Green Network Issue 106

Page 1




P.6.indd 6

6/11/64 BE 2:31 PM


รถไฟชานเมืองสายสีแดง

ศูนย์กลางการเดินทางด้วยรถไฟฟ้า ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ลพบุร�

อ างทอง นครราชสีมา แผนก�รพั ฒน�รถไฟฟ้ �ช�นเมื(รฟท.) อง การรถไฟแห่ งประเทศไทย ได้ดสระบุา� ร� เนินการก่อสร้างระบบรถไฟชานเมื อง

รฟท. ได้วางแผนการพัฒนาระบบรถไฟฟ้าชานเมือง ดังนี้

(สายสีแดง) ช่วงบางซือ่ -รังสิต ซึง่ เป็นโครงการส�าคัญเร่งด่วน ตามแผนแม่บทระบบ ขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (M-MAP) โดยได้รับอนุมัติ โครงการจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550 เริ่มด�าเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2556 3 บ านภาชี

สัญลักษณ สถานีรถไฟฟ าชานเมือง สายสีแดงเข ม

สถานี​ีรถไฟฟ าชานเมือง สายสีแดงอ อน

พระนครศร�อยุธยา

นครนายก

ปราจ�นบุร�

สถานีมหาว�ทยาลัยธรรมศาสตร ศูนย รังสิต

สายสีแดงเข ม ช วงรังสิต-มหาว�ทยาลัย ธรรมศาสตร ศูนย รงั สิต

ปทุมธานี

สถานีรังสิต

นนทบุร� สายสีแดงอ อน ช วงบางซ�่อ-ตลิ�งชัน

สถานีดอนเมือง

2

สายสีแดงอ อน ช วงตลิง� ชัน-ศาลายา และช วงตลิง� ชัน-ศิรร� าช

1

สายสีแดงเข ม ช วงบางซ�่อ-รังสิต

ยา

นครปฐม

สถานีกลาง กรุงเทพมหานคร บางซื่อ สายสีแดงอ อน ช วงบางซ�่อ-หัวหมาก

ีตล

ลา

นครปฐม

�งิ ชนั าน ีธ ศิร นบุร �ราช �-

ประโยชน์ของรถไฟชานเมื4 อง (สายสี แดง) 5 สถ

สถ

าน

าก

ัน

กะส

หม ีหัว

ีมัก

ง โพ

สมุทรสาคร

ฉะเชิงเทรา

าน

าน

ลำ ีหัว

าน

สายสีแดงเข ม ช วงหัวลำโพง-มหาชัย

สถ

สถ

สถ

สถ

าน

ีศา

1. ลดปัญหาการจราจรที่ติดขัดบริเวณจุดตัดทางรถไฟกับถนน จ�านวน 8 จุด 6 5 ลดการเกิดอุบัติเหตุได้อย่างสิ้นเชิง 2. สามารถใช้ประโยชน์เพือ่ การเดินรถไฟทางไกลสายเหนือและสายตะวันออก เฉียงเหนือ โดยรองรับการเดินรถที่มีอยู่ในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระยะที านวน 2 เส้นทาง ระยะทาง 41.5 กิโลเมตร 3.่ 1 จำสามารถใช้ ป ระโยชน์ เ พื2 ่รถไฟฟ้ อ การเดิ น รถระบบรถไฟชานเมื อ งได้ อ ย่ า งมี 1 รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซือ่ -รังสิต าชานเมืองสายสีแดงอ่อน ช่วงบางซือ่ -ตลิง่ ชัน ประสิระยะที ทธิภ่ 2าพจำานวนปลอดภั ย ซึง่ 97.3 จะช่วกิยลดการใช้ พลังงานเชือ้ เพลิงของประเทศได้อย่างมาก 4 เส้นทาง ระยะทาง โลเมตร 4 รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน าชานเมืองสายสีแดงเข้ม และเป็3 นรถไฟฟ้ มิ ต รกั บ สิ ง ่ แวดล้ อ ม ช่วงตลิ่งชัน-ศาลายา และช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช ช่วงรังสิต-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ฉะเชิงเทรา

สายสีแดงเข ม ช วงบางซ�่อ-หัวลำโพง สมุทรปราการ

สถานีมหาชัย

ปากท อ

นนทบุร�

ชลบุร�

5 รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

6

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

ช่วงหัวลำาโพง-มหาชัย โครงข่ายรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริ มณฑลด�าเนินการโดยการรถไฟ ก้าวสู่ผู้นำาระบบราง ยกระดับการเดินทางของประเทศ 111 แห่งประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 สายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-รังสิต ระยะทาง 26.3 กิโลเมตร และ สายสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน ระยะทาง 15.2 กิโลเมตร รถไฟฟ้ �ช�นเมื ระยะที ่ 2อง ระยะที สาย่ 1 รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซ สี แ ดงเข้ ม ช่ ว: งรั26.3 กิง โสิลเมตรต ระยะท�ง ค�ด ปทุมธานี รู ป แบบโครงสร้ �ง : ระดับพื้นดิน และยกระดับ 86 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คว�มเร็วในก�ร : รถธรรมดา 120 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ศูนย์รังสิให้ ตบริก�ร ระยะทาง 8.84 รถด่วน 160 กิโลเมตร/ชั่วโมง ปีท ปี : 10 สถานี กิโลเมตรจำ�นวนสถ�นี และสายสี แดง จำ�นวนรถโดยส�ร : 17 ขบวน แบ่งเป็น อ่อน ช่ วงตลิ่งชัน -ศิ ริราช ขบวนละ 4 ตู ้ 10 ขบวน วงเงินลงทุน ขบวนละ 6 ตู้ 7 ขบวน คว�มถี่ในก�ร 8 และช่วงตลิ ่ ง ชั น -ศาลายา ให้บริก�ร : รถธรรมดา ล ประมาณ 5 นาที/ขบวน (ในชั ว ่ โมงเร่ ง ด่ ว น) ระยะทาง 20.5 กิ โลเมตร ประมาณ 10 นาที/ขบวน ผลก�รศึกษ�คว�ม (นอกชั่วโมงเร่งด่วน) ค่า FIRR = 1.49% รถด่วน รู ป แบบขบวนรถ ค่า EIRR = 12.04% ประมาณ 25 นาที/ขบวน กรุงเทพมหานคร (ในชั่วโมงเร่งด่วน) ขอบเขตก�รดำ�เนิน และประมาณ 60 นาที /ขบวน ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร ความเร็ ว ใน จำานวน 3 สัญญา (นอกชั่วโมงเร่งด่วน) สัญญาที ่ 1 งาน ศูนย์ซ่อมบำารุง การให้บระบบร�ง ริ การ รถด่ : วMeter Gauge น 160 สัญญาที ่ 2 งาน ขนาดความกว้าง 1 เมตร สัญญาที ่ 3 งาน กิโลเมตร/ชั ่ โมง รถธรรมดา สถ�นะ ว : อยู่ระหว่างก่อสร้าง ระบบรถไฟช่วงบางซื่อ รถไฟฟ้�ช�นเมือง ระยะที่ 1 120 กิโ ลเมตร/ชั ่วโมงองสายสี มี แดงอ่อน ช่วงบาง รถไฟฟ้าชานเมื ความกว้ างทาง: 115.2 กิเมตร ระยะท�ง โลเมตร ค�ด �ง : ระดับพื้นดิน และยกระดับ 86 ความจุรูปผแบบโครงสร้ ู ้ โ ดยสาร 6 ตู ้ / คว�มเร็วในก�ร ริก�ร บ ผู : ้ โรถธรรมดา 120 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ขบวน ให้ บรองรั ดยสาร ทดส รถด่วน 160 กิโลเมตร/ชั่วโมง นนทบุร� ตุล เปิด จำ�นวนสถ�นี : 5 สถานี 1,710 คน 4 ตู /้ ขบวน รองรับ ปี คว�มถี่ในก�ร ผูโ้ ดยสาร 1,120 ระบบ ให้บริก�ร : คน รถธรรมดา วงเงินลงทุน ประมาณ 5 นาที/ขบวน (ในชั่วโมงเร่งด่วน) อาณัตสิ ญ ั ญาณ European ประมาณ 10 นาที/ขบวน 1 (นอกชั่วโมงเร่งด่วน) ล รถด่วน Train Control System ประมาณ 25 นาที/ขบวน ผลก�รศึ ก ษ�คว�มเ (ในชั่วโมงเร่งด่วน) และประมาณ 60 นาที (ETCS) Level 1 ผลิ ตโดย /ขบวน ค่า EIRR = 12.69% กรุงเทพมหานคร (นอกชั่วโมงเร่งด่วน) บริษัท ระบบร�ง ฮิตาชิ จ�: ากัMeter Gauge ด วัสดุ ขนาดความกว้าง 1 เมตร ขบวนรถ Aluminum ขน�ดของร�ง : UIC60 หรือ BS120 : อยู่ระหว่างติดตั้ง Doubleสถ�นะ Skin ระบบอาณัติสัญญาณ ช่วงบางซื่อ-หัวหมาก และรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-หัวลำาโพง

(จำาน รถไฟ

สถานีรังสิต

สถานีหลักหก

สถานีดอนเมือง

เชื่อมต อท าอากาศยานดอนเมือง

สถานีการเคหะ

นนทบุร�

สถานีหลักสี่

เชื่อมต อสายสีชมพ�

สถานีทุ งสองห อง

สถานีบางเขน

สถานีวัดเสมียนนาร�

สถานีจตุจักร

สถานีกลางบางซื่อ เชื่อมต อสายสีน้ำเง�น

สัญลักษณ สถานี จ�ดเชื่อมต อการเดินทาง (ระบบราง) จ�ดเชื่อมต อท าอากาศยาน

112 123 ปี การรถไฟแห่งประเทศไทย

ก้าวสู่ผู้นำาระบบราง ยก

(จำาน รถไฟ

อน งซ ีม วง ีบา ายส าน ต อส สถ เชื่อม

ม6 ) ะรา าคต พร ีอน . าน สถาน ฟผ ต) - ก าค ีสะพ ( วย ีอน าน กร ถาน สถ ง ส ีบา ( รุ ำห างบ าน สถ

ีบ าน สถ

พัฒน�โครงข่�ยรถไฟฟ้ ง รับการแก้ ไขด้วยรถไฟ วิกฤตการจราจรในกรุ งเทพฯ�ช�นเมื ก�าลังอจะได้ โครงข่ายรถไฟฟ้าชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานคร เส้นทางหลักในแนวตะวันออก-ตะวันตก ตามแนวทาง ชานเมืและปริ องสายสี แ2ดง มณฑลมีทงั้ หมด เส้นทาง คือ รถไฟฟ้าสายสีแดงเข้ม รถไฟเดิมของการรถไฟแห่งประเทศไทย เชื่อมต่อพื้นที่ เป็นเส้นทางหลักในแนวเหนือ-ใต้ ตามแนวทางรถไฟเดิม ชานเมืองด้านทิศตะวันตก (พื้นที่ศาลายา ตลิ่งชัน) และ กรุ ง เทพมหานครและปริ ณฑลประสบกั หาวิ้นกที่หฤตจราจรมาอย่ าง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย เชื่อมต่อพื้นที่ชม านเมื อง พื้นที่ชานเมืองด้านทิบศปั ตะวัญ นออก (พื ัวหมาก) เข้าสู่ ด้านทิศเหนือ (พื้นที่ดอนเมือง รังสิต ปทุมธานี) และ ใจกลางเมือง แบ่งการดำาเนินงานออกเป็น 2 ระยะ ตาม ยาวนานและต่ วยมีความต้ นทางถึ ง 17 พื้นที่ชานเมืองด้อาเนื นทิศ่อ ใต้ ง(พื้นทีด้่บางบอน มหาชั ย) เข้าสู่ องการในการเดิ แผนแม่บทฯ โดยรถไฟฟ้าชานเมื อง ช่วงบางซื ่อ-รังสิตล้ านเที่ยว ใจกลางเมือง (หัวลำาโพง) และรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน เป็น จะเปิดให้บริการในปี 2564 พร้อมกับสถานีกลางบางซื่อ ต่อวัน รัฐบาลมีแผนพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน งประเทศไทย 110 123 ปีงการรถไฟแห่ ใช้ระบบขนส่ มวลชนประเภทต่ าง ๆ เช่น รถโดยสารประจ�าทาง เรือโดยสาร ประจ�าทาง และระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนซึ่งเปิดให้บริการรถไฟฟ้าแล้ว 4 เส้นทาง อีกทั้งอยู่ระหว่างขยายเส้นทางรถไฟฟ้าและก่อสร้างเส้นทาง รถไฟฟ้าเพิ่มเติมให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานครเชื่อมต่อปริมณฑล เพือ่ ลดการใช้รถยนต์สว่ นตัว ลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการเสียเวลา ในการเดินทางและการน�าเข้าน�า้ มันเชือ้ เพลิง รวมทัง้ ยังปล่อยมลพิษสูอ่ ากาศ อันเป็นการบั่นทอนคุณภาพชีวิตของคนเมืองอย่างมาก ระบบขนส่งมวลชนทางราง นับว่าเป็นทางออกในการแก้ปญ ั หาการ จราจรติดขัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เนื่องจากสามารถบรรทุก ผู้โดยสารได้คราวละจ�านวนมาก ประหยัดค่าใช้จ่ายและพลังงานเชื้อเพลิง เหมาะที่จะเป็นระบบการเดินทางหลักของเมือง ร่วมกับระบบเสริมอื่น ๆ ทั้งทางถนนและทางเรือ กระทรวงคมนาคม โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็น หน่วยงานที่มีบทบาทส�าคัญในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางราง จึงได้ ด�าเนินการโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน ระยะทาง 15 กิโลเมตร จ�านวน 3 สถานี ประกอบด้วยสถานีตลิ่งชัน สถานี บางบ�าหรุ และสถานีบางซ่อน เป็นส่วนหนึง่ ของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ทางรางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในแผนเร่งด่วนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อปี 2549 และได้มีมติ คณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการเมื่อ วันที่ 22 พฤษภาคม 2550 โดยงานโยธา งานระบบราง และงานก่อสร้างถนนเลียบทางรถไฟ สะพานกลับรถของโครงการ สายสีแดง ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน เริ่มงานก่อสร้างตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม 2552 วงเงินค่าก่อสร้าง 8,749 ล้านบาท (ไม่รวมงานระบบเครื่องกลและ ไฟฟ้า) แล้วเสร็จเมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2555 ส่วนงานระบบไฟฟ้า เครือ่ งกล และอาณัติสัญญาณ ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน วงเงินก่อสร้าง 5,857 ล้านบาท รวมอยูใ่ นโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซือ่ -รังสิต เพือ่ ให้ ระบบต่าง ๆ ของทั้ง 2 เส้นทาง และตู้รถไฟฟ้าเป็นระบบเดียวกัน

สถานีกลางบางซื่อ เชื่อมต อสายสีน้ำเง�น

สถานีตลิ�งชัน

เชื่อมต อสายสีส ม

สัญลักษณ สถานี จ�ดเชื่อมต อการเดินทาง (ระบบราง)

116 123 ปี การรถไฟแห่งประเทศไทย

Tmay.indd 1

ก้าวสู่ผู้นำาระบบราง ยก

21/6/2564 11:36:44



คณะที่ปรึกษา

ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค์ ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต

นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศ์พิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการ

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการข่าว

สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

กองบรรณาธิการ

ณัฐชยา แก่นจันทร์

พิสูจน์อักษร

อ�าพันธ์ุ ไตรรัตน์

ศิลปกรรม

พฤติยา นิลวัตร, ศศิธร มไหสวริยะ

ประสานงาน

ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย

ฝ่ายการตลาด

ทิพวัลย์ เข็มพิลา, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท

เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมณฑน์ บัวผัน

ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์

กรรณิการ์ ศรีวรรณ์

แยกสี

บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด

โรงพิมพ์

หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 เว็บไซท์ http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail editor@greennetworkthailand.com

สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน นับตัง้ แต่ทปี่ ระเทศไทยประกาศล็อกดาวน์ 14 วัน ในพืน้ ที่ 10 จังหวัด มีผลเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ที่ผ่านมา เนื่องจากตัวเลขผู้ติดเชื้อ COVID-19 แตะระดับหมื่นกว่าทุกวัน ล่าสุด ศบค. ได้ขยายล็อกดาวน์ออกไปเบื้องต้น 14 วัน นับตัง้ แต่วนั ที่ 3 สิงหาคมนี้ ก่อนจะประเมินสถานการณ์พร้อมก�าหนด มาตรการอีกครั้งวันที่ 18 สิงหาคมนี้ และอาจจะขยายล็อกดาวน์ต่อเนื่อง สูงสุด 1 เดือน ท�าให้คนต้องท�างานจากที่บ้านมากขึ้น (Work from Home) และหันมาใช้บริการสัง่ อาหารทางออนไลน์มากขึน้ ส่งผลให้ขยะพลาสติกจาก บรรจุภัณฑ์อาหารมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ยังไม่รวมถึงขยะ จากเศษอาหาร คิดเป็นสัดส่วน 50% ของขยะทั้งหมด ซึ่งเป็นขยะอินทรีย์ที่ ท�าให้เกิดก๊าซมีเทนที่มีส่วนส�าคัญท�าให้เกิดก๊าซเรือนกระจกสูงถึง 25 เท่า และก๊าซเรือนกระจกนี้เป็นต้นเหตุท�าให้เกิดภาวะโลกร้อน อย่างไรก็ตาม นับเป็นข่าวดีที่ สถาบันพลาสติก ร่วมกับ บริษัท สยามพิวรรธน์ จ�ากัด พร้อมด้วยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ ป็นพันธมิตร ในการดูแลเรื่องการจัดการขยะพลาสติก เปิดตัว “โครงการ Siam Pieces” บนพืน้ ทีศ่ นู ย์การค้าวันสยาม ซึง่ ประกอบด้วย 3 ศูนย์การค้า ได้แก่ สยามพารากอน สยามเซ็นเตอร์ และสยามดิสคัฟเวอรี่ เพื่อบริหารจัดการขยะพลาสติก หลังการใช้ โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในพืน้ ที่ เขตเมืองชั้นใน ซึ่งได้เลือกพื้นที่เขตปทุมวัน ที่ที่มีศักยภาพและมีประชาชน ใช้บริการจ�านวนมาก ประกอบกับมีสถานทีส่ า� คัญหลายแห่ง เช่น สถานศึกษา ห้างสรรพสินค้า อาคารส�านักงาน โรงพยาบาล และชุมชน โดยสถาบันพลาสติก โครงการนีจ้ ะท�าการศึกษาตัง้ แต่พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคทีม่ ผี ลต่อการ คัดแยกและทิ้งขยะพลาสติก เพื่อท�าความเข้าใจและหาเครื่องมือที่จะท�าให้ เกิดแรงจูงใจในการคัดแยกพลาสติกของผู้บริโภคที่มากขึ้น และต่อยอด ไปจนถึงการศึกษาผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตลอดห่วงโซ่เศรษฐกิจหมุนเวียน เพือ่ น�า ผลการศึกษามาพัฒนาและจัดท�าแบบแผนธุรกิจ (Business Model) น�าไปสู่ การลดขยะพลาสติกสู่สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมให้มีการน�าขยะพลาสติก เข้าสู่ระบบรีไซเคิลมากยิ่งขึ้น ที่ส�าคัญจะเป็นโมเดลต้นแบบในการจัดการ ขยะพลาสติกทีถ่ กู ตามหลักวิชาการการคัดแยกพลาสติก และลดการฝังกลบ พลาสติกที่ก่อมลพิษท�าลายสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป ส�าหรับนิตยสาร Green Network ฉบับนี้ ขอเกาะติดการจัดการ ขยะพลาสติกและการคัดแยกขยะติดเชื้อ ด้วยรายงาน “หน่วยงานภาครัฐเอกชน ปั้นโครงการ “Siam Pieces” สร้างโมเดลธุรกิจจัดการพลาสติก ใช้แล้วอย่างยั่งยืน ตามหลัก Circular Economy”, “หมอฯ แนะคัดแยก “ขยะติดเชือ้ ” ก่อนทิง้ ลงถังแดง ลดการแพร่กระจายเชือ้ COVID-19 พร้อม น�าเสนอเทรนด์ EV ที่ก�าลังเป็นกระแสอย่างต่อเนื่อง ในบทความ “ยานยนต์ ไฟฟ้า เรื่องใกล้ตัว ZEV ก�าลังจะมา ICE ก�าลังจะไป อะไรคือ 30:30” โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ตามด้วย “ออริจิ้น” ผนึก “GUNKUL” จัดตั้งบริษัท รุก 3 ธุรกิจพลังงานสะอาด เตรียมต่อยอดในโครงการที่อยู่อาศัยเครือ ออริจิ้นเป็นครั้งแรก” และคอลัมน์อื่นๆ ที่สายกรีนไม่ควรพลาดครับ พบกันฉบับหน้า สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล


Contents July-August 2021

9

Cover Story

หน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ปั้นโครงการ “Siam Pieces” สร้างโมเดลธุรกิจจัดการพลาสติกใช้แล้วอย่างยั่งยืน ตามหลัก Circular Economy กองบรรณาธิการ

26

Automotive

15 คาลเท็กซ์ ชูกลยุทธ์ Smart Partnership จับมือ

EA Anywhere ขยายบริการสถานีชาร์จรถ EV รองรับดีมานด์พลังงานสะอาดเติบโต กองบรรณาธิการ

Report

24 เอ็นไอเอ ร่วมกับ กกพ. เปิดโครงการสนามการเรียนรู้

17 “กลุ่มป่าแก่งกระจาน” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

แห่งที่ 6 ของไทย และเป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ แห่งที่ 3 ของไทย กองบรรณาธิการ 18 หมอฯ แนะคัดแยก “ขยะติดเชื้อ” ก่อนทิ้งลงถังแดง ลดการแพร่กระจายเชื้อ COVID-19 กองบรรณาธิการ

Solar

20 “ออริจิ้น” ผนึก “GUNKUL” จัดตั้งบริษัทรุก 3 ธุรกิจพลังงาน

สะอาด เตรียมต่อยอดในโครงการที่อยู่อาศัยเครือออริจิ้น เป็นครั้งแรก กองบรรณาธิการ

Environment

22 ทส. เปิดตัวเครือข่ายคาร์บอนนิวทรัลประเทศไทย

มุ่งลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับศูนย์ ภายในปี 2050 กองบรรณาธิการ

นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้า น�าร่องปั้นเด็กมัธยม 50 แห่ง พัฒนานวัตกรรมไฟฟ้าจากขยะ กองบรรณาธิการ

Energy

26 ยานยนต์ไฟฟ้า เรื่องใกล้ตัว ZEV ก�าลังจะมา ICE ก�าลังจะไป

อะไรคือ 30:30 พิชัย ถิน่ สันติสุข 30 จาก “พลังงานสะอาด” สู่ “พลังงานฉลาด” เทรนด์การใช้ พลังงานวิถีใหม่สู่ความยั่งยืนที่แท้จริง บ้านปู เน็กซ์

BCG

32 สองผู้เชี่ยวชาญแนะเคล็ดลับสร้างแบรนด์ด้วย BCG Model

ยกระดับองค์กรสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน กองบรรณาธิการ

Logistics

34 ดีเอชแอล ซัพพลายเชน เปิดตัวรถขนส่งแบบควบคุมอุณหภูมิ

ในไทย ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ลดการปล่อย CO2 กองบรรณาธิการ

Innovation

23 หัวเว่ยส่งเสริมนวัตกรรมดิจิทัลด้านพลังงาน เพื่อการพัฒนา

ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของอาเซียน กองบรรณาธิการ

9


Cover Story กองบรรณาธิการ

สถาบันพลาสติก ร่วมกับ บริษัท สยามพิวรรธน์ จ�ากัด กรมส่งเสริม คุณภาพสิง่ แวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ ส�านักสิง่ แวดล้อม กรุงเทพมหานคร ส�านักงานเขตปทุมวัน กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย และจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ร่วมเปิดตัว “โครงการ Siam Pieces” เพื่อสร้างต้นแบบ การจัดการขยะพลาสติกอย่างยั่งยืน ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน น�าไปสู่ การพัฒนาแบบแผนธุรกิจ (Business Model) ตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ ผ่าน การศึกษาวิจัยพฤติกรรมจากกลุ่มตัวอย่างของผู้บริโภคในพื้นที่เขตปทุมวัน โดยได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น โครงการจากหน่ ว ยบริ ห ารและจั ด การทุ น ด้ า น การเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ภายใต้การก�ากับ ของส�านักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แห่งชาติ (สอวช.) มีเป้าหมายที่จะพัฒนาแบบแผนธุรกิจในการน�าพลาสติก ใช้แล้วทุกชนิดกลับสู่กระบวนการรีไซเคิลอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสร้าง โมเดลศู น ย์ คัด แยกที่ มีศัก ยภาพในการจั ด เก็ บ ขยะพลาสติ ก ทุ กประเภท บนพื้นที่ศูนย์การค้ากลุ่มวันสยาม ซึ่งประกอบด้วย 3 ศูนย์การค้า ได้แก่ สยามพารากอน สยามเซ็นเตอร์ และสยามดิสคัฟเวอรี่ เพือ่ เป็นโมเดลต้นแบบ ในการจั ด การขยะพลาสติ ก ที่ ถู ก ตามหลั ก วิ ช าการการคั ด แยะพลาสติ ก ลดการฝังกลบพลาสติกที่ก่อมลพิษท�าลายสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป

9

GreenNetwork4.0 July-August

2021


สถาบันพลาสติก จับมือสยามพิวรรธน์ เปิดตัว “โครงการ Siam Pieces” บนพื้นที่ ศูนย์การค้าวันสยาม

วีระ ขวัญเลิศจิตต์ ผู้อ�านวยการ สถาบันพลาสติก กล่าวว่า สถาบันพลาสติกได้รับงบประมาณจาก บพข. เพื่อจัดตั้งโครงการ พัฒนาแบบแผนธุรกิจ (Business Model) ส�าหรับการบริหารจัดการ ขยะพลาสติกหลังการใช้ โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในพืน้ ทีเ่ ขตเมืองชัน้ ใน ซึง่ ได้เลือกพืน้ ทีเ่ ขตปทุมวัน ทีท่ มี่ ี ศักยภาพและมีประชาชนใช้บริการจ�านวนมาก ประกอบกับมีสถานที่ ส�าคัญหลายแห่ง เช่น สถานศึกษา ห้างสรรพสินค้า อาคารส�านักงาน โรงพยาบาล และชุมชน โดย สถาบันพลาสติก ร่วมกับ บริษัท สยามพิวรรธน์ จ�ากัด พร้อมด้วยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เป็น พันธมิตรในการดูแลเรื่องการจัดการขยะพลาสติก พร้อมเปิดตัว “โครงการ Siam Pieces” บนพื้ น ที่ ศู น ย์ ก ารค้ า วั น สยาม ซึ่ ง 10

ประกอบด้วย 3 ศูนย์การค้า ได้แก่ สยามพารากอน สยามเซ็นเตอร์ และสยามดิสคัฟเวอรี่ โครงการดังกล่าวจะเป็นหนึง่ ในโครงการพัฒนาแบบแผนธุรกิจ (Business Model) ส�าหรับการบริหารจัดการขยะพลาสติกหลังการใช้ ในพื้นที่เขตเมืองชั้นใน ที่ทา� การศึกษาตั้งแต่พฤติกรรมของผู้บริโภค ที่มีผลต่อการคัดแยกและทิ้งขยะพลาสติก เพื่อท�าความเข้าใจและ หาเครือ่ งมือทีจ่ ะท�าให้เกิดแรงจูงใจในการคัดแยกพลาสติกของผูบ้ ริโภค ที่มากขึ้น และต่อยอดไปจนถึงการศึกษาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอด ห่วงโซ่เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อน�าผลการศึกษามาพัฒนาและจัดท�า แบบแผนธุรกิจ (Business Model) เพื่อลดการเพิ่มขยะพลาสติกสู่ สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมให้มีการน�าขยะพลาสติกเข้าสู่ระบบรีไซเคิล มากยิ่งขึ้น รวมทั้งจะเป็นโมเดลต้นแบบในการจัดการขยะพลาสติก ที่ถูกตามหลักวิชาการการคัดแยกพลาสติก ลดการฝังกลบพลาสติก ที่ก่อมลพิษท�าลายสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป

GreenNetwork4.0 July-August

2021


PPP Plastics ร่วมขับเคลื่อนโครงการ “Siam Pieces” ใช้เป็นโมเดลการจัดการ ขยะพลาสติก

ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ประธาน PPP Plastics (Public Private Partnership for Sustainable Plastic and Waste Management) กล่าวว่า PPP Plastics ได้ดา� เนินการจัดการแก้ปญ ั หาพลาสติกและขยะ ร่วมกับภาครัฐ เอกชน ประชาชน และภาคการศึกษา มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2561 เพือ่ ให้ประชาชนในสังคมใช้พลาสติกลดน้อยลง รวมทัง้ หาวัสดุ ทดแทนพลาสติกมาใช้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมร่วมกับทุกภาคส่วน การที่ PPP Plastics เข้าร่วม “โครงการ Siam Pieces” ซึง่ เป็นอีกหนึง่ โครงการที่จะใช้เป็นโมเดลการจัดการพลาสติกและขยะพลาสติก ทั้งเรื่องการคัดแยกที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ การปลูกจิตส�านึก สร้างการตระหนักรู้ เช่น การคัดแยกขยะพลาสติกออกจากขยะปกติ ก่อนทิ้งในแต่ละครัวเรือน เป็นต้น ปัจจุบันองค์กรภาคธุรกิจได้เข้ามามีบทบาทส�าคัญในการ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน เพื่อแก้ไข ปัญหาขยะพลาสติก เพือ่ ร่วมหาทางออกการบริหารจัดการขยะพลาสติก เพื่อสร้างรูปแบบที่สมดุลอันมุ่งไปสู่เศรษฐกิจหมุนเวียนอย่างยั่งยืน ในมิติต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การขับเคลือ่ นแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกได้ดา� เนินงานในบริบท ทีม่ คี วามสอดคล้องกับแนวทางเศรษฐกิจ BCG Model หรือเศรษฐกิจ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-CircularGreen : BCG) ที่รัฐบาลก�าหนดเป็นโมเดลเศรษฐกิจในการพัฒนา ประเทศอย่างยั่งยืนและเป็นวาระแห่งชาติอีกด้วย นับได้ว่าการ ปรับเปลีย่ นรูปแบบการด�าเนินธุรกิจดังกล่าวเป็นการตอบสนองนโยบาย ของภาครัฐในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความยั่งยืนในอนาคต อย่างเป็นรูปธรรม

11

ท�าความรู้จักโครงการ “Siam Pieces”

นราทิพย์ รัตตประดิษฐ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส สายงานปฏิบตั กิ าร บริษทั สยามพิวรรธน์ จ�ากัด กล่าวว่า สยามพิวรรธน์ ให้ความส�าคัญในการบริหารงานด้วยการเอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อสังคม และสิง่ แวดล้อมมาอย่างต่อเนือ่ ง จึงได้นา� แนวคิดเศรษฐกิจ หมุนเวียนมาพัฒนาเป็นหลักการบริหารจัดการขยะในทุกกระบวนการ ของธุรกิจ ตัง้ แต่การรณรงค์ภายในองค์กร ไปจนถึงการสร้างจิตส�านึก ให้ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการในศูนย์การค้าทุกรูปแบบ และล่าสุด ได้ร่วมเปิด Recycle Collection Center จุดรับขยะรีไซเคิล ที่เปิด ให้คนทั่วไปสามารถน�ามาทิ้งได้ โครงการ Siam Pieces ประกอบด้วยตัวอักษรทีม่ คี วามหมาย โดย Siam Pi มาจากชือ่ บริษทั สยามพิวรรธน์ จ�ากัด ซึง่ เป็นผูร้ เิ ริม่ สร้างสรรค์โครงการนี้ มาจากค�าว่า Empower มาจากค�าว่า Circular มาจากค�าว่า Economy มาจากค�าว่า Society สยามพิวรรธน์ยินดีอย่างยิ่งที่ได้ร่วมมือกับสถาบันพลาสติก และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการใช้พน้ื ทีว่ นั สยามท�าวิจยั รวบรวม และวิเคราะห์ขอ้ มูลจากพนักงานและลูกค้าวันสยาม เพือ่ น�าองค์ความรู้ มาพัฒนาเป็นต้นแบบของการบริหารจัดการขยะพลาสติกในสังคม อย่างยั่งยืน พร้อมต่อยอดไปใช้แก้ไขปัญหาการจัดการขยะพลาสติก ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ในประเทศไทย ทัง้ ยังสอดรับกับสถานการณ์โลกปัจจุบนั ซึ่งขณะนี้ทางสหภาพยุโรป หรืออียู ต้องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของโลกในการลดปริมาณขยะพลาสติก และมุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างเศรษฐกิจ หมุนเวียน จึงได้ออกระเบียบว่าด้วยการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว ของสหภาพยุโรป ที่เริ่มต้นใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา

GreenNetwork4.0 July-August

2021


ในอนาคตพร้อมที่จะเป็นต้นแบบในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่ได้ไปสู่พื้นที่อื่นๆ ใกล้เคียงกรุงเทพมหานคร พื้นที่จังหวัดท่องเที่ยว และชุมชนทั่วประเทศไทยต่อไป

แนะใช้หลัก 3R คัดแยกขยะพลาสติก

สุรชัย อจลบุญ อธิบดี กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กล่าวว่า ปัญหาขยะพลาสติกเป็นปัญหาที่ภาคส่วนต่างๆ ต้องร่วมกันแก้ โดยน�าหลัก 3R มาใช้ ประกอบด้วย 1. Reduce คือ ลดการใช้ ลดการบริโภคทรัพยากรที่ไม่จ�าเป็นลง แล้วหาผลิตภัณฑ์ทางเลือก ที่สามารถทดแทนพลาสติกได้แม้ประสิทธิภาพจะไม่เท่าพลาสติก แต่ช่วยให้เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่น้อยกว่าการใช้พลาสติก 2. Reuse คือ ใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด โดยน�าพลาสติกมาใช้ซ�้า 1-2 ครัง้ ตามการผลิตพลาสติกทีร่ องรับ อาจจะเป็นพลาสติกทีใ่ ช้แล้ว ย่อยสลายเอง โดยไม่ทา� ลายสภาพแวดล้อม เป็นต้น และ 3. Recycle คือ เลือกใช้พลาสติกที่สามารถน�ากลับมารีไซเคิล กลับมาใช้ใหม่ ช่วยลดการใช้พลาสติกในสังคมลง หลักการ 3R ต้องท�าควบคู่ไปกับการให้องค์ความรู้พลาสติก แต่ละชนิดแต่ละประเภท คุณสมบัตใิ นการใช้งานและหลักการท�าลาย การคัดแยก ควรจัดถังขยะแยกประเภทขยะพลาสติกไว้ต่างหาก ในทุกๆ ครอบครัว ก่อนทีจ่ ะน�าไปทิง้ ลงถังขยะ เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีม่ าเก็บ ในแต่ละพืน้ ที่ เชือ่ ว่าหากท�าได้จะช่วยลดปริมาณการใช้พลาสติกและ ขยะพลาสติกที่เป็นปัญหาสะสมมาอย่างยาวนานในสังคมไทยลงได้

คพ. พร้อมส่งนักวิชาการถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการจัดการพลาสติกอย่างถูกวิธี

ปรีญาพร สุวรรณเกษ รองอธิบดี กรมควบคุมมลพิษ กล่าวว่า การก�าจัดพลาสติกที่เป็นขยะทิ้งจากสถานที่ราชการ บริษัทเอกชน ห้างสรรพสินค้า สถานศึกษา ครัวเรือน ประชาชน ในแต่ละเดือนนั้น

ในช่วงก่อนเกิดวิฤต COVID-19 ยังมีจ�านวนไม่มากนัก แต่เมื่อเกิด วิกฤต COVID-19 พลาสติกที่เป็นขยะเริ่มมีจ�านวนสูงขึ้นกว่าเท่าตัว เนื่องจากการกักตัวและการสั่งซื้ออาหาร ร้านอาหารส่วนใหญ่จะใช้ ภาชนะพลาสติกทีใ่ ช้แล้วทิง้ ครัง้ เดียวในการใส่อาหาร น้อยมากทีจ่ ะมี ภาชนะที่เป็นพลาสติกแล้วน�ากลับมาใช้ใหม่ได้ รวมทั้งการกลัว การติดเชื้อจากการน�าภาชนะของลูกค้ามาใช้บริการ เป็นต้น ซึ่งเมื่อ พลาสติกเหล่านัน้ กลายไปเป็นขยะ การคัดแยกมาสูก่ ารก�าจัดค่อนข้าง ทีจ่ ะไม่มแี บบแผนทางวิชาการในบางพืน้ ที่ โดยทิง้ ลงแม่นา้� บ้าง เผาทิง้ กลายเป็นก๊าซพิษสะสมใน PM2.5 บ้าง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะย้อนกลับมาสู่ ประชาชนส่วนรวมในพื้นที่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นกรมควบคุมมลพิษยินดีอย่างยิ่งที่ได้เข้าร่วมโครงการ “Siam Pieces” และพร้อมส่งนักวิชาการร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการจัดการขยะพลาสติกอย่างถูกวิธีทุกรูปแบบ เพื่อให้โมเดลของ โครงการนี้ประสบความส�าเร็จพร้อมขยายต่อสู่พื้นที่อื่นๆ ต่อไป

กรุงเทพมหานครสร้างการตระหนักรู้ ลดใช้พลาสติกจ�านวนมากในแต่ละวัน

วิ รั ต น์ มนั ส สนิ ท วงศ์ ผู ้ อ� า นวยการ ส� า นั ก สิ่ ง แวดล้ อ ม กรุงเทพมหานคร กล่าวว่า ปัญหาขยะพลาสติกเป็นปัญหาระดับชาติ ที่นับวันจะยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น แม้ว่าภาคส่วนต่างๆ จะรณรงค์ให้ ลด ละ เลิก ใช้พลาสติกแล้วใช้วัสดุทดแทนพลาสติก ใช้กระเป๋าผ้า ในการน�าไปใส่สงิ่ ของทีซ่ อื้ ในห้างสรรพสินค้า แต่กย็ งั นิยมใช้พลาสติก อยู่เป็นจ�านวนมากในทุกๆ พื้นที่ในสังคมไทย เพราะสะดวก สบาย แต่ลมื ไปว่าปัญหาจากพลาสติกนัน้ มีมากเช่นกัน โดยเฉพาะการก�าจัด ทัง้ นี้ ในแต่ละภาคส่วนจะต้องคัดแยกขยะพลาสติกออกจากขยะอืน่ ๆ อย่างเข้มงวดแล้วน�าไปก�าจัดเอง หรือให้ทางเจ้าหน้าที่น�าไปก�าจัด อาจจะน�าไปรีไซเคิลต่อหรือก�าจัดตามความเหมาะสม เพราะหากน�าไป ก�าจัดเองจะท�าให้เกิดโทษ ก่อให้เกิดการสะสมของมลพิษได้ ส�าหรับการเข้าร่วมของกรุงเทพมหานครในโครงการ “Siam Pieces” นัน้ กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าของพืน้ ทีแ่ ละมีหน้าทีด่ แู ลเรือ่ ง สิง่ แวดล้อมทีจ่ ะไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนทุกๆ ด้าน หวังเป็น อย่างยิง่ ว่าโครงการดังกล่าวจะเป็นส่วนหนึง่ ในการสร้างการตระหนักรู้ และลดการใช้พลาสติกในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ก่อให้เกิดขยะ พลาสติกที่ก�าจัดได้ยาก ซึ่งมีจ�านวนมากในแต่ละวัน

ส�านักงานเขตปทุมวันร่วมรณรงค์กบั ทุกภาคส่วน อย่างต่อเนื่อง หวังลดการใช้พลาสติก

“โครงการ Siam Pieces”

สร้างโมเดลธุรกิจจัดการ พลาสติกใช้แล้ว อย่างยั่งยืน ตามหลัก Circular Economy

12

มาศวัลย์ ปิ่นสุวรรณ ผู้อ�านวยการเขตปทุมวัน กล่าวว่า ประชากรในเขตปทุมวันมีประมาณ 42,582 คน แต่จา� นวนประชากร แฝงมีสูงถึง 200,000 คน ท�าให้มีขยะมูลฝอยในพื้นที่ปทุมวันสูงขึ้น ในแต่ละปีด้วย โดยในปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา 18,000 ตันต่อวัน แยก เฉพาะขยะทีเ่ ป็นพลาสติกได้ประมาณ 3,500 ตันต่อปี ซึง่ เป็นปริมาณ ที่มาก ทางส�านักงานเขตฯ จึงได้มีโครงการรณรงค์ให้ประชาชน ในพืน้ ทีต่ ระหนักและเรียนรู้ ลด ละ เลิก พิษทีเ่ กิดจากการใช้พลาสติก เพือ่ ทีจ่ ะไม่เป็นภาระในการรักษาสุขภาพ ในการก�าจัด และกระทบต่อ การใช้ชวี ติ รวมทัง้ สร้างการตระหนักรูแ้ ก่ประชากรทุกๆ คนในสังคม เขตปทุมวันมีพื้นที่เป็นห้างสรรพสินค้า ที่พักอาศัย สถานที่ราชการ ทีส่ า� คัญๆ มากมายทีจ่ ะต้องมีขยะพลาสติกทุกรูปแบบมากมายเช่นกัน

GreenNetwork4.0 July-August

2021


ในแต่ละวัน โดยได้รว่ มกับภาคส่วนต่างๆ ในการท�ากิจกรรมทีร่ ณรงค์ มาอย่างต่อเนื่อง และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการเข้าร่วมโครงการ Siam Pieces จะได้รว่ มขับเคลือ่ นช่วยให้พนื้ ทีเ่ ขตปทุมวันลดการใช้พลาสติก แล้วหันมาใช้วัสดุทดแทนพลาสติกในอนาคตให้มากยิ่งขึ้น

กลุ่มดาว ประเทศไทย พร้อมผลักดัน Business Model การจัดการพลาสติกใช้แล้ว ให้มีประสิทธิภาพ

ฉัตรชัย เลื่อนผลเจริญชัย ประธานบริหาร กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย กล่าวว่า ปัญหาพลาสติกเป็นปัญหาที่ซับซ้อนยากที่จะ แก้ไขได้ดว้ ยหน่วยงานใดหน่วยงานหนึง่ เพียงอย่างเดียว การเกิดความ ร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน และหน่วยงานการศึกษาในโครงการ Siam Pieces นี้ ถือเป็นแนวทางทีส่ อดคล้องเป็นอย่างยิง่ กับหนึง่ ในเป้าหมาย ด้านความยั่งยืนที่บริษัทฯ ได้ประกาศไปเมื่อปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา ในการหยุดขยะพลาสติก โดยบริษัทฯ ตั้งเป้าจะผลักดันให้พลาสติก ที่ใช้แล้ว หรือการรีไซเคิลแล้วจ�านวนประมาณกว่า 1,000,000 ตัน จากทั่วโลกถูกเก็บกลับมาใช้ประโยชน์โดยไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อมและ ไม่เป็นอันตรายต่อทุกๆ ชีวิต รวมทั้งสิ่งแวดล้อม ทั้งในน�้า ทะเล บนพื้นดิน และในอากาศ ที่เกิดจากการเผาพลาสติกของประชาชนที่ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ในการก�าจัดพลาสติก ทั้งการน�าไปฝังกลบ การเผา ท�าลาย และอื่นๆ ที่ไม่ถูกหลัก เมื่อมีโครงการดังกล่าวและมีหลายๆ องค์กรทั้งหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนมาร่วมกันให้องค์ความรู้ จัดกิจกรรมลงพื้นที่ใน ชุมชนตามความเหมาะสม แนะน�าการก�าจัดพลาสติก การคัดแยก พลาสติก และให้รายละเอียดพลาสติกชนิดต่างๆ ที่สามารถน�ากลับ มาใช้ได้และไม่สามารถน�ากลับมาใช้ได้ให้ประชาชนในพื้นที่ปทุมวัน ซึ่งเป็นพื้นที่น�าร่องเข้าใจแล้วน�าไปปฏิบัติ ผลักดันให้เกิด Business Model ของการจัดการพลาสติกใช้แล้วที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ จะช่วยยกระดับผูป้ ระกอบการรับซือ้ ของเก่า ซาเล้ง รวมทัง้ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ตลอดทัง้ Value Chain ให้มรี ายได้พอเพียงทีจ่ ะสามารถด�าเนินธุรกิจ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งจะท�าให้การจัดการพลาสติกเป็นไปอย่างยั่งยืน ในอนาคต

ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านต่างๆ จัดการ ขยะพลาสติก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคจัดการพลาสติกครบวงจร

ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ปัจจุบนั ทุกภาคส่วนให้ความส�าคัญ กับการรักษาสิ่งแวดล้อม มีการคิดค้นนวัตกรรมในการจัดการวัสดุ เหลือใช้ โดยเฉพาะกลุม่ พลาสติก ในหลากหลายรูปแบบเพือ่ ประดิษฐ์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างมูลค่าเพิ่มและสามารถน�ากลับมาใช้งานใหม่ อย่างไรก็ตาม การจัดการปัญหาขยะพลาสติกนัน้ ไม่สามารถส�าเร็จได้ ด้วยองค์ความรูใ้ นห้องเรียน เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่จา� เป็นต้อง มีการประยุกต์ใช้องค์ความรูด้ า้ นอืน่ ๆ จากทุกหน่วยมาร่วมบูรณาการ ท�างานแก้ไขปัญหาร่วมกันให้เกิดความยัง่ ยืนอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้พลาสติกหรือผู้บริโภค และการสร้างกลไกทางเศรษฐกิจที่ท�าให้เกิดการจัดการพลาสติกที่ ครบวงจรตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึง่ จะท�าให้พลาสติกทัง้ ทีม่ ี 13

มูลค่าสูงและส่วนทีย่ งั มีมลู ค่าต�า่ อยูไ่ ด้กลับเข้าสูร่ ะบบเพือ่ การจัดการ อย่างเหมาะสม ส�าหรับการด�าเนินโครงการ Siam Pieces จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยยินดีที่จะเป็นผู้เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลที่ถูกต้องตาม หลักวิชาการ เป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม เพือ่ ให้สามารถน�าผลสัมฤทธิ์ ที่ได้ไปอ้างอิง เสริมองค์ความรู้เรื่องพลาสติกที่มีอยู่เดิม ก่อให้เกิด องค์ความรู้ใหม่ๆ น�าไปแนะน�าขยายผลสู่พื้นที่อื่นๆ ต่อไป

เผยขยะในทะเลมาจากแผ่นดินสูงถึง 80% แนะเร่งแก้ไขอย่างเป็นระบบ-สร้างเยาวชน รับผิดชอบต่อสังคม

ผศ. ดร.ธรณ์ ธ�ารงนาวาสวัสดิ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านนิเวศทาง ทะเล และรองคณบดีกิจการพิเศษ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า ขยะพลาสติกไม่ได้ เป็นผูร้ า้ ยในสังคม แต่ทเี่ กิดภาพเป็นผูร้ า้ ยในสังคมเนือ่ งจากฝีมอื ของ มนุษย์เราที่ทิ้งไม่เลือกที่ จากการส�ารวจพบว่ามีปริมาณการทิ้งขยะ 8-11 ชิ้นต่อคนต่อวันเป็นอย่างน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทิ้งขยะ พลาสติกลงทะเล ที่นับวันจะเป็นปัญหาที่แก้ยาก จากข้อมูลการเก็บ สถิติของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา พบว่าขยะ ในทะเลมาจากแผ่นดินประมาณ 80% ซึ่งเป็นฝีมือการทิ้งของมนุษย์ ทัง้ สิน้ น้อยมากทีจ่ ะเกิดขยะจากธรรมชาติในท้องทะเล และเป็นเรือ่ ง ทีน่ า่ สลดใจทีข่ ยะในทะเลในระยะหลังจะเป็นขยะพลาสติกทีไ่ ปท�าร้าย สัตว์น�้า เพราะเมื่อสัตว์น�้ารับประทานเข้าไปแล้วไม่ย่อยสลาย ท�าให้ สัตว์น�้าเหล่านั้นเสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บ เช่น การเสียชีวิตของ น้องมาเรียม พะยูนเพศเมียทีเ่ สียชีวติ ไปเมือ่ ช่วงปี พ.ศ. 2562 นอกจาก สาเหตุการช็อกแล้ว ยังพบเศษพลาสติกเล็กๆ หลายชิน้ ขวางล�าไส้จนมี อาการอุดตันบางส่วนและอักเสบจนท�าให้มแี ก๊สสะสมเต็มทางเดินอาหาร มีการติดเชื้อในกระแสเลือด ปอดเป็นหนองตามมา เป็นต้น “เชือ่ ว่าหากภาคส่วนต่างๆ ยังละเลยไม่หาแนวทางแก้ไขปัญหา อย่างเป็นระบบ ยังไม่สนใจสร้างการตระหนักรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ การรับผิดชอบต่อสังคมแก่เยาวชนรุน่ หลัง เราคงจะไม่เห็นท้องทะเลไทย มีสัตว์น�้านานาชนิดที่หายากแหวกว่ายในทะล จะเห็นเพียงภาพถ่าย เท่านัน้ และบนพืน้ ถนนคงเต็มไปด้วยขยะทีไ่ ร้คนช่วยกันเก็บให้สะอาด เป็นต้น” ผศ. ดร.ธรณ์ กล่าว

เปิดเพจให้ความรู้ประชาชนรู้จักแยก และรีไซเคิลขยะอย่างถูกวิธีก่อนทิ้ง

เปรม พฤกษ์ทยานนท์ เจ้าของเพจ “ลุงซาเล้งกับขยะทีห่ ายไป” กล่าวว่า ในสังคมไทยยังไม่เข้าใจการจัดการคัดแยกขยะก่อนทิ้งและ ขาดองค์ความรูท้ แี่ ท้จริงในเรือ่ งขยะ โดยไม่รวู้ า่ การรีไซเคิลทีถ่ กู ต้อง ไม่ใช่เพียงแค่ใส่ถังให้ถูกสี แต่ยังรวมถึงการฝังกลบและการน�าไป เผาตามโรงเผาที่ถูกวิธี ซึ่งกระบวนการทั้งหมดเมื่อไปถึงโรงงานแล้ว สามารถรีไซเคิลได้จริง ขายได้จริง มีคณ ุ ค่าของสิง่ นัน้ จริงๆ โดยเฉพาะ ขยะพลาสติกที่หากแยกถูกประเภทจะสร้างมูลค่าให้กับผู้คัดแยก ได้ จ� า นวนมากในแต่ ล ะวั น แต่ ก็ ยั ง มี พ ลาสติ ก บางชนิ ด ที่ เ กรด เม็ดพลาสติกไม่สามารถที่จะน�ามารีไซเคิลและขายได้ ก็จะถูกทิ้ง ไร้ประโยชน์ ท�าให้คนเก็บขยะหรือซาเล้งไม่สนใจน�าเก็บไปขาย เช่น ถุงขนม เป็นต้น เพราะการคัดแยกท�าให้ยงุ่ ยากมาก ไม่ตอบโจทย์

GreenNetwork4.0 July-August

2021


จึงถูกละเลยทิ้งให้เกิดปัญหาขยะพลาสติกเหลือในสังคมจ�านวนมาก “ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดที่อยากจะสื่อสารสิ่งที่มีให้คนทั่วไปได้ รับทราบ ย้อนมองตัวเองว่าสามารถท�าอะไรได้บ้าง ซึ่งเป็นที่มาของ การสร้างเพจ ‘ลุงซาเล้งกับขยะทีห่ ายไป’ โดยแรกเริม่ ได้วางแผนไว้วา่ จะโพสต์เรื่องการแยกขยะวันละชิ้น พอท�าไปได้สัก 1 ปี ก็เริ่มพัฒนา เนือ้ หาให้หลากหลายมากขึน้ มีทงั้ เรือ่ งสิง่ แวดล้อม รวมถึงการรณรงค์ ต่างๆ แต่ก็ยังจ�ากัดกรอบว่าต้องเกี่ยวข้องกับขยะ เพื่อให้คนสามารถ รับรู้ สร้างความตระหนัก หรือหากจะลงมือแยกขยะ ก็สามารถรูไ้ ด้วา่ จะต้องแยกอย่างไร ใช้วิธีการใดได้บ้าง เป็นต้น ซึ่งทางภาครัฐและ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องสามารถน�าหลักการของเพจไปปรับใช้ให้ความรู้ แก่ประชาชนในการคัดแยกขยะและรีไซเคิลขยะอย่างถูกต้องตามหลัก วิชาการในทุกๆ พื้นที่ หรือสร้างตัวแทนชุมชน อาจจะเป็นในรูปแบบ อาสาสมัครประจ�าชุมชนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ประชาชนเข้าใจ ในรูปแบบง่ายๆ ไม่เน้นหลักวิชาการจนเกินไป” เปรม กล่าว เปรม เชื่อว่าจะได้รับความร่วมมือและตอบรับเข้าร่วมจาก ประชาชนในพืน้ ทีไ่ ด้ดกี ว่าการใช้หลักวิชาการมากจนเกินไป ประชาชน ไม่เข้าใจและไม่สนใจ ท้ายที่สุดงบประมาณที่ด�าเนินการในแต่ละ โครงการก็จะเสียไปโดยเปล่าประโยชน์

โครงการ “Siam Pieces” เน้นทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมสู่วัฏจักรจัดการขยะพลาสติก ในสังคมเมืองที่ยั่งยืน

ศ. ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดีดา้ นยุทธศาสตร์นวัตกรรม และความยั่งยืน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า โครงการ Siam Pieces นี้ ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูล ท�างานวิจัยเรื่องพลาสติกในมิติ ต่างๆ ในองค์ประกอบต่างๆ พื้นที่ปทุมวัน ในศูนย์การค้าดังกล่าว ครบวงจรตัง้ แต่ตน้ ทางไปจนถึงปลายทางของการเดินทางของพลาสติก ให้เกิดของเสียน้อยที่สุด ลดการท�าลายสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด และ ลดการใช้งบประมาณในการก�าจัดพลาสติกให้น้อยที่สุด ด้วยการ ฟังเสียงหัวใจของผูบ้ ริโภคเป็นส�าคัญ เพือ่ น�าไปต่อยอดใช้บริหารจัดการ 14

พลาสติกใช้แล้วในประเทศไทย และน�าไปพัฒนาแบบแผนธุรกิจใน การน�าพลาสติกใช้แล้วทุกชนิดกลับสูก่ ระบวนการรีไซเคิลอย่างยัง่ ยืน และมีประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมขยายผลสร้างเป็นโมเดลธุรกิจตามหลัก เศรษฐกิจหมุนเวียนสู่ทุกๆ สังคมในประเทศไทย โดยเฉพาะการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง เกิดเป็นวัฏจักรของการจัดการขยะ พลาสติกในสังคมเมืองทีย่ งั่ ยืน รวมทัง้ เกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนพลาสติกทีเ่ หมาะสมตามยุคสมัยต่อไป

สร้างจิตส�านึกในการจัดการพลาสติกก่อนทิ้ง ตามหลัก 3R แนะภาครัฐหนุนการจัดการ ขยะพลาสติก

เข็มอัปสร สิริสุขะ ศิลปินและนักขับเคลื่อนด้านสิ่งแวดล้อม ตัวแทนภาคประชาชน กล่าวว่า ด้วยบรรจุภณ ั ฑ์ทางเลือกทีใ่ ช้ทดแทน พลาสติกมีราคาแพง ท�าให้ผู้บริโภคยังใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกเพิ่ม สูงขึน้ เรือ่ ยๆ โดยเฉพาะในช่วงการกักตัวจากสถานการณ์ COVID-19 ทีท่ กุ คนใช้การสัง่ ซือ้ อาหารมาทานด้วยบริการเดลิเวอรีท่ กุ รูปแบบ ซึง่ การบริการเดลิเวอรีท่ กุ รูปแบบนัน้ ล้วนแล้วแต่ใช้บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติก แทบทั้งสิ้น ด้วยความจ�าเป็นและเลือกไม่ได้ แต่เราสามารถที่จะช่วย คัดแยกบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่บรรจุอาหารเดลิเวอรี่เหล่านั้นได้ด้วย ล้างท�าความสะอาด ตากให้แห้งก่อนคัดแยกทิ้ง เพื่อช่วยบรรเทา การคัดแยกขยะของเจ้าหน้าที่ตั้งแต่ต้นทาง ก่อนน�าเข้าสู่ระบบการ ก�าจัดของภาครัฐ แต่เชื่อว่ามีส่วนน้อยที่จะน�าบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ ใส่อาหารไปล้างก่อนแยกทิ้ง ทัง้ นี้ ช่วงเวลาปกติในการใช้ชวี ติ ประจ�าวัน เราเลือกได้วา่ จะใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ทที่ ดแทนพลาสติก เช่น ถุงผ้า กระเป๋าผ้า และอืน่ ๆ มากขึน้ ซึ่งการใช้ชีวิตประจ�าวันของแต่ละบุคคลต้องขึ้นอยู่กับจิตส�านึกและ ความรับผิดชอบในการช่วยจัดการพลาสติกในสังคมก่อนทิง้ ตามหลัก 3R และภาครัฐต้องมีโครงการและโมเดลสนับสนุนเรื่องการจัดการ ขยะพลาสติก ซึง่ อาจจัดท�านโยบายจูงใจด้านภาษีให้ภาคผูผ้ ลิตในการ ผลิตผลิตภัณฑ์ทางเลือกสู่ตลาดมากยิ่งขึ้น

GreenNetwork4.0 July-August

2021


Automotive กองบรรณาธิการ

เชฟรอน ผู้ผ ลิต และจ�า หน่ายผลิต ภัณฑ์ “คาลเท็กซ์” ผนึก EA Anywhere เติมเต็มความ สะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้า ขยายบริการ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าในสถานีบริการน�้ามัน คาลเท็กซ์ รองรับความต้องการยานยนต์ไฟฟ้า ที่ก�าลังเติบโตในไทย สอดคล้องกับนโยบายของ ภาครัฐ เพือ่ ก้าวเข้าสูก่ ารเป็นฐานการผลิตยานยนต์ ไฟฟ้าและชิ้นส่วนที่ส�าคัญของโลก

คาลเท็กซ์ ชูกลยุทธ์ Smart Partnership จับมือ EA Anywhere

ขยายบริการสถานีชาร์จรถ EV รองรับดีมานด์พลังงานสะอาดเติบโต

อลิซ พอตเตอร์ ประธานกรรมการและผู้จัดการใหญ่ บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ากัด กล่าวว่า ปัจจุบันตลาดรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วย พลังงานไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV) ในประเทศไทย มีแนวโน้มการเติบโต ของอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งคณะกรรมการนโยบายยานยนต์ ไฟฟ้าแห่งชาติ (บอร์ดอีวี) ยังได้วางเป้าหมายการส่งเสริมการผลิตและ การใช้รถยนต์ไฟฟ้ารวมทุกประเภทในปี พ.ศ. 2568 จ�านวนทั้งสิ้นถึง 1.05 ล้านคัน บริษัทฯ ตระหนักถึงแนวโน้มความเติบโตดังกล่าว จึงร่วมกับบริษัท พลังงานมหานคร จ�ากัด ซึ่งเป็นบริษัทใน กลุ่มบริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จ�ากัด (มหาชน) เพื่อขยาย การติดตั้งบริการสถานีอัดประจุไฟฟ้าในสถานีบริการ น�้ามันคาลเท็กซ์ เพิ่มทางเลือกด้านผลิตภัณฑ์และ เติมเต็มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้รถ “ความร่วมมือในครั้งนี้จะช่วยให้เราสามารถ รองรับความต้องการของผูใ้ ช้ยานยนต์ไฟฟ้า ภายใต้ เป้าประสงค์ของเชฟรอนในการส่งมอบพลังงาน ทีส่ ะอาด ด้วยคุณภาพทีน่ า่ เชือ่ ถือและในราคาที่ ผู้บริโภคเข้าถึงได้” อลิซ พอตเตอร์ กล่าว

อลิซ พอตเตอร์

ประธานกรรมการและผู้จัดการใหญ่ บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ากัด 15

การติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้าส�าหรับยานยนต์ในสถานีบริการ น�้ามันคาลเท็กซ์ ถือเป็นโอกาสในการให้บริการเสริมด้านพลังงาน ทางเลือกให้แก่ผู้ขับขี่รถยนต์ โดยผสานความร่วมมือกับ EA Anywhere ซึ่งสอดคล้องกับกลยุทธ์ Smart Partnership เพื่อขับเคลื่อนการเติบโต อย่างยั่งยืนของคาลเท็กซ์ โดยนับถึงปัจจุบันได้ด�าเนินการติดตั้งสถานี อัดประจุไฟฟ้า EA Anywhere ในสถานีบริการน�้ามันคาลเท็กซ์ไปแล้ว 9 แห่ง ได้แก่ สถานีบริการน�้ามันคาลเท็กซ์สาขาไฮเท็กซ์ เพชรพระเทพ (บจก. ไฮเท็กซ์ เพชรพระเทพ) จังหวัดกรุงเทพฯ สาขาลาดกระบัง (บจก. เจ้าคุณ ออยล์) จังหวัดกรุงเทพฯ สาขารามอินทรา (บจก. ขัน้ เทพ เพอร์ฟอร์แมนซ์) จังหวัดกรุงเทพฯ สาขาบางนา-ตราด (บจก. สตาร์ เอ็นเนอร์จี เซอร์วิส) จังหวัดสมุทรปราการ สาขาเทพารักษ์ (บจก. ไทยสัมพันธ์ปราการ) จังหวัดสมุทรปราการ สาขาปากเกร็ด (บจก. สินทรัพย์มงคลชัย) จังหวัดนนทบุรี สาขานาจอมเทียน (บจก. สตาร์ จอมเทียน 2020) จังหวัดชลบุรี สาขาบางม่วง (หจก. เกษตรพัฒนา 1993) จังหวัดนครสวรรค์ สาขาพิชัย (หจก. ซี.เค.ซี. บิสซิเนส กรุ๊ป สาขา 2) จังหวัดล�าปาง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีแผนที่จะเปิดให้บริการภายในสถานี บริการน�า้ มันคาลเท็กซ์สาขาอืน่ ๆ เพิ่มเติมอีกให้ครบ 20 แห่ง ภายในปี พ.ศ. 2564 เพื่อขยายพื้นที่บริการให้ครอบคลุมมาก ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ทางบริษัทฯ ยังคงไม่หยุดยั้งในการศึกษา

GreenNetwork4.0 JJuly-August

2021


เรียนรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์ และคุณภาพงานบริการเพื่อรองรับ ความต้องการของผู้บริโภคในประเทศไทย ซึ่งการติดตั้งสถานี อัดประจุไฟฟ้า EA Anywhere จะสะท้อนความสะดวก ทันสมัย และ สามารถใช้พนื้ ทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้องค์ประกอบแบบ Smart ทีโ่ ดดเด่นด้วยโครงสร้างของสถานีบริการน�า้ มันคาลเท็กซ์ รูปโฉมใหม่ เพือ่ สร้างคุณค่าทีป่ ระทับใจควบคูก่ นั ไปอย่างต่อเนือ่ ง

16

ด้าน สมบัติ วัฒนหงษ์ศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานการตลาด บริษทั พลังงานมหานคร จ�ากัด กล่าวว่า บริษทั ฯ ได้ดา� เนินแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ และขยายเครือข่ายสถานีอดั ประจุไฟฟ้า พร้อมบริการด้านธุรกิจ EV อย่างต่อเนือ่ ง จากแนวคิดที่จะน�าพาให้ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการเดินทางด้วยยานยนต์ พลังงานไฟฟ้าที่มีความสะดวกสบาย ประหยัด และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส�าหรับความร่วมมืออย่างต่อเนื่องนี้ จะช่วยผลักดันให้บรรลุเป้าหมายในการ ให้บริการสถานีอดั ประจุไฟฟ้าทีท่ นั สมัยและปลอดภัย ภายใต้เครือ่ งหมายการค้า “EA Anywhere” และได้พฒ ั นาโมบายล์แอปพลิเคชันเพือ่ รองรับการใช้งาน (จอง จ่าย ชาร์จ ในแอปฯ เดียว) “เรามีความพร้อมอย่างยิ่งที่จะก้าวเข้าสู่ยุคใหม่ของการเดินทางด้วย การมีสถานีอัดประจุไฟฟ้าติดตั้งในพื้นที่ที่มีความหลากหลาย รองรับรูปแบบ การใช้ชวี ติ ได้มากขึน้ ซึง่ ผูใ้ ช้บริการสามารถเข้ารับบริการได้ตามไลฟ์สไตล์อย่าง ครบวงจร อาทิ สถานีบริการน�้ามัน ศูนย์บริการด้านยานยนต์ ศูนย์การค้า และ ร้านอาหารต่างๆ เป็นต้น” สมบัติ กล่าว สถานีอัดประจุไฟฟ้า EA Anywhere ในสถานีบริการน�้ามันคาลเท็กซ์ ประกอบไปด้วย เครื่องชาร์จระบบปกติ AC (Normal Charger) และระบบ ชาร์จเร็ว DC (Fast Charge) ที่ใช้เวลาเพียง 15-20 นาที (เวลาในการชาร์จ ขึน้ อยูก่ บั รถแต่ละรุน่ ) รวมทัง้ ยังอ�านวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้บริการด้วยโมบายล์ แอปพลิเคชัน “EA Anywhere” บนมือถือ ทั้งในระบบปฏิบัติการ IOS และ Android ระบบออนไลน์ทสี่ ามารถแสดงต�าแหน่งทีต่ งั้ ของสถานีบริการ การน�าทาง และการช�าระค่าบริการ รวมถึงการอธิบายวิธีการและขั้นตอนการชาร์จที่ง่าย ต่อการเข้าใจ สะดวกรวดเร็ว ปลอดภัย “เราศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ น�ามา พัฒนาเป็นบริการที่ตอบโจทย์การใช้งาน พร้อมกับสร้างประสบการณ์ที่ดีให้แก่ ลูกค้าอยูเ่ สมอ รวมทัง้ เกิดการบูรณาการขับเคลือ่ นการด�าเนินงานด้านยานยนต์ ไฟฟ้าของประเทศไทยให้เป็นรูปธรรมและทันต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี พร้อมน�าพาประเทศก้าวสู่การใช้พลังงานสะอาด ที่สอดคล้องกับนโยบายของ ภาครัฐ” สมบัติ กล่าวทิ้งท้าย

GreenNetwork4.0 July-August

2021


Report กองบรรณาธิการ

ภายหลังจากที่ประชุมมีมติให้ขึ้นทะเบียนกลุ่มป่าแก่งกระจาน เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (ทส.) ได้แถลงผลการพิจารณาของ คณะกรรมการมรดกโลกในวาระการขึน้ ทะเบียนพืน้ ทีก่ ลุม่ ป่าแก่งกระจาน เป็นมรดกโลก ผ่านทางไลฟ์สดบน Facebook Fan-page : ส�านักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผืนป่าแก่งกระจานที่มีพื้นที่กว่า 2.5 ล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ ป่าอนุรกั ษ์ 4 แห่ง ครอบคลุมพืน้ ที่ 3 จังหวัด ตัง้ แต่จงั หวัดราชบุรี จังหวัด เพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ได้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็นมรดกโลก ส�าเร็จแล้ว ซึง่ จากการท�างานอย่างเต็มก�าลังกว่า 16 ปี ประกอบกับความ พยายามถึง 4 ครั้งในการน�าเสนอพื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจานเข้าสู่การ พิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลก และได้ส�าเร็จลงในครั้งที่ 4 นี้

17

“การที่ผืนป่าแก่งกระจานได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ท�าให้ผนื ป่าแห่งนีเ้ ป็นผืนป่าของประชาชนทัว่ โลกทีพ่ วกเราจะต้องช่วยกัน อนุรักษ์ รักษาไว้ และต้องท�าให้สภาพผืนป่าดีที่สุด ที่ส่งต่อให้ลูกหลาน ตราบนานเท่านาน ซึง่ ผืนป่าแก่งกระจานเป็นผืนป่าทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ ทางธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ทางความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นต้นน�้าที่ส�าคัญของแม่น้�าหลายสายของประเทศไทย ในนามของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขอขอบคุณการท�างานที่ เข้มแข็งของทุกภาคส่วน ตัง้ แต่เจ้าหน้าทีข่ องกระทรวงฯ พีน่ อ้ งประชาชน ผู้น�าชุมชนในพื้นที่ รวมไปถึงส�านักงานของกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งที่อยู่ในประเทศไทยและต่างประเทศ อีกทั้งสถานทูตที่อยู่ทั่วโลกที่ ร่วมกันท�างานและให้การสนับสนุน ท�าความเข้าใจกับตัวแทนของประเทศ ต่างๆ ที่อยู่ทั่วโลกในการผลักดันให้ผืนป่าแก่งกระจานของประเทศไทย ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก” รัฐมนตรี ทส. กล่าว ภารกิจหลังจากนี้คือ การรักษาผืนป่ากว่า 2.5 ล้านไร่ ให้มีความ อุดมสมบูรณ์ ประกอบกับการดูแลพีน่ อ้ งประชาชนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีใ่ ห้มคี วาม สมดุล ทั้งการด�ารงชีวิตและการอนุรักษ์ผืนป่า พื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจานนับเป็นแหล่งมรดกโลกแห่งที่ 6 ของ ประเทศไทย และเป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งที่ 3 ของไทย นับจากการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ในปี พ.ศ. 2534 และกลุ่มป่าดงพญาเย็นเขาใหญ่ ในปี พ.ศ. 2548 ซึ่งพื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจานได้รับการ ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเนื่องจากเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิด พันธุพ์ ชื และพันธุส์ ตั ว์ทใี่ กล้สญ ู พันธุ์ และมีคณ ุ ค่าโดดเด่นระดับโลก รวมไปถึ ง เป็ น แหล่ ง ต้ น น�้ า ล� า ธารที่ ส� า คั ญ ของแม่ น�้ า เพชรบุ รี แม่นา�้ ปราณบุรี และแม่นา�้ ภาชี เป็นป่าผืนใหญ่ทมี่ คี วามอุดมสมบูรณ์ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 2.5 ล้านไร่ (4,089 ตารางกิโลเมตร) มีความยาว ตัง้ แต่เหนือสุดถึงใต้สดุ ของพืน้ ทีม่ ากกว่า 200 กิโลเมตร โดยพืน้ ที่ กลุ่มป่าแก่งกระจานได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ เกณฑ์ข้อที่ 10 ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ในการน�าเสนอพืน้ ทีก่ ลุม่ ป่าแก่งกระจานเข้าสูก่ ารพิจารณา ของคณะกรรมการมรดกโลก ได้มีการน�าเสนอมาแล้วถึง 3 ครั้ง ได้แก่ ในปี พ.ศ. 2558, พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2562 จนมาถึง ครั้งที่ 4 ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก สมัยสามัญ ครั้งที่ 44 ในปี พ.ศ. 2564 นี้ ซึ่งเป็นการจัดการประชุมผ่านระบบ ทางไกลแบบเต็มรูปแบบเป็นครัง้ แรก ระหว่างวันที่ 16-31 กรกฎาคม 2564 โดยมีสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม

GreenNetwork4.0 July-August

2021


Report กองบรรณาธิการ

ด้วยปริมาณขยะติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากสถานการณ์ COVID-19 บริษทั คิงส์แพ็ค อินดัสเตรียล จ�ำกัด ผูผ้ ลิตถุงขยะฮีโร่ จึงได้จดั ท�าโครงการ “ฮีโร่มำแล้ว” เพือ่ บริจาคถุงขยะ ถุงแดง และถุงซิป ให้แก่โรงพยาบาลรัฐทัว่ ประเทศ รวมทัง้ สิน้ 1.2 ล้านใบ เพื่อช่วยให้แต่ละโรงพยาบาลได้ลดภาระค่าใช้จ่ายและช่วยเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมถึง การป้องกันการกระจายของเชื้อโรคอีกด้วย ทวี จุลศักดิ์ศรีสกุล กรรมกำร บริษัท คิงส์แพ็ค อินดัสเตรียล จ�ำกัด กล่าวว่า สถานการณ์ COVID-19 ที่ขยายวงอย่างรวดเร็วในช่วงนี้ เรามุ่งความช่วยเหลือ ไปทีโ่ รงพยาบาลก่อน เพราะโรงพยาบาลคือทีพ่ งึ่ ของผูป้ ว่ ย เราได้ส่งทีมงานลงพื้นที่พูดคุยกับบรรดาบุคลากรทาง การแพทย์หลายๆ โรงพยาบาล พบว่าปริมาณขยะติดเชือ้ เพิม่ สูงขึน้ อย่างมาก เช่น โรงพยาบาลโพธาราม จ.ราชบุรี มีปริมาณขยะติดเชื้อสูงถึง 3.2 ตัน ในเวลาเพียงครึ่งปี ในขณะทีโ่ รงพยาบาลสนามของโรงพยาบาลแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี มีปริมาณขยะติดเชื้อสูงถึง 423 กิโลกรัม ต่อวัน ส่วนโรงพยาบาลบ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร ปริมาณ ขยะติดเชื้อสูงถึง 600 กิโลกรัมต่อวัน โดยหวังว่าถุงขยะ ที่น�ามาบริจาคนั้นจะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้โรงพยาบาล ได้จัดการขยะได้อย่างไร้กังวล และช่วยลดการแพร่เชื้อ ได้อีกทางหนึ่ง ทวี จุลศักดิ์ศรีสกุล การลงพื้นที่ไปบริจาคถุงขยะให้แก่โรงพยาบาล กรรมการ บริษัท คิงส์แพ็ค ทัง้ 3 แห่ง พบจุดร่วมเดียวกัน คือ ปริมาณผูป้ ว่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ อินดัสเตรียล จ�ากัด อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ทกุ ฝ่ายต้องทุม่ เทการท�างานเพิม่ ขึน้ เป็นหลายเท่าตัว แต่ทกุ โรงพยาบาลล้วนให้ความส�าคัญกับ การแยกขยะและการก�าจัดขยะติดเชือ้ เพือ่ ช่วยกันป้องกัน ไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคออกไป

ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาด ของ COVID-19 ทีท่ กุ คนก�าลังเผชิญกันอยู่ ในขณะนี้ นอกจากความกังวลในการติดเชือ้ แล้ว สิ่งหนึ่งที่ตามมาคือ ปริมาณขยะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ขยะติดเชื้อ” ที่เพิ่ม สู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยข้ อ มู ล จาก กรมอนามัย ในปี พ.ศ. 2563 ได้ระบุไว้ว่า ประเทศไทยมี ส ถานพยาบาลทั้ ง รั ฐ และ เอกชนมากกว่า 37,000 แห่ง มีจา� นวนเตียง ประมาณ 140,000 เตียง ซึง่ สถานพยาบาล เหล่ า นี้ มี ก ารผลิ ต ขยะติ ด เชื้ อ ประมาณ 65 ตันต่อวัน เป็นขยะติดเชื้อที่เกิดขึ้น ในเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล ประมาณ 20 ตันต่อวัน ที่เหลือเกิดขึ้นใน สถานพยาบาลในส่วนภูมิภาคอีกประมาณ 45 ตันต่อวัน ทั้งนี้ คาดการณ์ว่า จาก สถานการณ์ COVID-19 จะส่งผลให้ปริมาณ ขยะติดเชื้อเพิ่มขึ้นอีก 20 ตันต่อวัน ทั้ง จากโรงพยาบาลและภาคครัวเรือน รวมถึง โรงพยาบาลสนาม 18

GreenNetwork4.0 July-August

2021


นำยแพทย์สุเทพ จันทรเมธีกุล

ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลโพธาราม จ.ราชบุรี

แพทย์หญิงอนุธิดำ ประทุม

ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี

นำยแพทย์สเุ ทพ จันทรเมธีกลุ ผูอ้ ำ� นวยกำร โรงพยำบำลโพธำรำม จ.รำชบุรี กล่าวว่า ขยะ ติ ด เชื้ อ ของทางโรงพยาบาลมี ป ริ ม าณเพิ่ ม ขึ้ น อย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2562 โรงพยาบาล มีปริมาณขยะติดเชือ้ อยูท่ ี่ 4.2 ตัน จากปริมาณขยะ ทั้งหมด 7.7 ตัน จากนั้นในปี พ.ศ. 2563 ปริมาณ ขยะติดเชือ้ เพิม่ ขึน้ เป็น 4.36 ตันต่อปี จากปริมาณ ขยะทั้งหมด 8.36 ตัน ส�าหรับตัวเลขล่าสุดในช่วง 5 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2564 พบปริมาณขยะ ติดเชื้ออยู่ที่ 3.2 ตันต่อปี ส่งผลให้โรงพยาบาล มีความต้องการใช้ถงุ ขยะแดงจ�านวนมาก โดยในปี พ.ศ. 2563 โรงพยาบาลมีปริมาณการใช้ถงุ ขยะแดง สูงถึงกว่า 3.9 ตัน “ถุงขยะถือเป็นสิ่งที่ส�ำคัญอย่ำงยิ่งส�ำหรับ โรงพยำบำล ไม่วำ่ จะเป็นถุงขยะทัว่ ไปหรือถุงแดง โดยเฉพำะอย่ำงยิง่ ถุงขยะแดง เพรำะโรงพยำบำล มีขยะติดเชื้อจ�ำนวนมำกในแต่ละวัน ไม่ว่ำจะเป็น หน้ำกำกอนำมัย ถุงมือยำงแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง ชุ ด PPE หลอดยำ เข็ ม ฉี ด ยำ และอุ ป กรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับกำรใช้รักษำผู้ป่วยติดเชื้ออื่นๆ ซึ่ง ขยะติดเชื้อหำกไม่ได้จัดเก็บอย่ำงถูกวิธีก็จะเป็น อันตรำยอย่ำงยิ่งต่อบุคลำกรทำงกำรแพทย์หรือ ผู้ด�ำเนินกำรจัดกำรก�ำจัดขยะ ซึ่งเมื่อแยกขยะ ติดเชื้อออกแล้ว ก็จะน�ำไปก�ำจัดทิ้งโดยวิธีกำร เผำด้ ว ยควำมร้ อ น 1,200 องศำเซลเซี ย ส” นำยแพทย์สุเทพ กล่าว แพทย์หญิงอนุธิดำ ประทุม ผู้อ�ำนวยกำร โรงพยำบำลแก่งกระจำน จ.เพชรบุรี ซึง่ เป็นพืน้ ที่ ที่มีการติดเชื้อกลุ่มใหญ่ล่าสุด กล่าวว่า ส�าหรับ ยอดผู้ป่วย COVID-19 ที่โรงพยาบาลรับตอนนี้ มีทั้งหมด 245 เตียง โดยรักษาตัวอยู่ที่ชะอ�า-อีโค่ แคมป์ รีสอร์ท ซึ่งเป็นโรงพยาบาลสนามของ โรงพยาบาล จากจ�านวนผู้ป่วยส่งผลให้มีขยะ ทางการแพทย์ 423 กิโลกรัมต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก ก่อนช่วงมีวิกฤติ COVID-19 ประมาณ 20% โดย

19

GreenNetwork4.0 July-August

นำยแพทย์พรเทพ พงศ์ทวิกร

ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลบ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร ขยะติดเชือ้ ทัง้ หมดจะด�าเนินการแยกใส่ถงุ ขยะแดง ส่วนถุงซิปจะน�ามาจัดเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อลดการ สัมผัสการติดเชือ้ ในเจ้าหน้าที่ ซึง่ ถือว่ามีความจ�าเป็น อย่างยิ่ง การแยกขยะจะช่วยลดการปนเปื้อนใน ส่วนของขยะทีส่ ามารถน�าไปรีไซเคิลได้เป็นอย่างดี นำยแพทย์พรเทพ พงศ์ทวิกร ผูอ้ ำ� นวยกำร โรงพยำบำลบ้ำนแพ้ว จ.สมุทรสำคร มองว่า การปลูกฝังให้บคุ ลากรทางการแพทย์และพนักงาน ในโรงพยาบาลสร้างวินัยการแยกขยะเป็นการ ควบคุมการแพร่กระจายเชือ้ ดีทสี่ ดุ โดยเฉพาะขยะ อันตรายจากเคมีบ�าบัดที่ส่งผลต่อสุขภาพและ อันตรายต่อทีมแพทย์มากที่สุด ได้แก่ ถ่าน และ ปรอท โดยการอบรมของเราจะเข้มงวดเป็นพิเศษ พนักงานใหม่ตอ้ งเข้าร่วมปฐมนิเทศในการคัดแยก ขยะหลักๆ ได้แก่ ขยะทัว่ ไป ขยะติดเชือ้ ขยะมีพษิ ขยะรีไซเคิล โดยทีมควบคุมโรคและทีมสิง่ แวดล้อม เป็นผู้ด�าเนินการ “ขณะนี้ รพ.บ้ำนแพ้ว ดูแลผูป้ ว่ ย COVID-19 อยู่ที่ 42 คน ช่วง COVID-19 ปริมำณขยะทั่วไป และขยะติดเชือ้ เพิม่ สูงขึน้ มำก ขยะติดเชือ้ จำกเดิม 360 กิโลกรัมต่อวัน เพิ่มมำเป็น 600 กิโลกรัม ต่อวัน ขยะทัว่ ไป 1,200 กิโลกรัมต่อวัน เพิม่ มำเป็น 1,371 กิโลกรัมต่อวัน ผลมำจำกช่วง COVID-19 เรำใช้อุปกรณ์ป้องกันตัว รวมถึงมีขยะติดเชื้อ ค่ อ นข้ ำ งมำก และเพื่ อ ป้ อ งกั น กำรติ ด เชื้ อ ทีมเจ้ำหน้ำที่เรำ เรำจึงเข้มงวดกับแม่บ้ำนหรือ เจ้ำหน้ำทีข่ นย้ำยขยะติดเชือ้ เป็นพิเศษ โดยจะต้อง สวมใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกันตนเองทุกครัง้ ประกอบด้วย สวมหมวก สวมผ้ำปิดปำก ปิดจมูก สวมเอี๊ยม พลำสติกกันเปื้อน สวมถุงมือแม่บ้ำนยำวครึ่งแขน สวมรองเท้ำบูทครึ่งน่อง ก่อนกำรท�ำงำนอย่ำง เคร่งครัด” นำยแพทย์พรเทพ กล่าว 2021


Solar กองบรรณาธิการ

“ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้” ผนึกก�าลัง “GUNKUL” ตั้งบริษัทร่วมทุน “ออริจิ้น กันกุล เอ็นเนอร์ย”ี รุก 3 ธุรกิจพลังงานทดแทน-พลังงานสะอาดในทีอ่ ยูอ่ าศัย ตอบโจทย์ เมกะเทรนด์ เสริม Value Added ให้ผู้บริโภคอย่างยั่งยืน ลุยธุรกิจซื้อขายไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์แบบ Private PPA ในคอนโดมิเนียม เล็งติดตัง้ ระบบ PARITY ในกลุม่ บ้านจัดสรร ประมูลแลกเปลี่ยนพลังงานได้ทันที ปักธงธุรกิจติดตั้งและบริการ EV Charger Station เตรียมน�าร่องลุยกลุ่มแรกภายในไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2564 นี้ พีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด (มหาชน) หรือ ORI ผู้พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร กล่าวว่า นอกเหนือจาก 3 กลุ่มธุรกิจใหม่ที่ได้ประกาศแผนงานไว้เมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2564 บริษัทยังคงมุ่งมั่นหา โอกาสใหม่ๆ ในการสร้างการเติบโตภายใต้วสิ ยั ทัศน์ ORIGIN NEXT LEVEL อย่างต่อเนือ่ ง ล่าสุดบริษัทฯ ได้ร่วมลงนามสัญญาการร่วมทุน (Joint Venture Agreement หรือ JVA)

พีระพงศ์ จรูญเอก

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด (มหาชน) หรือ ORI 20

GreenNetwork4.0 July-August G

2021


กับบริษทั กันกุลเอ็นจิเนียริง่ จ�ากัด (มหาชน) หรือ GUNKUL ผูน้ า� ทิศทางของโลกในอนาคตจะหันมาใช้ ด้านธุรกิจพลังงานทดแทนแบบครบวงจรและธุรกิจระบบไฟฟ้า พลังงานทดแทนและพลังงานสะอาดต่างๆ เตรียมจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทร่วมทุนภายใต้ชื่อ บริษัท ออริจิ้น ในชีวิตประจ�าวันมากขึ้น เราจึงมองหา กันกุล เอ็นเนอร์ยี จ�ากัด เพื่อร่วมกันด�าเนินกิจการด้านพลังงาน พันธมิตรที่แข็งแกร่งด้านพลังงานสะอาด ทดแทน/พลังงานสะอาดในโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย โดยเฉพาะพลังงาน และมีวิสัยทัศน์สอดคล้องกันอย่าง แสงอาทิตย์ (Solar Energy) สอดรับเมกะเทรนด์ของโลกในสัดส่วน การร่วมทุน 50:50 เตรียมพัฒนาต่อยอดสู่โครงการที่อยู่อาศัย กันกุลเอ็นจิเนียริ่ง เพื่อก้าวเป็นผู้พัฒนา ในเครือออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ เป็นครั้งแรก โดยอยู่ระหว่างการรอ อสังหาริมทรัพย์รายแรกที่ต่อยอดธุรกิจ จดทะเบียนจัดตั้ง ด้านพลังงานสะอาดในที่อยู่อาศัย “ทิ ศ ทางของโลกในอนาคตจะหันมาใช้พลังงานทดแทนและ ให้สอดรับเมกะเทรนด์ด้านความยั่งยืน พลังงานสะอาดต่างๆ ในชีวติ ประจ�าวันมากขึน้ แต่ในเซกเตอร์อสังหาริมทรัพย์ ของไทยเราเองตอนนี้ยังไม่มีใครลุกขึ้นมาขานรับเมกะเทรนด์นี้เพื่อผู้บริโภค อย่างจริงจัง เราจึงมองหาพันธมิตรทีแ่ ข็งแกร่งด้านพลังงานสะอาด และมีวสิ ยั ทัศน์ สอดคล้องกันอย่างกันกุลเอ็นจิเนียริ่ง เพื่อก้าวเป็นผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์รายแรก ทีต่ อ่ ยอดธุรกิจด้านพลังงานสะอาดในทีอ่ ยูอ่ าศัยให้สอดรับเมกะเทรนด์ดา้ นความยัง่ ยืน สร้าง มูลค่าเพิม่ หรือ Value Added ให้ทรัพย์สนิ ในอนาคต ควบคูก่ บั การมอบคุณภาพชีวติ ทีด่ ใี นระยะยาว แก่ลูกบ้าน” พีระพงศ์ กล่าว ทัง้ ออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ และกันกุลเอ็นจิเนียริง่ จะร่วมด�าเนินกิจการด้านพลังงานแสงอาทิตย์ ใน 3 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ 1. ธุรกิจผลิตและจัดจ�าหน่ายไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ หรือ Private PPA (Power Purchase Agreement) โดยจะติดตั้ง Solar Rooftop พร้อมอุปกรณ์และบริการดูแลรักษา ตลอดสัญญา เพือ่ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจ�าหน่ายภายในพืน้ ทีส่ ว่ นกลางโครงการคอนโดมิเนียมทีแ่ ล้วเสร็จ ซึง่ อัตราค่าไฟฟ้าจากระบบดังกล่าวจะมีราคาถูกกว่าอัตราค่าไฟฟ้าทัว่ ไป ช่วยลดภาระค่าสาธารณูปโภค ส่วนกลางในแต่ละโครงการ น�าร่องติดตั้งและให้บริการภายในไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2564 นี้ 2. ธุรกิจ ติดตัง้ และเชือ่ มต่อระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (PARITY) ในกลุม่ โครงการบ้านจัดสรร ด้วยการ ติดตัง้ Solar Rooftop พร้อมวางระบบเชือ่ มต่อทัว่ ทัง้ โครงการ เพือ่ ให้ลกู บ้านสามารถประมูลซือ้ ขาย พลังงานไฟฟ้าระหว่างกันได้ (Peer-to-Peer Energy Trading) ในราคาทีถ่ กู กว่าอัตราค่าไฟฟ้าทัว่ ไป ทั้งยังช่วยสร้างมูลค่าให้พลังงานไฟฟ้าส่วนเกินที่อาจเหลือทิ้งให้กลับกลายเป็นรายได้สู่ลูกบ้าน และ 3. ธุรกิจติดตั้งและบริการสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า (EV Charger Station) ส�าหรับโครงการ คอนโดมิเนียม ซึ่งเบื้องต้นก�าลังอยู่ระหว่างการวางแผนการด�าเนินงานร่วมกัน ด้าน สมบูรณ์ เอื้ออัชฌาสัย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท กันกุลเอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด (มหาชน) หรือ GUNKUL ผูน้ า� ด้านธุรกิจพลังงานทดแทนแบบครบวงจรและธุรกิจระบบไฟฟ้า กล่าวว่า ความร่วมมือกับเครือออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ ในครัง้ นี้ จะเป็นการสร้างปรากฏการณ์ใหม่ทเี่ ชือ่ มวงการ อสังหาริมทรัพย์เข้ากับวงการพลังงานทดแทน ทีไ่ ม่ใช่แค่ชว่ ยให้ผบู้ ริโภคสามารถเข้าถึงการใช้พลังงาน สะอาดได้ง่ายขึ้น แต่ยังเป็นการตอบโจทย์เมกะเทรนด์ด้านความยั่งยืนผ่านนวัตกรรมและบริการ ที่อ�านวยความสะดวกเพื่อต่อยอดคุณภาพชีวิตถึงภายในโครงการที่อยู่อาศัย “เราเชี่ยวชาญด้านธุรกิจพลังงานมาอย่างยาวนานเกือบ 40 ปี และพัฒนานวัตกรรมด้าน พลังงานทดแทนอย่างไม่หยุดยั้ง ที่ผ่านมากันกุลฯ ได้รับความไว้วางใจจากหลากหลายอุตสาหกรรม ให้ดูแลการผลิตและซื้อขายไฟให้แก่เอกชน (Private PPA) มาแล้วกว่า 70 เมกะวัตต์ ขณะเดียวกัน ออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ ก็เป็นผูน้ า� ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทพี่ ฒ ั นาโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยมูลค่ารวม สะสมกว่า 134,000 ล้านบาท เราจึงมองว่าความร่วมมือระหว่างเรากับออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ ในครัง้ นีค้ อื วิสยั ทัศน์ในการขยายธุรกิจใหม่ๆ เพือ่ ผูบ้ ริโภคอย่างต่อเนือ่ ง และจะเป็นความร่วมมือ ครัง้ ส�าคัญทีช่ ว่ ยขยายโอกาสในการสร้าง Energy Awareness เพิม่ ความตระหนักรูแ้ ละตัวเลือก ในการเข้าถึงพลังงานที่จะช่วยเติมเต็มไลฟ์สไตล์การอยู่อาศัยของคนเมืองโดยไร้ข้อจ�ากัดในเรื่อง ของพื้นที่ ออกมาเป็นรูปแบบของ ENERGY x URBAN LIVING Solution” สมบูรณ์ กล่าว

สมบูรณ์ เอื้ออัชฌาสัย

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท กันกุลเอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด (มหาชน) หรือ GUNKUL 21

GreenNetwork4.0 July-August

2021


Environment กองบรรณาธิการ

เปิดตัวเครือข่าย คาร์บอนนิวทรัล ประเทศไทย ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกเท่ากับศูนย์ ภายในปี ค.ศ. 2050

ทส. เปิดตัวเครือข่ายคาร์บอนนิวทรัลประเทศไทย มุ่งลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับศูนย์ ภายในปี 2050

เกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อ�านวยการ

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก และ

ดร.อัษฎาพร ไกรพานนท์ รองปลัด

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

วราวุ ธ ศิ ล ปอาชา รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มอบหมายให้ ดร.อัษฎาพร ไกรพานนท์ รองปลัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นสักขีพยานในพิธีเปิดตัวเครือข่ายคาร์บอน นิวทรัลประเทศไทย (Thailand Carbon Neutral Network : TCNN) และพิธลี งนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ “การส่งเสริมและสนับสนุนการ ด�าเนินงานพัฒนาตลาดคาร์บอนภายในประเทศ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการมี ส ่ ว นร่ ว มในการลดก๊ า ซ เรือนกระจกของภาคเอกชนไทย” ระหว่าง องค์การ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) กับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผ่านระบบ การประชุมทางไกล Video Conference จาก ห้องแถลงข่าว ชัน้ 1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ไปยังหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง 22

วราวุธ ศิลปอาชา กล่าวว่า ในปี ค.ศ. 2021 เป็นช่วงเวลาส�าคัญที่นานาประเทศ ร่วมมือกันขับเคลือ่ นโลกไปสูเ่ ป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ซึง่ ทุกประเทศ ทุกเมือง รวมถึงองค์กรธุรกิจจะต้องจัดท�าและด�าเนินตามแผนเพือ่ ลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก หรือตัง้ เป้าหมายให้กา๊ ซคาร์บอนเท่ากับศูนย์ภายในปี ค.ศ. 2050 เพือ่ รักษา อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพิม่ ขึน้ ไม่เกิน 1.5-2 องศาเซลเซียส ส�าหรับในประเทศไทย กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นหน่วยประสานงานกลางด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศของไทย ตระหนักถึงความส�าคัญและความจ�าเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องส่งเสริม ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคท้องถิ่น/ชุมชน ในการยกระดับการลด ก๊าซเรือนกระจกเพือ่ สร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยืนบนสังคมทีเ่ ป็นมิตรต่อสภาพภูมอิ ากาศ และ มุ่งสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ตามเจตนารมณ์ของประชาคมโลกที่ปรากฏ ในเป้าหมายของความตกลงปารีสว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ TGO จึงได้ดา� เนินโครงการจัดตัง้ เครือข่ายคาร์บอนนิวทรัลประเทศไทย (Thailand Carbon Neutral Network หรือ TCNN) เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคท้องถิ่น/ชุมชน ในการยกระดับการลดก๊าซเรือนกระจก และ สอดคล้องกับเจตจ�านงตามกลุ่ม Race to Zero และ Carbon Neutral Now ซึ่งเป็นการ ระดมความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ในการริเริ่มโครงการ Net Zero โดยมีตัวแทนชั้นน�า เช่น ภาคเมือง ภาคธุรกิจ นักลงทุนรายใหญ่ๆ และสถาบันอุดมศึกษา ได้เข้าร่วมกว่า 120 ประเทศ ถือว่าเป็นกลุม่ พันธมิตรทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ เท่าทีเ่ คยมีมา ซึง่ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะบรรลุการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกสุทธิเท่ากับศูนย์ภายในปี ค.ศ. 2050 นอกจากนี้ TGO ยังได้ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พัฒนา “Thailand Carbon Credit Exchange Platform” เพื่อเป็นแพลตฟอร์มหลักของประเทศไทยส�าหรับ การซือ้ ขายหรือแลกเปลีย่ นคาร์บอนเครดิตตามมาตรฐานประเทศไทย หรือ TVERs ทีท่ าง TGO เป็นผู้ให้ค�ารับรอง โดยเฉพาะโครงการภาคป่าไม้ประเภทต่างๆ เพื่อส่งเสริมแหล่งดูดซับ ก๊าซเรือนกระจกของประเทศ และหวังไว้ว่าจะเป็นตลาดกลางที่โปร่งใส ถูกต้อง เชื่อถือได้ สามารถรายงานระดับราคาทีย่ ตุ ธิ รรมส�าหรับ “องค์กรผูน้ า� ทีม่ คี วามรับผิดชอบในการลดก๊าซ เรือนกระจก (Climate Action Leading Organization)” และ “องค์กรผู้พัฒนาโครงการ ลดก๊าซเรือนกระจกในรูปแบบต่างๆ ในระดับต้นทุนต�า่ (Climate Action Innovator)” ได้มา แลกเปลี่ยนคุณค่าของ Carbon Credit ซึ่งกันและกัน เพื่อท�าก�าไรและน�าไปสู่การลดต้นทุน การลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศโดยรวมให้ต�่าสุด ซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้การด�าเนินงาน ตาม Carbon Neutral Pathway ของสมาชิก TCNN ด�าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด GreenNetwork4.0 July-August

2021


หัวเว่ยส่งเสริมนวัตกรรมดิจิทัลด้านพลังงาน เพื่อการพัฒนาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของอาเซียน

Innovation กองบรรณาธิการ

หัวเว่ย ผู้ให้บริการด้าน ICT ชั้นน�าระดับโลก เข้าร่วมงานประชุม ออนไลน์ ด ้ า นความร่ ว มมื อ และ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล อาเซี ย นจีน 2564 (ASEAN-China Digital Economy Development and Cooperation Forum 2021) เมือ่ เร็วๆ นี้ ณ ประเทศมาเลเซีย พร้อม มุ่งมั่นส่งเสริมนวัตกรรมดิจิทัลด้าน พลังงานเพื่อสนับสนุนความร่วมมือ ของอาเซี ย นในการเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change) และการพั ฒ นาที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม

เจฟฟรีย์ หลิว ประธานหัวเว่ยประจ�าภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เจฟฟรีย์ หลิว ประธานหัวเว่ยประจ�าภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก กล่าวว่า ปัญหาด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม เป็นปัญหาที่ท้าทายในระดับโลก แม้ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จะลดลงในช่วงปีที่ผ่านมาจากสภาพเศรษฐกิจที่ซบเซาและมาตรการ ล็อกดาวน์ทั่วโลก แต่สภาวะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะกลับมาเพิ่ม สูงขึ้นอย่างรวดเร็วอีกครั้งเมื่อระบบเศรษฐกิจกลับสู่สภาพปกติอีกครั้ง การปรับตัวไปสู่ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนและการพัฒนาอย่างยั่งยืน จึงกลายเป็นเป้าหมายร่วมกันในปัจจุบันของทุกประเทศทั่วโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�าคัญ ในระดับภูมิภาคต่อ 6 จาก 20 ประเทศที่มีความเปราะบางมากที่สุด ในโลก ซึ่งเป็นรัฐภาคีสมาชิกอาเซียน ทั้งนี้ อาเซียนได้ด�าเนินการต่างๆ เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านมาตรการทางด้าน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยได้คาดการณ์วา่ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะถึงระดับสูงสุด ในปี พ.ศ. 2573 โดยตั้งเป้าหมายให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็น ศูนย์ (Net Zero Emissions) ในปี พ.ศ. 2598 “เราจ�าเป็นต้องมีการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ทั่วโลก โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ (Carbon Neutrality) เมือ่ ระบบเศรษฐกิจแบบดิจทิ ลั เติบโตขึน้ การเร่งรัด เพื่ อ ลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกอาจมี ส ่ ว นช่ ว ยให้ ป ระเทศต่ า งๆ สามารถบริหารจัดการความเสีย่ งเรือ่ งการกีดกันทางการค้า และสามารถ ท�าข้อตกลงการค้าเสรีได้มากขึ้น” เจฟฟรีย์ หลิว กล่าว หัวเว่ยได้น�าประสบการณ์ของตนในด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทางพลังงานและระบบจัดเก็บพลังงาน ตลอดจนความเชี่ยวชาญทาง เทคนิคในระบบ 5G คลาวด์ และเทคโนโลยีใหม่อื่นๆ มาใช้พัฒนาธุรกิจ พลังงานดิจิทัลของตน และน�าเสนอโซลูชันทางด้านพลังงานดิจิทัลให้แก่ 23

กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมด้านพลังงานทดแทน หัวเว่ยได้ น�าเสนอโซลูชันทางด้านพลังงานดิจิทัลในประเทศและภูมิภาคต่างๆ กว่า 170 แห่ง คิดเป็น 1 ใน 3 ของประชากรโลก ณ เดือนธันวาคม 2563 โซลูชันเหล่านี้ได้มีส่วนในการผลิตไฟฟ้า 325 พันล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) จากแหล่งพลังงานทดแทน และช่วยประหยัดกระแสไฟฟ้าได้รวม ทั้งสิ้น 10 พันล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) ส่งผลให้สามารถลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 160 ล้านตัน ในประเทศสิงคโปร์ หัวเว่ย ฟิวชันโซลาร์ โซลูชัน (Huawei FusionSolar Solution) ได้ให้การสนับสนุนกลุ่มบริษัทซันซีป (Sunseap Group) ผู้ให้บริการโซลูชันพลังงานแสงอาทิตย์ ในการสร้างทุ่นลอยน�้า นอกฝัง่ เพือ่ ผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ระบบโฟโตโวลเทอิก (Photovoltaic (PV)) ที่ใหญ่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์จ�านวน 13,312 ชุด พร้อมระบบแปลงไฟ (Inverters) 40 เครื่อง โดยใช้ทุ่นลอยน�้ากว่า 30,000 ทุ่น โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์กลางทะเลครอบคลุมพื้นที่ กว่า 5 เฮกตาร์แห่งนี้ คาดว่าจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ถึงปีละ 6,022,500 กิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) ซึ่งเพียงพอที่จะจ่ายไฟฟ้าให้แก่ โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยขนาด 4 ห้องนอน จ�านวน 1,250 หลังคาเรือนบนเกาะ ได้ และชดเชยการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณ 4,258 ตัน “หัวเว่ยมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมโซลูชันด้าน ICT ครบวงจรที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยให้กลุ่มอุตสาหกรรมอื่นประหยัดพลังงานและ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เราจะร่วมมือกับอาเซียนเพือ่ ลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (Carbon Footprint) โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้า ทีส่ ะอาด รถยนต์ไฟฟ้า และระบบอัจฉริยะในการจัดเก็บพลังงาน เพือ่ สร้าง สังคมที่มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้น้อยที่สุด” เจฟฟรีย์ หลิว กล่าว ทิ้งท้าย

GreenNetwork4.0 July-August

2021


Innovation กองบรรณาธิการ

ส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ได้รับการสนับสนุนจาก คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เปิดตัวโครงการสนามการเรียนรูน้ วัตกรรมพลังงานไฟฟ้า หรือ The Electric Playground โครงการส่งเสริมความรู้เยาวชน ระดับมัธยมศึกษา รวมถึงคุณครู ให้เข้าถึงองค์ความรู้ด้าน การจัดการขยะอย่างถูกวิธี พร้อมแนวทางการสร้างสรรค์นวัตกรรม พลังงานไฟฟ้าจากขยะ ซึ่งเป็นทางออกและตัวเลือกที่จะช่วย จัดการและลดปริมาณขยะทีก่ า� ลังเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง น�าร่องใน 50 โรงเรียน จาก 3 พื้นที่ ได้แก่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ภูเก็ต และขอนแก่น รวมนักเรียนและครูที่เข้าร่วมกว่า 10,000 ราย

ทั้งนี้ โครงการดังกล่าวจะเฟ้นหานวัตกรรมที่สามารถใช้ได้จริงเพื่อรับ การลงทุนจากผู้ประกอบการ บริษัท องค์กร หรือกองทุนที่สามารถร่วมลงทุน ตลอดจนคัดเลือกทีมเพื่อไปศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนความรู้ในต่างประเทศ ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อ�านวยการส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กล่าวว่า NIA มีนโยบายส่งเสริมคนรุ่นใหม่ให้ได้มี โอกาสเข้าถึงองค์ความรูด้ า้ นนวัตกรรมมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ต่อยอดไปสูก่ ารเป็น นวัตกร สตาร์ตอัป รวมถึงอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องผ่านหลักสูตร STEAM4INNOVATOR การจัดกิจกรรมประกวด พร้อมด้วยความร่วมมือกับภาคการศึกษา ภาคธุรกิจ และอื่นๆ ในการยกระดับเยาวชนให้ได้รู้จักกับการท�านวัตกรรมที่เหมาะสมกับ แต่ละช่วงวัย เพื่อให้สามารถน�าองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างมูลค่าคุ ณ ค่ า ในเชิ ง เศรษฐกิ จ และสั ง คมได้ ล่ า สุ ด จึ ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ด�าเนินโครงการ “สนามการเรียนรู้ นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้า” (The Electric Playground) ซึง่ เป็นโครงการส่งเสริม เยาวชนระดับมัธยมศึกษา ตลอดจนครู ผู้ปกครอง รวมถึงประชาชนที่สนใจ ให้ได้มีความรู้ ความตระหนัก และมีส่วนร่วมด้านไฟฟ้า ด้วยการให้ความรู้ ในการจัดการขยะอย่างถูกวิธแี ละสามารถน�าไปเป็นเชือ้ เพลิงผลิตไฟฟ้า รวมถึง สร้างองค์ความรู้ด้านการผลิตนวัตกรรมจัดการปัญหาขยะที่ก�าลังเป็นประเด็น ที่น่าจับตาทั่วโลก “การสร้างนวัตกรรมเพือ่ จัดการขยะเป็นเรือ่ งทีส่ า� คัญส�าหรับทัว่ ทุกมุมโลก แต่นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวอาจแก้ปัญหาได้ไม่ทันกับปริมาณ ขยะที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง NIA มองว่าต้องพัฒนาหรือสร้างพลเมืองที่เป็นคนรุ่นใหม่ ที่มีความตระหนักและเข้าใจปัญหาขยะควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้กลุ่มคนเหล่านี้ สามารถสร้างเครื่องมือหรือโซลูชันที่เกิดจากไอเดียและความคิดสร้างสรรค์ และสามารถน�าไปต่อยอดเป็นโมเดลทางธุรกิจใหม่ๆ ทีส่ ามารถสร้างมูลค่าให้แก่ ตนเองและสังคมได้” ดร.พันธุ์อาจ กล่าว

ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์

ผู้อ�านวยการส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA 24

GreenNetwork4.0 July-August Green

2021


โครงการสนามการเรียนรู้นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้า หรือ The Electric Playground เป็นหลักสูตรทีบ่ รู ณาการจากองค์ความรู้ “STEAM4INNOVATOR” ที่น�าเอาทั้งวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณิตศาสตร์ มาบ่มเพาะเยาวชนนักคิด 10,000 ราย ใน 50 โรงเรียน จาก 3 พืน้ ที่ คือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ภูเก็ต และขอนแก่น ให้รจู้ กั การสร้างไอเดีย การพัฒนาจินตนาการสู่สิ่งที่สามารถจับต้องได้ และลงส�ารวจพื้นที่จริงที่มีปัญหาในด้านการจัดการขยะ พร้อม น�าไปสร้างสรรค์นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้าจากขยะ รวมถึงนวัตกรรม อื่นๆ ที่มีความแปลกใหม่ เพื่อเป็นทางออกและตัวเลือกที่จะช่วย จัดการและลดปริมาณขยะให้น้อยลง นอกจากนี้ หลักสูตรดังกล่าวยังมีสว่ นส�าคัญในการยกระดับ ครูจากบทบาทผู้สอนหน้าชั้นเรียนสู่การเป็นผู้สร้างนวัตกร ซึ่งครู จะได้เตรียมตัว (Pre-School) ในกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อน�าไปพัฒนาการเรียนการสอนต่อไปได้ในอนาคต ส�าหรับเยาวชนและครูที่ได้เข้าร่วมโครงการสนามการ เรียนรู้นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้าจะได้สนุกกับการเรียนรู้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR และเรียนรู้พัฒนาศักยภาพผ่านสนามการ เรียนรู้ 4 ด่าน ได้แก่ ด่านที่ 1 EDTRICITY นักเรียนกว่า 10,000 คน เรียนรู้กระบวนการค้นหาแรงบันดาลใจ สร้างสรรค์ไอเดียใหม่ๆ รวมทัง้ น�าความคิดทีห่ ลากหลายมาสังเคราะห์เพือ่ ก�าหนดเป้าหมาย ที่ชัดเจน และมีโอกาสท�าให้เกิดเป็นนวัตกรรมได้จริงผ่านระบบ จัดการศึกษาออนไลน์ และท�าการคัดเลือกให้ได้สุดยอดไอเดีย 250 ไอเดีย เพื่อเข้าสู่ด่านถัดไป ด่านที่ 2 ELECTRIC FIELD พา 250 ทีมตัวแทน จาก 50 โรงเรียน ลงลึกพัฒนาไอเดียจาก ด่านแรกให้ชัดเจน ลงมือท�าต้นแบบชิ้นงานให้ใช้งานได้จริงเชิง เทคโนโลยีและเชิงธุรกิจการจัดการ โดยมีมหาวิทยาลัยชั้นน�า เป็นผู้สนับสนุนพื้นที่ ห้องทดลอง ห้องสมุด รวมทั้งนักวิชาการ 25

ผู้เชี่ยวชาญแขนงต่างๆ ที่จะคอยให้ค�าแนะน�าอย่างใกล้ชิดและคัดเลือกให้เหลือ 25 ต้นแบบนวัตกรรมไปเข้าค่ายนวัตกร ด่านที่ 3 ELECATHON ค่ายพัฒนา นวัตกรผู้สร้างนวัตกรรมสุดพิเศษที่เข้มข้นและลงลึกทุกรายละเอียดเพื่อพัฒนา เหล่านวัตกรไปสู่รอบชิงชนะเลิศ และด่านที่ 4 VOLTAGE STAGE เวที Pitching รอบชิงชนะเลิศที่เหล่านวัตกรจะได้น�าเสนอผลงาน 25 นวัตกรรมในเวทีระดับ ประเทศกับเหล่าผูป้ ระกอบการ บริษทั องค์กร หรือกองทุนทีส่ ามารถร่วมลงทุน ให้นวัตกรรมหรือธุรกิจที่โดดเด่น (Venture Capital Investors) ซึ่งจะพาฝัน ของน้องให้เป็นรูปธรรม โดย 10 สุดยอดผลงานจะได้รบั การจัดแสดงนิทรรศการ ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ผ่านสื่อส�านักต่างๆ ให้เป็นที่รู้จัก นอกจากนี้ ทั้ง 10 สุดยอดทีมนวัตกรจะถูกคัดเลือกเหลือ 5 ทีมเพือ่ ไปศึกษาดูงานและแลกเปลีย่ น ความรู้ในต่างแดนอีกด้วย

“หลังจากที่ได้เริ่มด�าเนินโครงการ สิ่งที่ NIA เห็นได้ชัดคือการตื่นตัวและ ความตั้งใจจริงของครูและนักเรียนผู้ร่วมโครงการกว่า 10,000 คนที่ต้องการ เปลี่ยนแปลงปัญหาขยะในประเทศไทย อีกทั้งยังเชื่อว่าโครงการนี้สามารถ ต่อยอดเป็นหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้ส�าหรับโรงเรียนอื่นๆ ที่สนใจได้ในอนาคต” ดร.พันธุ์อาจ กล่าวทิ้งท้าย

GreenNetwork4.0 July-August

2021


ยำนยนต์ไฟฟ้ำ เรื อ ่ งใกล้ ต ว ั ZEV ก�ำลังจะมำ ICE ก�ำลังจะไป

Energy พิชัย ถิ่นสันติสุข

อะไรคือ 30:30

ยานยนต์ไฟฟ้า วลีสั้นๆ ที่หลายท่านปรามาสว่า “เกิดยาก” อย่างเก่ง Hybrid ก็ยงั กล้าๆ กลัวๆ กันเลย ... แต่วนั นีส้ งิ่ ทีค่ นเคยสบประมาท กลายเป็น คลืน่ เศรษฐกิจทีม่ พี นั ธมิตรเป็น Supply Chain ระดับ BIG ทีพ่ ร้อมจะถาโถม เศรษฐกิจทุกประเทศอย่างยากทีจ่ ะหลบเลีย่ งได้ ยานยนต์ไฟฟ้าเคลือ่ นทัพมา แบบ Platform พร้อมจะทดแทนทัง้ ตลาด รวมทัง้ Supply Chain ของยานยนต์ เดิมทัง้ ระบบ จึงไม่แปลกทีท่ า่ นรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงานต้องออกมา ให้นโยบายและทิศทางบ่อยครั้ง และก็ไม่แปลกที่ CEO ของบริษัทค้าน�้ามัน อันดับ 1 ของประเทศต้องออกมาเคลื่อนไหว และในขณะที่คนไทยส่วนใหญ่ ก�าลังสาละวนอยู่กับการแก้ปัญหา COVID-19 สายพันธุ์ใหม่ๆ ไม่ทันจะจบ ก็มขี า่ วเชิงนโยบายว่าอีก 9 ปี (ค.ศ. 2030) ไทยจะมียานยนต์ไฟฟ้า ZEV 30% และนี่คือที่มาของค�าว่า 30:30

ZEV ก�ำลังมำ ICE ก�ำลังจะไป

ZEV : Zero Emission Vehicle หมายถึง รถที่ปลดปล่อยมลพิษเป็น ศูนย์ มี 2 ค่าย ถ้าใช้แบตเตอรีเ่ ราเรียก BEV : Battery Electric Vehicle หาก ใช้เซลล์เชือ้ เพลิงเราเรียกว่า FCEV : Fuel Cell Electric Vehicle (เท่าทีท่ ราบ ตามแผน 30:30 รถยนต์ไฟฟ้า ไม่รวมถึง HEV : Hybrid Electric Vehicle และ PHEV : Plug-in Hybrid Electric Vehicle) ส่วนค�าว่า ICE : Internal Combustion Engine ก็คือรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สันดาปภายในที่เราใช้ กันอยู่ เช่น เครือ่ งยนต์ทใี่ ช้นา�้ มันเบนซินและดีเซล เมือ่ เราพอจะจ�าศัพท์ของ ชาวรถไฟฟ้ากันได้บา้ งแล้ว ขอท�าความเข้าใจกันอีกนิดก่อนจะอ่านต่อไปตาม แผนพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าทีม่ คี ณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตัง้ ขึน้ มา มากมาย ไม่ได้หมายรวมถึงรถไฟฟ้าอื่นๆ เช่น รถบรรทุก รถมอเตอร์ไซค์ รถสามล้อ แต่ยานยนต์ในที่นี้หมายถึง รถเก๋งคันงาม ปัจจัยที่ 5 ที่เราใช้อยู่ ดูเหมือนว่าเราก�าลังจะเดินออกจากยุคน�า้ มันสูย่ คุ ไฟฟ้า จึงมีคา� ถามว่า จะท�าอย่างไรให้ไฟฟ้าที่เราใช้ชาร์จมาจากเชื้อเพลิงสะอาดหรือเชื้อเพลิง พลังงานหมุนเวียน ดังนัน้ จึงมีหลายประเทศได้ตงั้ เป้าหมายในการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียน 100% หรือ RE100 26

กำรเตรียมควำมพร้อม

ส�าหรับช่วงวิกฤตโรคระบาด COVID-19 ประชาชนตาด�าๆ ทั้งหลายก็คงได้แต่แก้ปัญหาให้ตัวเองเพื่อก้าวให้ผ่านวิกฤตนี้ไปให้ได้ โดยกินและใช้เท่าที่จ�าเป็น แต่ส�าหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับโครงการ ยานยนต์ไฟฟ้า ก็จ�าเป็นต้องเตรียมความพร้อมเพื่อให้ทันรถไฟเที่ยว สุดท้าย หากโครงการ 30:30 เดินหน้าเต็มตัวหลัง COVID-19 1. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ได้พยายาม เสนอมาตรการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านภาษี และมาตรการ ทีไ่ ม่ใช่ภาษี เพือ่ จูงใจให้มกี ารลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย จากสถานการณ์ปจั จุบนั โลกของยานยนต์ในประเทศไทยอาจเปลีย่ นมือ จากประเทศญี่ปุ่นไปอยู่ในมือของจีน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเทคโนโลยี ด้านการลงทุน อัตราภาษี ประเทศจีนล้วนได้เปรียบประเทศอื่นๆ 2. สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย (EVAT) ผู้ขับเคลื่อนโครงการนี้ มาตั้งแต่ต้นจนเห็นเป็นมรรคเป็นผลอย่างในปัจจุบัน โดยมุ่งส่งเสริม ให้มีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยให้เป็นรูปธรรมเพื่อก้าวสู่ สังคมคาร์บอนต�่า (Low Carbon Society) 3. ภาครัฐ กระทรวงพลังงาน และกระทรวงอุตสาหกรรม น่าจะเป็น 2 กระทรวงหลักที่มีส่วนส่งเสริมและสนับสนุนยานยนต์ ไฟฟ้าในประเทศไทย แต่คงต้องไม่ลืมกระทรวงการคลังที่จะเข้ามา มีบทบาทอย่างมากด้วยเหมือนกัน หากภาครัฐสามารถท�างานร่วมกับ ภาคเอกชนแบบไร้รอยต่อแล้ว เป้าหมาย 30:30 ก็ไม่ใช่เรื่องยาก 4. ผูป้ ระกอบการภาคเอกชน วันนีอ้ าจกล่าวได้วา่ ไทยมีความ พร้อมในการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าได้เองเกือบทั้งคัน ยานยนต์ไฟฟ้า 1 คัน นอกจากต้นทุนตัวถังและซอฟต์แวร์แล้ว แบตเตอรีจ่ ะเป็นต้นทุน ของรถถึง 40% นอกจากนีย้ งั มีมอเตอร์ไฟฟ้า ซึง่ เป็นต้นทุนอีกประมาณ 10% หากมีการผลิตจ�านวนมากๆ ต้นทุนต่างๆ ก็จะค่อยๆ ลดลง และ อาจมีราคาต�า่ กว่ารถยนต์แบบสันดาปภายในทีเ่ ราใช้กนั อยูใ่ นปัจจุบนั

GreenNetwork4.0 July-August

2021


ส�าหรับ บริษัท GPSC เตรียมเดินหน้าแบบครบวงจร เริ่ม ตั้งแต่การผลิตแบตเตอรี่ Semi-Solid ร่วมกับบริษัทไต้หวัน ผลิตรถยนต์นั่ง และอาจจะก้าวต่อไปยังรถบัส และจักรยานยนต์ ไฟฟ้า หลังจากนั้นก็จะเปิดแพลตฟอร์มออนไลน์ใช้กับบริการใน ทุกรูปแบบ และพร้อมจะสร้างสถานีชาร์จพลังงานไฟฟ้าและสถานี สับเปลี่ยนแบตเตอรี่ บริษัท E@ พลังงานบริสุทธิ์ ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้น�าองค์กร เดินหน้าอย่างเป็นรูปธรรมก่อนใคร เริม่ ด้วยการลงทุนสร้างโรงงาน แบตเตอรีจ่ นใกล้จะเสร็จสมบูรณ์แล้ว และทีส่ ร้างชือ่ เสียงจนเป็นที่ รู้จักก็คือ Charging Station แบบ Ultra Fast ชาร์จได้ 80% ด้วย เวลาเพียง 15 นาที โดยมีสถานีชาร์จไฟกว่า 1,630 แห่งทัว่ ประเทศ ส่วนการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า E@ คิดนอกกรอบ หลีกเลีย่ งรถยนต์นงั่ (Passenger Car) หันไปเตรียมลงทุนรถบรรทุกหรือรถขนาดอืน่ ๆ ทีม่ อี ตั ราภาษีนา� เข้าค่อนข้างสูง โดยเตรียมร่วมลงทุนสร้างโรงงาน ขนาดใหญ่ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง

นับเป็นส่วนหนึ่งของผู้ประกอบการไทยที่เป็นเรือธงด้านยานยนต์ ไฟฟ้า และเชือ่ ว่ายังมีผปู้ ระกอบการรายใหญ่ทมี่ คี วามพร้อมในการลงทุน ในประเทศไทยอีกหลายราย 5. มอเตอร์ไฟฟ้าและคอนเวอร์เตอร์ จากบริษทั ในกลุม่ สแกนดิเนเวีย ซึ่งประชาชนมีความตื่นตัวเรื่องของยานยนต์ไฟฟ้ามากที่สุดก็ว่าได้ มอเตอร์ไฟฟ้านับว่ามีความส�าคัญต่อรถไฟฟ้าทุกชนิด ส�าหรับ Danfoss ซึ่งมุ่งตลาดบนที่ต้องการคุณภาพสูง ได้เริ่มเข้าท�าตลาดในเมืองไทย สามารถใช้งานได้หลากหลาย ตัง้ แต่รถบัส รถยนต์ เรือโดยสาร Danfoss พร้อมให้ความร่วมมือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กบั มหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาบุคลากรรองรับโครงการยานยนต์ ไฟฟ้า 30:30 ของประเทศไทย 6. มหาวิทยาลัยกับการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาบุคลากร รองรับโครงการยานยนต์ไฟฟ้า ขอขอบคุณกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กระทรวง อว.) ที่มีวิสัยทัศน์และคอย ให้ทุนมหาวิทยาลัยต่างๆ ในการพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยียานยนต์ ไฟฟ้าอย่างต่อเนือ่ ง มหาวิทยาลัยในจังหวัดทีม่ กี ารเดินทางผ่านมากๆ และ หากเป็นเมืองท่องเที่ยว ต่างก็ขยับตัวเตรียมพร้อมในการผลิตบุคลากร และเตรียมเป็นศูนย์ฝกึ อบรมเทคโนโลยีใหม่ โดยส่วนใหญ่กจ็ ะได้รบั ความ ร่วมมือจากภาคเอกชน ขอเริ่มต้นจากภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เพิ่มวิชาด้าน EV เข้าไปในกลุ่มวิชายานยนต์ ส่วนมหาวิทยาลัยนเรศวร หลังจากช่วยท�าแผน Smart Grid ให้กับ สนพ. (ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน) ไปแล้ว ก็มุ่งไปที่การลดคาร์บอน เน้นย�้าว่าไฟฟ้าที่มาประจุต้อง RE100 เท่านัน้ โดยให้ความ สนใจเรื่อง EV Charge และ ESS เป็นพิเศษ 27

กลับมาที่ภาคอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) ได้ลงนาม MOU กับ E@ พลังงานบริสทุ ธิ ์ ด้านความร่วมมือ ด้านวิชาการ นอกจากนีย้ งั มีอกี หลายมหาวิทยาลัยได้เริม่ เตรียมความพร้อม ด้านยานยนต์ไฟฟ้าแล้ว มุ ่ ง ลงใต้ เ ดิ น ทางผ่ า นเมื อ งขนมหวานเพชรบุ รี ตื่ น ตากั บ ความพร้อมด้าน EV ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ซึ่งมีทั้งสถานี ชาร์จไฟ และรถ BEV คันหรู มีพร้อมไว้ให้นักศึกษาวิศวกรรมพลังงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้เรียนรู้ รวมทั้ง ประชาชนทั่วไป ผู้สนใจ ซึ่งเป็นของขวัญจากส�านักงบประมาณ อาจ จะเป็นเพียงมหาวิทยาลัยเดียวที่ได้รถ BEV เพื่อการวิจัยพัฒนา เดินทาง ต่อไปยังเมืองท่องเทีย่ วดังอย่างหัวหิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์ วิทยาเขตหัวหิน ได้รวบรวมมหาวิทยาลัยโดยรอบเตรียม สร้างเครือข่ายเป็นศูนย์พัฒนาบุคลากร เทคโนโลยี และฝึกอบรม เพื่อ เตรียมความพร้อมรองรับรถ EV ทีจ่ ะต้องเดินทางผ่านหัวหินอย่างมากมาย ในอนาคต ขอลงสุดทางแค่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) คึกคักตอบรับ นโยบายรัฐ จัดเต็มทั้ง 5 วิทยาเขต ก�าลังรีบตั้งศูนย์ EV Learning and Development Center และเปิดหลักสูตรแบบ Non-Degree หลายระดับ ปูพื้นฐานให้ชุมชนผ่าน Digital Platform สร้างภาคีเครือข่ายสถานศึกษา ภาคใต้ ยานยนต์ไฟฟ้า ZEV จะเข้ามาแทนที่รถสันดาปภายใน ICE ได้ อย่างลงตัวแค่ไหน โดยยังมีภารกิจอีกมากมาย ตลอด Supply Chain ตัง้ แต่แบตเตอรี ่ สถานีชาร์จไฟ และ ระบบไฟฟ้า และ Key Success ของเกมนี้น่าจะ อยู่ที่นโยบายของรัฐ...ประเทศไทยจะเป็นแค่ ผูร้ บั จ้างผลิต หรือจะเป็นศูนย์กลาง EV ... ชุมชน และผู้มีรายได้น้อยจะได้อะไรจากมหกรรม ครั้งนี้ เวลาเท่านั้นที่ตอบได้

GreenNetwork4.0 July-August

2021


รศ. ดร.ยศพงษ์ ลออนวล

เป็นที่ทราบกันดีว่า ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต ยานยนต์ของโลก การส่งเสริมต่อยอดเป็นฐานการผลิต ยานยนต์ไฟฟ้าจึงเป็นโอกาสที่ดีของประเทศไทยในการ เปลีย่ นแปลงอุตสาหกรรมยานยนต์ใหม่นี้ หากพิจารณาจาก ข้อมูลของยานยนต์ไฟฟ้าโลก (Global Electric Mobility) ช่วงปี พ.ศ. 2562-พ.ศ. 2563 เห็นได้ชัดเจนว่า จ�านวนการ จดทะเบียนยานยนต์ไฟฟ้าใหม่ในต่างประเทศ โดยเฉพาะ ประเทศในแถบยุโรป เช่น นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และสวีเดน จ�านวนยานยนต์จดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้นเป็นจ�านวนมาก ทัง้ จากนโยบายการสนับสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในแต่ละ ประเทศที่ช่วยกระตุ้นการซื้อยานยนต์ไฟฟ้าของประชาชน โดยทางองค์การพลังงานระหว่างประเทศ (International Energy Agency : IEA) คาดการณ์การใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ในอนาคต ตามทีห่ ลายประเทศประกาศนโยบายไว้ (Stated Policies Scenario) ว่าภายในปี พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030) จะมีเพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 140 ล้านคัน จากปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ที่มีจ�านวนมากกว่า 10 ล้านคันทั่วโลก การผลักดันมาตรการการผลิตยานยนต์ภายใน ประเทศเป็นยานยนต์ไร้มลพิษ หรือ Zero Emission Vehicle (ZEV) ในสัดส่วน 30% ภายในปี ค.ศ. 2030 จึง เป็นสิ่งที่เหมาะสมในการก�าหนดเป้าหมายและวางแผน เพือ่ เตรียมความพร้อมซึง่ จะสามารถน�าไปถึงเป้าหมายจริง โดยขณะนี้ยานยนต์ ZEV ในประเทศเป็นยานยนต์ไฟฟ้า แบตเตอรี่ หรือ Battery Electric Vehicle (BEV) ทั้งหมด ถึงแม้ในปีที่ผ่านมา (ค.ศ. 2020) การจดทะเบียนใหม่เป็น

BEV มีจ�านวน 2,999 คัน คิดเป็นสัดส่วนน้อยกว่า 1% เทียบกับยานยนต์จดทะเบียนใหม่ทั้งหมด เเต่มีการเติบโต สูงขึ้นมากกว่า 90% เมื่อเทียบกับในปี ค.ศ. 2019 และ การเติ บ โตที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ยั ง สวนทางกั บ ยอดขายยานยนต์ ประเภทอืน่ มีอตั ราการเติบโตถดถอยจากสภาวะเศรษฐกิจ และวิกฤตโรคระบาดโควิด-19 ในช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ ยังต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควิชาการ ในสังคมที่จะน�าไปสู่ เป้าหมายเดียวกัน กล่าวคือ ภาครัฐจะมีบทบาทส�าคัญมาก เนื่ อ งจากเป็ น ผู ้ ก� า หนดนโยบาย แก้ ไ ขกฎระเบี ย บ การก� า หนดมาตรการที่ ก ระตุ ้ น ทั้ ง ผู ้ ซื้ อ และผู ้ ผ ลิ ต ใน อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศอย่างชัดเจน และ ภาครัฐสามารถร่วมมือกับภาคส่วนอื่นๆ รวมทั้งการริเริ่ม โครงการต่างๆ หรือท�าให้เกิดธุรกิจ Start Up ส่วนภาค วิชาการจะมีบทบาทส�าคัญในการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี และบุคลากรของประเทศ ภาคเอกชนจะมีบทบาทในการ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ใช้งานได้จริง โดยมีราคาที่ เหมาะสมเพื่อกระตุ้นให้เกิดการใช้งานที่เหมาะสม รวมทั้ง การปรั บ ตั ว ของผู ้ ป ระกอบการไทยที่ ต ้ อ งเริ่ ม เเสวงหา โอกาสในอุตสาหกรรมใหม่ที่ก�าลังเกิดขึ้น โดยจะท�าให้ ประเทศไทยมีผู้ใ ช้ย านยนต์ไ ฟฟ้า เป็นจ�า นวนมากตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้หรือเร็วกว่า เช่นเดียวกับแนวโน้มการใช้ ทีเ่ กิดขึน้ ในหลายประเทศในขณะนี้ และสุดท้ายส�าคัญทีส่ ดุ คือภาคประชาชนนั้นเอง จะต้องร่วมมือกันปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ซึ่งจะน�าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

รสยา เธียรวรรณ

บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี จ�ากัด (มหาชน) หรือ GPSC ในฐานะบริษัท Power Flagship ของกลุ่ม ปตท. มีการขยายการลงทุนด้านนวัตกรรมเพือ่ สร้างรายได้ จากธุรกิจใหม่ซึ่งเป็น New S-Curve หนึ่งในนั้นคือ ธุรกิจ การผลิตหน่วยกักเก็บพลังงาน หรือแบตเตอรี่ เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงของธุรกิจพลังงานและไฟฟ้าในอนาคต โดย GPSC พร้อมสนับสนุนนโยบายภาครัฐในการผลักดัน ประเทศไปสูก่ ารลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิจนเป็น ศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ซึ่งเป็นผล จากการส่งเสริมอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า และการลด ช่องว่างของระบบพลังงานหมุนเวียน (Renewable) อย่าง เป็นรูปธรรม เริ่ ม ด้ ว ยการลงทุ น ในเทคโนโลยี แ บตเตอรี่ Semi Solid ลิขสิทธิเ์ ฉพาะของบริษทั 24M Technologies Inc. (24M) ประเทศสหรัฐอเมริกา และก่อสร้างโรงงาน ผลิตหน่วยกักเก็บพลังงานต้นแบบ ก�าลังการผลิต 30 เมกะวัตต์ชั่วโมง (MWh) ต่อปี ที่มุ่งสู่การเป็นผู้พัฒนา โซลูชันเพื่อบริหารจัดการด้านพลังงานอย่างครบวงจร (Energy Management Solution Provider) โดยแบตเตอรี่ ที่ผลิตจากโรงงานแห่งนี้ยังสามารถน�ามาใช้กับยานยนต์ ไฟฟ้าประเภทต่างๆ เช่น E-Bus, E-Tuktuk, Golf Cart ฯลฯ นอกจากนี้ จึงได้มีการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ G-Box ระบบกักเก็บพลังงานที่ติดตั้งที่สถานีบริการน�้ามัน ปตท. เพื่อรองรับ EV Station ที่คาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง มาก ตอบรับเทรนด์รถยนต์ไฟฟ้าในยุคปัจจุบัน ให้พร้อม

บริการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าได้อย่างมีเสถียรภาพ รวมทั้งยัง สามารถน�าไฟฟ้าที่กักเก็บจากระบบ G-Box ไปใช้ในส่วน อื่นๆ ในสถานีบริการ เพื่อลดต้นทุนค่าไฟฟ้าให้กับสถานี บริการได้อีกด้วย ทั้งนี้ GPSC ยังได้ขยายการเติบโตไปยังภูมิภาค เอเชี ย ด้ ว ยการเข้ า ร่ ว มทุ น ในบริ ษั ท Anhui Axxiva New Energy Technology Co., Ltd. ซึง่ อยูร่ ะหว่างก่อสร้าง โรงงานผลิ ต แบตเตอรี่ ใ นสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น โดยระยะที่ 1 มีก�าลังการผลิต 1 กิกะวัตต์ชั่วโมง (GWh) ต่อปี เพื่อรองรับตลาดรถยนต์ไฟฟ้าประเภท Passenger Car คาดว่าจะเริ่มด�าเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ได้ภายใน ต้นปี พ.ศ. 2565 แนวทางการลงทุนของ GPSC ดังที่กล่าวข้างต้น เป็นไปตามทิศทางทีม่ งุ่ สูพ่ ลังงานสะอาดและความรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อมทีม่ ากยิง่ ขึน้ ของโลก เพือ่ รองรับการเติบโต ที่ก�าลังจะมาถึง และเพื่อให้อุตสาหกรรมนี้ทันกับกระแส การเปลีย่ นแปลงของโลก การก�าหนดนโยบายภาครัฐและ มาตรการช่วยเหลือในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นสิทธิประโยชน์ ด้านเงินลงทุน ภาษี รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ อุปสงค์ ในประเทศ การเปิดเสรีทางการลงทุน โครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบต่างๆ ของรัฐบาล และความต่อเนือ่ งของนโยบาย การให้การสนับสนุน จะเป็นการส่งเสริมสภาพแวดล้อม ในการลงทุน และสร้างแรงดึงดูดให้นักลงทุนทั้งในและ ต่างประเทศสนใจในอุตสาหกรรมดังกล่าว อีกทั้งยังเป็น การสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับประเทศไทยอีกด้วย

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนา ความยั่งยืน และหัวหน้า ศูนย์วิจัย Mobility & Vehicle Technology Research Center (MOVE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ พัฒนาธุรกิจ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี จ�ากัด (มหาชน)

28

GreenNetwork4.0 July-August

2021


การที่ประเทศไทยจะยังคงเป็นศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของภูมิภาค (ASEAN BEV Hub) ได้ เราจ�าเป็น ทีจ่ ะต้อง “สร้าง Demand” ให้มตี ลาดในประเทศทีใ่ หญ่พอ เพือ่ นักลงทุนจะได้สนใจมาตัง้ ฐานการผลิตในประเทศของเรา ชิน้ ส่วนส�าคัญทีเ่ ป็นหัวใจของยานยนต์ไฟฟ้าจะต้องถูกผลิตในประเทศให้ได้ ซึง่ ก็คอื แบตเตอรี่ มอเตอร์ไฟฟ้า และชิน้ ส่วน ส�าคัญอื่นๆ รัฐบาลต้องเร่งส่งเสริม “รถยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์” เช่น รถประจ�าทาง ขนส่งพาณิชย์ รถหัวลาก รถสิบล้อ รถแท็กซี่ และ “รถราชการ” เพราะรถประเภทนี้เป็นรถที่มีการใช้งานมาก ยิ่งใช้มากยิ่งประหยัดพลังงานมาก และ รถประเภทนีต้ อ้ งใส่แบตเตอรีต่ อ่ คันเป็นจ�านวนมาก จึงสร้าง “Demand” ได้มากพอทีจ่ ะดึงดูดผูผ้ ลิตรายใหญ่มาตัง้ ฐาน การผลิตในประเทศไทย เพื่อให้เกิด Economy of Scale ที่จะท�าให้ต้นทุนต่อหน่วยต�่าลงและแข่งขันได้ พร้อมทั้งออก นโยบายส่งเสริมที่ครบทั้งระบบ ทั้งด้านผู้ผลิต ระบบไฟฟ้า และสถานีอัดประจุไฟฟ้า จนถึงเงินอุดหนุนและสิทธิพิเศษ ส�าหรับผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้า หากเราท�าได้แบบนี้ ผมเชื่อว่าเราจะคงความเป็น Detroit of ASIA ที่เราภาคภูมิใจไว้ได้ บน New S-Curve ใหม่ที่ไทยแข็งแรงกว่าเดิม

คณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติ ได้ก�าหนดเป้าหมายการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าประเภทรถยนต์นั่งและ รถกระบะภายในปี พ.ศ. 2573 ทัง้ สิน้ 440,000 คันต่อปี หรือคิดเป็น 50% ของยอดจดทะเบียนต่อปี ส่วนเป้าหมายการผลิต นั้น ได้วางเป้าหมายการผลิตคิดเป็น 30% ของยอดการผลิตรถยนต์ทั้งหมด ในโอกาสนี้ ทางสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย ได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และด�าเนินงานเพื่อสนับสนุนทั้งมาตรการด้านภาษี และมาตรการที่ไม่ใช่ภาษีต่างๆ รวมถึงการออกกฎระเบียบส�าหรับอาคารที่ก่อสร้างใหม่ให้มีพื้นที่ช่องจอดส�าหรับ อัดประจุไฟฟ้าเป็นข้อบังคับ และการลดคาร์บอนในภาคการผลิต เพือ่ ร่วมสนับสนุนการเปลีย่ นผ่านเทคโนโลยีดงั กล่าวนี้ ในด้านภาพรวมของเทคโนโลยีนั้น หลากหลายค่ายรถยนต์รวมถึงบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย ต่างก็มีความ มุ่งมั่นอันแข็งแกร่งในการพัฒนานวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ภายใต้จุดมุ่งหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน ทั้งนี้ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป จะพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าน�าเสนอออกสู่ตลาดมากถึง 25 รุ่นในตลาดโลก ภายในปี พ.ศ. 2566 โดยมากกว่าครึ่งของจ�านวนนี้จะเป็นรถยนต์ไฟฟ้าล้วนแบบ BEV เพื่อเป็นการปูทางเข้าสู่สังคมคาร์บอนต�่า (Low Carbon Society) ต่อไปในอนาคต

HAUP Mobility Sharing Platform

ในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย ท�าให้เรามีความจ�าเป็นต้องเลือกเดินทาง ด้วยรถยนต์ส่วนตัวในชีวิตประจ�าวัน แทนที่จะเลือก เดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ เพือ่ ลดความเสีย่ งใน การติดเชื้อไวรัสจากบุคคลอื่นรอบตัวให้ได้มากที่สุด แต่ทว่ามันกลับส่งเสริมให้เกิดปัญหาในเรื่องฝุ่นพิษ PM2.5 ที่เกิดจากท่อไอเสียรถยนต์ โดยเฉพาะในพื้นที่ เขตเมืองที่ก�าลังเผชิญหน้ากับมลพิษทางอากาศมาโดย ตลอด ดังนั้นไม่ว่าเราจะอยู่ในสถานการณ์ปกติหรือ ในสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 แพลตฟอร์มของฮ้อป (HAUP) ก็เข้ามามีบทบาทในการช่วยแก้ปัญหาด้าน การเดินทางได้อย่างยั่งยืน โดยการผลักดันให้เกิดการ ใช้งานรถยนต์พลังงานไฟฟ้า (EV) อย่างแพร่หลาย มากยิ่งขึ้น เนื่ อ งจากสภาวะเศรษฐกิ จ ในขณะนี้ เราอาจ ไม่พร้อมทีจ่ ะเป็นเจ้าของรถมือหนึง่ สักคัน รวมถึงมองว่า โครงข่ายรถยนต์พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทยอาจยัง

29

ไม่สะดวกต่อการใช้งานรถยนต์พลังงานไฟฟ้า ทางฮ้อป (HAUP) ซึ่งเป็น Mobility as a Service หรือ Mobility Sharing Platform จึงเข้ามามีสว่ นช่วยให้ทกุ คนสามารถ เข้าถึงรถยนต์พลังงานไฟฟ้าได้ โดยทีไ่ ม่ได้มคี วามจ�าเป็น ที่ จ ะต้ อ งซื้ อ ในเวลานี้ แล้ ว ยั ง เป็ น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง ส�าหรับผู้ที่สนใจเทคโนโลยียานยนต์พลังงานไฟฟ้า โดย ที่ไม่ต้องการมีภาระหนี้สินผูกมัดระยะยาว เพียงเลือก Subscribe กับบริการของฮ้อป (HAUP) ก็สามารถเช่า รายชั่วโมง และปลดล็อกรถผ่านแอปพลิเคชันได้ตลอด 24 ชั่วโมง นอกเหนือจากบริการที่ครอบคลุมถึง 500 สาขา ทั่วทั้งกรุงเทพฯ และปริมณฑลแล้ว ในช่วงนี้ที่เศรษฐกิจ ก� า ลั ง ซบเซา เรายั ง เปิ ด ให้ บ ริ ก ารอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ของ แพลตฟอร์ม โดยให้บคุ คลทัว่ ไปทีต่ อ้ งการหารายได้เสริม สามารถน�ารถยนต์ส่วนตัวมาปล่อยเช่าผ่านแพลตฟอร์ม แบบ Passive In-Car ด้วยการติดระบบ IoT ที่ช่วยให้ การปล่อยเช่าเป็นแบบไร้สัมผัส (Contactless)

GreenNetwork4.0 July-August

2021

สมโภชน์ อาหุนัย

ประธานสถาบันพลังงาน เพื่ออุตสาหกรรม ส.อ.ท. รองประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย

กฤษฎา อุตตโมทย์

นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย และผู้อ�านวยการฝ่ายสื่อสาร กิจการองค์กร บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย

กฤษฏิ์ วิชัยวัฒนาพาณิชย์ ประธานกรรมการบริหาร และผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท ฮ้อปคาร์ จ�ากัด


นี่คือสิ่งที่ ‘บ้านปู เน็กซ์’ ผู้ให้บริการโซลูชันพลังงาน ฉลาดชัน้ น�าในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ และกลุม่ บริษทั บ้านปู เล็งเห็นมาโดยตลอด จึงริเริ่มสร้างสรรค์การใช้พลังงาน วิถใี หม่ทยี่ งั่ ยืน ชาญฉลาด และครบวงจรยิง่ ขึน้ หรือ “โซลูชนั พลังงานฉลาด” นั่นเอง ซึ่งเป็นจิ๊กซอว์ชิ้นส�าคัญที่จะช่วย ยกระดับการใช้พลังงานให้มั่นคงและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ย ลดการปล่อยมลพิษ และสร้างคุณภาพ ชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน ในขณะเดียวกันก็สร้างโอกาสทางธุรกิจ ใหม่ๆ สร้างอุตสาหกรรมแห่งอนาคต รวมถึงปูเส้นทาง ในการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต�่าและเมืองอัจฉริยะ

Energy บ้านปู เน็กซ์

ท�ำควำมรู้จัก “โซลูชันพลังงำนฉลำด”

ด้วยบ้านปู เน็กซ์ เข้าใจปัญหาในแต่ละภาคส่วน และ เล็งเห็นเทรนด์การใช้พลังงาน เศรษฐกิจ และการใช้ชีวิต ของผู้คนในโลกแห่งอนาคต จึงน�าแนวคิด “น้อยแต่มาก” มาเปลี่ยนบริบทการใช้พลังงานสู่วิถีแห่ง “ความฉลาดและ ยั่งยืน” คือท�าอย่างไรให้ใช้พลังงานน้อย แต่สร้างความสุข ได้มากขึ้นในทุกมิติ ทั้งต่อโลก เศรษฐกิจ ธุรกิจ และสังคม โดยน�าเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น สมาร์ทแพลตฟอร์ม IoT (Internet of Things) และปัญญาประดิษฐ์ (AI) เป็นต้น ผนวกกับฮาร์ดแวร์ด้านพลังงานสะอาด พร้อมขับเคลื่อน การบริหารจัดการพลังงานด้วยดาต้า และเชือ่ มโยงการสัง่ การ ผ่านแอปพลิเคชัน เกิดเป็นดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อให้ระบบ พลังงานฉลาดท�างานอย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์แม่นย�า และมอนิเตอร์ได้แบบเรียลไทม์ ที่ส�าคัญให้ผลด้านการ ประหยัดพลังงาน และการลด CO2 ที่มีศักยภาพและยั่งยืน โดยโซลูชันพลังงานฉลาดจากบ้านปู เน็กซ์ ประกอบด้วย 5 โซลูชัน ได้แก่ โซลูชันฉลาดวิเคราะห์ โซลูชันฉลาดผลิต โซลูชนั ฉลาดเก็บ โซลูชนั ฉลาดใช้ และโซลูชนั ฉลาดหมุนเวียน

“5 โซลูชันพลังงำนฉลำด” เชือ่ ว่าหลายคนคงทราบกันดีวา่ “พลังงานสะอาด” มีบทบาทส�าคัญในการ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมและเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แต่จากการแพร่ระบาด ของเชือ้ COVID-19 และวิกฤตโลกร้อนทีย่ งั รุนแรงขึน้ ท�าให้โลกและความเป็นอยู่ ของผู้คนเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ การใช้พลังงานสะอาดรูปแบบเดิม จึงไม่ใช่คา� ตอบทัง้ หมดของการใช้ชวี ติ เทรนด์เศรษฐกิจและเทรนด์พลังงานโลก แห่งอนาคตอีกต่อไป ปัจจุบนั นานาประเทศรวมถึงไทย เร่งหาแผนฟืน้ ฟูเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน และ การจัดการวิกฤตด้านสภาพภูมอิ ากาศสูก่ ารลงมือท�าอย่างจริงจัง โดยการประชุม IEA-COP26 Net Zero Summit* ทีผ่ า่ นมา ย�า้ ถึงการก�าจัดภาวะโลกร้อนอย่าง เร่งด่วน รวมถึงเผยเป้าหมายทีต่ อ้ งร่วมกันลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และแผนการน�าเทคโนโลยีขับเคลื่อนเศรษฐกิจสู่ยุคปลอดคาร์บอน* ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจต่างมองหาทางรอดและโอกาสหลังเผชิญ ผลกระทบทางเศรษฐกิจอย่างหนัก รวมถึงโซลูชันที่จะมาช่วยบริหารจัดการ ต้นทุนทางธุรกิจ โดยเฉพาะต้นทุนด้านพลังงาน และโซลูชันอื่นๆ ที่ช่วยสร้าง ความมั่นใจด้านความปลอดภัยในการใช้ชีวิตยุคนี้ 30

ก้ า วแรกสู ่ ก ารบริ ห าร จัดการพลังงานฉลาด เป็นเหมือนหัวใจส�าคัญที่เข้าไปผนวก ในทุกโซลูชันให้มีการจัดการพลังงานอย่างชาญฉลาดและ มีประสิทธิภาพ ซึ่งโซลูชันนี้จะเป็นตัวช่วยส�าหรับตรวจ สุขภาพพลังงานภายในกิจการ ที่ไม่เพียงแต่ตรวจติดตาม และวิเคราะห์การใช้พลังงานไฟฟ้าด้วยอุปกรณ์เทคโนโลยี ที่ทันสมัย แต่ยังมีดิจิทัลแพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ประกอบการ มอนิเตอร์การใช้พลังงานได้ทุกที่ทุกเวลา รวมถึงสามารถ เรียกดูขอ้ มูลย้อนหลังและเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงาน ในกรณีที่มีกิจการหลายสาขา เพื่อน�าเสนอมาตรการที่ช่วย ให้กิจการร้านค้าใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และลดภาระค่าไฟฟ้าได้ในระยะยาว นอกจากนี้ยังสามารถใช้โซลูชันนี้ในการวิเคราะห์ ปัญหาด้านความปลอดภัย ทัง้ ภัยจากโรคระบาด อาชญากรรม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ ออกแบบระบบความปลอดภัยทีต่ อบโจทย์ แต่ละพื้นที่ อาทิ ระบบตรวจสอบความหนาแน่นของคน ในพื้นที่ ตรวจคัดกรองอุณหภูมิร่างกาย ตรวจจับผู้ที่ไม่ใส่ หน้ากากอนามัย การแจ้งเตือนเหตุการณ์ผิดปกติ สถานี

GreenNetwork4.0 JJuly-August

2021


เฝ้าระวังสภาพอากาศ เป็นต้น เพือ่ ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยทีร่ บั วิถีชีวิตยุคใหม่ ปัจจุบนั การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะโซลาร์ฯ มีการใช้อย่างแพร่หลายทั้งในภาคอุตสาหกรรมและ ครัวเรือน แต่จะท�าอย่างไรให้สามารถผลิตและใช้ไฟฟ้าได้อย่างคุม้ ค่าทีส่ ดุ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย บ้านปู เน็กซ์ จึงได้น�าดิจิทัลแพลตฟอร์มมาใช้ ในการจัดการพลังงาน เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ทั้งด้านการผลิต การใช้ ผลประหยัดค่าไฟ และการลด CO2 พร้อมตรวจสอบการท�างานของระบบ โซลาร์ฯ แบบเรียลไทม์ผ่านแอปพลิเคชัน รวมถึงบริการหลังการขาย อย่างมืออาชีพ ดูแลตลอด 24 ชั่วโมง คื อ ระบบกั ก เก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า ส� า หรั บ การใช้งานในหลากหลายรูปแบบทีฉ่ ลาดขึน้ ด้วยการท�างานร่วมกับดิจทิ ลั แพลตฟอร์ม ซึ่งจะช่วยควบคุมการผลิตและกักเก็บกระแสไฟฟ้า รวมถึง ช่วยให้การจ่ายไฟมีความเสถียรยิ่งขึ้น เพื่อการใช้งานที่ต่อเนื่องในทุก สถานการณ์อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ ยังสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลายวิธี ดังตัวอย่าง อีพรอมต์มูฟ ‘e-PromptMove’ โซลูชนั ผลิต และกักเก็บไฟฟ้าพลังงานสะอาดครบวงจร เคลือ่ นทีค่ นั แรกของไทย ทีส่ ามารถผลิต-กักเก็บ-จ่ายไฟฟ้า และเชือ่ มต่อ อุปกรณ์ไฟฟ้าได้อย่างอิสระ ทุกที่ ทุกเวลา บ้านปู เน็กซ์ ได้นา� เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม และยานพาหนะไฟฟ้ามาขับเคลือ่ นการเดินทางแบบอัจฉริยะ เพือ่ ช่วยให้ การจัดการด้านขนส่งมีความเป็นระบบมากขึน้ มอนิเตอร์เวลาเดินทางได้ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งบ้านปู เน็กซ์ เป็นผู้ให้บริการยานพาหนะ ไฟฟ้าและขนส่งแบบครบวงจรรายแรกของไทยที่มีดิจิทัลแพลตฟอร์ม ช่วยบริหารระบบ ท�าให้องค์กรลดต้นทุนค่าเชือ้ เพลิงและสามารถวางแผน ซ่อมบ�ารุงเชิงป้องกันได้ รวมถึงเพิม่ ทางเลือกในการเดินทางทีต่ อบรับกับ ไลฟ์สไตล์คนยุคใหม่ที่ชอบความคล่องตัว สะดวกสบาย ใช้งานง่ายผ่าน แอปฯ และไม่สร้างมลภาวะ เช่น บริการรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า MuvMi บริการ เช่ารถยนต์ไฟฟ้า (EV Car Sharing) และ e-Ferry เรือท่องเที่ยวไฟฟ้า ทางทะเลล�าแรกของไทย เปลีย่ น “การทิง้ ขยะ” เป็น “การจัดการ ขยะ” นอกจากจะช่วยโลกลดปริมาณขยะทีต่ อ้ งน�าไปฝังกลบแล้ว ยังช่วย 31

ให้ธุรกิจสามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า ลดภาระค่าใช้จ่ายจากการ จัดการขยะ โดยน�าดิจทิ ลั แพลตฟอร์มมาออกแบบและบริหารจัดการขยะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่การคัดแยก การบันทึก วิเคราะห์ข้อมูล จนถึงน�าไปรีไซเคิลและหมุนเวียนให้เกิดประโยชน์ พร้อมสามารถติดตาม ได้ว่าขยะและวัสดุรีไซเคิลถูกจัดการอย่างไร สร้างประโยชน์ให้โลกและ สร้างรายได้คืนกลับมาได้เท่าใด

“โซลูชันพลังงำนฉลำด” ส่งผลดีอย่ำงไร?

บ้านปู เน็กซ์ เชื่อว่า “โซลูชันพลังงานฉลาด” จะเป็นอีกหนึ่ง ฟันเฟืองส�าคัญทีช่ ว่ ยโลกลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนฯ อย่างเป็นรูปธรรม สามารถตอบโจทย์เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมวิถีใหม่ที่มุ่งสู่การใช้ พลังงานแบบ Greener & Smarter เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่าง ชาญฉลาดและยั่งยืนยิ่งขึ้น ช่วยผู้ประกอบการลดต้นทุนการใช้พลังงาน ยกระดับธุรกิจให้ใส่ใจสิง่ แวดล้อม และสร้างการเติบโตทีย่ งั่ ยืนสอดรับกับ หลัก ESG ประกอบด้วย Environmental (สิ่งแวดล้อม) Social (สังคม) และ Governance (ธรรมาภิบาล) สนับสนุนการพัฒนาชุมชนและ เมืองอัจฉริยะได้ครบทุกมิติ ตอบไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคยุคใหม่ที่ใส่ใจ สิ่งแวดล้อม ฉลาดเลือกใช้สินค้าและบริการที่ไม่ท�าร้ายโลกกันมากขึ้น น�าไปสูเ่ ป้าหมายส�าคัญของทุกคน คือการมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ อี ย่างยัง่ ยืน * ข้อมูลอ้างอิง การประชุม IEA-COP26 Net Zero Summit

GreenNetwork4.0 July-August

2021


BCG กองบรรณาธิการ

BCG Economy หรือเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจ สีเขียว (Green Economy) คือโมเดลเศรษฐกิจสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน เป็นเรือ่ งทีถ่ กู พูดถึงกันอย่างเข้มข้นเมือ่ ประเทศไทย น�ามาใช้เป็นโมเดลในการเพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจทีส่ อดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (SDGs) ของโลก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเมื่อทั่วโลกเกิดวิกฤตการณ์ COVID-19 ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและการผลิตอย่างมากมาย ในพิธเี ปิด โครงการพัฒนาสินค้าไลฟ์สไตล์ใหม่สา� หรับงานแสดงสินค้า STYLE Bangkok ปีที่ 2 (STYLE BANGKOK COLLABORATION 2021) ที่จัดโดยส�านักส่งเสริมการค้าสินค้าไลฟ์สไตล์ กรมส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้รับเกียรติจาก 2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบรนด์ และการตลาดมาร่วมให้ขอ้ แนะน�าแก่ผเู้ ข้าร่วมโครงการ เพือ่ จุดประกายไอเดียและ แนวความคิดใหม่ๆ ส�าหรับการพัฒนาแบรนด์สนิ ค้า โดยเฉพาะการมองเป้าหมาย ของการร่วมมือกันระหว่างแบรนด์ที่จะให้เกิดผลงานใหม่ ซึ่งตอบโจทย์และ โปรเจกต์ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ นอกบ้านจากซีเมนต์ 3D และไม้สัก สอดคล้องกับ BCG Model ตลอดจนสามารถสร้างคุณค่าให้กับแบรนด์และ ความร่วมมือตามโมเดล BCG ระหว่าง องค์กรได้ในระยะยาว ยาคอบเยนเซ่นดีไซน์ | มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี แบรนด์ Deesawat และ SCG (อยู่ระหว่างการพัฒนาแบบ)

สองผู้เชี่ยวชาญ แนะเคล็ดลับสร้างแบรนด์ ด้วย BCG Model

ยกระดับองค์กรสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

ปารีสา จาตนิลพันธุ์

ผู้อ�านวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจค้าปลีก บริษัท สยามพิวรรธน์ รีเทล โฮลดิ้ง จ�ากัด 32

ปารีสา จาตนิลพันธุ์ ผู้อ�านวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจค้าปลีก บริษทั สยามพิวรรธน์ รีเทล โฮลดิง้ จ�ากัด กล่าวว่า BCG Economy จะเป็น โมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากใน 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจชีวภาพ ซึง่ น�า เทคโนโลยีชวี ภาพมาเพิม่ คุณค่าหรือประยุกต์ใช้งานในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ด้จากการเกษตรให้เกิดประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ ช่วยเพิม่ ความแข็งแกร่ง ให้ภาคการผลิต เศรษฐกิจหมุนเวียน โดยหมุนเวียนทรัพยากรธรรมชาติ กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในห่วงโซ่คุณค่า เน้นการมุ่งสู่ Zero Waste และเศรษฐกิจสีเขียว ทีเ่ น้นการกินดีอยูด่ ี พัฒนาคุณภาพชีวติ ลดผลกระทบ MOTHER OF PEARL ต่อโลกและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน X JOHN LEWIS การสร้ า งความร่ ว มมื อ กั น ทางการตลาด หรื อ Marketing ภาพ : vogue.co.uk Collaboration ได้อย่างยั่งยืน จะต้องร่วมมือกันเพื่อให้เกิดมิติใหม่ๆ ของ ผลิตภัณฑ์ เมือ่ น�าทัง้ 3 เรือ่ งมาศึกษาเพิม่ เข้าไปในผลิตภัณฑ์ทจี่ ะท�าร่วมกัน จะช่วยสร้างความยั่งยืนให้กับแบรนด์ที่มีรูปแบบใหม่ภายใต้เป้าหมาย เดียวกัน ซึง่ 4 หัวข้อหลักทีจ่ ะท�าให้เกิดการร่วมมือกันได้อย่างดีทสี่ ดุ (4 Key Takeaways to Great Collaborations) ได้แก่ 1. การท�างานร่วมกันระหว่าง แบรนด์สามารถเร่งปฏิกิริยาที่ดีขึ้นทั้งอุตสาหกรรมได้ เช่น MOTHER OF PEARL X JOHN LEWIS ความร่วมมือกันในธุรกิจแฟชั่น โดยทั้ง 2 แบรนด์ พยายามใช้ผ้าทั้งหมดในคอลเลกชันเป็นผ้าฝ้ายออร์แกนิก แสดงให้เห็นถึง ความเป็ น ไปได้ ที่ สิ น ค้ า แฟชั่ น จะมี ค วามยั่ ง ยื น ในทุ ก ระดั บ ของตลาด GreenNetwork4.0 July-August

2021


2. แบรนด์ขนาดใหญ่และผู้ค้าปลีกขนาดใหญ่สามารถใช้แพลตฟอร์มของกันและกัน เพื่อขยายนวัตกรรม ดังเช่น LEVI’S X TARGET แบรนด์แฟชั่นไปร่วมกับร้านค้าปลีกที่ใหญ่ อันดับต้นๆ ของสหรัฐอเมริกาอย่างออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ที่ใช้ภายในบ้าน ซึ่งผู้บริโภค จะหาจากที่อื่นไม่ได้ โดยคอลเลกชันนี้ออกแบบโดยเน้นความยั่งยืนเป็นสิ่งส�าคัญ อย่าง ชุดเครือ่ งแก้วทีท่ า� จากแก้วรีไซเคิล 3. การเป็นพันธมิตรกับแบรนด์ทมี่ คี วามยัง่ ยืนจะช่วยเพิม่ กลุ่มผู้บริโภคที่ใส่ใจ อย่างที่ ELVIS&KRESS แบรนด์ที่น�าวัสดุเหลือใช้มาออกแบบเป็นสินค้า ลักซ์ชวั รี่ ร่วมมือกับ BURBERRY โดยน�าเศษหนังทีไ่ ม่ได้ใช้งานของ BURBERRY กว่า 120 ตัน มาสร้างสรรค์สินค้าใหม่ๆ และ 4. ไม่มีใครเล็กเกินไปที่จะสร้างความแตกต่าง โดยแบรนด์ แฟชั่นอย่าง RAEBURN ตัดสินใจเข้าพบ TIMBERLAND เพราะต้องการเปลี่ยนแปลงแบรนด์ ของตัวเองให้เป็นสินค้าเอาต์ดอร์ (Outdoor) ระดับโลก ซึ่งขณะนั้น TIMBERLAND เอง ก็ต้องการยกระดับแบรนด์ให้มีความเกี่ยวข้องต่อการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม มากขึ้นพอดี จึงเกิดการร่วมมือกันพัฒนาสินค้าใหม่โดยใช้วัสดุเหลือใช้อย่างผ้าจากร่มชูชีพ จากกองทัพหรือเสื้อทหารเก่ามาเป็นวัตถุดิบในการผลิต

LEVI’S X TARGET ภาพ : sourcingjournal.com

ด้าน มร.เซบาสเตียน มาลวิลล์ สตูดิโอ ครีเอทีฟ ไดเร็คเตอร์ จาก ยาคอบ เยนเซ่น ดีไซน์ (Jacob Jensen Design l KMUTT Bangkok) สตูดิโอผู้ให้บริการทางด้านดีไซน์ โซลูชันครบวงจรจากเดนมาร์ก ให้มุมมองว่า การจะเป็น BCG ได้นั้นไม่ใช่แค่งานดีไซน์ แต่ เป็นธุรกิจทั้งหมด ที่ผ่านมาอาจจะด�าเนินธุรกิจที่มองแค่การเติบโตแบบแนวราบ (Linear Growth) คือการมองที่เม็ดเงินและผลก�าไร แต่ BCG นั้นจะต้องมองถึงการเติบโตแบบ หมุนเวียน (Circular Growth) คือการเติบโตในทุกมิติพร้อมๆ กัน ทั้งคน สิ่งแวดล้อม และ ผลประกอบการ ที่ส�าคัญคือ BCG Model ไม่สามารถท�าคนเดียวได้ จะต้องดึงผู้ที่เกี่ยวข้อง ในห่วงโซ่ธุรกิจมาร่วมมือด้วย โดยมีเป้าหมาย (Purpose) ชัดเจนในทางเดียวกัน ไม่ไขว้เขว ไปกับโอกาสสั้นๆ ที่ผ่านเข้ามา พร้อมกันนี้ มร.เซบาสเตียน ยังชวนให้ผู้ประกอบการได้ตั้งค�าถามกับตัวเองก่อนที่จะ เริ่มท�าธุรกิจในรูปแบบ BCG Model หรือก่อนออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยอ้างอิงจากข้อมูลของ Nike Circular Design ซึ่งสรุปได้ 10 ค�าถาม ดังนี้

มร.เซบาสเตียน มาลวิลล์ (Sebastien Maleville)

สตูดิโอ ครีเอทีฟ ไดเร็คเตอร์ จาก Jacob Jensen Design l KMUTT Bangkok เนื่องจาก BCG Model ค่อนข้างเกี่ยวข้องกับวัสดุ (Material) ที่ เลือกใช้ ให้ถามตัวเองว่า Benchmark หรือเกณฑ์มาตรฐานของ การใช้วัสดุคืออะไร เมือ่ เลือกวัสดุได้แล้ว ให้พจิ ารณาต่อว่าส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ได้น้อยจริงๆ หรือไม่ หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเลือกใช้ทรัพยากรที่น�ากลับมาใช้ ใหม่ได้ เช่น โพลีเอสเตอร์ โฟม เหล็ก ให้ถามต่อไปว่า แล้วหาก แยกชิ้นส่วนออกมาแล้ว ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นจะน�าไปรีไซเคิลได้ไหม วัสดุที่เลือกมาใช้นั้นจะเพิ่มความทนทานหรือยืดอายุการใช้งาน ของสินค้าได้อย่างไร ท�าอย่างไรทีจ่ ะออกแบบสินค้าทีใ่ ช้เส้นใยธรรมชาติ วัสดุจากชีวภาพ หรือวัสดุสังเคราะห์ที่ลดการสร้างคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) หรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้น้อยที่สุด ลองมองออกไปนอกเหนือจากธุรกิจของตัวเองหรือในธรรมชาติ ว่ามีอะไรที่น�ามาใช้กับการออกแบบได้อีก 33

การผสมผสานวัสดุต่างๆ นั้นไปจ�ากัดหรือเป็นอุปสรรคต่อการ รีไซเคิลหรือไม่ การออกแบบผลิตภัณฑ์นั้นจะหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่เป็นพิษ ได้อย่างไร ในห่วงโซ่การผลิตที่มีอยู่นั้น ไม่ว่าจะเป็นผู้ค้า ผู้ผลิต หรือภายใน โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่มีอยู่ ยึดมั่นในแนวทางปฏิบัติของการ หมุนเวียนหรือความยั่งยืนเช่นเดียวกันใช่ไหม ควรจะเริ่ ม วางแผนตั้ ง แต่ ก ารออกแบบเลยว่ าผลิตภัณ ฑ์จะมี Second Life ได้อย่างไร คือหากไม่ใช้คุณสมบัติของการเป็น ผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้แล้วจะสามารถน�าไปท�าอะไรได้บ้าง และจะท�าให้ ลูกค้าเข้าใจจากฉลากบรรจุภัณฑ์ (Packaging) ได้อย่างไร โครงการพัฒนาสินค้าไลฟ์สไตล์ใหม่สา� หรับงานแสดงสินค้า STYLE Bangkok ปีที่ 2 ได้เริ่มด�าเนินการแล้วอย่างเข้มข้นในรูปแบบออนไลน์ 100% เพือ่ ผลักดันให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างแบรนด์สนิ ค้าไลฟ์สไตล์/ แฟชั่นของไทย ในการพัฒนาและสร้างสรรค์สินค้าไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ สู่ ตลาดโลก

GreenNetwork4.0 July-August

2021


z

Logistics กองบรรณาธิการ

ดีเอชแอล ซัพพลายเชน

เปิดตัวรถขนส่งแบบควบคุมอุณหภูมิในไทย ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ลดการปล่อย CO2

ดีเอชแอล ซัพพลายเชน ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ชนั้ น�าระดับโลก เปิดตัวรถขนส่งแบบควบคุมอุณหภูมใิ นประเทศไทย โดยใช้เทคโนโลยี TRAiLAR ซึ่งเป็นเทคโนโลยีพลังงานจากแสงอาทิตย์ที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม ช่วยลดการใช้เชือ้ เพลิง การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และค่าใช้จ่ายในการบ�ารุงรักษา อีกทั้งยังสามารถควบคุมอุณหภูมิได้ 2 แบบภายในคันเดียว และรับน�้าหนักได้มากถึง 12,500 กิโลกรัม ต่อคัน จึงสามารถขนส่งได้ทั้งผลิตภัณฑ์แช่เย็นและแช่แข็ง เช่น เนื้อสัตว์และผัก การเพิ่ ม รถขนส่ ง แบบควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ใ นครั้ ง นี้ ส่ ง ผลให้ ปัจจุบันดีเอชแอลมีรถที่ติดตั้งเทคโนโลยี TRAiLAR เพื่อการขนส่ง สินค้าทั่วประเทศรวมกว่า 40 คัน โดยแต่ละคันได้ติดตั้งแผงพลังงาน แสงอาทิตย์แบบบางพิเศษไว้บนหลังคาที่เชื่อมต่อกับระบบควบคุม การชาร์จแบบอัจฉริยะ สตี ฟ วอล์ ค เกอร์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร ดี เ อชแอล ซัพพลายเชน กลุ่มธุรกิจประเทศไทย (ไทย เวียดนาม กัมพูชา และ เมียนมา) กล่าวว่า การลงทุนในเทคโนโลยีอุตสาหกรรมชั้นน�าเพื่อ การขนส่งนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ของเราในการน�าเสนอโซลูชนั รถขนส่งเพื่อความยั่งยืนที่ดีที่สุดเพื่อตอบสนองความต้องการทาง ธุรกิจของลูกค้าที่เปลี่ยนไป การเพิ่มรถขนส่งในครั้งนี้ท�าให้มั่นใจว่า เราจะขนส่งสินค้าบนท้องถนนได้ดีขึ้น และช่วยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ในเวลาเดียวกัน

34

รถขนส่งนี้ถือเป็นโครงการริเริ่มล่าสุดเพื่อบรรลุเป้าหมายการลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นศูนย์ ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจ การด�าเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ESG ทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ บรรษัทภิบาล นอกจากการรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม รถขนส่ ง แต่ ล ะคั น ถู ก ติ ด ตั้ ง แผงพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ บบบางพิ เ ศษไว้ บ นหลั ง คาและเชื่ อ มต่ อ กั บ แบตเตอรี่ หรือแบตเตอรี่เสริมภายในเครื่องยนต์ ซึ่งช่วยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 15% แล้ว รถขนส่งแบบควบคุมอุณหภูมิดังกล่าว ยังช่วยเพิ่มความปลอดภัยทางถนนและการจัดการยานพาหนะ โดยผู้ขับ รถขนส่งจะได้รับความปลอดภัยมากขึ้นจากกล้องที่ติดภายในรถ ซึ่งจะช่วย ตรวจสอบพฤติกรรมการขับรถและป้องกันอันตรายจากการปฏิบตั งิ าน และ Telematics ช่วยให้ลูกค้าสามารถตรวจสอบต�าแหน่งและพฤติกรรมของ ผู้ขับรถได้แบบเรียลไทม์ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายการจราจรทางบก และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนเส้นทาง เพื่อประหยัดเชื้อเพลิงและ ลดต้นทุนการขนส่งอีกด้วย ดีเอชแอล มุง่ มัน่ ลดการปล่อยมลพิษทีเ่ กีย่ วข้องกับโลจิสติกส์ทงั้ หมด ภายในปี ค.ศ. 2050 โดยเมื่อเร็วๆ นี้ทางบริษัทฯ ได้ประกาศลงทุนจ�านวน 7 พันล้านยูโร (ประมาณ 2.62 แสนล้านบาท) ทั่วโลก ในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้า ส�าหรับมาตรการต่างๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายโซลูชันโลจิสติกส์ ที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ

GreenNetwork4.0 July-August

2021




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.