้อน ในกรณีทกี่ า� จัด มูลฝอยติดเชือ้ ในเตาเผา ได้มกี ารก�าหนดให้ใช้เตาเผาทีม่ หี อ้ งเผามูลฝอย ติดเชือ้ และห้องเผาควัน การเผามูลฝอยติดเชือ้ ให้เผาทีอ่ ณ ุ หภูมไิ ม่ตา�่ กว่า 760 องศาเซลเซียส และในการเผาควันก�าหนดให้เผาด้วยอุณหภูมไิ ม่ตา�่ กว่า 1,000 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ ในการเผาจะต้องมีการควบคุมมาตรฐาน อากาศเสียที่ปล่อยออกจากเตาเผาด้วย ส�าหรับการก�าจัดมูลฝอยติดเชื้อ ด้วยวิธีการท�าลายเชื้อด้วยไอน�้าหรือความร้อน จะต้องด�าเนินการให้ได้ ตามเกณฑ์ มาตรฐานทางชีวภาพ โดยจะต้องมีประสิทธิภาพในการท�าลายเชือ้ แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส และปรสิต ที่อยู่ในมูลฝอยติดเชื้อทั้งหมด

ศักยภาพในการเก็บขนและจัดการขยะติดเชือ้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในช่วง COVID-19

เมือ่ สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 มีแนวโน้มทีร่ นุ แรง และขยายวงกว้างมากขึ้น ปริมาณการใช้หน้ากากอนามัยและอุปกรณ์

3

ที่มา: https://www.scmp.com/comment/opinion/article/3074162/disposal-face-masks-and-medical-waste-crisis-making 20

GreenNetwork4.0 May-June

2020


รู้หรือไม่?

หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้ว ควรทิ้งยังไง?

ทิ้งในถังขยะสีแดง แล้วอย่าลืมใส่ถุง และปิดให้มิดชิดนะ ทางการแพทย์อนื่ ๆ ทัง้ ถุงมือทางการแพทย์ ชุดป้องกันเชือ้ โรค (PPE) ฯลฯ เพิม่ ขึน้ อย่างมาก โดยอุปกรณ์เหล่านีจ้ า� เป็นต้องได้รบั การจัดการเหมือน มูลฝอยติดเชื้อ ค�าถามที่เกิดขึ้นตามมาคือศักยภาพในการรองรับของ บริการเก็บขนและก�าจัดมูลฝอยติดเชือ้ ทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั จะสามารถรองรับ ได้หรือไม่ และถ้าขยะหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วไม่ได้ถูกคัดแยกออกมา แต่ถูกทิ้งปะปนกับขยะชุมชนอื่นๆ ทางภาครัฐจะด�าเนินการอย่างไร เนื่องด้วยการเก็บขนและการก�าจัดมูลฝอยติดเชื้อจ�าเป็นต้องเป็น ไปตามที่กฎกระทรวงได้ก�าหนดไว้ ดังนั้นการค�านึงถึงความสามารถ ในการรองรับ (Capacity) ของหน่วยงานทีร่ บั เก็บขนมูลฝอยติดเชือ้ และ หน่วยงานทีร่ บั ก�าจัดมูลฝอยติดเชือ้ เป็นสิง่ ทีม่ คี วามส�าคัญอย่างยิง่ ส�าหรับ การเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อ พบว่าปัจจุบันทั่วประเทศมีบริษัทเอกชน จ�านวน 25 ราย และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จ�านวน 10 ราย ทีร่ บั เก็บขนมูลฝอยติดเชื้อ โดยมีการน�าระบบ Manifest System มาใช้ใน การควบคุมและก�ากับดูแลการเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อจากแหล่งก�าเนิด ไปยังแหล่งก�าจัด ส�าหรับการก�าจัดมูลฝอยติดเชือ้ ในปัจจุบนั พบว่ามีการก�าจัดมูลฝอย ติดเชือ้ ณ แหล่งก�าเนิดจ�านวน 67 แห่ง ซึง่ สามารถจ�าแนกเป็นการก�าจัด 4

มูลฝอยติดเชือ้ โดยใช้เตาเผา 61 แห่ง และเครือ่ งมือส�าหรับนึง่ ฆ่าเชือ้ โดย ใช้ไอน�า้ ร้อนและแรงดันสูง (Autoclave) จ�านวน 6 แห่ง ส�าหรับมูลฝอย ติดเชื้อที่ไม่ได้รับการก�าจัด ณ แหล่งก�าเนิด จะถูกเก็บขนไปก�าจัดใน เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ4 โดยแบ่งเป็นเตาเผามูลฝอยติดเชื้อของเอกชน จ�านวน 3 แห่ง ได้แก่ บริษัท โชติฐกรณ์ พิบูลย์ จ�ากัด (40 ตัน/วัน) บริษทั ทีด่ นิ บางปะอิน จ�ากัด (8 ตัน/วัน) และบริษทั กรุงเทพธนาคม จ�ากัด (40 ตัน/วัน) ส�าหรับเตาเผามูลฝอยติดเชือ้ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีจา� นวน 7 แห่ง ได้แก่ อบจ.นนทบุรี (7.2 ตัน/วัน) อบจ.ระยอง (3.6 ตัน/ วัน) เทศบาลนครอุดรธานี (7.2 ตัน/วัน) เทศบาลนครยะลา (อยูร่ ะหว่าง การปรับปรุง) เทศบาลเมืองน่าน (4.8 ตัน/วัน) เทศบาลเมืองวารินช�าราบ (8.4 ตัน/วัน) และเทศบาลเมืองภูเก็ต (3 ตัน/วัน)

มาตรการของไทยในปัจจุบัน เน้นให้ความรู้การทิ้ง หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธี

มาตรการที่ภาครัฐด�าเนินการอยู่ในปัจจุบัน เน้นการสร้างความ ตระหนักและให้ความรู้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับวิธีการทิ้งหน้ากาก อนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธี โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งกระทรวง

ที่มา: สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ กทม. 21

GreenNetwork4.0 May-June

2020


ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงกรุงเทพมหานครได้ออกมา ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนว่าสามารถทิ้งหน้ากากอนามัย ทีใ่ ช้แล้วอย่างถูกวิธไี ด้อย่างไร โดยแนะน�าให้ประชาชนน�าหน้ากากอนามัย ที่ใช้แล้วบรรจุใส่ถุงที่ปิดสนิท มัดปากถุงให้แน่น พร้อมติดหน้าถุงว่า “หน้ากากอนามัย” เพื่อให้รถเก็บขนขยะมูลฝอยขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเก็บขนไปก�าจัด นอกจากนี้ ทางกรุงเทพมหานครจัดให้มี ถังรองรับหน้ากากอนามัย (ถังสีแดง) เฉพาะในจุดทีท่ างกรุงเทพมหานคร ก�าหนด เช่น ส�านักงานเขตทั้ง 50 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร 11 แห่ง ศาลาว่าการ กรุงเทพมหานคร เป็นต้น

มาตรการของจีนค่อนข้างเข้มข้น และจูงใจให้คน คัดแยกและทิ้งอย่างถูกวิธี

หากพิจารณามาตรการของประเทศจีนเกี่ยวกับการจัดการขยะ หน้ากากอนามัย พบว่ารัฐบาลจีนได้ใช้มาตรการที่เข้มข้นในการจัดการ กับผู้ที่ทิ้งหน้ากากอนามัยและขยะติดเชื้ออื่นๆ แบบผิดวิธี ควบคู่ไปกับ มาตรการทางสังคมซึง่ จูงใจให้คนคัดแยกและทิง้ ขยะเหล่านีอ้ ย่างถูกต้อง โดยรั ฐ บาลจี น ได้ ก� า หนดให้ ตั้ ง ถั ง ขยะพิ เ ศษในชุ ม ชนทุ ก แห่ ง และ ออกข้อก�าหนดให้ประชาชนน�าหน้ากากอนามัยทีใ่ ช้แล้วพับใส่ถงุ พลาสติก และทิ้งลงในถังขยะพิเศษสีแดงเท่านั้น โดยที่ทิ้งขยะทุกแห่งจะมีกล้อง CCTV บันทึกตลอดเวลา ในกรณีของเมืองเซี่ยงไฮ้ หากประชาชนทิ้ง หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วไม่ตรงกับถังที่ก�าหนดจะถูกปรับ5 ครั้งละ 200 หยวน หรือ 1,000 บาท แต่ในกรณีของร้านค้า จะถูกปรับครัง้ ละไม่เกิน 50,000 หยวน หรือ 250,000 บาท นอกเหนือจากเงินค่าปรับแล้ว มาตรการลงโทษผู้ท่ีฝ่าฝืนซึ่ง ชาวเซีย่ งไฮ้หลายคนกังวลคือ การถูกตัดคะแนนความน่าเชือ่ ถือทางสังคม (Social Credit Rating) ซึง่ เป็นฐานข้อมูลติดตามพฤติกรรมทางการเงิน และทางสังคมของประชาชนชาวเซีย่ งไฮ้ทบี่ ง่ บอกถึงระดับความน่าเชือ่ ถือ (Trustworthiness) ผูท้ มี่ คี ะแนนความน่าเชือ่ ถือต�า่ จะถูกกีดกันจากการ เข้าเรียนในโรงเรียนเอกชน การเข้าท�างานในสถานทีท่ า� งานทีด่ ี รวมถึง ถูกกีดกันจากการเข้าใช้ประโยชน์พนื้ ทีส่ าธารณะบางแห่ง เป็นต้น ซึง่ ถือว่า เป็นมาตรการทางสังคมที่มีผลต่อแรงจูงใจในการคัดแยกและทิ้งขยะให้ ถูกต้องของชาวเมืองเซี่ยงไฮ้ ส�าหรับขยะติดเชื้อที่ผ่านการคัดแยกแล้ว จะมีเจ้าหน้าทีข่ องเมืองทีแ่ ต่งชุด PPE ป้องกันตนเองอย่างดีมาท�าการเก็บ ทุกวัน พร้อมกับท�าการพ่นแอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อโรคที่ถังขยะทุกครั้งก่อน น�าส่งเตาเผาขยะของเมืองต่อไป

ไทยควรใช้มาตรการเชิงรุกที่เข้มข้น โดยประชาสัมพันธ์ - ขอความร่วมมืออย่างจริงจัง

ประเทศไทยควรใช้มาตรการเชิงรุกทีเ่ ข้มข้นขึน้ โดยประชาสัมพันธ์ และขอความร่วมมืออย่างจริงจังให้คนคัดแยกและทิ้งหน้ากากอนามัย ให้ถูกวิธี รวมทั้งจัดตั้งถังขยะติดเชื้อให้เพียงพอ นอกจากนี้ ควรใช้สื่อ ในการรณรงค์ที่มีเนื้อหาที่เข้าใจง่ายและสามารถเข้าถึงคนจ�านวนมาก ทุกเพศ ทุกวัย เพือ่ ขอความร่วมมือให้ประชาชนทัว่ ไปช่วยกันแยกหน้ากาก 5

อนามัยใช้แล้วออกจากขยะครัวเรือนประเภทอื่น พร้อมทั้งพับหน้ากาก อนามัย ใส่ถุงที่ปิดสนิท มัดปากถุงให้แน่น และเขียนหรือติดหน้าถุงว่า “หน้ากากอนามัย” เพือ่ ให้รถเก็บขนขยะมูลฝอยของส�านักงานเขต (พืน้ ที่ กรุงเทพมหานคร) หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเก็บไปก�าจัดอย่าง ถูกวิธีต่อไป ส�าหรับถังรองรับหน้ากากอนามัยทีใ่ ช้แล้ว (ถังสีแดง) ทางองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นควรเพิ่มจ�านวนถังสีแดง และควรเลือกจุดตั้งถัง ทีส่ ะดวกส�าหรับประชาชน เป็นสถานทีท่ คี่ นทัว่ ไปต้องไปหรือผ่านอยูแ่ ล้ว เพื่อไม่ต้องเพิ่มภาระหรือต้นทุนให้กับประชาชนในการน�าขยะหน้ากาก อนามัยไปทิง้ ในส่วนของหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน สถานประกอบการ และอาคารชุด จ�าเป็นต้องจัดให้มถี งั ขยะส�าหรับทิง้ หน้ากากอนามัยทีใ่ ช้แล้ว โดยเฉพาะ และติดสัญลักษณ์รูปภาพข้อความที่สื่อถึงหน้ากากอนามัย ทีใ่ ช้แล้ว ควรวางไว้ในจุดรวบรวมทีส่ ามารถเห็นได้ชดั เจน ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วในองค์กรต่อเนื่อง สื่อสารเกี่ยวกับจุดที่ตั้งถังขยะและแสดงแผนผังหรือรูปภาพแสดงวิธี การทิ้งที่ถูกต้องไว้บริเวณที่ตั้งถังขยะ ส�าหรับประชาชนทัว่ ไปทีย่ งั ไม่ได้ปว่ ยจาก COVID-19 ทางภาครัฐ สามารถรณรงค์ให้คนเหล่านี้หันมาใช้หน้ากากผ้าที่สามารถใช้ซ�้าได้ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณขยะหน้ากากอนามัย รวมถึงลดภาระของระบบ เก็บขนและก�าจัดขยะติดเชื้อไปได้มาก

ที่มา: https://www.bbc.com/news/world-asia-china-48847062 22

GreenNetwork4.0 May-June

2020


Magazine to Save The World

บางจากฯ น�านวัตกรรมดูแลลูกค้าส่งมอบความ “จริงใจ ห่วงใย ปลอดภัย” ตอบโจทย์ชีวิตหลัง COVID-19 ตั้งเป้าขยายบริการเพิ่มเติมในเขต กทม. และปริมณฑลรวม 50 แห่ง ภายในสิ้นเดือน มิ.ย.นี้

บมจ.บางจากฯ น�านวัตกรรมระบบ Digital Payment มาใช้ใน บริการช�าระเงิน-สะสมคะแนนครบวงจรเป็นรายแรกในประเทศไทย ส่งมอบความ “จริงใจ ห่วงใย ปลอดภัย” ภายในเวลา 1 นาที น�าร่อง ให้บริการที่สถานีบริการน�้ามันบางจาก 2 แห่ง และตั้งเป้าทยอยขยาย บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรวม 50 แห่ง ภายในเดือน มิถุนายน 2563 ชัยวัฒน์ โควาวิสารัช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า ตามทีบ่ ริษทั บางจากฯ ร่วมกับธนาคารกรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) ได้พฒ ั นา นวั ต กรรมระบบรั บ ช� า ระค่ า สิ น ค้ า และบริ ก ารแบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Bangchak Digital Payment) ภายใต้คอนเซ็ปต์ In-Car Fast & Trust Experiences ดูแลลูกค้า ส่งมอบความ “จริงใจ ห่วงใย ปลอดภัย” โดย น�าร่องให้บริการทีส่ ถานีบริการน�า้ มันบางจาก สาขาสุขมุ วิท 62 และสาขา ศรีนครินทร์ 1 เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมานั้น ปัจจุบันได้ขยายบริการ ครอบคลุมการสะสมคะแนนของสมาชิกบางจากด้วย ท�าให้บางจากเป็น รายแรกในประเทศไทยที่ให้บริการแบบครบวงจรในการรับช�าระเงิน ค่าน�้ามันได้ ทั้ง QR Code ผ่าน Mobile Application ของทุกธนาคาร รวมทั้งบัตรเครดิต บัตรเดบิต พร้อมสะสมคะแนนในเวลาเดียวกัน ผ่าน เครือ่ ง Mobile EDC ทีเ่ ชือ่ มโยงกับระบบสมาชิกบางจาก ท�าให้สามารถ แสดงยอดเงินที่ต้องช�าระ จ�านวนน�้ามันที่เติม และจ�านวนคะแนนสะสม โดยลูกค้าต้องนั่งอยู่ในรถขณะให้บริการ ในส่วนของการแสดงผลจะปรากฏที่หน้าจอเครื่อง Mobile EDC ให้ลูกค้าเห็นได้ทันที โดยที่พนักงานบริการไม่ต้องเดินไปมาระหว่าง รถลูกค้ากับจุดรับช�าระเงิน เพือ่ น�าบัตรสมาชิกของลูกค้าไปสะสมคะแนน เพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ โดยกระบวนการช�าระเงินสะสมคะแนนจะใช้เวลาภายใน 1 นาทีตอ่ หน้าลูกค้า ลดระยะเวลารอคอย และสร้างความมัน่ ใจเรือ่ งความปลอดภัย ลดความกังวลเรือ่ งการน�าข้อมูล ส่วนตัวไปใช้ ช่วยลดการสัมผัสเงินสด โดยบางจากตั้งเป้าทยอยขยาย 23

บริการระบบ Digital Payment เพิ่มเติมในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลรวม 50 แห่ง ภายในสิน้ เดือนมิถนุ ายน 2563 ในขณะเดียวกัน ก็เร่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่จะตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค หลังสถานการณ์ COVID-19 ออกมาอย่างต่อเนื่อง ด้าน ผยง ศรีวณิช กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ธนาคารกรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า ธนาคารได้รบั ความไว้วางใจจากบางจากให้พฒ ั นาระบบ ช�าระค่าบริการผ่านเครือ่ ง Mobile EDC ทีม่ คี วามทันสมัย ลูกค้าสามารถ ช�าระเงินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย และได้มาตรฐาน ซึ่งข้อมูลของหัวจ่าย จะเชื่อมต่อกับเครื่อง Mobile EDC สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้าน เทคโนโลยีทสี่ นับสนุนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานระบบ การช�าระเงิน และบริการทางการเงินทีส่ อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงด้าน ดิจิทัล พร้อมทั้งสนับสนุนการลงทุนด้านพลังงานสะอาดเพื่อสิ่งแวดล้อม การให้บริการ Supply Chain Financing Program ที่จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพทางเงินทั้งเครือข่ายในการพัฒนาศักยภาพการแข่งขัน ให้กับธุรกิจอีกด้วย ส�าหรับความร่วมมือระหว่างบริษทั บางจากฯ นัน้ ธนาคารกรุงไทย เป็นผูใ้ ห้บริการเครือ่ งรูดรับบัตรแบบไร้สาย หรือ Mobile EDC เพือ่ น�ามาใช้ กับระบบ Bangchak Digital Payment ในสถานีบริการน�้ามันบางจาก ซึ่งเป็นเครื่องที่ได้มาตรฐานความปลอดภัย สามารถใช้งานในบริเวณ สถานี บ ริ ก ารน�้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ตามข้ อ ก� า หนดของกระทรวงพลั ง งาน รวมทั้งตรงตามข้อก�าหนดเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าและการป้องกันอันตราย จากฟ้าผ่าของสถานทีป่ ระกอบกิจการน�า้ มัน โดยลูกค้าใช้บริการสามารถ เลือกช�าระได้หลากหลายวิธี คือช�าระด้วย QR Code ผ่าน Mobile Banking ทีล่ กู ค้าใช้อยู่ หรือช�าระผ่านบัตรเครดิต บัตรเดบิต โดยทีล่ กู ค้าต้องไม่ออก จากตัวรถที่จอดอยู่บริเวณแท่นจ่ายน�้ามัน เป็นการปฏิบัติตามมาตรฐาน ความปลอดภัยที่ก�าหนด

GreenNetwork4.0 May-June

2020


สวทช. ส่งมอบรถเข็นรักษ์โลกคันแรกในโครงการพัฒนา “นวัตกรรมรถเข็นรักษ์โลกเพื่อสตรีทฟู้ด” แก่ผู้ประกอบการสตรีทฟู้ด เจ้าของกิจการ “ข้าวเหนียวหมู เฮียวัตรปังตอทอง” จ.นครปฐม

ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) โดยศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม (DECC) ส่งมอบรถเข็นรักษ์โลกคันแรกในโครงการพัฒนา “นวัตกรรมรถเข็นรักษ์โลกเพือ่ สตรีทฟู้ด” ให้ผู้ประกอบการสตรีทฟู้ดเจ้าของกิจการข้าวเหนียวหมู เฮียวัตรปังตอทอง จ.นครปฐม ดร.อัมพร โพธิใ์ ย ผูอ้ า� นวยการศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม (DECC) สวทช. กล่าวว่า สวทช. ด�าเนินโครงการพัฒนา “นวัตกรรมรถเข็นรักษ์โลกเพื่อสตรีทฟู้ด” จากการริเริม่ และคิดค้นหาทางยกระดับสตรีทฟูด้ ไทยให้กา้ วไกลขึน้ ด้วยการน�าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เข้ามาช่วยยกระดับมาตรฐานทัง้ ด้านคุณภาพ ความปลอดภัยในการ บริโภคอาหาร สุขอนามัย ความสะอาดของร้านและผูป้ รุงอาหาร คุณภาพของการให้บริการ และความอร่อย สอดคล้องกับนโยบายขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 จึงได้ท�าการออกแบบและพัฒนารถเข็นและอุปกรณ์ภายในร้านให้มีความสะอาดปลอดภัย ลดการสร้างมลพิษหรือขยะของเสีย ลดน�า้ หนักรถเข็นให้เบาทีส่ ดุ เพิม่ ประสิทธิภาพการดูดควัน ให้สามารถใช้งานในพืน้ ทีป่ ดิ ได้ และปรับปรุงระบบบ�าบัดน�า้ ให้ทา� งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึน้ จนเกิดเป็นนวัตกรรมรถเข็นรักษ์โลกในเวอร์ชนั่ ทีส่ มบูรณ์แบบทีส่ ดุ ส�าเร็จแล้วในวันนี้ 24

GreenNetwork4.0 May-June

ล่าสุด สวทช. ได้ส่งมอบรถเข็นคันแรกใน โครงการพัฒนา “นวัตกรรมรถเข็นรักษ์โลกเพื่อ สตรีทฟู้ด” ตั้งแต่เปิดตัวโครงการฯ โดยเป็นรถเข็น โมเดลรูปแบบ 1: ที่น�้าหนักเบาพร้อมระบบน�้าดี ถังบ�าบัด และซิงค์นา�้ จ�านวน 2 คัน ให้แก่ผปู้ ระกอบการ เจ้าของกิจการข้าวเหนียวหมู เฮียวัตรปังตอทอง เพื่อน�าไปใช้งานจริง นอกจากนี้ DECC สวทช. ยังมี แผนส่ ง มอบรถเข็ น ให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการรายอื่ น ๆ ที่สั่งจองไว้แล้วกว่า 30 คัน ซึ่งมีทั้งโมเดลรูปแบบ 1 รถเข็นน�้าหนักเบาพร้อมระบบน�้าดี ถังบ�าบัด และ ซิงค์น�้า โมเดลรูปแบบ 2: รถเข็นน�้าหนักเบาพร้อม ระบบน�้าดี ถังบ�าบัด และซิงค์น�้า+ระบบดูดควัน และ โมเดลรูปแบบ 3: รถเข็นน�า้ หนักเบาพร้อมระบบน�า้ ดี ถังบ�าบัดและซิงค์นา�้ +ระบบดูดควัน+หัวเตาแก๊ส 2 หัว แก่ผู้ประกอบการสตรีทฟู้ดที่สั่งจองมาจากทั่วทุก ภูมิภาคของประเทศ ซึ่งมีหลากหลายประเภทอาหาร ทัง้ อาหารปิง้ ย่าง ทอด เครือ่ งดืม่ และอาหารตามสัง่ โดยมีเป้าหมายส่งมอบรถเข็นจ�านวนไม่น้อยกว่า 100 คัน ภายในปี พ.ศ. 2563 นี้ วิวฒ ั น์ กุลวิจติ ร์รตั น์ เจ้าของกิจการข้าวเหนียว หมู เฮียวัตรปังตอทอง กล่าวว่า หลังจากทีไ่ ด้ทดลอง ใช้ ง านรถเข็ น รั ก ษ์ โ ลกเพื่ อ สตรี ท ฟู ้ ด แล้ ว พบว่ า การใช้งานง่าย สะดวก และสะอาด เหมาะกับช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็น อย่างมาก เพราะตัวรถมีการออกแบบที่ตอบโจทย์ การใช้งาน มีอ่างล้างมือ ถังเก็บน�้า และบ่อดักไขมัน หาไม่ได้ในรถเข็นสตรีทฟูด้ ทัว่ ไป ถือได้วา่ เป็นสิง่ ทีเ่ ป็น ประโยชน์ตอ่ ผูท้ นี่ า� ไปใช้ขายของจริงๆ เพราะการขาย อาหารข้างทางทีถ่ กู สุขอนามัย จะท�าให้ชว่ ยเพิม่ ความ เชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี สวทช. เปิดรับผู้ประกอบการสตรีทฟู้ดที่สนใจ “รถเข็นนวัตกรรมรักษ์โลก” โดยมีรูปแบบรถเข็น ด้วยกัน 3 แบบ คือ รถเข็นน�า้ หนักเบาพร้อมระบบน�า้ ดี ถังบ�าบัด และซิงค์นา�้ และระบบทีเ่ พิม่ เติมระบบดูดควัน ตลอดจนระบบทีเ่ พิม่ เติมหัวเตาแก๊ส 2 หัว สนใจสัง่ จอง ออนไลน์ได้ที่ http://www.decc.or.th/streetfood/ ภายในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2563 หรือสอบถาม เพิม่ เติม โทร. 0-2564 -6310-11 ต่อ 101, 106 หรือ Line ID: @679hqbmi 2020


Magazine to Save The World

โรงไฟฟ้าบีแอลซีพี สนับสนุนพันธุ์ปูม้า จ�านวน 200,000 ตัว เพื่อเพิ่มปริมาณสัตว์น�้าในงานวันทะเลโลก ประจ�าปี 2563

อดิศร วังมูล ผูอ้ า� นวยการสายงานทรัพยากรบุคคลและสนับสนุน องค์กร ผู้แทนโรงไฟฟ้าบีแอลซีพี ร่วมพิธีเปิดงานวันทะเลโลก ประจ�าปี 2563 ซึ่งจัดต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 7 ณ สวนสาธารณะโขดปอ ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง โดยได้รับเกียรติจาก ว่าที่ร้อยตรี พิรุณ เหมะรักษ์ รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดระยอง เป็นประธานในพิธี โดยมี ภุชงค์ สฤษฎีชยั กุล ผูอ้ า� นวยการส�านักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ที่ 1 กรมทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาคเอกชน ผู้น�าชุมชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจ�านวนมาก อดิศร กล่าวว่า โรงไฟฟ้าบีแอลซีพีให้ความส�าคัญและมีนโยบาย สานต่อกิจกรรมเพือ่ ช่วยเพิม่ ปริมาณสัตว์นา�้ โดยมีการปล่อยพันธุส์ ตั ว์นา�้ มาอย่างต่อเนือ่ งเป็นระยะเวลา 18 ปี รวมถึงร่วมจัดกิจกรรมอืน่ ๆ ทีม่ สี ว่ น

ช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศทางทะเล ซึง่ มีสว่ นเพิม่ รายได้ให้กบั อาชีพ ประมงพื้นบ้านในอีกทางหนึ่ง โดยในปีนี้โรงไฟฟ้าบีแอลซีพีได้สนับสนุน พันธุป์ มู า้ จ�านวน 200,000 ตัว เพือ่ เพิม่ ปริมาณสัตว์นา�้ และเป็นส่วนหนึง่ ในการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ซึง่ จะก่อให้เกิดสังคมทีม่ คี วามสุข และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ เพื่อประโยชน์ ของทุกภาคส่วน กิ จ กรรมที่ จั ด ขึ้ น ในครั้ ง นี้ มี ค วามหลากหลายทั้ ง ในด้ า นการ เสริมสร้างจิตส�านึกในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรทางทะเล และรณรงค์ให้รกั ษา สิ่งแวดล้อมทางทะเล การจัดวางปะการังเทียมเพื่อสร้างแหล่งอาศัย สัตว์ทะเล การฟืน้ ฟูและพัฒนาพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนบริเวณพระเจดียก์ ลางน�า้ จ�านวน 102 ไร่

Sunport Power เปิดตัวโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ MWT ประสิทธิภาพสูงรุ่นใหม่ Sunport Power ผูผ้ ลิตโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ระดับโลก เปิดตัวโมดูล MWT ประสิทธิภาพ สูงรุ่นที่ 2 ในซีรีส์ C และ D ได้แก่ โมดูลแบบคลาสสิก C6-II และโมดูลแบบสีด�าล้วน D6-II ซึง่ ใช้เทคโนโลยี Meta Wrap Through (MWT) ทีจ่ ดสิทธิบตั รแล้ว จึงผลิตไฟฟ้าได้มากกว่าและ ใช้งานได้ยืดหยุ่นกว่า โมดูลรุ่นที่ 2 C6-II และ D6-II ได้รับการอัพเกรดคุณสมบัติหลายอย่าง ขณะที่ก�าลัง การผลิตไฟฟ้าก็เพิม่ ขึน้ สูงสุด 375W โดยโมดูล MWT ใช้โครงสร้างการเชือ่ มต่อด้านหลังเซลล์ แบบน�าไฟฟ้า ซึง่ ช่วยลดค่าความเค้นและรอยแตกขนาดเล็กของเซลล์ จึงมัน่ ใจได้ในประสิทธิภาพ การท�างานระยะยาว ดีไซน์แบบขั้วไฟฟ้าด้านหลังรับประกันความเสถียรของการเชื่อมต่อเซลล์ โดยไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งระยะห่างและต�าแหน่งการวาง ขณะเดียวกัน เลย์เอาท์ของโมดูลและเซลล์ แบบแบ่งครึ่งยังท�าให้โมดูลรุ่นที่ 2 มีก�าลังการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอีก 40W มาร์ติน กรีน หัวหน้านักวิทยาศาสตร์ของ Sunport Power กล่าวว่า เป้าหมายของเรา คือการพัฒนาอย่างยั่งยืน เราบุกเบิกการพัฒนาโมดูลเทคโนโลยี MWT ซึ่งมีข้อได้เปรียบเหนือ โมดูลแบบมาตรฐานทัว่ ไปทัง้ ในแง่ของประสิทธิภาพและความทนทาน เราจะเดินหน้าท�าการวิจยั และพัฒนาโดยอิงเทคโนโลยีระดับโลกของเราต่อไป เพือ่ สร้างสรรค์นวัตกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ ใหม่ๆ ส�าหรับตลาดทั่วโลก 25

GreenNetwork4.0 May-June

2020


Marketing ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี

การตลาดแห่งอนาคต หลักการของการตลาดแห่งอนาคตที่ก�าลังพูดกันอย่างกว้างขวาง ในปัจจุบนั อีกเรือ่ งหนึง่ ก็คอื “หลักการตลาดแบบ Blue Ocean” คือ เน้น ในการสร้างความต้องการหรืออุปสงค์ขึ้นมาใหม่ (Demand Creation) โดยไม่สนใจและให้ความส�าคัญกับคูแ่ ข่งเดิมๆ ทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรม ก่อให้ เกิดประโยชน์หรือคุณค่าทั้งต่อองค์กรเองและลูกค้า โดยลูกค้าจะได้รับ คุณค่าทีแ่ ตกต่างจากสินค้าอืน่ ๆ ในตลาด ในขณะทีอ่ งค์กรก็ลดต้นทุนใน ส่วนที่ไม่จ�าเป็นและน�าไปสู่การเติบโตขององค์กรได้ด้วย การตลาดแห่งอนาคต จึงเป็นความสามารถในการบริหารจัดการ และวิเคราะห์ขอ้ มูลทีจ่ ะช่วยให้เข้าถึงผูบ้ ริโภค คูแ่ ข่ง และเข้าใจสถานการณ์ ความเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อมทีจ่ ะมีผลต่อการ ประกอบกิจการ ท�าให้สามารถน�าข้อมูลมาใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวความคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์ Blue Ocean จุดประกายให้หลาย ประเทศเกิดกระแสการตืน่ ตัวในเรือ่ งของการสร้างความต้องการสินค้าใน ตลาดทีไ่ ร้การแข่งขัน คือ ท�าอย่างไรให้สนิ ค้าเป็นทีต่ อ้ งการของผูบ้ ริโภค โดยใช้แนวทางในการสร้างมูลค่าเพิ่มจากนวัตกรรมในแบบใหม่ๆ ควบคู่ กับการลดต้นทุนการผลิตในสิง่ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดคุณค่าต่อองค์กรและลูกค้า สรุปก็คือ การแสวงหาวิธีที่ท�าอย่างไรให้สินค้าของเราขายได้ ภายใต้โลกไร้พรมแดน โดยมีนวัตกรรมและลดต้นทุนได้ด้วย ความเป็นจริงในวันนีก้ ค็ อื สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติมแี นวโน้ม เปลี่ยนไปในทางที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพพลานามัย และความ ปลอดภัยของประชากรโลก ท�าให้หลายประเทศร่วมกันหารือถึงแนวทาง ในการแก้ไขป้องกันความเสียหายทีเ่ กิดจากการท�าลายสิง่ แวดล้อม ซึง่ จะ เห็นได้จากการออกกฎบัตรเกียวโตว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยสมาชิกจากประเทศส่วนใหญ่ ได้ตงั้ เป้าร่วมกันว่าจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 5.2 ภายในปี พ.ศ. 2555 รวมทัง้ การออกมาตรฐานสากลทีเ่ กีย่ วกับการจัดการสิง่ แวดล้อม (ISO 14000) มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม (ISO 26000) หรือ มาตรฐานการจัดการพลังงาน (ISO 50001) จึงท�าให้วธิ คี ดิ ของนักธุรกิจ เปลี่ยนไป กลยุทธ์ต่างๆ ก็ต้องเปลี่ยนไปด้วย 26

จากจุดเริ่มต้นดังกล่าวท�าให้แนวความคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของโลกเปลี่ยนไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่เน้นการพัฒนาที่ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมมากขึน้ เพือ่ เป็นการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ให้คนรุ่นหลังๆ การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ใน 3 ส่วน คือ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จะต้องด�าเนินไปพร้อมๆ กันเพื่อให้ สอดรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งโลก เมือ่ ไม่นานมานี้ องค์กร UNIDO ของสหประชาชาชาติได้มนี โยบาย ประกาศออกมาว่า ต่อจากนีก้ ารพัฒนาต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานของการเติบโต อย่างยั่งยืนแบบ Inclusive Growth คือ ภาคเอกชนและภาคราชการ จะต้องเติบโตไปอย่างมีความรับผิดชอบทีต่ อ้ งมีการแบ่งปัน เพือ่ ลดความ เหลื่อมล�้าของภาคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะความกินดีอยู่ดีของประชาชน อย่างเท่าเทียมกัน Inclusive Growth คือ การพัฒนาการเติบโตโดยทีไ่ ม่ได้โตเพียง คนเดียวหรือเก็บทรัพยากรต่างๆ ไว้ใช้เพียงคนเดียว พนักงานหรือคนงาน ชุมชนและสังคมก็ได้รบั ประโยชน์รว่ มกันด้วย แต่เป็นการเติบโตขึน้ มาโดย ที่ภาคส่วนอื่นๆ ได้รับประโยชน์ มีการแบ่งปันจากทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จ�ากัดที่ทุกคนมีความเป็นเจ้าของร่วมกัน จากผลการวิจัยของสหรัฐอเมริกาบอกว่า ในอีก 40 ปีข้างหน้า ถ้าผลิตภัณฑ์ใดที่ออกมาแล้วไม่รับผิดชอบต่อสังคม หรือวงจรชีวิตของ ผลิตภัณฑ์ ไม่คา� นึงถึงผลต่อสิง่ แวดล้อม สินค้าเหล่านัน้ จะขายไม่ได้และ จะหายไปจากโลก นี่คือกระแสและแนวโน้มของโลกที่ผู้บริโภคทุกคนจะ ยอมจ่ายเงินมากขึ้น ดังนั้นผู้ประกอบการต้องลงทุนไปเกือบ 2 ล้านบาท เพื่อปรับปรุง การผลิตและสภาพแวดล้อม และติดตัง้ ระบบดับเพลิงทัง้ หมด จึงเป็นการ เตรียมการส�าหรับ “การตลาดแห่งอนาคต” ดังนั้นการตลาดแห่งอนาคตจึงเป็นการตลาดที่ปราศจากสีเขียว ไม่ได้ เป็นการตลาดทีป่ ราศจากความรับผิดชอบต่อสังคมไม่ได้ โดยต้อง เป็นการตลาดที่เปี่ยมล้นด้วยคุณธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม ครับผม!

GreenNetwork4.0 May-June

2020


บี.กริม บริจาคเงินกว่า 46 ล้านบาท ผ่านโครงการ

Energy กองบรรณาธิการ

“บี.กริม ปันน�้าใจ สู้ภัย COVID-19” บี.กริม กลุม่ ธุรกิจชัน้ น�าของเมืองไทยจัดตัง้ โครงการ “บี.กริม ปันน�้าใจ สู้ภัย COVID -19” อนุมัติงบประมาณ บริจาคเบื้องต้นไปแล้วรวมกว่า 46 ล้านบาท ผ่านการ สนับสนุนในรูปแบบเงินบริจาคและปัจจัยสิง่ ของจ�าเป็น เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์ ประกันชีวติ และถุงยังชีพ เป็นต้น โดยบริ จ าคทั้ ง ทางตรงกั บ สถานพยาบาลต่ า งๆ หรื อ ประชาชนที่เดือดร้อน รวมถึงผ่านองค์กรการกุศล ส�าคัญต่างๆ อย่างเร่งด่วนมาตั้งแต่ช่วงเริ่มแรก ของการระบาดในประเทศไทย

ดร.ฮาราลด์ ลิงค์ ประธาน บี.กริม และกลุ่มบริษัท บี.กริม เพาเวอร์

ดร.ฮาราลด์ ลิงค์ ประธาน บี.กริม และกลุม่ บริษทั บี.กริม เพาเวอร์ กล่าวว่า บี.กริมด�าเนินธุรกิจในประเทศไทยมายาวนาน กว่า 142 ปี มีความเกี่ยวข้องผูกพันกับสังคมไทยในหลากหลาย ภาคส่วนผ่านธุรกิจและบริการต่างๆ ของบี.กริม เมื่อยามที่ ประเทศไทยประสบภัย ท�าให้คนไทยได้รบั ความทุกข์รอ้ น จึงเป็น ความตระหนักจากใจจริงถึงความร่วมแรงร่วมใจในการให้ความ ช่วยเหลือตามก�าลังความสามารถของแต่ละบุคคลหรือองค์กร ซึ่งรวมถึงบี.กริมด้วยอย่างแน่นอน ด้วยเหตุนเี้ มือ่ เกิดสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 คณะผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนของบี.กริมจึงร่วมระดมความคิด หาแนวทางให้ความช่วยเหลือมาตั้งแต่ช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ผ่านการบริจาคและสนับสนุนในรูปแบบต่างๆ อาทิ • ร่วมสนับสนุนกองทุนชัยพัฒนาสู้ภัย COVID-19 (และ โรคระบาดต่างๆ) จ�านวน 10 ล้านบาท • ร่วมสนับสนุนมูลนิธเิ ทพรัตนเวชชานุกลู จ�านวน 4 ล้านบาท • สนับสนุนการท�าประกันชีวต ิ ให้กบั บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าทีท่ กุ ๆ ท่านผ่านทางมูลนิธริ ามาธิบดี จ�านวน 6.5 ล้านบาท • บริจาคหน้ากาก N95/KN95 จ�านวน 100,000 ชิน ้ ให้แก่ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และรพ.รามาธิบดี มูลค่า 8.25 ล้านบาท • บริ จ าคเครื่ อ งวั ด อุ ณ หภู มิ แ บบอิ น ฟราเรด (Infrared Thermometer) จ�านวน 2,000 เครือ่ ง ให้แก่ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มูลค่า 5.3 ล้านบาท • จัดท�าถุงยังชีพ จ�านวน 5,000 ชุด แจกจ่ายไปยังจุดต่างๆ 27

ที่มีประชาชนมีความต้องการ งบประมาณ 3.5 ล้านบาท • เครื่องช่วยหายใจให้แก่สถานพยาบาล มูลค่า 1.3 ล้านบาท เป็นต้น ด้าน ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บมจ.บี.กริม เพาเวอร์ “BGRIM” กล่าวเพิม่ เติมว่า ทางด้านกลุม่ ธุรกิจโรงไฟฟ้าของ BGRIM และโครงการ “บี.กริม ปันน�า้ ใจสูภ้ ยั COVID-19” ได้จดั ส่งความช่วยเหลือรูปแบบต่างๆ ตาม ความเหมาะสมในแต่ละพืน้ ที่ โดยการท�างานร่วมกัน จากผูบ้ ริหารและพนักงาน ของ BGRIM ทัง้ จากส่วนกลางและในแต่ละโรงไฟฟ้า ซึง่ ครอบคลุมพืน้ ทีโ่ ดยรอบ โครงการโรงไฟฟ้าในรัศมี 3-5 กิโลเมตร และครอบคลุมจ�านวนประชาชนผูเ้ ดือดร้อน จ�านวนมาก โดยได้ส่งความช่วยเหลือไปเบื้องต้นแล้ว อาทิ • บริจาคเงินช่วยเหลือให้แก่สถานพยาบาล และระดับชุมชนโดยรอบพืน ้ ที่ โครงการโรงไฟฟ้าแต่ละแห่ง • สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ Face Shield เจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือ และเครื่องวัดอุณหภูมิ ให้แก่สถานพยาบาล • สนับสนุนหน้ากากอนามัยและน�้า Demined เพื่อใช้ในการท�าเจล แอลกอฮอล์ล้างมือ เพื่อแจกจ่ายให้กับชุมชนรอบข้าง • บริจาคเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ น�้าดื่ม ให้แก่ชุมชน เป็นต้น นอกจากการให้ความช่วยเหลือภายในประเทศแล้ว บริษทั ฯ ยังได้ให้ความ ช่วยเหลืออุปกรณ์ปอ้ งกันและเครือ่ งมือทางการแพทย์ไปยังต่างประเทศทีบ่ ริษทั มีการด�าเนินธุรกิจตามความเหมาะสมด้วยเช่นกัน “บี.กริม โดยคณะผูบ้ ริหารและพนักงาน พร้อมร่วมส่งก�าลังใจและความ ช่วยเหลือเพื่อให้คนไทยทุกคนปลอดภัย และจับมือกันก้าวผ่านสถานการณ์อัน ยากล�าบากนีไ้ ปด้วยกัน อีกทัง้ ขอส่งพลัง ส่งความชืน่ ชม และความขอบคุณไปยัง ทีมบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเจ้าหน้าที่ ผูป้ ฏิบตั งิ านในทุกระดับชัน้ ทัว่ ประเทศ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า น�า้ ใจส่วนหนึง่ นีจ้ ากบี.กริม จะเป็นประโยชน์และมีสว่ นสร้าง ความเข้มแข็งให้สังคมไทยได้ต่อไป” ปรียนาถ กล่าว

GreenNetwork4.0 May-June

2020


Energy พิชัย ถิ่นสันติสุข

พลังงานชุมชนวิถีใหม่

28

GreenNetwork4.0 May-June

2020


พลังงานชุมชนวิถีใหม่ เป็นการย�าใหญ่นโยบายและ แนวคิดของภาครัฐมารวมกับแนวคิดภาคเอกชน และวิสาหกิจ ชุมชน ภายใต้แนวคิด “Energy for All - พลังงานของทุกคน” ดังนัน้ วันนีพ้ ลังงานชุมชนจึงไม่ใช่แค่เตาอัง่ โล่ไฮเทค เนือ่ งจาก ชุมชนมีการพัฒนาความรู้ ความสามารถมากขึน้ จึงต้องการ ผลิตพลังงานด้วยเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมี การถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอบรมเพื่อให้เกิดทีมช่าง ชุมชน ดูแลเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ภาครัฐให้การสนับสนุน ตลอดอายุการใช้งาน เป้าหมายพลังงานชุมชนตามแนวคิด Energy for All มุ่งเน้นให้ชุมชนสร้างพลังงานหมุนเวียน โดยใช้วัตถุดิบหรือของเสีย ของเหลือใช้ในชุมชนนั้นๆ เพื่อ ความยั่งยืน ทั้งนี้รวมถึงพลังงานจากแสงอาทิตย์เชื้อเพลิง พลังงานที่ไม่มีต้นทุน มี หลายๆ เทคโนโลยีที่มีประสิท ธิภ าพและชุ ม ชน สามารถใช้ ง านและซ่ อ มบ� า รุ ง ได้ เ อง เช่ น เทคโนโลยี Gasification, Biogas, Biodiesel ชุมชน และการสูบน�้า ด้วยพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ รวมทัง้ ระบบกักเก็บพลังงาน วันนี้ผู้เขียนอยากจะแนะน�าเทคโนโลยีที่เก่าแก่ที่ขาดการ พัฒนาในประเทศไทย ถึงแม้จะมีผลงานวิจัยมากมายใน มหาวิทยาลัย นั่นคือ Organic Rankine Cycle : ORC

ผลิตไฟฟ้าด้วยอุณหภูมิต�่า และความร้อนเหลือใช้

โลกของเราต้ อ งการพลั ง งานมา สนั บ สนุ น เพื่ อ พั ฒ นาชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข อง ประชากรทีม่ จี า� นวนเพิม่ ขึน้ การจัดหาพลังงาน ที่จ�าเป็นให้แก่ประชากร จึงต้องส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดกับโลกของเรา และ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดังนั้นการพัฒนาและใช้พลังงานหมุนเวียน จึงเป็นวิถีใหม่ของการใช้พลังงาน โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง พลังงานชุมชนที่ใช้ของเหลือใช้จาก ภาคเกษตรกรรมมาใช้ ผ ลิ ต พลั ง งาน และ รูปแบบที่เหมาะสมกับการใช้พลังงานทดแทน แบบครัวเรือนก็คอื 1. ทันสมัย 2. ใช้เชือ้ เพลิง ท้องถิน่ 3. มีเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม 4. เป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม 5. รัฐอุดหนุนโครงการน�าร่อง Energy for All สอดคล้องกับพลังงาน ชุมชนวิถใี หม่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ แนวคิดของ โรงไฟฟ้าชุมชน ที่ให้ชุมชนแต่ละครัวเรือน มีส่วนได้ (Stakeholder) ไม่ใช่แค่มีส่วนร่วม เหมือนในอดีต และท่านทราบไหมว่า นี่คือ วิถีใหม่ของพลังงานหมุนเวียนหรือพลังงาน ทดแทนของเมืองไทยในอนาคต ไม่วา่ จะสร้าง โรงไฟฟ้า VSPP หรือ SPP จากเชื้อเพลิงใด ก็ตาม ชุมชนรอบโรงไฟฟ้าควรจะมีส่วนได้ โดยตรงจากค่ า ขายไฟฟ้ า อย่ า งเป็ น ธรรม จะมากน้อยเท่าใดคงต้องร่วมกันคิด วันนี้ พลังงานไม่ได้เป็นของใครคนใดคนหนึ่ง แต่ เป็นของทุกคน Energy for All

เทคโนโลยีวฏั จักรแรงคินสารอินทรีย์ (Organic Rankine Cycle : ORC) สามารถผลิต ไฟฟ้าจากแหล่งความร้อนอุณหภูมิต�่าหรือความร้อนทิ้งได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้สาร อินทรีย์ที่มีมวลโมเลกุลสูง ที่มีจุดเดือดต�่ากว่าน�้าเป็นสารท�างาน (Working Fluid) จึงเป็น เทคโนโลยีผลิตไฟฟ้าทางเลือกทีอ่ นุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้เชือ้ เพลิงและ ลดมลภาวะได้ เหมาะส�าหรับการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนทิง้ ในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ และ การผลิตไฟฟ้าด้วยเชือ้ เพลิงทางเลือก เช่น ความร้อนทิง้ จากปล่องไอเสียและจากเครือ่ งยนต์ การใช้เชือ้ เพลิงชีวมวลหรือเชือ้ เพลิงขยะ (RDF) การใช้พลังงานแสงอาทิตย์หรือน�า้ พุรอ้ นเป็น แหล่งความร้อน เป็นต้น

การท�างานต่อเนื่อง Gasifier และ ORC

29

GreenNetwork4.0 May-June

2020


Mobility กองบรรณาธิการ

“บ้านปู เน็กซ์” ร่วมกับ “ฮ้อปคาร์” จัดโครงการ

“บ้านปู เน็กซ์ อีวี คาร์ แชริ่ง ฟอร์ แคริ่ง”

ให้บุคลากรทางการแพทย์ใช้รถยนต์ไฟฟ้าฟรี 3 เดือน

บ้านปู เน็กซ์ บริษทั ลูกของบ้านปูฯ ในฐานะผูใ้ ห้บริการด้านพลังงานสะอาดชัน้ น�าในภูมภิ าค เอเชียแปซิฟกิ ทีต่ อบโจทย์ความต้องการของลูกค้า น�าศักยภาพและความเชีย่ วชาญในการด�าเนิน ธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้ามาต่อยอด พร้อมผนึกความร่วมมือกับ “ฮ้อปคาร์” (HAUPCAR) ผูใ้ ห้บริการ แบ่งปันรถยนต์ (Car Sharing) ผ่านแอพพลิเคชัน่ จัดท�าโครงการในชือ่ “บ้านปู เน็กซ์ อีวี คาร์ แชริง่ ฟอร์ แคริ่ง” (BanpuNext EV Car Sharing for Caring) สนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์ เดินทางไปท�างานในสถานพยาบาลทีร่ กั ษาผูป้ ว่ ย COVID-19 ได้อย่างสะดวกและปลอดภัย โดยน�า รถยนต์ไฟฟ้า 50 คัน มาแบ่งปันให้ทีมแพทย์และพยาบาลได้ใช้ฟรี 3 เดือนนับตั้งแต่วันส่งมอบ พร้อมส่งมอบให้แก่โรงพยาบาลจุฬาฯ เป็นแห่งแรก และเตรียมส่งมอบให้แก่โรงพยาบาลทีร่ กั ษาผูป้ ว่ ย COVID-19 อื่นๆ นอกจากนีย้ งั มีบริการพิเศษ อาทิ บริการรับ-ส่งรถแบบไร้สมั ผัส (Contactless) ผ่านแอพพลิเคชัน่ พร้อมบริการท�าความสะอาดและฆ่าเชือ้ โรคเพือ่ ความปลอดภัยส�าหรับผูใ้ ช้งาน ซึง่ ใช้บริการได้งา่ ย ผ่านแอพฯ HAUP โดยสามารถใช้บริการได้ทั้งรูปแบบรายสัปดาห์หรือรายเดือน สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และรักษาการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด กล่าวว่า ในช่วงวิกฤต COVID-19 กลุม่ บ้านปูฯ ได้มีการติดตามการแพร่ระบาดอย่างใกล้ชิด และยังร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือกับ บุคลากรทางการแพทย์และหน่วยงานผู้เสียสละ ที่ผ่านมากองทุนได้บริจาคไปแล้วประมาณ 200 ล้านบาท ทั้งนี้ บ้านปู เน็กซ์ในฐานะบริษัทลูกที่มีแนวทางในการด�าเนินธุรกิจที่สอดคล้องกัน จึงได้นา� ศักยภาพด้านต่างๆ ขององค์กรมาผสานเข้าด้วยกัน โดยน�าความพร้อมของระบบนิเวศธุรกิจ (Business Ecosystem) ประสบการณ์ในการด�าเนินธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้าแบบครบวงจร รวมถึง การมีพนั ธมิตรทางธุรกิจทีแ่ ข็งแกร่งอย่าง บริษทั ฟอมม์ คอร์ปอเรชัน่ (FOMM Corporation) และ ฮ้อปคาร์ (HAUPCAR) มาต่อยอดเป็นโครงการเพื่อสังคม ภายใต้ชื่อ บ้านปูเน็กซ์ อีวี คาร์ แชริ่ง ฟอร์ แคริ่ง”

สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษทั บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และรักษาการประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด

กฤษฏิ์ วิชยั วัฒนาพาณิชย์ ประธาน กรรมการบริหาร และผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท ฮ้อปคาร์ จ�ากัด

30

GreenNetwork4.0 May-June

2020


โครงการดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น จากการเล็ ง เห็ น ถึ ง อุ ป สรรค และความกังวลเรื่อ งความปลอดภัย ของ บุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ ในสถานพยาบาลทีร่ กั ษาผูป้ ว่ ย COVID-19 ซึง่ บริษทั ฯ ได้น�าบริการ EV Car Sharing มาผสานกับบริการเช่า รถผ่านแอพพลิเคชั่นของ HAUP โดยผู้ใช้สามารถท�า การจองรถ รับรถ และเริม่ ต้นการใช้งานผ่านแอพพลิเคชัน่ ได้ ด ้ ว ยตนเอง ไม่ ต ้ อ งติ ด ต่ อ กั บ ผู ้ ค น ซึ่ ง สามารถ ตอบโจทย์การเดินทางทีป่ ลอดภัย สอดรับกับมาตรการ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) โดยน�า รถยนต์ไฟฟ้า FOMM จ�านวน 50 คัน มาแบ่งปันให้ บุคลากรทางการแพทย์ได้ใช้ฟรี 3 เดือนนับตั้งแต่ วันส่งมอบ นอกจากโรงพยาบาลจุฬาฯ บริษัทฯ ยังน�า รถไปให้บริการแก่กลุ่มโรงพยาบาลพญาไท-เปาโล โรงพยาบาลนวมินทร์ 9 รวมถึงโรงพยาบาลอื่นๆ ที่มี ความต้องการด้วย โดยในช่วงการให้บริการฟรีนี้ บริษทั ฯ ได้มอบหมายให้ HAUPCAR เป็นผูด้ แู ลระบบการให้บริการ ทั้งหมด (Operator) กฤษฏิ์ วิชัยวัฒนาพาณิชย์ ประธานกรรมการ บริหาร และผูร้ ว่ มก่อตัง้ บริษทั ฮ้อปคาร์ จ�ากัด ในฐานะ ผู้ดูแลระบบการให้บริการภายใต้โครงการนี้กล่าวว่า ความพิเศษของบริการแบ่งปันรถในครั้งนี้ นอกจาก ทีมแพทย์และพยาบาลจะได้ใช้รถยนต์ไฟฟ้าโดยไม่มี 31

ค่าใช้จา่ ยแล้ว โครงการดังกล่าวยังช่วยคลายความกังวล ในเรือ่ งความสะอาด ปลอดภัยจากเชือ้ ไวรัส COVID-19 ด้วยบริการรับ-คืนรถแบบไร้สัมผัส (Contactless) สามารถจอง ปลดล็อกรถ และขับได้เลยโดยไม่ตอ้ งเจอ ผูค้ น มีบริการท�าความสะอาดและฆ่าเชือ้ โรคเพือ่ ความ ปลอดภัยส�าหรับผู้ใช้งาน หรือผู้ใช้บริการสามารถแจ้ง ขอรับบริการท�าความสะอาดเพิ่มเติมระหว่างการใช้ รถได้ โดยแจ้งขอรับบริการล่วงหน้า 48 ชั่วโมงที่ไลน์ @haupcar หรือโทร. 0-2080-3960 โดยมีจุดบริการ รับและส่งรถคืน ณ โรงพยาบาลทัง้ 3 แห่ง อีกทัง้ การใช้ รถยนต์ไฟฟ้ายังเป็นการช่วยลดมลภาวะบนท้องถนน และช่วยประหยัดพลังงานได้อีกด้วย “บริษทั ฯ เล็งเห็นเทรนด์เศรษฐกิจและพฤติกรรม ของผูบ้ ริโภคในอนาคตทีพ่ บว่าจะเริม่ ก้าวเข้าสูธ่ รุ กิจและ สังคมแบบแบ่งปัน รวมถึงพฤติกรรมการเดินทางใหม่ แบบ Social Distancing ที่เกิดขึ้นในช่วงวิกฤตนี้ เราจึงเร่งพัฒนาบริการ EV Car Sharing ส�าหรับ กลุ่มประชาชนทั่วไป โดยจะเปิดให้บริการอย่าง เป็นทางการเร็วๆ นี้ เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือก ในการเดินอย่างปลอดภัย รวมถึงยังเป็นการ ผลักดันการใช้รถยนต์พลังงานสะอาด เพื่อ ร่วมกันลดมลภาวะอีกด้วย” สมฤดี กล่าว ทิ้งท้าย GreenNetwork4.0 May-June

2020


Mobility 1 ณฐชา 2

วิริยะพงษ์, ผศ. ดร.กิตติ์ชนน เรืองจิรกิตติ์, 3 รศ. ดร.ยศพงษ์ ลออนวล

เทคโนโลยีรถจักรยานยนต์ ไฟฟ้ า

ณฐชา วิริยะพงษ์, 2 ผศ. ดร.กิตติ์ชนน เรื องจิรกิตติ์, 3.รศ. ดร.ยศพงษ์ ลออนวล ภาพรวมตลาดรถจักรยานยนต์ ไฟฟ้ าในต่ างประเทศ และในประเทศไทย ภาพรวมตลาดรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าในต่างประเทศและในประเทศไทย ปั จจุบนั คาดว่ปัจาจุมีบรันถจั กรยานยนต์ ไฟฟ้ าทัไฟฟ้ ว่ โลกมากกว่ า 240 อดจาหน่ าหน่ ายรถจั กรยานยนต์ คาดว่ ามีรถจักรยานยนต์ าทั่วโลกมากกว่ า 240ล้าล้นคั านคันน และมี และมียยอดจ� ายรถจั กรยานยนต์ ไฟฟ้า ไฟฟ้ าถึงปี ละ ถึงปีนละประมาณ 20 ล้านนคัมีนสโดยประเทศจี นมีส่วนแบ่​่ สงตลาดมากที ุด ซึ่งทางคาดว่ BNEFาจะเติ คาดว่บาจะเติ งประมาณละ 70 ล้านคัน ่ วนแบ่งตลาดมากที ประมาณ 20 ล้านคั โดยประเทศจี ุ ด ซึ่ งทาง่สBNEF โตถึบงโตถึ ประมาณปี ปีละ 70 ล้านคัน ภายในปี พ.ศ. 2040(1) ภายในปี 2040 [1] ส�าหรับประเทศไทย พบว่ามีจ�านวนรถจักรยานยนต์สะสมจดทะเบียนประมาณ 21 ล้านคัน ตามข้อมูลของ 1

กรมการขนส่งทางบก ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2563(2) โดยเป็นรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าสะสม 2,025 คัน ทั้งนี้จาก สาหรับข้อประเทศไทย นประมาณ 21 ล้ไฟฟ้ านคั น ตามข้ อมูลของกรมการ มูลการจดทะเบีพบว่ ยนใหม่ามีดัจงานวนรถจั แสดงในรูปทีก่ 1รยานยนต์ พบว่า ในปีสะสมจดทะเบี พ.ศ. 2562 มีจา� ยนวนรถจั กรยานยนต์ าจดทะเบี ยนใหม่ เพิ่มขึ้นอย่พ.ศ. างก้าวกระโดดถึ ง 486%นรถจั เมื่อเทีกยรยานยนต์ บกับปี พ.ศ.ไ2561 ขนส่ งทางบก ณ791 วันทีคั่น30ซึ่งเมษายน 2563 [2] โดยเป็ ฟฟ้าสะสม 2,025 คัน ทั้งนี้ จากข้อมูลการจดทะเบียน

ใหม่ ดังแสดงในรู ปที่ 1 พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 มี จานวนรถจักรยานยนต์ไฟฟ้ า จดทะเบี ยนใหม่ 791 คัน ซึ่ งเพิ่มขึ้ นอย่างก้าว กระโดดถึง 486% เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2561 1250 2,025

2,000 1,716 1,500

1000

791 750

1,356

1,223

1,110 500

1,000

500

132

250

135

126

0

2559

2560

2561

รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสม

รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนสะสม

2562

เม.ย. 2563

รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนใหม่

รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนใหม่

ที่ 1 ข้อมูลยการจดทะเบี ยนรถจั รยานยนต์ ไฟฟ้และสะสม าจดทะเบีตั้งยแต่นใหม่ และสะสม รูปที่ 1 ข้อมูรูลปการจดทะเบี นรถจักรยานยนต์ ไฟฟ้กาจดทะเบี ยนใหม่ ปี พ.ศ. 2559 ถึง 30 เมษายน 2563(2) 1

2

3

ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 ถึง 30 เมษายน 2563 [2]

ผูช้ ่วยนักวิจยั ,ผู2้ชนั่วกยนัวิจกยั วิ,จ3ัยหั,วหน้นักาศูวินจัยย์, หัวหน้าศูนย์ Mobility & Vehicle Technology Research Center (MOVE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Mobility & Vehicle Technology Research Center (MOVE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี GreenNetwork4.0 May-June 2020 32 1

เทคโนโลยีรถจักรยานยนต์ ไฟฟ้ า

1

านวนรถจักกรยานยนต์ จจ�ำนวนรถจั รยำนยนต์ไไฟฟ้ ฟฟ้าำจดทะเบี จดทะเบียยนใหม่ นใหม่(คั(คัน)น)

จ�านวนรถจั กรยานยนต์ ไฟฟ้ไาฟฟ้ สะสม (คัน)(คัน) จำนวนรถจั กรยำนยนต์ ำสะสม

2,500


เทคโนโลยีรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า

รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนแทน เครื่องยนต์ และมีแบตเตอรี่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน โดยการอัดประจุไฟฟ้าจากภายนอก มีสว่ นประกอบหลัก ทีแ่ ตกต่างจากรถจักรยานยนต์เครือ่ งยนต์ 2 ส่วน(3) ได้แก่ 1. ระบบส่งก�าลัง ระบบส่งก�าลังจะใช้มอเตอร์เป็นตัวขับเคลือ่ นหลัก โดยมีการส่งก�าลังไปที่ล้อได้ 2 แบบ ดังนี้ 1.1 ระบบส่ ง ก� า ลั ง ด้ ว ยมอเตอร์ ดุ ม ล้ อ (In Wheel Motors) สามารถเลือกให้ขับเคลื่อนได้ทั้ง ล้อหน้าและล้อหลัง หรือจะขับเคลือ่ นทัง้ 2 ล้อได้ ดังแสดง รูปที่ 2 (ก) 1.2 ระบบส่งก�าลังผ่านสายพานหรือโซ่ ระบบ การส่งก�าลังนี้จะส่งก�าลังจากมอเตอร์ไปยังล้อ โดยผ่าน โซ่ ห รื อ สายพานเป็ น หลั ก เพื่ อ ใช้ ใ นการขั บ เคลื่ อ น รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า ดังแสดงรูปที่ 2 (ข)

2. ระบบอัดประจุไฟฟ้า การอัดประจุไฟฟ้าของรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อไปเก็บในแบตเตอรี่ ปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 2.1 ระบบอัดประจุไฟฟ้าแบบมีสาย เป็นการอัดประจุไฟฟ้าด้วยการ เชื่อมต่อรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าเข้ากับระบบไฟฟ้าโดยตรงผ่านการเสียบปลั๊ก โดย สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การอัดประจุไฟฟ้าแบบปกติ (Normal Charge) ซึ่งจะใช้เวลาในการอัดประจุประมาณ 4-8 ชั่วโมง แสดงในรูปที่ 3 (ก) และ การอัดประจุไฟฟ้าแบบเร็ว (Quick Charge) เหมือนของรถยนต์ ซึ่งใช้เวลาใน การอัดประจุเพียง 15-20 นาที แสดงในรูปที่ 3 (ข) 2.2 ระบบอัดประจุไฟฟ้าแบบไร้สาย (Wireless Charge) การอัดประจุ ไฟฟ้าในรูปแบบนีม้ คี วามสะดวกและปลอดภัยในการอัดประจุไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม การอัดประจุไฟฟ้าแบบไร้สายมีข้อจ�ากัดด้านประสิทธิภาพการอัดประจุไฟฟ้า จึงยังไม่เป็นที่นิยม 2.3 ระบบสับเปลีย่ นแบตเตอรี่ (Battery Swapping) เป็นระบบทีผ่ ใู้ ช้งาน สามารถสับเปลีย่ นแบตเตอรีซ่ งึ่ ถูกอัดประจุโดยใช้เครือ่ งอัดประจุภายนอกกลับเข้า ไปในรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า ท�าให้สะดวกต่อการใช้งาน ดังแสดงในรูปที่ 3 (ค)

(ก)

(ก) รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า ยี่ห้อ Honda รุ่น PCX Electric

(ข)

(ข) รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า ยี่ห้อ Etran รุ่น KRAF

รูปที่ 2 มอเตอร์ไฟฟ้าแบบดุมล้อ และระบบส่งก�าลัง ผ่านสายพานหรือโซ่

รูปที่ 3 การอัดประจุไฟฟ้าแบบปกติ (Normal Charge) การอัดประจุไฟฟ้า แบบเร็ว (Quick Charge) และระบบสับเปลีย่ นแบตเตอรี่ (Battery Swapping)

33

GreenNetwork4.0 May-June

2020


รูปที่ 4 สถานีรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าแบบแบ่งปันที่อาคารเคเอกซ์

ตัวอย่างสาธิตการใช้งานรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า แบบแบ่งปัน

บริษทั เอ.พี. ฮอนด้า จ�ากัด ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ศึกษาพฤติกรรมการขับขี่และการใช้งานรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า Honda PCX Electric ในรูปแบบแบ่งปัน (Electric Motorcycle Sharing) และสร้าง ต้นแบบสถานีอดั ประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ (PCX Electric Smart Station) 3 สถานี ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีบางมด จ�านวน 2 สถานี และอาคารเคเอกซ์ จ�านวน 1 สถานี นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานระบบการ สับเปลีย่ นแบตเตอรี่ (Battery Swapping) โดยเริม่ ต้นน�าร่องให้บริการแก่นกั ศึกษา และบุคลากร และสมาชิกในอาคารเคเอกซ์ ซึง่ สามารถยืมใช้งานผ่านแอพพลิเคชัน่ Haupcar และอาจขยายการให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปในอนาคต ดังแสดง ในรูปที่ 4

เอกสารอ้างอิง (1) (2)

(3)

(ค) Gogoro GoStation 34

Colin McKerracher (2020). BNEF Talk 2020: 2020 Long Term Electric Vehicle Outlook, BNEF Summit 2020, Munich, 19 May 2020 กรมการขนส่งทางบก (2563) จ�านวนรถจดทะเบียนสะสมและจดทะเบียนใหม่ ณ วันที่ 30 เมษายน 2563 โดยแยกประเภทเชื้อเพลิง https://web.dlt. go.th/statistics/ สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2563 ยศพงษ์ ลออนวล และคณะ (2559) การศึกษาความเป็นไปได้ในการส่งเสริม การผลิ ต และใช้ จั ก รยานยนต์ ไ ฟฟ้ า และยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ขนาดเล็ ก ในประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของโปรแกรมร่วมสนับสนุนทุนวิจยั และ พัฒนา กฟผ.-สวทช.

GreenNetwork4.0 May-June

2020


Wed. - Fri.



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.