Electricity & Industry Magazine Issue November - December 2021

Page 1












CONTENTS NOVEMBER-DECEMBER

2021

IEEE POWER & ENERGY SOCIETY THAILAND (IEEE PES-THAILAND) 16 Flexibility and Enabling Technologies

for Deregulated Market

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

28

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)

18 20 22 24 26

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ARTICLE 31 การ์ทเนอร์ชี้รายได้จากบริการโครงข่าย 5G ทั่วโลก

จะโต 39% ในปี 2021 ไมเคิล โพโรสกี้, บริษัท การ์ทเนอร์ 34 ยูนิเวอร์ซัล โรบอท...ระบบอัตโนมัติแบบมีส่วนร่วม ยูนิเวอร์ซัล โรบอท 37 เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเสริมแกร่งให้แก่ประเทศไทย จากหัวเว่ย บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี จ�ำกัด (ประเทศไทย) 40 ไมโครชิป FPGAs ระดับกลางก้าวสูข่ ด ี ความสามารถ รูปแบบ Edge Computing ขั้นถัดไป บริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี จ�ำกัด 42 พลิกโฉม 360 องศา ประสบการณ์ความตืน่ เต้นเร้าใจ ของการดูกีฬาไปกับเทคโนโลยี 5G นาดีน อัลเลน, บริษัท อีริคสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด 44 “การจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ” ช่วยสร้าง ความยั่งยืนแก่ธุรกิจและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สุวรรณี สิงห์ฤาเดช, บริษัท ซีเมนส์ ประเทศไทย จ�ำกัด 46 การเปรียบเทียบประสบการณ์การใช้งาน 5G ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก Opensignal

SCOOP

OMRON ส่งโซลูชันใหม่พลิกโฉม Industry 4.0 กองบรรณาธิการ

48 AIS Business 5G ลงนาม MOU ผนึกก�ำลัง

SPECIAL SCOOP 50 5G Smart Manufacturing Solutions

พร้อมใช้งานจริง เพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรมไทย ตามนโยบาย Thailand 4.0 กองบรรณาธิการ

SPECIAL AREA 53 การน�ำเทคโนโลยีช่วยเพิ่มความปลอดภัยให้มากขึ้น

เพื่อป้องกันอัคคีภัย บริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จ�ำกัด 56 Universal Process Display ITP14 บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด 58 Vacuum Technology for Contactor เทคโนโลยีสุญญากาศส�ำหรับคอนแทคเตอร์ บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด IT ARTICLE 62 ผู้บริหารไอทีจะปิดช่องโหว่พร้อมน�ำเสนอ

ประสบการณ์ดจิ ทิ ลั ทีล่ น่ื ไหลกว่าแก่ลกู ค้าได้อย่างไร? มาร์ค วีเซอร์, OutSystems 66 ความปลอดภัยของการท�ำงานรูปแบบไฮบริด ในปัจจุบัน ปีเตอร์ แชมเบอร์ส, บริษัท AMD ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และประเทศญี่ปุ่น 69 PRODUCT 70 PR NEWS 72 INDUSTRY NEWS

November-December 2021


egs@pea.co.th

http://sbu.pea.co.th


EDITOR TALK

NOVEMBER-DECEMBER

2021

สถานการณ์การระบาดของเชือ้ ไวรัส COVID-19 ในภาพรวมทัว่ โลกนัน้ ยังคงมีความน่ากังวลอยูม่ าก ทัง้ นี้ สถานการณ์ในประเทศไทย แม้ตัวเลขของผู้ติดเชื้อจะลดลงนับหมื่นราย แต่ถึงอย่างไรก็ตาม การปฏิบัติให้ถูกหลักสุขอนามัยที่ดียังคงเป็นสิ่งที่ทุกคนควรปฏิบัติ อย่าง การใส่หน้ากากอนามัย หมั่นล้างมือ กินช้อนแยก เว้นระยะห่าง และหลีกเลี่ยงสถานที่แออัด ซึ่งนี่เป็นสิ่งที่เราย�้ำกันมาตลอดอยู่แล้ว ถึงความจ�ำเป็นที่ต้องท�ำเพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชนคนไทยทุกคน Electricity & Industry Magazine ฉบับนี้ยังคงมีเนื้อหาที่น่าสนในมากมายเช่นเดิม ในคอลัมน์ Article บริษัท การ์ทเนอร์ น�ำเสนอ บทความเกีย่ วกับรายได้จากบริการโครงข่าย 5G ทัว่ โลก จะโต 39% ในปี 2021 และ ยูนเิ วอร์ซลั โรบอท...ระบบอัตโนมัตแิ บบมีสว่ นร่วม เขียนโดย ยูนเิ วอร์ซลั โรบอท ในส่วนของบริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี จ�ำกัด (ประเทศไทย) เขียนบทความเรือ่ ง เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ เสริมแกร่ง ให้แก่ประเทศไทยจากหัวเว่ย และบทความเรื่อง ไมโครชิป FPGAs ระดับกลางก้าวสู่ขีดความสามารถรูปแบบ Edge Computing ขั้นถัดไป โดยบริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี จ�ำกัด ในส่วน พลิกโฉม 360 องศา ประสบการณ์ความตื่นเต้นเร้าใจของการดูกีฬาไปกับ เทคโนโลยี 5G น�ำเสนอโดย นาดีน อัลเลน ประธาน บริษัท อีริคสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด พร้อมกันนี้เรื่องของ “การจัดการพลังงานไฟฟ้า อัจฉริยะ” ช่วยสร้างความยั่งยืนแก่ธุรกิจและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เขียนโดย สุวรรณี สิงห์ฤาเดช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและซีอีโอ บริษทั ซีเมนส์ ประเทศไทย จ�ำกัด และบทความจาก Opensignal ได้นำ� เสนอเรือ่ ง การเปรียบเทียบประสบการณ์การใช้งาน 5G ในภูมภิ าค เอเชีย-แปซิฟิก ก็น่าสนใจเช่นกัน IT Article ในฉบับนี้มีเรื่องที่น่าสนใจ คือ บทความจาก มาร์ค วีเซอร์ รองประธานประจ�ำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ของ OutSystems เรือ่ ง ผูบ้ ริหารไอทีจะปิดช่องโหว่ พร้อมน�ำเสนอประสบการณ์ดจิ ทิ ลั ทีล่ น่ื ไหลกว่าแก่ลกู ค้าได้อย่างไร? เพือ่ เพิม่ ความคล่องตัวให้กบั ธุรกิจ ซึง่ จะช่วยแก้ไขปัญหาช่องว่างระหว่างสิง่ ทีอ่ งค์กรธุรกิจเชือ่ ว่าตนเองก�ำลังน�ำเสนอกับประสบการณ์จริงทีล่ กู ค้าได้รบั รวมไปถึงการตอบสนอง ทีร่ วดเร็วอย่างทีล่ กู ค้าต้องการได้อย่างตรงตามจุดประสงค์ ส่วน ปีเตอร์ แชมเบอร์ส กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั AMD ภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ และ ประเทศญีป่ นุ่ ได้นำ� เสนอบทความเรือ่ ง ความปลอดภัยของการท�ำงานรูปแบบไฮบริดในปัจจุบนั เนือ่ งจากในปัจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลง รูปแบบการท�ำงานที่มีความหลากหลายมาก จากเดิมที่จะต้องนั่งท�ำงานจากออฟฟิศเท่านั้น เพื่อให้พนักงานสามารถท�ำงานได้ในรูปแบบ ไฮบริดหรือระยะไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะเป็นการด�ำเนินงานที่มีความส�ำคัญและมีความเสี่ยงหลายประการ เป็นสิ่งส�ำคัญที่ธุรกิจ ต้องประเมินความต้องการให้สามารถตอบโจทย์ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อน�ำมาลงทุนด้านเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสม จัดหาเครื่องมือ ที่จ�ำเป็นและมีความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานไม่ว่าพนักงานจะอยู่ที่ใด พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ เรืองติก / ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : กรรณิการ์ ศรีวรรณ์ November-December 2021

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของ ผู้เขียน ไม่มีส่วนผูกพันกับ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด แต่อย่างใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่า มีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือได้ผ่านการตรวจทานอย่างถี่ถ้วนเพื่อให้เกิดความถูกต้องและ สมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์



สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy SocietyThailand Chapter ได้จัดงานสัมมนาออนไลน์เรื่อง “Flexibility and Enabling Technologies for Deregulated Market” โดยระบบ Zoom Application ทั้งนี้ ได้เรียนเชิญ Thomas Polliand, Digital Grid Regional Sales, East & Southeast Asia Schneider Electric และ Nattavadee Treetipakit, Electrical Engineer 6, Electrical System Planning Division, Power System Planning and Smart Grid Department, Metropolitan Electricity Authority (MEA) โดยมี รศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ Department of Electrical and Computer Engineering Thammasat University ท�ำหน้าที่ เป็น Session Chairman งานสัมมนาออนไลน์ดังกล่าว

รศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์

Thomas Polliand

ปัจจุบันนี้มีแหล่งก�ำเนิดพลังงานไฟฟ้าที่กระจายตัว มากขึ้น ท�ำให้ผู้ใช้ไฟฟ้าเข้าถึงพลังงานไฟฟ้าได้ง่ายมากขึ้น จากแต่ก่อนจะมีโรงผลิตพลังงานที่ไกลจากชุมชน แล้วค่อย ขนส่งเข้ามา ช่วงหลังนีจ้ ะเห็นได้วา่ พลังงานหมุนเวียนมีจำ� นวน มากอยูใ่ กล้กบั ภาคส่วนบริโภคมากขึน้ ด้วยระบบเช่นนีท้ ำ� ให้ ระบบพลังงานไฟฟ้าโดยรวมที่เปลี่ยนไป เพราะผู้ใช้ไฟฟ้า ก็สามารถที่จะผลิตไฟฟ้าและสามารถขายพลังงานไฟฟ้าได้ ซึง่ ก็มหี ลายๆ ทีส่ ามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้มากพอทีจ่ ะจ่าย ให้เพียงพอต่อความต้องการของโหลดในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ได้ จนเกิดเป็น สังคมหรือสิง่ แวดล้อมทีจ่ ดั การพลังงานต่างๆ ด้วยเทคโนโลยี ระบบดิจิทัล ในที่นี้จะพูดถึง Virtual Power Plant ซึ่งก็คือ การมีแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าทีก่ ระจายตัวอยูห่ ลายๆ แหล่ง

November-December 2021

Nattavadee Treetipakit

อีกทั้งยังสามารถดึงพลังงานจากส่วนต่างๆ มาใช้ได้ผ่านระบบ การจัดการ ในขณะเดียวกัน ถ้ามีการจัดการโหลดทีด่ ใี นส่วนของการบริโภค พลังงานนัน้ ซึง่ หมายความว่าจะมีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าทีน่ อ้ ยลง ดังนั้นจะท�ำให้มีการผลิตพลังงานไฟฟ้าที่น้อยลงตามไปด้วย ซึ่งเป็นผลดี ในแผน PDP2018 Revision 1 ได้มีการก�ำหนดสัดส่วนพลังงาน หมุนเวียนไว้ในปี ค.ศ. 2037 ไว้ที่ 28,004MW โดยมีสัดส่วนของ Solar ที่ 12,029 โดยไม่ได้รวมกับตัว Floating Solar ก็จะเห็นว่าในอนาคตจะมี สัดส่วนเพิ่มขึ้นจากเดิม ในส่วนของปัจจัยด้านราคาของ Solar PV โดยมี อ้างอิงจาก Bloomberg NEF ว่าในปี ค.ศ. 2013 PV มีตน้ ทุนการผลิตไฟฟ้า ต่อหน่วยอยู่ที่ 152 USD/MWh ในปี ค.ศ. 2021 จะอยู่ที่ 48 USD/MWh และยังมีข้อมูลอีกว่าการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยของเทคโนโลยี Battery Storage ในปี ค.ศ. 2013 อยูท่ ่ี 787 USD/MWh และในปี ค.ศ. 2021 อยูท่ ่ี


The Renewable Energy Generation Capacity in MEA

MEA Power Distribution System Improvement and Expansion Project 13th

Prosumer & Driving Factors

Load Density in MEA with RE Location

138 USD/MWh และในประเทศไทยต้นทุนในการ ติดตั้ง PV จะอยู่ที่ช่วง 30,000-50,000 บาท/kW เนื่องจากต้นทุนของ PV ที่ลดลงอาจจะท�ำให้ ผู้ใช้ไฟฟ้าหันมาติดตั้ง Solar Rooftop มากขึ้น ซึง่ อาจจะท�ำให้เกิดผูใ้ ช้ไฟฟ้าอีกประเภทหนึง่ เรียกว่า Prosumer ซึ่งมาจาก Producer และ Consumer คือผูใ้ ช้ไฟฟ้าทีม่ ไี ฟทีเ่ หลือจากการผลิตและใช้เอง ไหลย้อนกลับมาเข้าสู่ระบบ ส่วนที่ผลิตเหลือใช้ อาจจะขายคืนเข้าสูร่ ะบบ จากแนวโน้มของตัว PV ในพื้นที่ของ MEA จะมีโรงไฟฟ้าประเภท RE มี Solar PV ที่ 99.8% โดยผลกระทบของโรงไฟฟ้า RE ที่อยู่ในพื้นที่ที่มี Load Density ที่ต�่ำ จะท�า ให้เกิดแรงดันสูงในบางช่วงเวลาได้ ดังนั้น สัดส่วนของโรงไฟฟ้าประเภท RE ในพื้นที่ MEA มีเชื้อเพลิง 3 ประเภท คือ Mini Hydro 1MW 2 ราย เชื้อเพลิงขยะ 32MW 6 ราย และ Solar 210MW 3,488 ราย ซึ่งในส่วนของ Solar แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ เป็น Solar Farm 47MW 11 ราย โดยจะเชื่อมต่อกับระดับแรงดัน กลางขึน้ ไป Self-Consumption 106MW 650 ราย และ Solar Rooftop 58MW 2,827 ราย ซึง่ จะเห็นว่า มีการผลิตไฟฟ้ามากขึ้นจากบ้านที่อยู่อาศัย ทั้งนี้ MEA ได้ก�ำหนดแผนงานไว้ในแผน โครงการปรั บ ปรุ ง และขยายระบบจ� ำ หน่ า ย พลังงานไฟฟ้าระยะที่ 13 โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนตามระดับแรงดัน โดยในส่วนแรกคือ HV จะมีการพัฒนาระบบ SCADA และ Substation Automation เพื่อมาบริหารจัดการในระบบส่ง ส่วนที่ 2 คือ MV จะมีการติดตั้ง AMI กับลูกค้า ประเภทอุตสาหกรรม และส�ำหรับผู้ใช้ไฟ EV Station พัฒนา Distribution Management System และ ESS ส่วนที่ 3 คือ LV จะน�ำ Smart Meter มาใช้กับผู้ใช้ไฟทั่วไปและจะเก็บข้อมูลการใช้ไฟ เพื่อไปต่อยอดวางแผนในระบบจ�ำหน่าย และ มีการน�ำหม้อแปลง On Load Tap Changer มาใช้ ในระบบจ�ำหน่ายเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงของ แรงทีเ่ กิดขึน้ จากการเชือ่ มต่อ Solar หรือเกิดจาก การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าในอนาคต และมี ก ารพั ฒ นาติ ด ตั้ ง Transformer Load Management เป็นอุปกรณ์ที่จัดเก็บข้อมูลการ จ่ายไฟฟ้าของหม้อแปลงจ�ำหน่ายในปี ค.ศ. 2027

November-December 2021


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมกับ กระทรวงพลังงาน และหน่วยงานด้านพลังงานชั้นน�ำทั้งใน และต่างประเทศ โชว์ศักยภาพนวัตกรรมพลังงาน น�ำคนไทย ขับเคลื่อนอาเซียนก้าวสู่พลังงานแห่งอนาคต มุ่งสู่ยุคของ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ หรือ Net Zero ในงาน “Future Energy Asia 2021” (FEA2021) นิทรรศการและ การประชุมด้านพลังงาน โดยได้รบั เกียรติจาก กุลศิ สมบัตศิ ริ ิ ปลัดกระทรวงพลังงาน เป็นประธานในพิธเี ปิด และในโอกาสนี้ ผู้ว่าการ กฟผ. ได้ร่วมบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Thai Power Address : Accelerating the Integration of Renewables into the Energy Mix”

November-December 2021

บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้ว่าการ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย กล่าวว่า ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ การผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ ต ่ า งไปจากรู ป แบบเดิ ม ก�ำลังเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมพลังงาน โดย พลั ง งานหมุ น เวี ย นมี บ ทบาทเพิ่ ม ขึ้ น เห็ น ได้ จ าก แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561-2580 (AEDP2018) เพิม่ สัดส่วนพลังงานหมุนเวียนให้สงู ขึน้ เป้าหมายอยูท่ ี่ 18,696 เมกะวัตต์ ภายในปี พ.ศ. 2580 คิดเป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงาน ทัง้ หมด ซึง่ ประกอบด้วย พลังงานแสงอาทิตย์ โซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ ชีวมวล ชีวภาพ ลม และอื่นๆ เช่น ขยะ พลังน�้ำขนาดเล็ก กฟผ. ตระหนักถึงความส�ำคัญและพร้อมที่จะผลักดันให้เกิดการ เปลี่ยนผ่านด้านพลังงานให้เป็นไปอย่างราบรื่น มุ่งหวังสร้างสังคมสีเขียว ให้กับอนาคต โดยได้ด�ำเนินโครงการโรงไฟฟ้าไฮบริด ซึ่งผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังน�้ำที่เขื่อนสิรินธร ขนาด 45 เมกะวัตต์ ถือเป็นโครงการโซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ แบบไฮบริดทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก โดยน�า ระบบ Energy Management System มาใช้ควบคุมและบริหารจัดการ ช่วยเพิ่มเสถียรภาพให้แก่พลังงานหมุนเวียน ซึ่ง กฟผ. ยังมีแผนพัฒนา โครงการเช่นนีใ้ นอีก 9 เขือ่ นทัว่ ประเทศ โดยมีเป้าหมาย 2,725 เมกะวัตต์ ภายในปี พ.ศ. 2580 รวมถึงโครงการ Wind Hydrogen Hybrid ทีส่ ง่ ผลให้ ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียทีน่ ำ� ระบบการกักเก็บพลังงาน ไฟฟ้าจากกังหันลมมาใช้ในการผลิตไฟฟ้าร่วมกับเทคโนโลยีเซลล์เชือ้ เพลิง (Fuel Cell) ซึ่งเก็บพลังงานไฟฟ้าในรูปแบบก๊าซไฮโดรเจน โดยไฟฟ้าที่ ผลิตได้จากโครงการน�ำร่องถูกน�ำไปใช้ที่ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ล�ำตะคอง จังหวัดนครราชสีมา กฟผ. ได้ดำ� เนินการพัฒนาโครงข่ายระบบส่ง (Grid Harmonization Framework) ซึง่ ครอบคลุมการพัฒนา 3 ด้าน ได้แก่ ปรับปรุงระบบส่งและ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ (Grid Modernization) เช่น ศูนย์พยากรณ์ พลังงานหมุนเวียน (RE Forecast Center) ปรับปรุงโรงไฟฟ้าเพื่อรองรับ พลั ง งานหมุ น เวี ย นและลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก และส่ ง เสริ ม การเชือ่ มโยงระบบไฟฟ้าในภูมภิ าค เพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือด้านพลังงาน ระหว่างประเทศ กฟผ. พัฒนาเทคโนโลยีและมุ่งหวังที่จะสร้างระบบ โครงข่ายไฟฟ้าแห่งอนาคตเพือ่ ประโยชน์ของทุกฝ่าย ดังแนวคิด “EGAT for ALL” กฟผ. เป็นของทุกคน เพื่อทุกคน นอกจากนี้ ภายในงานฯ กฟผ. ได้รว่ มจัดแสดงนิทรรศการออนไลน์ (Virtual Exhibition) ภายใต้แนวคิด “EGAT SMART ENERGY SOLUTIONS FOR ALL” เช่น โครงการทดสอบนวัตกรรมที่นำ� เทคโนโลยีมาสนับสนุน การให้บริการพลังงาน (ERC Sandbox) การพัฒนาระบบพิกดั ทางราบและ ทางดิ่ง เพื่อสนับสนุนการท�ำเหมืองเปิดถ่านหินลิกไนต์แม่เมาะ อุปกรณ์ ชาร์จรถอีวีในบ้าน (EGAT Wall Box) และการซื้อขายสิทธิการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Certificate : REC), EGAT EV Business Solutions รวมถึงระบบบริหารจัดการพลังงาน (EGAT’s Smart Energy Solution : ENZY) เป็นต้น


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้จัดงานสัมภาษณ์พิเศษ “ASEAN Utilities and Age of Transformation” ในการประชุม ด้านพลังงานและการแสดงนิทรรศการพลังงานที่ส�ำคัญแห่งอาเซียน ASEAN Energy Business Forum 2021 (AEBF2021) ซึ่งจัดขึ้นโดย ศูนย์พลังงานอาเซียน (ASEAN Centre for Energy : ACE)

บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้ว่าการการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กล่าวว่า หลังจากประเทศไทย ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาโครงการโซลาร์เซลล์ ลอยน�้ำแบบไฮบริดที่ใหญ่ที่สุดในโลก (Hydro Floating Solar Hybrid) ก�ำลังผลิต 45 เมกะวัตต์ ซึง่ จะจ่ายไฟฟ้า เข้าระบบเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date : COD) ภายในปี พ.ศ. 2564 และภายใน 10 ปีข้างหน้า กฟผ. ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ด� ำ เนิ น การอี ก 15 โครงการ ในพืน้ ทีเ่ ขือ่ น 8 แห่ง ซึง่ มีกำ� ลังผลิตรวม 2,680 เมกะวัตต์ เพื่อเป็นการสนับสนุนเป้าหมาย Carbon Neutrality ของโลก กฟผ. เตรียมพัฒนาพลังงานหมุนเวียน 24 ชัว่ โมง ในรูปแบบ Solar-Hydro-Battery Energy Storage (SHB) ที่ได้น�ำแบตเตอรี่มาเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน หมุนเวียน ด้วยราคาของแบตเตอรีแ่ ละแผงโซลาร์เซลล์ ที่ลดลงในอนาคต จะส่งผลดีต่อต้นทุนโครงการ แม้ ว ่ า การเติ บ โตของพลั ง งานหมุ น เวี ย น จะท�ำให้ระบบไฟฟ้ามีความซับซ้อน เนื่องจากความ ไม่ แ น่ น อนของปริ ม าณไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต จากพลั ง งาน หมุนเวียน แต่กส็ ร้างโอกาสในการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้า ให้มคี วามทันสมัย (Grid Modernization) ซึง่ จะช่วยรองรับ การเติบโตของพลังงานหมุนเวียนและช่วยยกระดับ ความมั่นคงของระบบไฟฟ้า โดย กฟผ. มีแผนพัฒนา

ศูนย์พยากรณ์การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน การปรับปรุงโรงไฟฟ้าให้มี ความยืดหยุ่น สถานีไฟฟ้าแรงสูงดิจิทัลและศูนย์ควบคุมสั่งการตอบสนองด้าน โหลด ระบบกักเก็บพลังงานจากแบตเตอรี่ และโรงไฟฟ้าเสมือนเพื่อให้พลังงาน หมุนเวียนมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การสร้างการเชือ่ มโยงระบบไฟฟ้าข้ามพรมแดนเป็นสิง่ ส�ำคัญ ที่ช่วยสนับสนุนการน�ำพลังงานหมุนเวียนเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบไฟฟ้า และเป็นภารกิจล�ำดับต้นๆ ของ กฟผ. ในช่วง 2-3 ปีขา้ งหน้า เพือ่ จะก้าวสูก่ ารเป็น ศูนย์กลางซือ้ ขายไฟฟ้าในภูมภิ าค และเพือ่ สนับสนุนการเติบโตของตลาดพลังงาน หมุนเวียน กฟผ. ได้นำ� กลไกตลาดพลังงานสีเขียวมาใช้ ซึง่ รูจ้ กั ในชือ่ ว่า ตลาดซือ้ ขาย ใบรับรองการผลิตพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Certificate : REC) ที่จะช่วยให้ผู้ผลิตและผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถอ้างสิทธิ์การผลิตและการใช้ไฟฟ้าจาก พลังงานหมุนเวียน รวมทั้งเพื่อดึงดูดการลงทุนจากบริษัทระดับโลก เพราะฉะนั้น ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน กฟผ. ในฐานะ องค์การผลิตไฟฟ้าระดับประเทศมีกลยุทธ์หลากหลายมิติ เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา พลังงานอย่างยั่งยืนด้วยเทคโนโลยีต่างๆ รวมถึงนโยบายและกลไกตลาด เรายืนยันว่าการเปลีย่ นผ่านด้านพลังงานจะเป็นไปอย่างราบรืน่ และอนาคตของ ระบบไฟฟ้าจะมีความมัน่ คงยิง่ ขึน้ ดังวิสยั ทัศน์ของ กฟผ. ทีว่ า่ นวัตกรรมพลังงาน ไฟฟ้าเพื่อชีวิตที่ดีกว่า November-December 2021


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

MEA รับมอบ 2 รางวัลเลิศรัฐ

จากผลงานบริการตอบสนอง สถานการณ์ COVID-19 การไฟฟ้านครหลวง ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ประจ�ำปี พ.ศ. 2564 จ�ำนวน 2 รางวัล ซึ่งได้รับเกียรติจาก วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานมอบให้กับ ผู้แทนการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA ที่ได้รับการประเมิน ผ่านเกณฑ์การรับรางวัลบริการภาครัฐ “ระดับดี” โดยมี วิลาศ เฉลยสัตย์ รองผูว้ า่ การ MEA รับมอบประเภทรางวัล ยกระดับบริการที่ตอบสนองต่อสถานการณ์ COVID-19 และ วีรวัจน์ บัวทอง รองผู้ว่าการ MEA รับมอบประเภท รางวัล ยกระดับการอ�ำนวยความสะดวกในการให้บริการ โดยพิธมี อบรางวัลในครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ โดยส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ผ่านระบบ Video Conference ถือเป็นความภาคภูมิใจของ MEA ที่พร้อมทุกสถานการณ์ และน� ำ นวั ต กรรมทั น สมั ย ยกระดั บ คุ ณ ภาพบริ ก ารเพื่ อ ประชาชนต่อไป MEA ในฐานะหน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย ให้บริการจ�ำหน่ายไฟฟ้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ มีความห่วงใยประชาชนในสถานการณ์ ปัจจุบัน จึงได้ให้ความส�ำคัญกับวิกฤตการณ์ COVID-19 อย่างต่อเนือ่ ง โดยมีภารกิจเร่งด่วนในด้านงานบริการ ซึง่ ต้อง น�ำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการท�ำงานทัง้ ภายในและภายนอก องค์กร เพือ่ ให้ผใู้ ช้ไฟฟ้ายังคงได้รบั การบริการได้อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้การด�ำเนินงานของ MEA มีทศิ ทางทีส่ อดคล้องกับการ ประเมินเกณฑ์การรับรางวัลบริการภาครัฐ ในประเภทรางวัล ยกระดับบริการที่ตอบสนองต่อสถานการณ์ COVID-19 ซึ่ง ทีผ่ า่ นมา MEA ได้จดั ท�ำระบบออนไลน์ MEA Smart Service เช่น ระบบ MEASY ที่รวมทุกบริการ ทั้งขอติดตั้งไฟฟ้าใหม่ ขอติดตั้งไฟฟ้าเพิ่มชั่วคราว ขอเพิ่ม-ลดขนาดเครื่องวัด หน่วยไฟฟ้า การขอคืนเงินประกันการใช้ไฟฟ้า ไปจนถึงการ ของดการใช้ไฟฟ้าชั่วคราว ก็สามารถรับบริการได้ง่ายยิ่งขึ้น ช่วยลดความหนาแน่นในการใช้บริการทีก่ ารไฟฟ้านครหลวง เขตต่างๆ ลดการสัมผัสใกล้ชิด

November-December 2021

นอกจากนี้ยังมีแอปพลิเคชันต่างๆ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ ประชาชน ไม่ว่าจะเป็น MEA Smart Life Application หรือน�ำระบบ Line MEA Connect ที่เข้าถึงประชาชนโดยง่ายและใช้งานสะดวก โดยสามารถ ตรวจสอบและช�ำระค่าไฟ แจ้งไฟฟ้าขัดข้อง ตลอดจนปรับเปลีย่ นงานบริการ ต่างๆ เพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ในรูปแบบ New Normal ทั้งในด้านการยกระดับคุณภาพงานบริการต่างๆ ในรูปแบบออนไลน์ เพื่อลดความเสี่ยงในการสัมผัสกระดาษ โดยเฉพาะ บริการ MEA e-Bill ให้ผู้ใช้ไฟฟ้ารับเอกสารในรูปแบบออนไลน์ ผ่านทาง SMS หรือ E-mail เพื่อลดการใช้กระดาษ พร้อมช่องทางการติดต่อผ่าน โซเชียลมีเดียต่างๆ ซึ่งทั้งหมดได้ขับเคลื่อนผ่านการก�ำหนดแนวนโยบาย ของศูนย์บญ ั ชาการคณะกรรมการจัดการวิกฤตการณ์ (Crisis Management Committee : CMC) โดยมีคณะผูบ้ ริหารพิจารณา ประเมินสถานการณ์เพือ่ จัดการเหตุฉกุ เฉิน และด�ำเนินการตามแผนความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ พร้อม วางนโยบายและแนวทางต่างๆ เช่น การน�ำข้อมูล Big Data มาวิเคราะห์ ออกแบบบริการ สร้างนวัตกรรมใหม่ โดยน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลและ AI เข้า สนับสนุน ส่งเสริมการใช้บริการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์อีกด้วย ขณะที่การด�ำเนินงานที่ตอบสนองการประเมินเกณฑ์การรับรางวัล บริการภาครัฐ ในประเภทรางวัล ยกระดับการอ�ำนวยความสะดวกใน การให้บริการนั้น MEA ได้ด�ำเนินการภายใต้คู่มือส�ำหรับประชาชน ตาม พระราชบัญญัติการอ�ำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง ราชการ พ.ศ. 2558 โดยการลดขัน้ ตอนและระยะเวลาของงานบริการต่างๆ เช่น การคืนหลักประกันการใช้ไฟฟ้า การขอปักเสาพาดสายไฟฟ้า การขอ ย้ายเสา สาย และอุปกรณ์ การขอใช้ไฟฟ้าใหม่ การขอคืนเงินค่าบริการ และ การของดใช้ไฟฟ้าชั่วคราว เป็นต้น ซึ่งการลดขั้นตอนดังกล่าวได้ส่งผลเชิงบวกต่อประชาชนในการ เสียค่าบริการทีล่ ดลง แต่สามารถรับบริการได้รวดเร็วมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ การให้บริการผ่านระบบออนไลน์ยังเป็นส่วนเสริมที่ช่วยให้การท�ำธุรกรรม การคืนเงินประกันการใช้ไฟฟ้า สามารถคืนเงินให้กบั ประชาชนได้เป็นจ�ำนวน มากถึง 5,226 ล้านบาท ภายในระยะเวลา 3 เดือนแรกที่เริ่มเปิดให้บริการ ซึ่งช่วยเสริมสภาพคล่องให้ประชาชนและระบบเศรษฐกิจของประเทศ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 อีกด้วย


การไฟฟ้านครหลวง

การไฟฟ้านครหลวง ได้จดั งาน MEA Hackathon for Smart Energy 2021 Theme : IoT Solutions for Smart Energy System การแข่งขันนวัตกรรม ด้านการขับเคลื่อนพลังงานอัจฉริยะ ได้รับเกียรติจาก กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA เป็นประธานเปิดงาน โดยมีการจัดงาน ในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM โดยเป็นความ ร่วมมือของการไฟฟ้านครหลวง คณะวิศวกรรมศาสตร์ และอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) มีจุดประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้กับผู้ท่ีสนใจ นิสิต นักศึกษา นักคิด นักประดิษฐ์ และบุคคลทั่วไป ได้เข้าร่วมแข่งขันพัฒนาทักษะ ระดมความคิดสร้างสรรค์ แนวทางการพัฒนา Solution “ผลิตภัณฑ์ 4.0 เทคโนโลยี นวัตกรรม น�ำไทย” นอกจากนี้ ภายในงานยั ง ได้ เรี ย นรู ้ Value Proposition และเทคนิคการน�ำเสนอ Pitching จาก วิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญและทรงคุณวุฒิ ตรีชติ เมธารัตนโชต CEO บริษัท มีผักดี จ�ำกัด และที่ปรึกษาเฉพาะทาง ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ เพือ่ น�ำมาต่อยอดศึกษา วิจัย พัฒนาร่วมกันให้เกิดประโยชน์ต่อประชนชาชน และประเทศชาติตอ่ ไป โดยคัดเลือก 5 ทีม จากทัง้ หมด 16 ทีม เพื่อรับทุนพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ ทีมละ 80,000 บาท

ซึ่ง 5 ทีมที่ได้รับการคัดเลือกเพื่อรับทุนพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ ทีมละ 80,000 บาท ได้แก่ • ทีม Demolution ผลงานคือ ผลิตภัณฑ์ทม่ี กี ารแจ้งเตือนเมือ่ เกิดการลัดวงจร และทราบต�ำแหน่งที่เกิดการลัดวงจร • ทีม Royal Flush ผลงานคือ ระบบตรวจจับและท�ำนายต�ำแหน่งทีม่ โี อกาส เกิดการช�ำรุดของสายไฟเนื่องจากอุบัติเหตุต่างๆ • ทีมเจนใหม่ไฟแรงเวอร์ ผลงานคือ อุปกรณ์กนั กระแทกและแจ้งเตือนกรณี เกิดเหตุขดั ข้องส่วนน�ำจ่ายไฟฟ้าจากอุบตั เิ หตุบนท้องถนน และเสริมอุปกรณ์ ป้องกันสัตว์ทสี่ ร้างความเสียหายให้กบั ระบบน�ำจ่ายไฟฟ้ากับเสาไฟบนดิน • ทีม P2E ผลงานคือ เซนเซอร์เชือ่ มต่อบนอุปกรณ์ IoT ติดตัง้ กับหม้อแปลง ระบบจ�ำหน่าย • ทีม NOVA ผลงานคือ Smart Module ที่เอาไปติดบนตัว Inventor เพื่อให้ มันสามารถอ่านค่าปริมาณไฟฟ้าที่ Solar Cell ผลิตได้ ส�ำหรับ 5 ทีมทีผ่ า่ นการ คัดเลือก ต้องไปแข่งขันกันต่อ ในกิจกรรม Demo & Pitching ชิงเงินรางวัลรวมมูลค่า 100,000 บาท รางวัลที่ 1 รับเงินรางวัล 50,000 บาท รางวัลที่ 2 รับเงินรางวัล 30,000 บาท รางวัลที่ 3 รับเงินรางวัล 20,000 บาท ทัง้ นี้ ขอแสดงความยินดีกบั ทัง้ 5 ทีมทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกเพือ่ รับทุนพัฒนา ต้นแบบผลิตภัณฑ์ และดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ https://www.facebook.com/ 1859184224362186/posts/2999430490337548/?d=n November-December 2021


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 26

GRID SPECIAL

GG III A 2226 G RRRISIIID D SCSPP PIPE EECC C AALL LL GGRR ID DDESS IA 26 E G66R I D P A LกCาร 26 26 เรือ ่ ง กองบรรณาธิ

ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนของสถานการณ์ต่าง ๆ ่ งท่ามกลางความเปลี การบริหารความต่อเนือ นแปลงและความไม่ อนของสถานการณ์ ่ย่ย ท่ า มกลางความเปลี มกลางความเปลี นแปลงและความไม่ แ อนของสถานการณ์ ต ่าานแน่ ่า่าง่างงงๆๆ น่นน อนของสถานการณ์ ่อ ่ย่ยนแปลงและความไม่ การบริ หหรหารความต่ ท่​่อ ามกลางความเปลี นแปลงและความไม่ ตต ๆๆวแน่ท่ีจะ ่อ การบริ เนือ ้กิ ที่อาจเกิด่ยร ขึนแปลงและความไม่ นได้ การไฟฟ้ าส่แวน่ นภู มแน่ิภ าค (PEA) ตั้งตปณิ ธๆ ท่ง าเนื มกลางความเปลี นอนของสถานการณ์ ่าง ต ่อ การบริ อองเนื เนื งง การบริ หารความต่ ารความต่ งทางธุ จ ของ PEA ่อ การบริ หารความต่ อเนือ ทางธุ กิารความต่ จของ PEA ่ ้ ่ ้ ที อ าจเกิ ด ขึ น ได้ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู ม ิ ภ าค (PEA) ตั ง ปณิ ธ านแน่ ว แน่ ท ี จ าจเกิดดขึขึ้น้นได้ ได้ การไฟฟ้ การไฟฟ้าาาส่ส่ส่วววนภู นภูมมิภิภาค ปณิธธ ธานแน่ านแน่วววแน่ แน่ ่ีจะะะะ ทีที่อ่อาจเกิ การไฟฟ้ นภู าค (PEA) (PEA) ตัตั้ง้งปณิ ปณิ านแน่ แน่ทท ท่ีจ่ีจ

เรืเรื อ ่ เรื กก อ ่​่ อ ง กองบรรณาธิ าร เรื ่ง กองบรรณาธิ อ ่ ง กองบรรณาธิ ง กองบรรณาธิ ก เรื อ ง กองบรรณาธิ การ าราร เรือ ่ ง กองบรรณาธิ การ

ทางธุ ทางธุ รกิกิกิจจจของ ของ PEA ทางธุ ของ PEA ทางธุ รกิจรรของ PEAPEA

่ ธงานแน่ ่ ให้ ่นมั บริการพลั งานไฟฟ้ ได้อย่างต่ เนือ โดยไม่ หท ยุ่ีจ ดะชะงัก จึงจัดท�า ที่อาจเกิดมุ ขึ้ง ได้น การไฟฟ้ าส่วงนภู มิภาค า(PEA) ตั้งอ ปณิ วแน่ ่น มุ ่ง ารพลั งานไฟฟ้ โดยไม่ ดชะงั ชะงั กดจึจึ จึงงงาง ่อ ่ก มุง ง ่ มั มัน น ให้ ให้ บ บริริริก ารพลั งง งงานไฟฟ้ งานไฟฟ้ าาาได้ ได้ อออย่ย่ ย่าเนื งต่ อ อ หหหยุยุยุดก ก ก จัจั ดด ท�ท� าาาา ่ งงโดยไม่ กการพลั ได้ าางต่ งต่ อเนื เนื โดยไม่ ด ชะงั ่ มุ ่ มั ให้ บ ารพลั ง งานไฟฟ้ ก จึ จัจั ดด ท�ท� ่ มุ ง ่ มั น ให้ บ ริ ารพลั ง งานไฟฟ้ า ได้ อ ย่ า งต่ อ อ ง โดยไม่ ห ยุ ด ชะงั จึ ง จั ท� ่ แผนป้ อ งกั น และการเตรี ยขึมความพร้ อส่มในการจั ด การภาวะวิ ก ฤต ท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงและความไม่แแผนป้ น่แผนป้ นอนของสถานการณ์ ต า ่ งๆ ที อ ่ าจเกิ ด น ้ ได้ การไฟฟ้ า ว นภู ม ภ ิ าค (PEA) ตั ง ้ ปณิ ธ านแน่ วแน่เพื่ อ ่ ออองกั งกัน และการเตรียย มความพร้ออ ดการภาวะวิ การภาวะวิ ฤต ฤต เพื และการเตรี ยยมความพร้ มความพร้ อมในการจั มในการจัดด การภาวะวิกก ฤตเพื เพือ่ ่ อ อ แผนป้ งกั นนและการเตรี และการเตรี มความพร้ มในการจั การภาวะวิ กก ฤต เพื อ่ ธิ ่ แผนป้ อ งกั น และการเตรี ย มความพร้ อ มในการจั ด การภาวะวิ ก ฤต เพื อ ่ ้ บรรเทาผลกระทบที เ กิ ด ขึ น และให้ ม ก ี ารตอบสนองอย่ า งมี ป ระสิ ท ผ ล ด้วย ทีจ่ ะมุง่ มัน่ ให้บริการพลังงานไฟฟ้าได้อย่างต่อเนือ่บรรเทาผลกระทบที งโดยไม่หยุดชะงัก จึงเ่จัเ่ กิเ่ กิดกิดท�ดดำขึขึขึแผนป้ องกัมมนมกี ก ยมความพร้ อปมในการจั ดผผการภาวะวิ ้น ้ และให้ บรรเทาผลกระทบที บรรเทาผลกระทบที และให้ ก ี ารตอบสนองอย่ าาางมี ทท ลล วววย ารตอบสนองอย่ งมี ระสิ ทธิด้ธิ ธิผ ลด้ด้ ด้ วย ย กฤต ้น และให้ ี และการเตรี ารตอบสนองอย่ งมี ปประสิ ระสิ บรรเทาผลกระทบที เ่ กิและให้ ด น ท ธิ ผ ล ด้ ย บรรเทาผลกระทบที เ กิ ด ขึ น ม ก ี ารตอบสนองอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ว ย ่ ้ การน� ารความต่ อเนื่อรงทางธุ รกิจอ(Business เพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น และให้มีการตอบสนองอย่ าางมีระบบการบริ ประสิทหหหธิหารความต่ ผารความต่ ล ด้หวยการน� ำระบบการบริ เนื่องทางธุ รกิจ Continuity (Business ่อ่อ่องทางธุ การน� การน� าาาระบบการบริ ระบบการบริ ารความต่ ออ เนื งทางธุ กิหจจจารความต่ (Business (Business Continuity Continuity ระบบการบริ ออเนื (Business Continuity ระบบการบริ ารความต่ เนื งทางธุ รรกิกิ (Business Continuity ่ การน�าการน� ระบบการบริ ห ารความต่ อ เนื อ งทางธุ ร กิ จ (Business Continuity ้ Management System : BCMS) มาใช้ ดั ง นี Continuity Management System : BCMS) มาใช้ ดังนี้ System Management System System ::: BCMS) BCMS) มาใช้ มาใช้ ดังนี้ Management System BCMS) Management System Management : BCMS) มาใช้ มาใช้ ดังนี้ ดังนี้ ่นบบบริริให้ ่งมัให้ บ ริการพลั งงานไฟฟ้ มุมุ ง่ง มัมุ มั ให้ ารพลั ารพลั ง งานไฟฟ้ าาาาและ และ าและ งานไฟฟ้ ่น่​่น ••••มุมุ ่ง•่​่ง มัมั และ นริ่นกให้ ให้ บริริก กกง ารพลั งงงานไฟฟ้ งานไฟฟ้ และ •• มุมุ่ง่งมั ให้ บบ ารพลั งานไฟฟ้ าอและ มัด�ด�ด�่น่นด�าาาเนิ ให้ ริ ก ารพลั ง งานไฟฟ้ า และด� ำ เนิ นจะ ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ได้ อ ย่ า งต่ เนื ่ อ ง ไม่ว่าจะ าเนิ เนิ กิจจ ได้ ได้อออย่ย่ย่าาาางต่ งต่ออเนื เนื่อ่อง ง ไม่ ไม่ววว่า่า่าจะ งต่ ง ไม่ นนนธุธุ จะ ธุธุรรรอรกิกิ กิย่ จาจได้ ได้ งต่ ด�าเนินธุรเนิ กิจนได้ งต่ออย่เนื ่อง ไม่​่อวง ่าจะไม่ว่า สถานการณ์ ดมากระทบ ใา่ ดมากระทบ ดอสถานการณ์ ใดมากระทบ ธุรกิจได้เกิ อเกิดย่ดดดเกิ าสถานการณ์ งต่ เนือ่ ง ไม่ใวใใดมากระทบ จะเกิ ดสถานการณ์ใด เกิ สถานการณ์ เกิ สถานการณ์ ดมากระทบ เกิดสถานการณ์ ใดมากระทบ

• มมส่ ง เสริ มหน่ วให้ ทุ ก หน่ ว ยงานทบทวน •••• ส่ส่ ส่งงงเสริ เสริ ให้ ทท ท ก ยงานทบทวน ทุ กุ ุก ุ กหน่ หน่ ยงานทบทวน มุ ก ให้ ให้ หน่ วววยงานทบทวน ยงานทบทวน • ส่ ง เสริ มง เสริ ให้ฝึทม หน่ วุกยงานทบทวน • ส่ เสริ ให้ ท หน่ ว ยงานทบทวนฝึ กซ้อม ก ซ้ อ ม และปฏิ บั ติ ต ามระบบการ ฝึฝึ ฝึกก ออ ม และปฏิ ามระบบการ ม และปฏิ และปฏิบบ ั ติ ติ​ิ ต ิ ตามระบบการ ามระบบการ กซ้ซ้ ซ้และปฏิ อม ม และปฏิ บบั ตั​ั ต ต ต ามระบบการ ฝึ ก ซ้ อฝึม บั ติ ต ามระบบการ บริ บริ หห ออ จ จ จนเกิ จนเกิ ดร ดดอ ารความต่ อเนืรรรหกิ ่อ งทางธุ กิเนื จจนเกิ และปฏิ บบริตั ติ หามระบบการบริ อ่ ง ด บริ ารความต่ เนื งทางธุ ารความต่ เนื่อ่​่อ งทางธุ รกิ กิ จนเกิ บริ หารความต่ ารความต่ ออเนื เนื อ่องทางธุ งทางธุ กิารความต่ จจ บริหารความต่ อเนื่องทางธุ รกิจจนเกิ ดจนเกิด เป็ เป็ น น วั วั ฒ ฒ นธรรมองค์ นธรรมองค์ ก ก ร ร เป็ น วั ฒ นธรรมองค์ ก ร เป็ นธรรมองค์ ร นธรรมองค์กร ทางธุ รกินธรรมองค์ จจนเกิกดรเป็นกกวัรฒ เป็ นวัฒ เป็นวัฒ นธรรมองค์

มุมุ เน้ การปฏิ การปฏิ บ ต ติ ตบ ามมาตรฐาน ามมาตรฐาน มุ เน้ น การปฏิ บ ั​ั ั ติ​ิต •••••มุ เน้ นน การปฏิ บ ามมาตรฐาน มุเน้่ ง เน้ นบ ั ติ ต ามมาตรฐาน เน้ นน การปฏิ บบั ัต มุ่ ง่ งเน้ เน้ น•่ ง ่​่​่งงง่ งการปฏิ การปฏิ บ ั ตั ตการปฏิ ต ามมาตรฐานสากล •• มุ นมุ ิ​ิ ต ามมาตรฐาน สากล ISO 22301 ในการบริ สากล ISO 22301 ในการบริ หห ารความ สากล ISO 22301 ในการบริ ารความ สากล ISO 22301 ในการบริ สากล ISO 22301 ในการบริ หหารความ ารความ สากล ISO 22301 ในการบริ สากล ISO 22301 ในการบริ หอารความ ISO 22301 ในการบริ หรารความต่ เนื อ่ งทางธุ รหกิารความ จ ต่ ต่ อ อ เนื เนื ่ อ ่ อ งทางธุ งทางธุ ร กิ กิ จ จ ได้ ได้ แ แ ก่ ก่ การวางแผน การวางแผน ต่ออ อเนื เนื ่อ องทางธุ งทางธุ รกิกิ กิจจ จ ได้ ได้ ต่ ่ อ ร แ ก่ การวางแผน ต่ เนื ่ งทางธุ ร ได้ ต่ อ เนื ่ อ งทางธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ การวางแผน ต่ อ เนื ่ อ งทางธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ การวางแผน ได้แก่ การวางแผน การน� ไปปฏิ ัตษา ิ การรั กษา การน� การน�าาาาไปปฏิ าไปปฏิ ไปปฏิ บ ั ั​ัต การรั การรัก กบ กษา ษา และการ และการ การน� ไปปฏิ บบั ต ตั ติ ิ ิ​ิ ิ ำบ การรั บ การรั ไปปฏิ บ ต การรั การน� ั ติ การรั กและการ ษา และการ การน�การน� าการน� ไปปฏิ บ ั ตาิ ไปปฏิ การรั ก ษา และการ ปรั ปรั บ บ ปรุ ปรุ ง ง และการปรั บปรุ ปรุ ง ปรั บปรุ ปรั ปรั ปรุ งปรุ บงง ง ปรับปรุ งบบปรั

••• สนั สนับบ สนุ น น ให้ บ ุ คุ​ุ ุค ค ลากรมี คค วามรู ้ แ้ แ ละ สนั สนุ น ให้ บ ลากรมี วามรู ้ และ ละ สนุ น ให้ บบ ุค ลากรมี วามรู ละ •สนุบ สนั บ น วามรู ให้ บคุ ค ลากรมี ค วามรู สนั สนุ น ให้ บ ค ลากรมี วามรู ละ สนันบบ บสนุ นุค ให้ ให้บสนุ ุคลากรมี ลากรมี ความรู าใจ ้และ • สนั บ••สนุ ให้ ลากรมี ค ้ แวามรู ละ ้แ้ แ้ และเข้ เข้ เข้ า า ใจ ใจ รวมถึ รวมถึ ง ง ให้ ให้ ค ค วามส� วามส� า า คั คั ญ ญ กั กั บ บ ระบบ ระบบ เข้ า ใจ รวมถึ ง ให้ ค วามส� า คั ญ กั บ ระบบ รวมถึ ให้ วามส� ญ ระบบ าใจ งงรวมถึ งงให้ คคาำวามส� ญ กักับบระบบ เข้ รวมถึ งกั วามส� าคัญกัหบารระบบ เข้าใจ เข้ รวมถึ ให้าค คใจ วามส� คัคัญ รวมถึ ให้ วามส� ญงทางธุ กัให้าาบบคัคคัระบบ ระบบการบริ การบริ การบริหห ห ารความต่ ารความต่ ออ ออเนื เนื อ ่อ อ งทางธุ รรร กิ จจ ด้ ววว การบริ ห ารความต่ อ เนื อ ่​่ อ งทางธุ รกิ กิกิ จ ด้ ด้ วยวย ยยรกิจ ด้วย ห ารความต่ เนื ่ งทางธุ ร จ ด้ การบริ ารความต่ เนื ่ งทางธุ กิ จ ด้ ย การบริ ห ารความต่ อ เนื อ ่ งทางธุ การบริการน� หความต่ ารความต่ ออ เนื อ ่ งทางธุ รั ลด้ักิ จมาใช้ ด้วใยในการ อ เนื ่ งทางธุ ร กิ จ ว ยการน� ำ เทคโนโลยี การน� า า เทคโนโลยี เทคโนโลยี ด ด ิ จ ิ จ ิ ท ิ ท ล มาใช้ นการ การน� าา เทคโนโลยี เทคโนโลยี ด ิ จ ิ ท ั ล มาใช้ ใ นการ เทคโนโลยี ด ิ จ ิ ท ั ล มาใช้ ใ นการ การน� ด ิ จ ิ ท ั ล มาใช้ ใ นการ การน� ดิ จิ ทั ล มาใช้ ใ นการ การน�รวบรวม ติ ารวบรวม ติ ดิ าจเทคโนโลยี ิ ทั ล มาใช้ นการ ตาม และเข้ าาาาถึ ถึถึ งใง งง ข้ติข้ อดอ มูตาม มู ลล อย่ อย่ าาาางาง ดิเทคโนโลยี จิทัลมาใช้ดดดดดตาม และเข้ ใตาม และเข้ นการรวบรวม และเข้ ถึง รวบรวม ติ ข้ อ มู ล อย่ รวบรวม ติ ตาม และเข้ ามูถึ อย่ รวบรวม ติ ตาม และเข้ ถึ ง ข้ข้ ออ มูมู ลล อย่ งงอมูาล รวบรวม ติ ด ตาม และเข้ า ถึ งข้ง อย่าง รวบรวม ติ ด ตาม และเข้ า ถึ ง ข้ อ ล อย่ า ง มีมี มี ป ป ระสิ ระสิ ท ท ธิ ธิ ภ ภ าพ าพ ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ข้ อ มู ล อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทมีธิธิป ภระสิ าพ ทธิภาพ ภ าพ มีประสิมีทปธิระสิ ภาพท

มากระทบ

มาตรฐาน มาตรฐาน ISO ISO ISO 22301 22301 22301 มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน ISO ISO 22301 มาตรฐาน ISO22301 22301 มาตรฐาน ISO

คืคืออ การรั การรั การรับ บบรองมาตรฐานองค์ รองมาตรฐานองค์ รองมาตรฐานองค์ก รให้ รให้ม ีค วามพร้ วามพร้อออมในการ มในการ คืคื กกรให้ รให้ มมีค คีความพร้ วามพร้ มในการ การรั รองมาตรฐานองค์ ก รให้ ี​ีค การรั บบรองมาตรฐานองค์ มม อมในการ คื บอมืคืมืออออการรั บ รองมาตรฐานองค์ ก รให้ ม ค ี วามพร้ อ มในการรั บมืงมี อ คือ รั การรั บกัรองมาตรฐานองค์ กง รให้ มก ีค วามพร้ อ มในการ รั บ อ กั บ บ สถานการณ์ สถานการณ์ ต ต ่ า ่ า ง ๆ ๆ ที ที ่ อ ่ อ าจเกิ าจเกิ ด ด ขึ ขึ ้ น ้ น ได้ ได้ อ อ บรองมาตรฐานองค์ กรให้ด มในการ บมืมื มืออ อคื กัอบบ บ การรั สถานการณ์ ต่ า่​่ าาง ง ๆ ๆ ทีที ที่ อ อาจเกิ าจเกิ ดมขึ ขึีค้​้ น นวามพร้ ได้ อ อย่ย่ ย่ย่าาาาองมี งมี สถานการณ์ ง ๆ ่​่ อ าจเกิ ได้ งมี รัรัรักับบ กักั สถานการณ์ ตต รั บ มื อ บ สถานการณ์ ต ่ า ง ๆ ที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น ได้ อ ย่ า งมี กับสถานการณ์ ตาพ ทั า่าพ ทั ทีนท่ท่อ่ ท่ววาจเกิ ขึและทั น้ ได้ อนสถานการณ์ ย่สถานการณ์ างมี ระสิ ท ธิ โดยมี ภโดยมี าพดรรทัขึระบบการ น้ ะบบการ วงทีอ ย่ า งมี ประสิ ประสิ ททธิธิอธิภ ภกั ภ าพ ทั น วงที งที งที ด และทั และทั รั บทท มื บงๆ สถานการณ์ ตนน ง ๆ ปที ่ อ าจเกิ นท่ได้ ประสิ น สถานการณ์ โดยมี ะบบการ ประสิ ท าพ ทั นท่ งที น และทั และทั น่ าสถานการณ์ สถานการณ์ ธิธิภภน าพ ทั นน ววงที รโดยมี ระบบการ ประสิทประสิ ธิจัด ภดการบริ าพ ทั ท่ วารความต่ งที ท่และทั สถานการณ์ อย่ โดยมี ะบบการ จั การบริ ห ห ารความต่ อ อ เนื เนื อ ่ อ ่ งทางธุ งทางธุ ร ร กิ กิ จ จ อย่ า า งเป็ งเป็ น น ขั ขั น น ตอน ได้ ตอน ได้ แก่ ้ ้ และทั สถานการณ์ โดยมี ะบบการจั การบริ หงเป็ ารความต่ อเนืร่อแแแะบบการ งก่ก่ก่ ทหธิห ภารความต่ าพ ทั นอท่อ วเนื งที และทัรดรรน สถานการณ์ โดยมี ด การบริ ่​่ งทางธุ งทางธุ จ อย่ าางเป็ นขัขัน ตอน ได้ ้ ตอน ได้ จัดน ดประสิ การบริ หารความต่ ารความต่ อรเนื เนื อ งทางธุ กิ จอย่ อย่ งเป็ จัจั การบริ อ ่อ กิกิ จ าขั น ้น จัดการบริ ห ารความต่ อ เนื อ ่ งทางธุ ร กิ จ อย่ า งเป็ น น ตอน ได้ แ ก่ ้ การวิ เคราะห์ คราะห์ เคราะห์ จั ท�ท�าาาแผน ฝึ แผน ฝึ แผน ฝึ กซ้ ซ้อ ม ทดสอบแผน และประเมิ ม ทดสอบแผน และประเมิ การวิ ท� ซ้งทางธุ ออม ทดสอบแผน และประเมิ ม ทดสอบแผน และประเมิ ทางธุคราะห์ รการวิ กิจัจดอย่ างเป็ท� นาห จัแผน ฝึ ขั จัจัจัารความต่ น้ ดดดดท�ตอน ได้แเนื ก่กกกกการวิ เคราะห์ ดท�าำงเป็ แผนนขัฝึนนก้ ซ้ตอน ได้ อมนนนน แก่ อ ่ ซ้ซ้ รกิจจัอย่ การวิ เเคราะห์ คราะห์ ท� แผน ฝึ ม ทดสอบแผน และประเมิ เการบริ ด าาแผน ฝึ ออ การวิเการวิ ทธิจัธิภดภาพ กซ้ออม ทดสอบแผน และประเมิ ประสิ ประสิ ท าพ ประสิ ทธิธิ ธิภ ภ าพ จัด การวิ เและประเมิ คราะห์ าแผน ฝึ กซ้อม ทดสอบแผน และประเมิน ประสิ ภ าพ ทท าพ ทดสอบแผน นท�ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทประสิ ธิภ าพ

••••มีมี มีสส ส่วส่ว่วนร่ นร่ วววม เพื ม เพื ่ อ่ อ ่ อให้ ให้ กก การด� ารด� าาาเนิ เนิ การตาม ่นร่ นร่ วม เพื มกเพื ่ ให้ ให้ การด� ารด� เนินนนนการตาม นการตาม การตามระบบ นร่ ม เพื ให้ ารด� การตาม • มีวมี สม เพื ่วว นร่ ม เพื ่ อ่ ออ ให้ กก ารด� าาำเนิ เนิ การตาม • มีส่วระบบบริ นร่ ่วอวมี ให้ ารด� าม เพื เนิ น การตาม • ส ่ ว นร่ ว ่ อ ให้ ก ารด� ากิเนิ ระบบบริ ห ห ารความต่ ารความต่ อ อ เนื เนื ่ อ ่ อ งทางธุ งทางธุ รรรกิ จจนการตาม ระบบบริ ห ารความต่ อ เนื ่ อ งทางธุ ระบบบริ ารความต่ อเนื เนื่ อ่ องทางธุ งทางธุ รกิ กิจ ระบบบริ หหารความต่ อ รน กิไปอย่ จจ าง บริ ห ารความต่ อ เนื ่ อ งทางธุ ร กิ จ เป็ ระบบบริ ห ารความต่ อ เนื ่ อ งทางธุ กิ จ ร ระบบบริ ารความต่ อระดั เนืบ่ อ งทางธุ ร กิ จ เป็ เป็นน นไปอย่ ไปอย่ าาางยั งยั่ง่ง ยืนน นห บุ บุ คค คลากรทุ ลากรทุกก ระดั บ ใน ใน ่งยืยื เป็ ไปอย่ งยั บุ ลากรทุ กก ระดั บบ ใน เป็ น ไปอย่ า งยั ง ยื น บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ใน ่ ไปอย่ า งยั ง ยื น บุ ค ลากรทุ ระดั ใน ่ เป็นไปอย่ ายืก งยั ยืงต้ น บุ คลากรทุ ก ระดั บวมด้ ใน ่งเป็ ยั ่ ง น บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ในองค์ ก รจึ ง ต้ อ ง องค์ องค์ ก รจึ รจึ ง ต้ อ อ งเข้ งเข้ า า มามี มามี ส ส ่ ว ่ ว นร่ นร่ ว มด้ ว ว ย ย น ไปอย่ า งยั ง ยื น บุ ค ลากรทุ ก ระดั บใน ่ องค์ก กรจึ งต้ ต้อ อองเข้ งเข้าาามามี มามีส ส่​่ว ว่วนร่ นร่ วมด้ ยย องค์ ง รจึ นร่ มด้วววย องค์กรจึ ต้อรจึ งเข้ ามามี วยววมด้ เข้งามามี สง่วต้นร่ วงเข้ มด้สว่วมามี ยนร่วสมด้

องค์กรจึงต้องเข้ามามีส่วนร่วมด้วย

ประสิทธิภาพ

การบริ การบริห หหารจั ารจั ารจัด ดดการระบบบริ การระบบบริ การระบบบริห าร าร การบริ หหาร าร การบริ หห ารจั ด การระบบบริ ห การบริ ห ารจั ด การระบบบริ ห าร การบริ ารจั ด การระบบบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจของ ่อ่องทางธุ ความต่ ความต่อ ออเนื เนื เนื่อ งทางธุ งทางธุรรรกิ จ ของ ของ PEA ความต่ กิกิจ จจของ ของ PEA การบริ ห ารจั ดรการระบบบริ หPEA าร ่องทางธุ ความต่ กิ ่ เนื ความต่ อเนือ งทางธุ กิจรของ PEAPEA

PEA

1. การป้ องกั1.1.1.นการป้ และการเตรี มพร้ อมรับร ภัยยกิ พิมพร้ ิ ออ(Prevention and คืนนอโอกาสและผลกระทบที การประเมินโอกาสและผลกระทบที อ่ น้ น้น้ าจจะเกิ ้ การป้ การป้ องกั งกั งกั และการเตรี และการเตรี ยมพร้ มพร้ อมรั มรับ ภั ภัย ัต ติ ิ ิ Preparedness) คืคืคือออ การประเมิ การประเมิน โอกาสและผลกระทบที อ ่อ ่ าจจะเกิ าจจะเกิดด ขึขึ จาก จาก ดขึน ่อนนนยงทางธุ ความต่ อออเนื จบตั ของ และการเตรี มรั บบบ ภัPEA ยยิ พิ พิพิบ บบ ัตัอ การประเมิ ่อ ดด ขึขึ 1. การป้ อและการเตรี งกั นและการเตรี ยอมพร้ อภัมรั บ ภั ย พิ บ ัต ิ การประเมิ คืภัยอยพิ การประเมิ นโอกาสและผลกระทบที โอกาสและผลกระทบที อ ่ าจจะเกิ าจจะเกิ น ้ จาก จาก 1. การป้ อ งกั น ย มพร้ มรั บ ย พิ ั ต คื น โอกาสและผลกระทบที อ ่ าจจะเกิ ด ขึ น ้ จาก (Prevention (Prevention and and Preparedness) Preparedness) ภั พิ บ บ ต ั ต ั ห ิ ห ิ รื รื อ อ ภาวะวิ ภาวะวิ ก ก ฤต โดยพิ ฤต โดยพิ จ จ ารณาจากข้ ารณาจากข้ อ อ มู มู ล ล ในอดี ในอดี ต ต จากภัยพิบัติหรือภาวะวิ กฤต โดยพิจารณาจากข้ อมูลในอดีตถึงปัจจุบภั​ันยพิบต (Prevention and Preparedness) ั ห ิ รือภาวะวิกฤต โดยพิจารณาจากข้อมูลในอดีต

(Prevention Preparedness) ับ ห ิ ัน รื อ กฤต โดยพิ จารณาจากข้ อมูอ ในอดีตดขึน and and Preparedness) พิบ บถึภัถึ ต ั งยงห ิ ิ ปัพิ อจุ ภาวะวิ กฤต โดยพิ จารณาจากข้ อมูลในอดี 1. (Prevention การป้ องกันและการเตรี ยมพร้อมรับภัภัยยพิ ัต คืต อบ การประเมิ นโอกาสและผลกระทบที ่ ลต าจจะเกิ ้ จาก ปัรืจบ จ จุ ัน ภาวะวิ ถึจุง งบปั ปั​ันจ จุ บ ัน ถึ จ จุ บ น ั ถึ ง ปั จ (Prevention and Preparedness) ภั ย พิ บ ต ั ห ิ รื อ ภาวะวิ ก ฤต โดยพิ จ ารณาจากข้ อ มู ล ในอดี ต ผลการประเมิ ผลการประเมินนความเสี ความเสี่ย่ยงที งทีอ ่อ ่ าจจะเกิ าจจะเกิดดขึขึน ้น ้ แบ่ แบ่งงได้ ได้ดัดังงนีนี้ ้ ผลการประเมิ น ความเสี ่ ย งที อ ่ าจจะเกิ ด ขึ น ้ แบ่ ง ได้ ดั ง นี ้ ผลการประเมิ น ความเสี ่ ย งที อ ่ าจจะเกิ ด ขึ น ้ แบ่ ง ได้ ดั ง นี ้ ผลการประเมิ นความเสี งทีอ ่ าจจะเกิ ดขึงน ้ ได้แบ่ นี้ ผลการประเมิ นา่ า่ความเสี ่ยงทีอ ่ ่ย าจจะเกิ ดขึน ้ แบ่ ดังงได้ นี้ ดังระดั ระดั ระดับบต�ต� ระดับบปานกลาง ปานกลาง ถึงปัจจุบัน ระดั ระดับบสูสูงงมาก มาก ระดั ระดั บ ระดั บต�ต� ต�า่ าา่​่ ระดับ บปานกลาง ปานกลาง ระดั บบ ระดั ระดับต� า่ ผลการประเมิ นความเสี่ยงทีอ ่ าจจะเกิดขึน ้ ระดั แบ่บ งปานกลาง ได้ ดังปานกลาง นี้

ระดับต�า่

ระดั บ บบสู สูสูง งงมาก มาก ระดั มาก ระดับสูระดั งมาก

ระดับปานกลาง

ยอมรั ยอมรับบได้ ได้ ยอมรั ได้ ยอมรัยอมรั บได้ บบได้

ยอมรับได้ November-December 2021

ระดับสูงมาก

จัจัดดท�ท�าาแผนตอบโต้ แผนตอบโต้ภภาวะฉุ าวะฉุกกเฉิ เฉินน ด จั(Emergency ดท�าจั แผนตอบโต้ ภาวะฉุภ เฉิPlan น กกเฉิ (Emergency Response Response Plan ERP) ERP) จั ดท� ท�าาแผนตอบโต้ แผนตอบโต้ ภกาวะฉุ าวะฉุ เฉิ: :นน (Emergency Response Plan ::เติ ERP) (Emergency Plan ม : มเพิ ERP) และจั และจัดดท�Response ท�าามาตรการควบคุ มาตรการควบคุ เพิ่ ม่ มเติ มม (Emergency Response Plan ERP) ่ มมเติ ด ม เพิ ม และจัดและจั ท�ามาตรการควบคุ ม เพิ ม เติ ม ่ และจั ดท� ท�าาจัมาตรการควบคุ มาตรการควบคุ ม เพิ เติ ดท�าแผนตอบโต้ภ่ าวะฉุมกเฉิน

(Emergency Response Plan : ERP) และจัดท�ามาตรการควบคุมเพิ่ มเติม


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

27

22 7727 72 2 72 2 772 2 77 2 72 27222277772272272777722 77

2.การจั การจั ดการในภาวะวิ การในภาวะวิ กฤต ฤต 2. การจั ด การในภาวะวิ กกฤต ฤต 2.การจั การจั ดการในภาวะวิ การในภาวะวิ กฤต ฤต 2. การจั ดการจั การในภาวะวิ ฤต 2. 2. การจั 2.การจั 2. ด2. การในภาวะวิ ด การในภาวะวิ ดการในภาวะวิ ด ด กฤต ก กฤต ก ก 2. การจั ด การในภาวะวิ ก ฤต (Crisis Management) (Crisis Management) (Crisis Management) 2. 2. การจั การจั ด ด การในภาวะวิ การในภาวะวิ ก ก ฤต ฤต 2. การจั ด การในภาวะวิ ก ฤต 2. การจั ด การในภาวะวิ ก ฤต 2. การจั ด การในภาวะวิ ก ฤต 2. การจั ด การในภาวะวิ กกฤต 2. 2. การจั การจั ด ดการในภาวะวิ การในภาวะวิ กกฤต ฤต 2. การจั ดManagement) การในภาวะวิ ฤต 2. การจัดการในภาวะวิ ก(Crisis ฤต 2.2.2.Management) การจั ด การในภาวะวิ การจั ดด การในภาวะวิ ฤต (Crisis Management) (Crisis (Crisis (Crisis (Crisis Management) Management) Management) การจั การในภาวะวิ กฤต ฤต 2. การจั ด การในภาวะวิ กกกฤต (Crisis Management) (Crisis (Crisis Management) Management) 2. การจัดการในภาวะวิ กฤตManagement) (Crisis (Crisis Management) (Crisis Management) Management) (Crisis Management) (Crisis Management) (Crisis (Crisis Management) Management) (Crisis Management) (Crisis (Crisis Management) (Crisis Management) (Crisis Management) (Crisis Management)

• แจ้ งน่ ให้ ห น่ยงานที วน่ ยงานที ่เเกี กี ย วข้ อง งอ • ศอส. มี ห น้ทีห ที�าการตาม ด เนิ�า�าการตาม น การตาม • แจ้ ง ให้ ห น่ยงานที วง ยงานที ่เเ่เกี ่ย อ ง • แจ้ ง ให้ หว น่​่เยงานที ยงานที • ทุ กวยงานใน PEA ต้ หน่ วยงานใน PEA ต้ ยงานใน PEA ต้ อ• กรณี งอ • กรณี ทเหตุ กิ ด เหตุ กุนารณ์ ารณ์ รแรง นร แรง • ศอส. มี หห น้ ทีที ด เนิ น การตาม • ศอส. มี ห น้ ที�า�าการตาม ด เนิการตาม นการตาม การตาม • ทุ กก• ทุ หน่ วก ยงานใน PEA ต้ ออง งงองอ • กรณี ททด กิ ด เหตุ กกเหตุ ารณ์ รแรง นุนารณ์ แรง • ทุ กยงานใน PEA ต้ หน่ วยงานใน PEA ต้ ยงานใน PEA ต้ อ• กรณี ง• กรณี • กรณี ทเหตุ กิ ด เหตุ กุ​ุน ารณ์ รแรง น แรง ง ให้ วน่ ่เ่ยกีวข้ ่ย อ่​่ย • ศอส. มี เนิ น หน่ วก • กรณี ทกิเหตุ ่ีเดกิ กเหตุ ารณ์ รแรง ุนร • แจ้ งห ให้ ห น่ห วน่ยงานที ยงานที วข้ • แจ้ • แจ้ ง• แจ้ ให้ง • แจ้ ให้ • แจ้ น่ห วง ให้ ว ห ให้ ห กีว ว่ย ยงานที กีกี วข้ ย วข้ อ งวข้ ออ ่​่ ย เเกี กี งง วข้ ยงวข้ วข้ อ อง ง • ศอส. มี น้หาา่ด าน้ ่ด เนิ น การตาม • ศอส. มี • ศอส. มี • ศอส. มี ห• ศอส. มี น้ห าน้ ที ที ห �าา่​่ด เนิ น้ �า�า�าา่ด น เนิ น้ ที าา่​่ด น ที ่​่ ด เนิ น เนิ น • ทุ หน่ ยงานใน PEA ต้ เหตุ ารณ์ รก แรง • ทุ• ทุ ก• ทุ หน่ ก หน่ วกยงานใน PEA ต้ • ทุ ว หน่ หน่ ว ว องอ ง ง ท • กรณี ่ีเกิ • กรณี ท ่​่ี​ีเเ่ีเกิ ด ท ่​่ี​ีเเดก กิ ท ารณ์ ด ่​่ี​ีเเกิ ก ด ารณ์ รก ร ุ​ุ น ุ​ุ น แรง

ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บยงานที ัต ิก ารให้ แผนตอบโต้ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) ปรั บบ ปรุ งบ แผนปฏิ บ ัต ิก ารให้ ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บ ิก ารให้ จัา• ทุ ดหน่ ท� แผนความต่ ออ เนื อ งทาง หรื อโ• กรณี รคระบาดข้ มพรมแดน แผนตอบโต้ ภภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) จัจัท� ท� แผนความต่ อ เนื งทาง หรื อโง มี• กรณี รคระบาดข้ มพรมแดน จั ด ท�• ทุ แผนความต่ องทาง เนื งทาง หรื อ่ีเ• กรณี มี รคระบาดข้ าแรง มพรมแดน • แจ้ งอ ให้ ห น่ง วห ยงานที ่เารให้ กี ่ย อวข้ • ศอส. มี ห า• แจ้ ที � ที เนิ การตาม กว วหน่ ยงานใน PEA ต้ อ • กรณี เหตุ ก รก ุน แรง • แจ้ งแผนปฏิ ง ให้ น่ ห วน่ ยงานที วน่ห เกี ่เย ่ย กี วข้ งอ • ศอส. มี ห ห า่ด น้ ที าก �า่ด เนิ �าก เนิ น การตาม • ทุ ก หน่ ก หน่ วหน่ ยงานใน PEA ต้ วหน่ ง • กรณี • กรณี ท กิ ่ีเเหตุ กิ ด เหตุ ก ก รารณ์ ุน ร่ด แรง ุน แรง งน่ ให้ หงหง น่ วให้ ยงานที ่เบ งวข้ • แจ้ ง• แจ้ ให้ ห วให้ ยงานที กี ่ยยงานที วข้ อ ง • แจ้ ง ให้ ห น่ วห ่ย วข้ ง อองง น้น้ ที ่ด �าให้ เนิ น การตาม • ศอส. มี ห น้• ศอส. มี าภ ่ด �าก น การตาม ห ที �าเนิ เนิ น การตาม • ทุ ก หน่ ยงานใน PEA ต้ ด ก รารณ์ แรง ก หน่ วาจั ยงานใน PEA ต้ ออ ง • กรณี ่ีเอ กิ• กรณี ด เหตุ ก ารณ์ รารณ์ ุน ก หน่ วหน่ ยงานใน PEA ต้ อหรื กิเหตุ ด เหตุ ก ารณ์ รุน ุนแรง แรง ปรั บ• แจ้ ปรุ ง แผนปฏิ บ ัตวยงานที ิก ารให้ แผนตอบโต้ าวะฉุ ก น (ERP) จัท� ด• ทุ ท�แผนความต่ แผนความต่ องทาง ่อ มีง มพรมแดน • แจ้ ง ให้ ห น่ให้ วห ยงานที ่เกี กี ่ย่ย ง น้ าเฉิ ที ่ด �าน้ ก หน่ วก ยงานใน PEA ต้ งงารณ์ กิ ด เหตุ ก รทีุน ุน แรง • แจ้ • แจ้ ให้ ห น่ น่ ววข้ ยงานที ยงานที ่เ่เง กีกี • ศอส. มี ห่ด ห น้น น้ าเนิ าน ที ที ่ด �า (ERP) �าการตาม เนิ เนิ นปรั น การตาม การตาม • ทุ • ทุ กก หน่ ว่อวอ ยงานใน PEA ต้ ออโโท ง ท ท ่ีเารณ์ กิ กิ ด เหตุ เหตุ ก ก ารณ์ ารณ์ รร• ศอส. มี ุน• ศอส. มี ุน• ศอส. มี แรง แรง • ทุ กดด• ทุ ยงานใน ต้่​่ออเนื ดเหตุ ท�่​่อองอองทาง าอองกงอหรื • กรณี ททมีมีรคระบาดข้ กิทท่ีเดโโ่ีเดทกิ่ีเ• กรณี ก่ีเดาดารณ์ ารณ์ รมพรมแดน • ศอส. มีทีน้หาวะฉุ หภห• ศอส. มี น้น้าภภเนิ ทีงน้่ดนทีเฉิ �ทีำเนิ เนิ การตาม • แจ้ ให้ น่น่งัต่เงยงานที วิกให้ ่เกี่เกีงวข้ กี่ยกีอ่เ่ยอ่ยอกี่ยวข้ วข้ อ่ยอง่ยงองวข้ งวข้ • แจ้ ให้ น่ วห ยงานที ่เวัต กี อ ง • ศอส. มี ห าา �าเฉิ เนิ น การตาม ก วหน่ ยงานใน PEA ต้ ่ีเ• กรณี กิ ด เหตุ ก ารณ์ รแรง ุน ปรั ปรุ ง บ ปรั ปรุ ปรุ ปรั ง แผนปฏิ ปรั ง แผนปฏิ ปรุ บ ปรุ แผนปฏิ บ ง ัต แผนปฏิ บ ิก ัต ารให้ ารให้ บ ัตยงานที ิก ัต ารให้ ิก ารให้ แผนตอบโต้ าวะฉุ เฉิ น (ERP) แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก าวะฉุ าวะฉุ (ERP) น (ERP) เฉิ เฉิ น วการตาม ยงานที ่เบ กี ่ยบ วข้ ง ด ท� แผนความต่ อยงานใน PEA ต้ เนื หรื มี โแรง รคระบาดข้ า่ีเกิ มพรมแดน จั• ทุ ดจั าหน่ แผนความต่ าา• ทุ จั ด ท� ด าา• ทุ ท� แผนความต่ าาวก แผนความต่ อยงานใน PEA ต้ ่อ เนื งทาง เนื ่​่ อ เนื งทาง มี รคระบาดข้ มี หรื รคระบาดข้ หรื อ โโี่เทกิ รคระบาดข้ มี รคระบาดข้ าด มพรมแดน าา่ีเท มพรมแดน าา่ีเารณ์ มพรมแดน • ศอส. มี หารณ์ น้ก าุน เนิ นแรง การตาม • ทุกหน่วยงานใน PEA ต้ อ ง • กรณี ท ่ีงทาง เยงานใน PEA ต้ กิงจั ด ร• กรณี ุน• กรณี • แจ้ ให้ วิก ่เ่ย ออง • แจ้ ง ห น่ วยงานที ่เวข้ วข้ • ศอส. มี ห า่ด ที �าก น่ด • ศอส. มี ห น้ ่ด �า่ด เนิ การตาม • ทุ วเนื ยงานใน PEA ต้ ท กิ เหตุ ารณ์ รแผนตอบโต้ แรง • ทุ หน่ วยงานใน PEA ต้ อ ง ท เหตุ รุน ุนแรง • แจ้ ง ยงานที ่ย วข้ • ศอส. มี ห น้ ที ่ด �าการตาม นการตาม วอ ยงานใน PEA ต้ งออ • กรณี ท่ีเเหตุ กิ ด เหตุ ก รุน • แจ้ ให้ ห วน่ เวข้ กี อ • ศอส. มี ห น้ภ า่ด ที ่ด �าน่ เนิ น (ERP) การตาม • ทุ กก วPEA ออหรื งอง • กรณี ท ่ีเเหตุ กิ ด กาด ารณ์ ร�าแรง สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ แผนบริ ห ารความต่ อ เนื ่ อ งทาง สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ธุ ร กิ จ เพื ่ อ ให้ ก ระบวนการ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ใน แผนบริ ห ารความต่ อ เนื ่ อ งทาง แผนบริ ห ารความต่ อ เนื ่ อ งทาง ธุ ร กิ จ เพื ่ อ ให้ ก ระบวนการ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ใน ธุ ร กิ จ เพื ่ อ ให้ ก ระบวนการ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ใน ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บ ต ั ก ิ ารให้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) จั ด ท� า แผนความต่ อ เนื ่ อ งทาง หรื อ มี โ รคระบาดข้ า มพรมแดน ปรั ปรั บ ปรุ บ ปรุ ง แผนปฏิ ง แผนปฏิ บ ต ั บ ก ิ ต ั ารให้ ก ิ ารให้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ภ าวะฉุ ก เฉิ ก เฉิ น (ERP) น (ERP) จั ด จั ท� ด า ท� แผนความต่ า แผนความต่ อ เนื อ เนื ่ อ งทาง ่ อ งทาง หรื หรื อ มี อ โ มี รคระบาดข้ โ รคระบาดข้ า มพรมแดน า มพรมแดน ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บ ต ั ก ิ ารให้ ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บ ต ั ก ิ ารให้ ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บ ต ั ก ิ ารให้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) จั ด ท� า แผนความต่ อ เนื ่ อ งทาง หรื อ มี โ รคระบาดข้ า มพรมแดน จั ด ท� า แผนความต่ อ เนื ่ อ งทาง หรื อ มี โ รคระบาดข้ า มพรมแดน จั ด ท� า แผนความต่ อ เนื ่ อ งทาง หรื อ มี โ รคระบาดข้ า มพรมแดน สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ แผนบริ ห ารความต่ อ เนื ่ อ งทาง ธุ ร กิ จ เพื ่ อ ให้ ก ระบวนการ ส่ ง ผลกระทบต่ ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ใน ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บ ต ั ก ิ ารให้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) จั ด ท� า แผนความต่ อ เนื ่ อ งทาง หรื อ มี โ รคระบาดข้ า มพรมแดน ปรั ปรั บ บ ปรุ ปรุ ง ง แผนปฏิ แผนปฏิ บ บ ต ั ต ั ก ิ ก ิ ารให้ ารให้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ ภ ภ าวะฉุ าวะฉุ ก ก เฉิ เฉิ น น (ERP) (ERP) จั จั ด ด ท� ท� า า แผนความต่ แผนความต่ อ อ เนื เนื ่ อ ่ อ งทาง งทาง หรื หรื อ อ มี มี โ โ รคระบาดข้ รคระบาดข้ า า มพรมแดน มพรมแดน ปรั บ ปรุ ง แผนปฏิ บ ต ั ก ิ ารให้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) จั ด ท� า แผนความต่ อ เนื ่ อ งทาง หรื อ มี โ รคระบาดข้ า มพรมแดน งกั บ สถานการณ์ สอดคล้ สอดคล้ สอดคล้ องกั ออปรั งกั บบบ สถานการณ์ บ อ สถานการณ์ งกั อ งกั สถานการณ์ ารให้ แผนบริ หแผนตอบโต้ ารความต่ เนื งทาง แผนบริ แผนบริ หารความต่ แผนบริ หแผนตอบโต้ ารความต่ หารความต่ หภ อ ารความต่ เนื ออ เนื งทาง ่อ่อ อ เนื อกก ่อ เนื งทาง ่อ งทาง ปรั บ ปรุ งาวะฉุ แผนปฏิ บ ัต ิกสอดคล้ ารให้ ธุร่อ รกิกิ เพื ผลกระทบต่ อโ้ใรคระบาดข้ ฟฟ้ ธุอรเนื ธุกิ จ เพื จจ ธุเพื ่ อร ธุให้ กิ ่ อร่ อ จ ให้ กิให้ เพื ระบวนการ จ ก ให้ ่ อ่ อ ก ให้ ระบวนการ ส่างทาง งส่ส่ ผลกระทบต่ งงผลกระทบต่ ส่มี งส่โหรื ผลกระทบต่ ง ผลกระทบต่ อ ช้ ผูผูไ้ใ้ใฟฟ้ ช้ช้อไาไฟฟ้ ผู อ้ใใน ผู ช้าไา้ใฟฟ้ ใน ช้ ฟฟ้ าในแผนบริ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ กในเฉิ นแผนตอบโต้ (ERP) จัดท�าแผนความต่แผนความต่ งทาง หรื องทางธุ มีกโระบวนการ รคระบาดข้ มพรมแดน บ ปรุ บ ปรั บปรุ แผนปฏิ ารให้ ภ าวะฉุ แผนตอบโต้ ภาวะฉุ เฉิ (ERP) ด ท� า่ อเนื แผนความต่ หรื าใน จั ด ท� าระบวนการ แผนความต่ เนื งทาง หรื โรคระบาดข้ ามพรมแดน ปรุ งแผนปฏิ แผนปฏิ ิก แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ERP) (ERP) จัก ด ท�เพื าระบวนการ แผนความต่ อเนื ่องทาง หรื มีโรคระบาดข้ รคระบาดข้ าไมพรมแดน มพรมแดน ปรั งรุงง แผนปฏิ ภ่อ ก เฉิ นนน (ERP) จัจั ด ท� าก แผนความต่ อรเนื อออมีอมีมีโผู มพรมแดน อให้ กิเนื่อได้่อนจ่องทาง หรื อผลกระทบต่ รคระบาดข้ มพรมแดน าวะฉุ กงทาง เฉิ นเฉิ (ERP) ปสอดคล้ รัปรั ปปรุ งลการ แบสถานการณ์ ผสถานการณ์ นผ บลการ ปบัต บ ัตัตฏิ​ิกัต ิกิการให้ บัารให้ ติ ก า ร ติสอดคล้ ด ตามวิ คราะห์ ลการ ธุกิ รหจธุ กิ จ (Business Continuity ติ ด ตามวิ คราะห์ ผ ติ ด ตามวิ คราะห์ ท�งานฟื้ งานฟื้ นกลั บ มาด� เนิ น วงกว้ ง PEA จะจั ด ตั งย์ใน ศู น ย์ ธุเนื รแผนบริ กิกิ จ (Business Continuity ธุกิ รแผนบริ กิ (Business Continuity จหหห (Business Continuity ท� งานฟื้ นกลั บ มาด� เนิ น ได้ วงกว้ ง PEA จะจั ด ตั ง ศู น ย์ ท� งานฟื้ นกลั บเนิ มาด� เนิ ได้ วงกว้ ง PEA จะจั ด ตัไาศู งใน ศู นช้าอ ย์ ้ช้ สอดคล้ งกั บ สถานการณ์ หกิ ารความต่ อ่อ เนื ่อเนื งทาง รธุาธุกิ เพื ่อ ก ส่ อ ้ใ้ฟฟ้ ช้ า้ใผู สอดคล้ สอดคล้ งกั อ งกั บ สถานการณ์ บ แผนบริ แผนบริ ารความต่ ห ารความต่ อารความต่ อ เนื งทาง ่อ งทาง ธุ รงานฟื้ กิ เพื จ เพื ่ อ่ อ ่อ ให้ ก ระบวนการ ก ระบวนการ ส่ ผลกระทบต่ ง ผลกระทบต่ ผู อ ใผู ช้ ้ใไศู ไผู ช้ ฟฟ้ ไ้ใช้ ฟฟ้ าไฟฟ้ ใน าไศู ใน สอดคล้ งกั บ สถานการณ์ อติ งกั บเออ สถานการณ์ ลการ สอดคล้ อผ งกั บ สถานการณ์ ห ารความต่ องทาง เนื ่อ งทาง แผนบริ ารความต่ อารความต่ เนื แผนบริ หารความต่ ารความต่ อเนื ่ สอดคล้ งทาง รรจ จธุจ เพื อมาด� ให้ ระบวนการ งาาง ผลกระทบต่ ผู ้ใไห ช้ ฟฟ้ รงานฟื้ จ เพื ่อ ให้ ก ระบวนการ ง ผลกระทบต่ ผู ้ใผลกระทบต่ ช้ผู ไอด าารความต่ ใน ธุรเพื ร่กิ กิ จ ่ อาาให้ ให้ ก งผลกระทบต่ ผลกระทบต่ อ้ใฟฟ้ ใฟฟ้ ช้ ฟฟ้ าใน ด ตามวิ คราะห์ ลการ ธุ่อ รแผนบริ (Business Continuity นกลั บ มาด� าได้ เนิ น วงกว้ าผลกระทบต่ ง PEA จะจั ด ตั ศู น ย์ สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ แผนบริ ารความต่ องกั เนื ่อ่อ งทาง ธุท� รนกลั กิ จ เพื ให้ ระบวนการ ส่ ผลกระทบต่ อ ผู ้ง ใฟฟ้ ไผู า้​้ง ใน ้ง สอดคล้ อสถานการณ์ งกั งกั บบสถานการณ์ สถานการณ์ แผนบริ แผนบริ หห ารความต่ ออ เนื เนื ่อ ่อติงทาง งทาง ธุ ธุให้ รเพื รระบวนการ กิ กิ จ จ เพื เพื ่ระบวนการ อ ่อ ให้ กก ระบวนการ ระบวนการ ส่ง PEA จะจั ส่แผนบริ งงด ผลกระทบต่ อ ผู ผู ้ใย์ ฟฟ้ าจ าจ ใน ใน อ งกั บ สถานการณ์ แผนบริ ารความต่ อ เนื งทาง ธุ รกิ จ ่นกลั อ ให้ ก ระบวนการ ผู ้ใอช้ ช้ ไน ฟฟ้ ใน ติตามวิ ด ตามวิ เอ คราะห์ ลการ ติ ด ติ ด ตามวิ ติ คราะห์ ตามวิ ด เเสอดคล้ คราะห์ ตามวิ ผ เเสอดคล้ คราะห์ ลการ ผ เเผ คราะห์ ลการ ผ ลการ ผ ธุฟฟ้ รใน (Business Continuity ธุ้ใาช้ รใน ร จ กิ (Business Continuity ธุ (Business Continuity ร ร จ จ (Business Continuity สอดคล้ อ บ สถานการณ์ เด ท�กิ งานฟื้ บ มาด� ามาด� นให้ ได้ างง ง PEA จะจั ตั น ท�ธุาท� าาธุาท�งานฟื้ าากิ ท� นกลั าาธุ บ บ มาด� นกลั าก่ อ เนิ บ น เนิ บ มาด� น าาระบวนการ ได้ เนิ าาได้ น เนิ ได้ วงกว้ างส่ส่ ง PEA จะจั วงกว้ ง PEA จะจั วงกว้ าาส่ ง PEA จะจั าาอ ตัอด งอ ตั ศู น ด ศู ย์ ตั ด ย์ ง ตั น น งทาง ธุรกิจเพื่ อให้กระบวนการ ส่ ง ผลกระทบต่ อนผูได้ ้ใส่ ช้วงกว้ ไวงกว้ ฟฟ้ าส่ ใน ้​้ ง สอดคล้ งกั บผ องกั งกั บอ สถานการณ์ แผนบริ เนื ่อ่องทาง งทาง เนื งทาง รงานฟื้ กิ จ เพื ่อ ให้ ก ส่ส่ ใน ร กิ จ เพื ให้ กระบวนการ ระบวนการ ผลกระทบต่ อ าไย์ ใน สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ แผนบริ หารความต่ อ ่อ งทาง ธุ จ ่อ ก ระบวนการ ส่งง งผลกระทบต่ อ ผู ้ใช้ ไาฟฟ้ ฟฟ้ าไธุกิ สอดคล้ ออ บ สถานการณ์ แผนบริ หหหารความต่ อ่อ เนื ่อเนื ธุกิ รนกลั กิ จ เพื ่ก อเพื ให้ ก ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผู ไช้​้อ เพื ให้ กอย่ ระบวนการท� ำง PEA จะจั งานฟื ้ นาเนิได้ ส่าน้งอ�นวยการช่ งได้ ออตัาอววา (Business Continuity ้ สนุ ใสนั ช้ดออนบตัตัดตัสนุ ไ้งนบออ้งดตั้งนดฟฟ้ าย์้งPlan : BCP) และแผนฟื้ แผนบริ ห (Business Continuity ารความต่ อ เนื ่ อ ผนฟู งทาง ให้ สดติเตามวิ อดคล้ อคราะห์ งกั บผลการ สถานการณ์ ด� เนิ น งาน และรายงานผลต่ ออ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู ด� เนิ น งาน และรายงานผลต่ ออผผอลการ ด� เนิ นเเคราะห์ งาน และรายงานผลต่ อ อย่ งต่ อ เนื อ งทั นระยะเวลา กั บ ระยะเวลา อ�นวยการช่ นวยการช่ วง PEA จะจั ยเหลื สนั บ สนุ นนน Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู อย่ งต่ อ เนื ่อ งทั น กั บ ระยะเวลา อ� นวยการช่ วง PEA จะจั ยเหลื สนั บ สนุ น อย่ งต่ อ เนื อบ งทั น กั บ ระยะเวลา อ�นวยการช่ นวยการช่ ยเหลื สนั บ สนุ น ดติ ตามวิ คราะห์ ผ ลการ รศูธุธุกิ ท�อย่ าาท�งต่ งานฟื้ นกลั บ มาด� าบ เนิ ได้ าวงกว้ ง PEA จะจั ด ศู ย์ ้ง ติติ ติ ตามวิ ตามวิ คราะห์ เดคราะห์ ผ ลการ ผ ธุ ร (Business Continuity กิ จ ท� าท� งานฟื้ นกลั นกลั บ มาด� บ มาด� ามาด� เนิ ามาด� เนิ นบ วงกว้ วงกว้ าวาวงกว้ าง PEA จะจั ดด ศู น ศู ย์ น ย์ ้ง ด ตามวิ ลการ ติาด� ด ตามวิ เด คราะห์ ผ ด ตามวิ เผคราะห์ ผลการ ลการ รรจ จธุจ (Business Continuity ธุ รย์ กิ จ (Business Continuity ธุ (Business Continuity รกิจจ กิ จร (Business Continuity (Business Continuity าาาท� งานฟื้ บ มาด� าได้ นาบ ได้ วงกว้ านวยการช่ ง PEA จะจั ด ศูด นตั ย์น ท�า่ อ าอย่ งานฟื้ นกลั บนกลั มาด� านกลั เนิ น าผลกระทบต่ ง PEA จะจั ดสนั ง ศู ย์ ท�งานฟื้ างานฟื้ งานฟื้ นกลั บ น าง PEA จะจั ด ตั ศู ย์ ้ผู ้ง างาน และรายงานผลต่ เนิ น งาน และรายงานผลต่ งต่ อ เนื ่อ งทั น กั ระยะเวลา าได้ สนุ ด ตามวิ เติ คราะห์ ผผ ลการ ธุPlan : BCP) และแผนฟื้ รย์กิ กิ จ (Business Continuity ท� าเนื งานฟื้ นกลั บ มาด� าเนิ เนิ น ได้ วงกว้ ง PEA จะจั ศู น ดลการ ตามวิ เลการ เคราะห์ คราะห์ ลการ ธุ ธุติ รด กิกิตามวิ จจ (Business Continuity (Business Continuity ท� ท�อ าน า่​่อ งานฟื้ งานฟื้ นกลั นกลั มาด� มาด� าวงกว้ าได้ เนิ เนิ นนวยการช่ ง PEA จะจั ง PEA จะจั ด ตั ตั งธุ้ง ศู น น ้น ติ ด ตามวิ เติ คราะห์ ธุ รย์กิ างานฟื้ นกลั มาด� าน เนิ ได้ วงกว้ าง PEA จะจั ตั ศู น ย์ด ้ง ด�าาติ าด� เนิ นด งาน และรายงานผลต่ ด� น เนิ ด� น าางาน และรายงานผลต่ ด� เนิ าาติ เนิ งาน และรายงานผลต่ น งาน และรายงานผลต่ อ อ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู Plan : BCP) และแผนฟื้ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟูเนฟู นฟู นฟู ลการ เนิ คราะห์ งต่ อ เนื ่อ งทั น กั บ อ�ได้ วาวงกว้ ยเหลื สนั สนุ น อย่ อย่ าเนิ งต่ าาน อท� อย่ อ างานฟื้ เนื งต่ าางานฟื้ งต่ อ งทั น เนื กั เนื บ กั งทั ระยะเวลา ่​่ อ งทั น กั น บ กั ระยะเวลา บ ระยะเวลา อ�ได้ อ� นวยการช่ อ� าาย์ อ� าาวงกว้ ยเหลื ว ยเหลื อกิ ว ยเหลื สนั ยเหลื บอตั บ สนั สนั น บ สนุ บ สนุ น ธุ รยเหลื จอ ท�างานฟื้ นกลับมาด� ได้ วงกว้ าระยะเวลา ด ตัาาวงกว้ ศู น ติ ด ตามวิ เคราะห์ ผผลการ ลการ ตามวิ เคราะห์ ลการ ร (Business Continuity ธุ รกิ (Business Continuity ท�่อ างทั นกลั บ มาด� าน เนิ นน าวงกว้ ตั ศู ท� งานฟื้ นกลั บ าได้ เนิ ได้ าวง PEA จะจั ศู ย์ ้ง ้ง ติน ด ตามวิ เคราะห์ ผอ ธุ รกิกิ จ (Business Continuity า่อ บ มาด� าน นได้ วงกว้ าง PEA จะจั ด ตั ศู นย์น ย์Plan : BCP) และแผนฟื้ ติ ด เตามวิ ธุกิ รจ จ (Business Continuity าท� นกลั บ มาด� เนิ นเนิ วงกว้ ง PEA จะจั ตั ศู น ้ง ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง (Recovery Plan : RP) ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ด� า เนิ น งาน และรายงานผลต่ อ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู อย่ า งต่ อ เนื ่ อ งทั น กั บ ระยะเวลา อ� า นวยการช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ด� า ด� เนิ า เนิ น งาน และรายงานผลต่ น งาน และรายงานผลต่ อ Plan : BCP) และแผนฟื้ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู นฟู อย่ อย่ า งต่ า งต่ อ เนื อ เนื ่ อ งทั ่ อ งทั น กั น บ กั ระยะเวลา บ ระยะเวลา อ� า อ� นวยการช่ า นวยการช่ ว ยเหลื ว ยเหลื อ สนั อ สนั บ สนุ บ สนุ น น ด� า เนิ น งาน และรายงานผลต่ อ ด� า เนิ น งาน และรายงานผลต่ อ ด� า เนิ น งาน และรายงานผลต่ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู อย่ า งต่ อ เนื ่ อ งทั น กั บ ระยะเวลา อ� า นวยการช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น อย่ า งต่ อ เนื ่ อ งทั น กั บ ระยะเวลา อ� า นวยการช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น อย่ า งต่ อ เนื ่ อ งทั น กั บ ระยะเวลา อ� า นวยการช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง (Recovery Plan : RP) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ด� า เนิ น งาน และรายงานผลต่ อ กลั บ มาด� ำ เนิ น ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ในวงกว้ า ง PEA จะจั ด ตั ง ้ ศู น ย์ ธุ ร กิ จ (Business Continuity Plan : ติ ด ต า ม วิ เ ค ร า ะ ห ์ ผ ล ก Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู อย่ า งต่ อ เนื ่ อ งทั น กั บ ระยะเวลา อ� า นวยการช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ด� ด� า า เนิ เนิ น น งาน และรายงานผลต่ งาน และรายงานผลต่ Plan : BCP) และแผนฟื้ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู นฟู อย่ อย่ า า งต่ งต่ อ อ เนื เนื ่ อ ่ อ งทั งทั น น กั กั บ บ ระยะเวลา ระยะเวลา อ� อ� า า นวยการช่ นวยการช่ ว ว ยเหลื ยเหลื อ อ สนั สนั บ บ สนุ สนุ น น ด� า เนิ น งาน และรายงานผลต่ อ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู อย่ า งต่ อ เนื ่ อ งทั น กั บ ระยะเวลา อ� า นวยการช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ้บ ริหผู หารระดั ารระดั งงาน และรายงานผลต่ อย่ างต่ เนื ่อองงเนื ผู ้บผูผู ้บ ผูด�ริด� บ ริาารระดั หเนิ บบ งารระดั อย่ ง อย่ บ างต่ สูบาง สูงต่ อ อย่ งเนื อย่ ออ า่อ เนื งต่ ง า่องต่ อ่อ เนืง่อาอง ง (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) ด�าเนินงาน และรายงานผลต่ อ้บ ่ก�า�าหนดไว้ หนดไว้ งต่ กรณี เหตุ หตุ ารณ์ ม่ (ศอส.) ทีบ ่กทีที �า่ก หนดไว้ ที่กทีอย่ � อย่ ่ก หนดไว้ (Recovery Time �าา าหนดไว้ (Recovery Time ่อ(Recovery Time กรณี เสนุ กกรณี ารณ์ เหตุ ไก ม่Plan : BCP) และแผนฟื้ ารณ์ ป ไไก ม่ม่กติ ารณ์ ปปกติ ไววม่ (ศอส.) ป ไยเหลื (ศอส.) กติ ปอ กติ (ศอส.) (ศอส.) Plan : BCP) และแผนฟื้ อย่างต่อเนื่องทันกั ระยะเวลา อ�อ าเนื นวยการช่ วบระยะเวลา ยเหลื อกรณี สนัเหตุ บกรณี น าเนิ เนิ นสู ออรออ ออ ด�าห นสู งาน และรายงานผลต่ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู ห งต่ เนื ่อ่องทั ระยะเวลา อ อสนั สนั บบสนุ อย่ า(Recovery Time งต่ เนื งทั ระยะเวลา อ�าก านวยการช่ นวยการช่ ยเหลื สนั สนุ ด� าสูเนิ นงาน และรายงานผลต่ Plan : BCP) และแผนฟื้ นฟู ริารระดั อย่ า(Recovery Time งต่ อ เนื ่องทั งทั นกักับ กับ บ ระยะเวลา อ�ากเนวยการช่ าหตุ นวยการช่ วยเหลื อ สนั บสนุ สนุ น งาน และรายงานผลต่ นฟู ริ ้บ นนนกั อ�อ�ารณ์ วกติ ยเหลื บ(Recovery Plan : RP) นนนนนฟู Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง (Recovery Plan : RP) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ผู บ ้ ผู ริ บ ้ ห ริ ารระดั ห ารระดั บ สู บ ง สู อย่ ง อย่ า งต่ า งต่ อ เนื อ เนื ่ อ ง ่ อ ง (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) ที ่ ก ที � า ่ ก หนดไว้ � า หนดไว้ (Recovery Time (Recovery Time กรณี กรณี เ หตุ เ หตุ ก ารณ์ ก ารณ์ ไ ม่ ไ ป ม่ กติ ป กติ (ศอส.) (ศอส.) ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ง ่อ่องง (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) Objective : RTO) ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง (Recovery Plan : RP) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ผู ผู บ ้ บ ้ ริ ริ ห ห ารระดั ารระดั บ บ สู สู ง ง อย่ อย่ า า งต่ งต่ (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) ที ที ่ ก ่ ก � า � า หนดไว้ หนดไว้ (Recovery Time (Recovery Time กรณี กรณี เ เ หตุ หตุ ก ก ารณ์ ารณ์ ไ ไ ม่ ม่ ป ป กติ กติ (ศอส.) (ศอส.) ผู บ ้ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง (Recovery Plan : RP) ที ่ ก � า หนดไว้ (Recovery Time กรณี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ป กติ (ศอส.) ผู้บริหารระดั บสูงอย่างต่อเนืด�ผู่อผูำผู้บ ง้บ Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) (Recovery Plan : RP) ที่ก�าหนดไว้ (Recovery Time กรณี ่ ก เ (Recovery Time การณ์ไม่ปกติ ้บริ้บริริหน ารระดั อย่ างต่ เนื (Recovery Plan : RP) (Recovery Plan : RP) (Recovery Time กรณี กติ (ศอส.) �าหนดไว้ กรณี เวหตุ ารณ์ กติ (ศอส.) ผู ริหหารระดั หารระดั ารระดั งอย่ อย่ างต่ งต่ อเนื เนื (Recovery Plan : RP) ที่ก่ก�า่ก�าหนดไว้ �าหนดไว้ หนดไว้ หตุ กรณี เหตุ หตุ การณ์ ารณ์ ม่ ป กติ (ศอส.) (ศอส.) บบบสูบสูสูงสูงงอย่ าางต่ อเนื ่อ่อ่อง ทีทีที่ก กรณี เเหตุ กกการณ์ ไไม่ไม่ไม่ป น ทัObjective : RTO) นObjective : RTO) กัObjective : RTO) บ ระยะเวลาที �(Recovery Time ำ(Recovery Time หนดไว้ อ�ำ (ศอส.) นวยการช่ ยเหลื อสนั บปปกติ สนุ BCP)(Recovery Plan : RP) และแผนฟื ้นฟู (Recovery เนิ งาน และรายงานผลต่ อ่องออง่ งเนืเนื Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) Objective : RTO) 3.การจั การจั ดการหลั การหลั งพิ ภั ย พิย บ ตบ 3. การจั ด การหลั ง ยย พิ บ ต 3.การจั การจั ด การหลั ง ภั ยิ​ิ ิัตบ พิ​ิ ั​ัต บ ตสถานการณ์ เมื อ: สถานการณ์ สถานการณ์ ก่สสู ลัภาวะปกติ บลั สูบ สสู ภาวะปกติ คณะท� เมื อ่อิ​ิ สถานการณ์ สถานการณ์ กกบลั ลัลั บบ สูสู ส่ส ภาวะปกติ คณะท� งาน BCM เมื อสถานการณ์ สถานการณ์ ก่​่ส ลัภาวะปกติ บภาวะปกติ สูภาวะปกติ สภาวะปกติ ภาวะปกติ คณะท� งาน BCM (Recovery Objective : RTO) Time Objective : RTO) 3. 3. กรณี เหตุ กการจั ารณ์ ไงม่ภัการหลั ปงยภัภักติ (ศอส.) Plan RP) บ้ คณะท� ห คณะท� ารระดั งาาอย่ างต่อเนือ่ ง 3. การจั ด การหลั ภังพิย พิ บย ัต การจั 3.การจั 3. ด 3. การหลั ด การหลั ดการหลั ด ด ง ภับ ง ย ภั ัตง บ พิ ิ ภั ั​ั ต บ พิ พิ ิ​ิ ั​ั ต เมื สถานการณ์ ภาวะปกติ งาน BCM เมื เมื ่อ เมื ่​่ อ เมื ่อสถานการณ์ เมื ่​่ อ ่​่ อ กลัก กสูบ ลัก บลั ก สูบ ่สสู ่​่ ส ่​่ ส คณะท� ผู คณะท� ริคณะท� า งาน BCM คณะท� าาางาน BCM าบ งาน BCM าาสูงาน BCM งาน BCM งาน BCM

การจั ด การหลั งยการหลั ภัด ย พิ บ ิ พิ เมื ่อ สถานการณ์ ลั สู ่ส ภาวะปกติ า่เหายที งาน BCM (Rehabilitation and Reconstruction) (Rehabilitation and Reconstruction) (Rehabilitation and Reconstruction) แต่ ล ะหน่ วสถานการณ์ ยงานต้ อ งพิ จ ารณาความเสี ย หายที กิ ดกิ ขึด นขึ แต่ ล ะหน่ ว ยงานต้ อก งพิ จ ารณาความเสี ย หายที กิ ด ขึ ้​้น น่​่้เเน แต่ ล ะหน่ วสถานการณ์ ยงานต้ อก งพิ จ ารณาความเสี ย หายที กิ ้น ดงาน BCM ขึ ้​้น น 3. 3.บ การจั การจั ด การหลั การหลั งงง ภั ง ย ย พิ พิ บ ัต ัต ิบ ิแต่ เมื เมื ่เมื อ สถานการณ์ สถานการณ์ ลั ลั บ บ สู สู ่ส ่ส ภาวะปกติ ภาวะปกติ ย คณะท� คณะท� คณะท� งาน BCM างาน BCM งาน BCM 3. การจั ดด งพิ ภั ยภั พิ บ ัต ิบ การจั ด การหลั งดสถานการณ์ ภั บ ัต 3. การจั ด งัต ภั ย บ ัต ิ ่อ เมื ่อ สถานการณ์ กก ลัก บ สู ่ลั ส ภาวะปกติ หายที คณะท� า า่​่เเหายที เมื ่อ สถานการณ์ ก ลั สู ่ส ภาวะปกติ ่ส่ส คณะท� เมื ่อ ก ลั บ ่ส ภาวะปกติ คณะท� คณะท� า งาน BCM งาน BCM 3. การจั ด การหลั ภั ย พิ บ ัต ิ พิ เมื ่อ สถานการณ์ ก ลั บ สู ่ส ภาวะปกติ 3. 3. การจั การจั ด การหลั การหลั ง งัต ภั ภั ย ย พิ บ บ ัต ัต ิ ะหน่ ิ ่อ เมื เมื ่อยงานต้ ่อว สถานการณ์ ก ก ลั่ส ลัสู บ บ สูสู ภาวะปกติ า่เด คณะท� คณะท� าาขึ งาน BCM 3. การจั ดการหลั การหลั ภั พิ บ ิบ เมื ่อ สถานการณ์ ลั บ สู ่สบ ภาวะปกติ ย คณะท� างาน BCM งาน BCM 3. (Rehabilitation การจั ด การหลั3. งand ภั3. ยand พิ ัต ิ and เมื ่อ ก ลั บ สู ส ภาวะปกติ อบงพิ คณะท� าภาวะปกติ งาน BCM 3. การจั ด การหลั งยง ย พิ ัต ิพิ 3. การจั การหลั ภั ย พิ ัต ิ ะหน่ เมื ่อ่อยงานต้ ก ลั บ สู ภาวะปกติ คณะท� สถานการณ์ ลั บ สู ่ส่ส ภาวะปกติ คณะท� างาน BCM งาน BCM (Rehabilitation and Reconstruction) (Rehabilitation (Rehabilitation (Rehabilitation (Rehabilitation and Reconstruction) and Reconstruction) Reconstruction) Reconstruction) Reconstruction) แต่ วล ยงานต้ งพิ จ ารณาความเสี หายที กิ ขึกิ แต่ แต่ ล ะหน่ ล แต่ ล แต่ วะหน่ ล ยงานต้ ว ะหน่ วสถานการณ์ ยงานต้ ว อ ยงานต้ งพิ อ อ จกบ งพิ อ ารณาความเสี จ งพิ อ ารณาความเสี จ งพิ ารณาความเสี จ ารณาความเสี จ ารณาความเสี ยคณะท� หายที ย หายที ย ย กิ กิ ่เขึด กิา้น ่​่เเขึ ด ขึ ด ้​้น 3. การจั ด การหลั งิภั ภั ยบ พิ บ ัต ิ ะหน่ เมื ่อ สถานการณ์ ก สู ภาวะปกติ งาน BCM างาน BCM 3. การจั ด การหลั ง ภั ย ัต ิล เมื สถานการณ์ ก ลั บ สู ่ส ภาวะปกติ า คณะท� าด (Rehabilitation and Reconstruction) ล ะหน่ ว ยงานต้ อววงพิ จ ารณาความเสี หายที ่ด เหายที กิลั ขึ ้น กิ เพื อหนดแนวทางในการฟื้ ก� หนดแนวทางในการฟื้ นฟู ส่​่เเ ย ที สี ยหายที หายให้ ลั บ สู เพื อ่ อ ก� หนดแนวทางในการฟื้ นฟู ส ที สี ย หายให้ ก ลัหายที บ สู เพื อ ก�ลหนดแนวทางในการฟื้ หนดแนวทางในการฟื้ นฟู สหายให้ ทีสี สี ย หายให้ ลั บ สู้ขึ (Rehabilitation (Rehabilitation and and Reconstruction) Reconstruction) แต่ แต่ ล ะหน่ ะหน่ วะหน่ ยงานต้ วยงานต้ อ งพิ งพิ จนฟู จ ารณาความเสี ารณาความเสี ย หายที ่ก เกิ กิ ด ้น ้น ขึ ้กิ ่ง ่ง ่งยหายให้ (Rehabilitation and Reconstruction) and Reconstruction) (Rehabilitation and Reconstruction) แต่ ล ออยงานต้ จงพิ ารณาความเสี ยยย ่เ่เสู กิ ด นขึ ขึ แต่ ล ะหน่ วาะหน่ ยงานต้ อยงานต้ งพิ จยงานต้ ารณาความเสี ย หายที ่ก เหายที ขึ ้ลั น ่ด แต่ ะหน่ วยงานต้ ยงานต้ อ งพิ จ ารณาความเสี ่้เด กิ ้น ้น้น (Rehabilitation and Reconstruction) ลหนดแนวทางในการฟื้ ะหน่ วหนดแนวทางในการฟื้ อ งพิ จ ารณาความเสี หายที ่ด เย กิ ้น ด (Rehabilitation (Rehabilitation and and Reconstruction) Reconstruction) แต่ แต่ ลลยงานต้ อ อ งพิ งพิ จจ ารณาความเสี ารณาความเสี ย หายที ่เสู กิ (Rehabilitation and Reconstruction) แต่ ล ะหน่ วยงานต้ ยงานต้ อ งพิ จ ารณาความเสี หายที ่เกิ ด ขึลั ้น เพื ่อ ก� หนดแนวทางในการฟื้ นฟู ส ่เย สี ย หายให้ ก บ สู ่ด (Rehabilitation(Rehabilitation and Reconstruction) แต่ ลReconstruction) ะหน่ วยงานต้ ารณาความเสี ยงพิ หายที ่จ เส ด ขึ ้น (Rehabilitation and Reconstruction) (Rehabilitation and แต่ ะหน่ อองพิ ารณาความเสี ยกิ ่เก กิ นขึ ด แต่ ะหน่ วะหน่ ยงานต้ งพิ จกิ ารณาความเสี ยย เด กิ ด ้น ขึขึ เพื ก� าจ นฟู ส ิ่ง ที ่เทีสี สี ย ก ลั บ สู ่ขึ เพื เพื ่ ออแต่ ก�่​่งพิ อ าแต่ เพื ก� หนดแนวทางในการฟื้ าาเพื ่​่ ล อ ก� ่​่ อ าาล ก� าาวล นฟู ิ่ง ส นฟู ที ิ​ิ่ง นฟู ่เที สี ส ิ​ิ่ง ส ที ิ​ิ่ง ่​่เเหายให้ ที ่​่เเย สี หายให้ หายให้ ลัหายที กย บ บ ก ่ หายที สู ก ่​่ขึ บ สู บ ่​่ เ ขึ ่​่ ้ น (Rehabilitation and Reconstruction) แต่ ล ว อ งพิ จ ารณาความเสี หายที เขึ ด (Rehabilitation and Reconstruction) แต่ ล ะหน่ ววะหน่ ยงานต้ อ จ ารณาความเสี ย หายที เลั กิ น ด ่ ิง

เพื ่อ ก� หนดแนวทางในการฟื้ ส ิ่ง ที ่เที สี ย หายให้ กสีสี สภาพเดิ มก� โดยเร็ สภาพเดิ ม โดยเร็ สภาพเดิ ม โดยเร็ ว หายให้ ่อ ่อ ก� ก� า่ อ หนดแนวทางในการฟื้ าหนดแนวทางในการฟื้ หนดแนวทางในการฟื้ นฟู นฟู ส ิ่ง ิ่ง ที ที ่เนฟู สีสี ่เสีที สี ยย ย ก ลั ลั บ บ สู สู ่บ ่ก เพื ่อ า่ อ ส ิ่งส ่เส ย ลั บ สู เพื ่ อสภาพเดิ ก� าเพื หนดแนวทางในการฟื้ นฟูนฟู ิ่งนฟู ่เส ย หายให้ ก ลั บ ่ ลัลัสู 3. การจัดการหลังภัยพิบัติ (Rehabilitation andเพืReconstruction) เมื ่อเพื สถานการณ์ กสก�หนดแนวทางในการฟื้ ลัวววิ่งาาบหนดแนวทางในการฟื้ สู่เวว่ภสีาวะปกติ คณะท� ำสสีนฟู งาน BCM แต่ ลลักยกยสูะหน่ ยงาน เพื ่อ าม นฟู ส ิ่ง ที ่เหายให้ สี ย หายให้ ก บ สู ่ สูสู่ ่ เพื ่อ ก� า่าหนดแนวทางในการฟื้ ิง ทีที ่เสี หายให้ กกบ บบ สู ่ ลั เพื เพื ่ อโดยเร็ ่วอ ก�โดยเร็ หนดแนวทางในการฟื้ นฟู ส ส ิง ทีที ่เ่เหายให้ หายให้ หายให้ ก ่ ิ่ง เพื ่เพื อาก� ก� หนดแนวทางในการฟื้ ่เิง สู่ลั ่บ ่ ิง ่ อก�าหนดแนวทางในการฟื้ นฟู ย กสนฟู ลันฟู บทีนฟู สู ก� าม นฟู ส ิ่ง ่เหายให้ สี ย หายให้ ก ลั สู ่ ลั เพื อโดยเร็ ก� าหนดแนวทางในการฟื้ หนดแนวทางในการฟื้ นฟู ส ที ่เหายให้ สี ย หายให้ ก่ วก ลั บ สูสู ่ ่ บบ สภาพเดิ ม โดยเร็ สภาพเดิ สภาพเดิ สภาพเดิ สภาพเดิ ม โดยเร็ ม ม วที ว เพื ่ก� อ ก� าหนดแนวทางในการฟื้ หนดแนวทางในการฟื้ ิ่ง ที ่เหายให้ สี ย เพื าโดยเร็ ส ิ่ง ที ่เย สี ย หายให้ ก ลั บ สู ่ ลั สภาพเดิ ม โดยเร็ ว สภาพเดิ สภาพเดิ ม ม โดยเร็ โดยเร็ ว ว ่ ่ รู ้ จ ั ก ค� า ศั พ ท์ ท ี เ กี ย วข้ อ ง ่ ่ ่ ่ รู ้ จ ั ก ค� า ศั พ ท์ ท ี เ กี ย วข้ อ ง รู ้ จ ั ก ค� า ศั พ ท์ ท ี เ กี ย วข้ อ ง สภาพเดิ ม โดยเร็ ว สภาพเดิ ม โดยเร็ ว สภาพเดิ ม โดยเร็ ว มมโดยเร็ สภาพเดิ สภาพเดิ โดยเร็ สภาพเดิ โดยเร็ สภาพเดิมโดยเร็้นวฟูสิ่งสภาพเดิ สภาพเดิ โดยเร็ ต้องพิจารณาความเสียหายที่เกิดขึ้นเพื่อก�ำหนดแนวทางในการฟื ที่เสภาพเดิ สีสภาพเดิ ยหายให้ กมมโดยเร็ ลัโดยเร็ บสูมวมว่สโดยเร็ ภาพเดิ วักศั้จรูาาค�ักพศั้จศัาค�ท์ักพศัพาทค�ท์พ สภาพเดิ โดยเร็ มม วววว วรูวม้จโดยเร็ ่ย่ย ่ยกี ่ยกี ่ยง ท์ กีวข้ วข้ รูรูัก้จ้จรูค�ักัก ้จรูาค�ค� ศัี่เาทท กี ท์ พ ศัี่เี่เย ทท์ กี พ ี่เท ท์ กี​ี่เวข้ ท อี่เวข้ ง ออวข้ ง อวข้ งององ

รู้จักค�ำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง

ก ท์ ท ี่เท กี วข้ อท์ ง ่ยท รูรูัรู รูา้จ้จค� ้จ ัก ค� าัก ศั าศั ศั พ ท์ ท์ ท ท ี่เกี กี วข้ วข้ ออ งกี งอ ่ย ้จ้จ ัก าค� ศั​ัก พ ี่เท์ อ งี่เอ ่ย ัก้จรูค� ศั ท์ กี ย วข้ อ ง รูัก ัก ค� าท์ ศั ท์ ท ี่​่เย วข้ อ ่ย ค�ศั า้จ พ ท์ ทท ี่เกี กี งกี ่ย่ย รูท รูค� ้จ ัก ัก ค� ค� าี่เพ า่ย ศั ศั พ ท์ ท ท ีเวข้ วข้ วข้ ่ย าพ ศั พ ี่เกี วข้ อ ง รู้จักค�าศัพท์ที่เกีรู่ย้จรูวข้ อ ง ่ยกี ่ย รูัก ้จ ค� าี่เ้จ ศั พ ท์ ท ีเวข้ กี วข้ รูาค� ้ค� จ ัก าศั ศั พ ท์ ท ี่เ่ย กี อง งงงอองง ่ย รูพ ้จ ค� าท์ ศั พ ท์ ี่เวข้ กี วข้ อง รูักัก ้จ ค� าพ พ ท ี่เพ กี วข้ อ

BCMS ERP BCP RTO RP BCMS ERP BCP RTO RP BCMS ERP ERP BCP RTO RP BCMS BCMS BCMS BCMS BCMS ERP ERP ERP ERP BCP BCP BCP BCP BCP RTO RTO RTO RTO RTO RP RP RP RP RP BCMS ERP BCP RTO RP BCMS BCMS ERP ERP BCP BCP RTO RTO RP RP BCMS ERP BCP RTO RP BCMS ERP BCP RTO RP BCMS ERP BCP RTO RP BCMS ERPBUSINESS BCP RTO RP BCMS ERP BCP RTO RP BCMS BUSINESS ERP BCP RTO RP BUSINESS BUSINESS BUSINESS BCMS ERP BCP RTO RP BCMS ERP BCP RTO RP EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIMERECOVERY RECOVERY BCMS ERP BCP RTO RP BCMS ERP BCP RTO RP BUSINESS BUSINESS BUSINESS BUSINESS BUSINESS EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY EMERGENCY EMERGENCY EMERGENCY EMERGENCY BUSINESS BUSINESS BUSINESS BUSINESS RECOVERY RECOVERY RECOVERY RECOVERY RECOVERY TIME TIME TIME TIME TIME RECOVERY RECOVERY RECOVERY RECOVERY

RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY BUSINESS EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY BUSINESS BUSINESS BUSINESS BUSINESS BUSINESS EMERGENCY EMERGENCY BUSINESS BUSINESS RECOVERY RECOVERY TIME TIME RECOVERY RECOVERY BUSINESS BUSINESS BUSINESS EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY BUSINESS EMERGENCY EMERGENCY BUSINESS BUSINESS RECOVERY RECOVERY TIME TIME RECOVERY RECOVERY RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE RESPONSE RESPONSE RESPONSE RESPONSE PLAN PLAN PLAN PLAN PLAN CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY OBJECTIVE OBJECTIVE OBJECTIVE OBJECTIVE OBJECTIVE PLAN PLAN PLAN PLAN PLAN CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY BUSINESS CONTINUITY BUSINESS BUSINESS EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY BUSINESS BUSINESS EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY EMERGENCY BUSINESS RECOVERY TIME RECOVERY PLAN PLAN PLAN RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN MANAGEMENT MANAGEMENT MANAGEMENT CONTINUITY PLAN RESPONSE RESPONSE PLAN PLAN CONTINUITY CONTINUITY OBJECTIVE OBJECTIVE PLAN PLAN CONTINUITY CONTINUITY RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN CONTINUITY CONTINUITY CONTINUITY PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE RESPONSE PLAN PLAN CONTINUITY CONTINUITY OBJECTIVE OBJECTIVE PLAN PLAN CONTINUITY PLAN PLAN PLAN PLAN PLAN CONTINUITY CONTINUITY RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN CONTINUITY RESPONSE PLAN RESPONSE CONTINUITY OBJECTIVE PLAN MANAGEMENT MANAGEMENT MANAGEMENT MANAGEMENT MANAGEMENT RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN CONTINUITYMANAGEMENT CONTINUITY CONTINUITY RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN RESPONSE PLAN CONTINUITY OBJECTIVE PLAN CONTINUITY CONTINUITY ่ ระยะเวลาที ก � า หนดไว้ แผนตอบโต้ ่ แผนตอบโต้ แผนฟื้ ่ ระยะเวลาที ก � า หนดไว้ ระยะเวลาที ก � า หนดไว้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู แผนฟื้ นฟู แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ แผนฟื้ นฟู แผนฟื้ นฟู แผนฟื้ นฟูนฟูนฟู นฟู ่ก�า�า่กหนดไว้ ่ก�า่กหนดไว้ ระยะเวลาที หนดไว้ ระยะเวลาที ระยะเวลาที ระยะเวลาที ระยะเวลาที ระยะเวลาที �า่กหนดไว้ �า่กหนดไว้ �าหนดไว้ แผนฟื้ PLAN SYSTEM SYSTEM SYSTEM MANAGEMENT PLAN PLAN PLAN PLAN PLAN PLAN PLAN PLAN MANAGEMENT MANAGEMENT MANAGEMENT MANAGEMENT MANAGEMENT PLAN ่ แผนความต่ อ เนื อ ง ่ ่ แผนความต่ อ เนื อ ง แผนความต่ อ เนื อ ง MANAGEMENT PLAN MANAGEMENT MANAGEMENT PLAN PLAN MANAGEMENT PLAN PLAN SYSTEM SYSTEM SYSTEM SYSTEM SYSTEM MANAGEMENT SYSTEM MANAGEMENT MANAGEMENT ่ แผนความต่ อ เนื อ ง MANAGEMENT MANAGEMENT ภาวะฉุ ก เฉิ น ในการฟื้ นคื น สู ่ ในการฟื้ นคื น สู ่ ภาวะฉุ ก เฉิ น ในการฟื้ นคื น สู ่ ภาวะฉุ ก เฉิ น แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู ่ ระยะเวลาที ก � า หนดไว้ ่อ แผนความต่ เนื งเนื แผนความต่ แผนความต่ แผนความต่ อเนื ออ่อ เนื ง่อ่ออง่ก อ เนืง่องระยะเวลาที แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ แผนฟื้ นฟู นฟู ่ก ระยะเวลาที ระยะเวลาที �า่ก หนดไว้ แผนตอบโต้ นฟู ่ก แผนตอบโต้ แผนฟื้แผนฟื้ นฟู ่กในการฟื้ ระยะเวลาที �าสู�าน แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟูนฟู �านคื ระยะเวลาที �าหนดไว้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู ระยะเวลาที �าหนดไว้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ แผนฟื้ นฟู ่ก่ก�า�าหนดไว้ ระยะเวลาที ระยะเวลาที หนดไว้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู ่นคื ระยะเวลาที ก หนดไว้ ภาวะฉุ เฉิ นกน ภาวะฉุ ภาวะฉุ ภาวะฉุ ก ภาวะฉุ เฉิ กก ภาวะฉุ น เฉิ กแผนตอบโต้ น เฉิ เฉิ กแผนตอบโต้ น เฉิน แผนความต่ ในการฟื้ น ่ หนดไว้ ในการฟื้ ในการฟื้ ในการฟื้ ในการฟื้ นคื นคื นหนดไว้ สู นคื น ่ ่ก่กสู ่ �าหนดไว้ สู นคื น น�หนดไว้ สูหนดไว้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู ระยะเวลาที �าหนดไว้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู ่ก แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู ่ก�า่ก�าสูหนดไว้ ระยะเวลาที ระยะเวลาที �า่ก แผนฟื้ นฟู ระยะเวลาที า่ หนดไว้ แผนตอบโต้ แผนฟื้ นฟู ระยะเวลาที SYSTEM SYSTEM SYSTEM SYSTEM SYSTEM ระบบการบริ หารความ ารความ ระบบการบริ หหSYSTEM ารความ ระบบการบริ ห ารความ ทางธุ รเนื กิ จ ทางธุ รรจ กิ จจแผนความต่ ทางธุ รเนื กิ จ ่อ แผนความต่ อ งเนื SYSTEM SYSTEM SYSTEM SYSTEM ่อ ่อ SYSTEM ระบบการบริ แผนความต่ แผนความต่ อออ เนื อ ง SYSTEM SYSTEM ่อจ ่อ แผนความต่ งอง ่องเนื อกิ ง แผนความต่ อเนื งกระบวนการปกติ ทางธุ รจ กิแผนความต่ จอกิ แผนความต่ เนื งเนื SYSTEM ่อ่อง เนื งกระบวนการปกติ แผนความต่ เนื ง กระบวนการปกติ ภาวะฉุ กเฉิ ในการฟื้ นคืนคื นนคื สูน่ สู ระบบการบริ ารความ ระบบการบริ ระบบการบริ ระบบการบริ ระบบการบริ หSYSTEM ารความ ห ารความ ห ารความ ห ห ารความ ทางธุ กิเนื ทางธุ ทางธุ รแผนความต่ กิ ทางธุ ร ทางธุ ร ร จ กิ แผนความต่ ่อ่อง่ออ แผนความต่ อ่อ่อ เนื งอง แผนความต่ แผนความต่ ่อเนื อ เนื ภาวะฉุ ภาวะฉุ กน เฉิ กเฉิ นอนเนื่องแผนความต่ ในการฟื้ ในการฟื้ น่ สู่

ภาวะฉุ ก เฉิ นกน ภาวะฉุ กเฉิ น ในการฟื้ นนคื สูนคื ่ นคื ภาวะฉุ กเฉิ ในการฟื้ นคื น สูนคื ่นคื ในการฟื้ น ภาวะฉุ กก เฉิ ในการฟื้ นคื นนคื สู ่ ่นนสูนสูสู ภาวะฉุ ภาวะฉุ เฉินน ในการฟื้ ในการฟื้ นคื ภาวะฉุ เฉิ น ในการฟื้ น สู กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ ภาวะฉุกเฉิน ในการฟื้ นคืนสู่ กระบวนการปกติ ภาวะฉุ นนนกกนเฉิ ภาวะฉุ ก เฉิ ในการฟื้ ในการฟื้ ภาวะฉุ กเฉิ ในการฟื้ นคื สู่ ่ สู่ ่นนสูสู่ ่ ภาวะฉุ ก เฉิ นเฉิ ในการฟื้ น ่ นคื ต่​่​่อ อ เนื อ งทางธุ รหกิ กิารความ จกิ ต่ต่ อระบบการบริ เนื อ งทางธุ รงทางธุ กิห จารความ ต่ อห เนื อ งทางธุ รจ กิ จ ห ทางธุ รทางธุ กิ ระบบการบริ ระบบการบริ ารความ ทางธุ รจ รกิ กิ ห ารความ ระบบการบริ ารความ ระบบการบริ ห ารความ ทางธุ รทางธุ กิ จจ ทางธุ รทางธุ กิทางธุ จ กิจจรรกิกิจกระบวนการปกติ ระบบการบริ ารความ รทางธุ จ ระบบการบริ ระบบการบริ หหารความ ารความ ทางธุ จ กระบวนการปกติ ระบบการบริ ทางธุ รกิกิ ่ออ ่อ ่อ ่​่ อ ่​่ อ อต่ เนื งทางธุ ร กิ จกิารความ ต่อระบบการบริ ต่ เนื อ เนื อ งทางธุ ต่ เนื งทางธุ ต่ เนื อ งทางธุ เนื รงทางธุ กิารความ ร จหห กิ รห จ ร จ ระบบการบริหารความ ทางธุรกิจ ระบบการบริ ระบบการบริ รทางธุ ทางธุ รจ ระบบการบริ หารความ ารความ ระบบการบริ หรหจ ารความ ทางธุ รจ กิรกิกิร จกิจจ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ กระบวนการปกติ ่อ เนื งทางธุ รงทางธุ กิ ่อ ่อ อ ต่ เนื อ เนื งทางธุ กิกิ รกิ จ กิ ่อ ่อต่ องทางธุ เนื งทางธุ รรจ จงทางธุ ่องทางธุ เนือต่ต่ รงทางธุ กิ่องทางธุ อเนื เนื งทางธุ รกิจจ กิจจรรกิกิจจ ออ เนื งทางธุ รกิ จ อจ อ เนื เนื งทางธุ ่อ ต่ เนื งทางธุ ร่อ่อ ต่อเนื่องทางธุรกิจ ต่อต่ ่อต่ ต่ อ่อต่ เนื ต่ เนื ่องทางธุ ต่ อ ่อต่ ต่ อ เนื รจรรจ กิรกิกิจ

มาตรการรองรั บ สถานการณ์ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บบ สถานการณ์ รคโควิ ดด -19 ของ PEA มาตรการรองรั มาตรการรองรั มาตรการรองรั มาตรการรองรั มาตรการรองรั บบ สถานการณ์ สถานการณ์ บ สถานการณ์ บ สถานการณ์ สถานการณ์ โรคโควิ โโโรคโควิ โรคโควิ โโรคโควิ โโรคโควิ ดด -19 -19 ด -19 ด ของ -19 ของ -19 ของ ของ PEA ของ PEA PEA PEA PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั มาตรการรองรั บ บ สถานการณ์ สถานการณ์ โ รคโควิ โ รคโควิ ด ด -19 -19 ของ ของ PEA PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA การท� า การท� า งาน การท� าาPEA งาน มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ มาตรการรองรั บ สถานการณ์ โ รคโควิ ด -19 ของ PEA มาตรการรองรั สถานการณ์ โรคโควิดด -19 PEA มาตรการรองรั บบสถานการณ์ โรคโควิ -19 ของ PEA การท� างาน งาน การท� การท� การท� าการท� งาน าของ การท� างาน างาน งาน งาน มาตรการรองรับสถานการณ์ โรคโควิด-19 ของ PEA การท� าการท� งาน การท� งาน างาน งาน การท� าาาางาน การท� าการท� งาน การท� างาน งาน การท� การท� การท� าางาน งาน การท� งาน การท� งาน การท� างาน การท� าาางาน

การท�ำงาน

การท�างาน

จัาท�แผนและฝึ ดาจั ท�แผนและฝึ ก น�แอปพลิ แอปพลิ คชั น LINE ลด/ยกเลิ ก การ จัจัท�•ด ดด ท� แผนและฝึ จัท� ดาาท� แผนและฝึ กอ ซ้ม ก�หนดหลั หนดหลั กเกณฑ์ เกณฑ์ น� แอปพลิ คชั น LINE ไม่ อ นุ มไไนุ ต ห้ไไิ​ิใใปอบรม ปอบรม น�แอปพลิ แอปพลิ คชั น LINE ลด/ยกเลิ ก การ ลด/ยกเลิ ก การ• น�•••าน� ก� หนดหลั กกเกณฑ์ เกณฑ์ ไม่ อ นุนุ ม ต ห้ ปอบรม ก�หนดหลั หนดหลั กเกณฑ์ เกณฑ์ ไม่ อห้ม นุ มไิ​ิใใั​ัต ต ห้ไไปอบรม ปอบรม • จั มอซ้ •LINE จั••ด าจัท� แผนและฝึ ••ท�ดาาจั ••แผนและฝึ ด ด ท�แผนและฝึ แผนและฝึ าาแผนและฝึ กซ้ก กก อซ้ ซ้ซ้ มกอ ออซ้ม ม ก ซ้ม ก อซ้ มอ อม ม น�•าาาน�แอปพลิ แอปพลิ คชั นเเคชั LINE แอปพลิ ••าน� ••าาน� เาาคชั แอปพลิ เเเคชั นเคชั น LINE น LINE เเคชั น LINE น LINE ลด/ยกเลิ กก การ • ลด/ยกเลิ ••• ลด/ยกเลิ • ลด/ยกเลิ •• ลด/ยกเลิ •• ลด/ยกเลิ กก การ การ ก การ ก การ การ เกณฑ์ • ก�•••าก� หนดหลั •ก�าาาก�หนดหลั ••หนดหลั าก� •• าาก� กาาเกณฑ์ หนดหลั ก กเกณฑ์ ก ก ไม่ อ ัตมไนุ • ไม่ ••• อ ไม่ •นุอ ไม่ ม ••นุ ัต อ ไม่ ม ••มิในุห้ ั​ั ต อ ไม่ ิ​ิใใิใปอบรม ัต ห้ อ ิใไั​ัต ปอบรม ห้ปอบรม ม ปอบรม ห้ ห้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ นอม การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน PEA COVID-19 มา สั ม มนา หรื อ ดู ง าน ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ ม • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ ก การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน • จั • ด จั ท� ด า ท� แผนและฝึ า แผนและฝึ ก ซ้ อ ซ้ ม อ ม • น� • า น� แอปพลิ า แอปพลิ เ คชั เ คชั น น LINE LINE • ลด/ยกเลิ • ลด/ยกเลิ ก ก การ การ • • ก� า ก� หนดหลั า หนดหลั ก เกณฑ์ ก เกณฑ์ • ไม่ • ไม่ อ นุ อ ม นุ ั ต ม ิ ใ ั ต ห้ ิ ใ ไ ห้ ปอบรม ไ ปอบรม แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ เฉิ น แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ภ าวะฉุ ก ภ เฉิ ก าวะฉุ ภ น เฉิ าวะฉุ น ก เฉิ ก น เฉิ ่ ่ ่ ่ ่ PEA COVID-19 มา PEA PEA COVID-19 PEA COVID-19 PEA COVID-19 COVID-19 มา มา มา มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง ประชุ ประชุ ม ประชุ ม และหลี ประชุ และหลี ม ก ม และหลี เลี ก และหลี ย เลี ง ย ก ง เลี ก ย เลี ง ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน การปฏิ การปฏิ การปฏิ บ ั ต การปฏิ บ ิ ง ั ต านภายใน ิ ง านภายใน บ ั ต บ ิ ง ั ต านภายใน ิ ง านภายใน สัมนา ม มนา หรื อ ดู ง าน สั•มสัไม่ ม มนา สั หรื ม สั มนา หรื ดู มนา อ ง ดู หรื าน ง หรื าน อ ดู อ ง ดู าน ง าน • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ ม • จั ด ท� า แผนและฝึ ซ้ อ ม • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • จั ด ท� า แผนและฝึ ก • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ การ • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ ก การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • ลด/ยกเลิ การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ ม • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ ก การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • • จั จั ด ด ท� ท� า า แผนและฝึ แผนและฝึ กม กซ้ซ้ออมม • • น� น� า า แอปพลิ แอปพลิ เ เ คชั คชั น น LINE LINE • • ลด/ยกเลิ ลด/ยกเลิ ก ก การ การ • • ก� ก� า า หนดหลั หนดหลั ก ก เกณฑ์ เกณฑ์ • • ไม่ ไม่ อ อ นุ นุ ม ม ั ต ั ต ิ ใ ิ ใ ห้ ห้ ไ ไ ปอบรม ปอบรม • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ ม • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ ก การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ ม • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ ก การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่อนุมัติให้ไปอบรม • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ ม • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ ก การ • ลด/ยกเลิ ก การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ • น� า แอปพลิ เ คชั น LINE • ลด/ยกเลิ ก การ • ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ • ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • จั ด ท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ น� า แอปพลิ เ คชั น LINE ลด/ยกเลิ ก การ ก� า หนดหลั ก เกณฑ์ ไม่ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห้ ไ ปอบรม • ไม่ อมสัมมนา นุหรื มมนา ตั สั่มดูใิ มหรื ห้หรื ไหรื ปอบรม • ก� ำั​ั กก(WFH) หนดหลั กัต(WFH) เกณฑ์ • ลด/ยกเลิ กดมและหลี การ • น� ำมมงใช้ แอปพลิ เาน คชั น่ อนัพพให้ LINE • จั ดและแผนความต่ ท�ำแผนตอบโต้ แผนและฝึ ก่อเนื ซ้งเฉิ องงเฉิ มน่อ่อนงงนกอนซ้มอมเฉิ ่อ ่อ และแผนความต่ อ ่อ ใช้ ง าน เพื อ ให้ พ นัPEA กนั งาน ่พ ่COVID-19 ่ย การจั ดประชุ งาน/จั ด ประชุ ม และแผนความต่ อ เนื งงเฉิ ่อ และแผนความต่ อ เนื ทีั ก พ ก (WFH) และ ใช้ ง าน เพื อ่ อ ให้ นัมา กกนัพ งาน ในประเทศกลุ ่ม ม เสี ย ง่​่ย ่ย ใช้ ง าน เพื อ ให้ พ นัมา กและแผนความต่ งาน การจั ดด งาน/จั ดด ประชุ มเลี ่พ การจั ดก งาน/จั ดงย ประชุ ทีทีั ก่​่พ พ (WFH) และ ในประเทศกลุ ่ม ม่ม เสี ย ง ทีัตั​ั ก พ ัการปฏิ ก (WFH) และ ในประเทศกลุ ่ม ม เสีดู ยที งการปฏิ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก น ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย การปฏิ บ ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ภ าวะฉุ ก เฉิ ก ่ ่ PEA PEA COVID-19 มา ประชุ ประชุ ม และหลี และหลี ก ก เลี ย ง ย ง การปฏิ การปฏิ บ ั ต บ ิ ง ั ต านภายใน ิ ง านภายใน สั มนา ม อ ดู อ ง ดู าน ง าน ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ และแผนความต่ อ เนื อ และแผนความต่ และแผนความต่ และแผนความต่ อ เนื อ อ เนื อ ง อ เนื อ ง เนื อ อ เนื ใช้ ง าน เพื ให้ พ นั งาน ใช้ าน ง ใช้ าน ง ใช้ เพื าน ง ใช้ เพื อ ให้ ง เพื อ าน พ ให้ เพื เพื ก นั พ ให้ งาน ก ให้ งาน ก นั พ งาน ก งาน ก งาน ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ การจั งาน/จั ประชุ ม การจั การจั การจั ด งาน/จั การจั ด งาน/จั การจั ด งาน/จั ด งาน/จั ประชุ ด ด งาน/จั ประชุ ด ประชุ ม ด ประชุ ม ด ประชุ ม ม พ ั ก (WFH) และ พ ที ที พ ที (WFH) ที (WFH) ั ก (WFH) และ และ และ และ และ ในประเทศกลุ เสี ย ในประเทศกลุ ในประเทศกลุ ในประเทศกลุ ในประเทศกลุ ในประเทศกลุ เสี ่ ย เสี ่ ม เสี ่ เสี ย ่ ง เสี ง ง แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก น ่ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ PEA COVID-19 มา ภ าวะฉุ ่ PEA COVID-19 ประชุ ม ก เลี ง PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี เลี ย ง การปฏิ บ ิ ง านภายใน สั ม อ ดู ง าน ม และหลี ก เลี ย บ ิ ง านภายใน สั ม มนา อ ง าน บ ั ต ิ ง านภายใน มนา หรื อ ง าน แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั มนา หรื อ ดู ง าน แผนตอบโต้ แผนตอบโต้ ภ ภ าวะฉุ าวะฉุ เฉินน ่ ่ PEA PEA COVID-19 COVID-19 มา มา ประชุ ประชุ ม ม และหลี และหลี ก ก เลี เลี ย ย ง ง การปฏิ การปฏิ บ บ ั ต ั ต ิ ง ิ ง านภายใน านภายใน สั สั ม มนา มนา หรื หรื อ อ ดู ดู ง ง าน าน แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สัมมนา หรือดูงาน และไม่ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ PEA COVID-19 มา PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ นกกนเฉิ ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน แผนตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ่ PEA COVID-19 มา ประชุ ม และหลี ก เลี ย ง การปฏิ บ ั ต ิ ง านภายใน สั ม มนา หรื อ ดู ง าน ทางธุ รและแผนความต่ กิ เพื อเนื รองรั บ ่​่ อ ประเมิ น สุภาพและ ข ภาพและ ่​่ อ หากจ� เป็ นาา�� ด ให้ ด เนิ น การ ทางธุ รจ กิทางธุ จจกิร เพื รองรั บ ทางธุ รจ กิ จ เพื อเนื รองรั บ ่อง มาตรการเหลื อมเวลา มเวลา ประเมิ น สุ ข ภาพและ และไม่ ชิ่มค ญ บุ ค ลากร ประเมิ สุ ข ภาพและ หากจ� เป็ น ให้ ด เนิ น การ หากจ� เป็ น ให้ ด เนิ น การ มาตรการเหลื อั ก มเวลา ชิและไม่ ญ บุ คค ลากร มาตรการเหลื อมเวลา มเวลา และไม่ ชิ ญ บุเสี คงเสี ลากร สัในประเทศกลุ มเในประเทศกลุ มนา หรื อลากร ดูเสี าน การปฏิ บ่พัมาตรการเหลื ักทีั กที่พั กทีงิ (WFH) านภายใน ประชุ มดการจั หลี กงาน/จั งา�การ COVID-19 มาใช้ งนนาน าน เพื ่อเพื ให้ แผนตอบโต้ กงบเนื เฉิ นเนื ่อเนื และแผนความต่ อ ใช้ งใช้ าน เพื อ ให้ พ นั กนัให้ งาน ่พ การจั ด งาน/จั ประชุ มาา�� การ ที ั ที ก (WFH) และ ่ม ่ เนื ทางธุ รและแผนความต่ จ เพื อาวะฉุ รองรั ประเมิ น สุ ข่เพื ่อ(WFH) หากจ� าการจั เป็ น ให้ ด เนิ น มาตรการเหลื มเวลา และไม่ เญ ชิ ญ คญ ลากร ่อ ่อ ่าน ่ข และแผนความต่ ออ อ ง ง ใช้ ง าน ง าน เพื อ ให้ อ ให้ พ พ นัให้ ก นั งาน ก งาน ่ย ่ย ด ด งาน/จั ด ประชุ ด ประชุ ม ม ที ัการจั ก (WFH) (WFH) และ และ ในประเทศกลุ ในประเทศกลุ ่มง่ม เสี ่ม ง ง ่อ ่ อเพื ่​่ อ ทางธุ รและแผนความต่ กิและแผนความต่ รองรั บ ทางธุ ทางธุ กิและแผนความต่ ทางธุ ร กิ เพื จ เพื กิรองรั ร จ อและแผนความต่ กิ รองรั จ เพื บ เพื รองรั บ รองรั บ บ ประเมิ น สุ ขใช้ ภาพและ นใช้ ประเมิ สุใช้ น ข สุ ภาพและ ภาพและ น สุ ข สุ ภาพและ ่อั ก ่​่ อ ่​่ อ ่​่ อ หากจ� าน เป็ น ให้ ด า�่ ย เนิ น การ หากจ� หากจ� าการจั เป็ หากจ� าาการจั เป็ หากจ� ให้ น าาการจั ด ให้ เป็ า� เลี าาด เนิ เป็ น ให้ น เนิ น ด ให้ น าา��ประชุ การ ด เนิ น เนิ การ การ มาตรการเหลื มเวลา มาตรการเหลื มาตรการเหลื มาตรการเหลื มเวลา มเวลา และไม่ ชิที บุลากร และไม่ ชิ และไม่ ญ เเเชิ ญ บุ คในประเทศกลุ เเับุ ชิ ญ เเบุ ชิ ลากร บุ บุ ลากร ค ่อ ่อ ่ข และแผนความต่ อง ่อ และแผนความต่ อภ ง าน เพื ให้ พ ก งาน ่พ ่ยลากร อ เนื ใช้ งประชุ าน เพื อ ให้ พ นั ก งาน ่ย ด งาน/จั ด ประชุ ม ใช้ ง เพื ให้ นั ก งาน ่พ ่พ การจั งาน/จั ด ประชุ ม ก่พ และ ่มค ง งาน/จั ด ประชุ ม ที ัก (WFH) และ ในประเทศกลุ เสี ง ที และ ่ม เสี ย ง ่อ ่ อภาพและ เนื งเนื ใช้ าน เพื ให้ พ นั ก งาน ่พ ่ย การจั ดด งาน/จั มประเมิ ัต (WFH) และ ในประเทศกลุ เสี งเสี ่ อ่นั และแผนความต่ ออ เนื เนื่อ่องง ใช้ ใช้ ง งให้ าน าน เพื อพ ให้ ให้ พ พ นั นัรก ก งาน งาน ่พ ่พ ่ยที ่ยทีที การจั การจั ด งาน/จั งาน/จั ดประเมิ ด ประชุ ม มงประเมิ ที่อ ที ัก ัก (WFH) (WFH) และ และ ในประเทศกลุ ในประเทศกลุ ่ม ่ม เสี เสี ง ง่พ ่ง ่อ และแผนความต่ เนื ง ง าน เพื พ นั ก งาน การจั งาน/จั ด ประชุ มน (WFH) และ ในประเทศกลุ ่ม่ย เสี ย งเสี ่ ่ และแผนความต่ อ เนื อ ง ใช้ ง าน เพื อ ให้ พ นั ก งาน ่ ด งาน/จั ด ประชุ ม พ ก (WFH) และ ในประเทศกลุ่มเสี่ย งและไม่ ่ ่ ่ ่ อ เนื อ ง และแผนความต่ อ ง ใช้ ง าน เพื อ พ ก งาน ่ ่ ใช้ ง าน เพื อ พ นั ก งาน ่ ด งาน/จั ด ประชุ ม ่ การจั ด งาน/จั ด ประชุ ม พ (WFH) และ ในประเทศกลุ ่ ม เสี ย ง พ ั ก (WFH) และ ในประเทศกลุ ่ ม ย ง ่ ่ และแผนความต่ อ อ ง ง เพื อ ให้ พ นั ก งาน ่ ่ การจั ด งาน/จั ด ประชุ ม พ ั ก (WFH) และ ในประเทศกลุ ่ ม ย ง ่ ่ อ เนื อ ง ใช้ ง าน เพื อ ให้ พ นั ก งาน ่ การจั ด งาน/จั ด ประชุ ม ที ั ก (WFH) และ ในประเทศกลุ ่ ม เสี ย ง สถานการณ์ ก ารแพร่ ความเสี ย งในการติ ดสถานการณ์ ผ่ น Video Conference สถานการณ์ ก ารแพร่ สถานการณ์ กรองรั ารแพร่ ปฏิ บาน ตาน งั​ัต าน ความเสี ย่ยภาพและ งในการติ ดด จากต่ งประเทศ ความเสี งในการติ ด ผ่ นนหากจ� Video Conference ผ่ นาหากจ� Video Conference ปฏิ บบ ตัต งิงปฏิ าน จากต่ งประเทศ ปฏิ บ ต ง าน จากต่ งประเทศ ่กิ รทางธุ กิทางธุ จ เพื อเพื รองรั บ น สุ ขน ภาพและ ่อและ เป็ น ให้ า� Conference เนิ น การ มเวลา และไม่ เาและไม่ ชิ บุ ค ่อ ่อ รก รกิ จ กิ จ เพื บ ประเมิ สุ น ภาพและ ภาพและ ่อ หากจ� เป็ าConference เป็ ด าด � เป็ เนิ การ น มเวลา และไม่ เและไม่ เญ ญ ชิ บุ ค บุ ลากร ค ่ยประเมิ ่​่ ย ่น ่​่สุ สถานการณ์ ก ารแพร่ สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ ก ก ารแพร่ ก ารแพร่ ก ความเสี งในการติ ความเสี ความเสี ความเสี ความเสี งในการติ ความเสี งในการติ ยน งในการติ ย งในการติ ด งในการติ ด ด ด ผ่รมเวลา าVideo Conference าา่อ ผ่ น าาหากจ� ผ่ น ผ่ Video น าาผ่ Video น าาหากจ� น Video Conference ปฏิ ปฏิ บ ปฏิ ัตั ก บ ิงมาตรการเหลื ปฏิ ั​ั ต าน บมาตรการเหลื ิ​ิ ง ัต าน บ ิงมาตรการเหลื ั​ั ต บ ิ​ิ ง ิ​ิ ง าน จากต่ างประเทศ งประเทศ จากต่ จากต่ จากต่ าและไม่ งประเทศ จากต่ าาและไม่ จากต่ งประเทศ าาชิ งประเทศ าาญ งประเทศ ่อ ่จ ่ อบ ทางธุ รทางธุ กิ เพื รองรั ทางธุ รทางธุ กิทางธุ จ เพื อ รองรั บ ประเมิ น สุน ขรข ภาพและ รกิ กิ จ สุการ ข ่อาน าVideo น ให้ ด า� นา�Conference น การ ประเมิ น สุ ข ่อมเวลา าหากจ� เป็ น ให้ ด น การ มาตรการเหลื มเวลา เญ บุ ค ลากร าเป็ เป็ ให้ าเนิ � การ เนิ น การ มเวลา และไม่ เและไม่ ชิ ญ บุ ลากร มาตรการเหลื ชิ ญ คลากร ลากร ่ อเพื ทางธุ รทางธุ กิ จ ประเมิ สุ าเป็ เป็ น ให้ ด เนิ น มาตรการเหลื มเวลา และไม่ เชิ ชิ ค ลากร ทางธุ รรองรั รรองรั จ เพื เพื รองรั ประเมิ ประเมิ น นภาพและ สุข ขดภาพและ ภาพและ ่อ หากจ� า� เนิ าน เป็ ให้ ให้ ด า� การ า� ประเมิ เนิ เนิ น น การ มาตรการเหลื มเวลา และไม่ เบุ ชิค ชิ ญ ญ บุ บุมาตรการเหลื ค ลากร ่อ ทางธุ รกิารแพร่ เพื รองรั บบง่ อ่ อบรองรั ประเมิ ข ภาพและ ่อ หากจ� าน เป็ น ให้ ด � เนิ เนิ การ มาตรการเหลื มเวลา เค ชิ ญ บุ ค ลากร ในประเทศกลุ ่มเบุชิลากร เสี ่ยเบุลากร ง่อคบุลากร ทีคปฏิ ่ลากร พมาตรการเหลื (WFH) กผ่มเวลา จัาาหากจ� ดVideo งาประเมิ าConference /านา�นConference จัดสุให้ ดให้ พนั กประเมิ งานประเมิ สุสุนขประจ� ขข่​่ยยสุภาพและ ภาพและ และแผนความต่ อกิดกิ่ารแพร่ เนื ่อบดรองรั ่สุ ทางธุ เพื อ รองรั บนทางธุ ข ภาพและ หากจ� ามาตรการเหลื เป็ น่อ่อ่อ ให้ ดมเวลา เนิ นหากจ� การ มาตรการเหลื มเวลา และไม่เชิญบุคลากร ่ อจ ่อ รารแพร่ จ เพื รองรั บ รกิ กิ จ เพื รองรั บบบ บบ ประเมิ นกิ สุจสุ ภาพและ ประเมิ น ภาพและ หากจ� าหากจ� เป็ น ให้ ด า� น เนิ นด การ าเนิ เป็ น ให้ ด า�ด เนิ น มาตรการเหลื เญ บุ ลากร มาตรการเหลื มเวลา และไม่ เชิ ญ ลากร ่อ รเพื จ เพื รองรั ประเมิ น ข ภาพและ ่อมเวลา หากจ� าน ให้ ด า� การ น การ และไม่ ชิเญ ญ ค ทางธุ รจทางธุ จ อเพื รองรั ประเมิ ขสุขข ภาพและ ่อ่อา� ่อมเวลา หากจ� เป็ นด ให้ า�น เนิ น การ มาตรการเหลื และไม่ เและไม่ ชิ ญ บุ ค ้ ระบาดของโรคโควิ ด -19 เชื อ โควิ ด -19 ประจ� า วั น ้ ระบาดของโรคโควิ ด -19 ้ ระบาดของโรคโควิ เชื อ โควิ ด -19 า วั น เชื อ โควิ ด -19 ประจ� า วั ่ สถานการณ์ ก ารแพร่ ความเสี ย งในการติ ด ผ่ น Video ปฏิ บ ั ต ิ ง าน จากต่ า งประเทศ ้ ระบาดของโรคโควิ -19 เชื อ โควิ ด -19 ประจ� า วั น ่ความเสี สถานการณ์ ารแพร่ ก ารแพร่ ความเสี ความเสี งในการติ ย ด น Video Video Conference Conference ปฏิ ัาต บ ิง ัต าน ิง าน จากต่ จากต่ งประเทศ างประเทศ งประเทศ ้อ ้อ้อโควิ ้อ ้อ ระบาดของโรคโควิ ด -19 ระบาดของโรคโควิ ระบาดของโรคโควิ ด -19 ด -19 ด -19 ดกก-19 -19 เชื โควิ ด -19 ประจ� เชื เชื โควิ เชื ด -19 เชื ด โควิ -19 โควิ ประจ� ประจ� -19 ดงในการติ -19 า่ยงในการติ วังในการติ ประจ� น าางในการติ วัวัประจ� น าดด วัระบาดของโรคโควิ าน วัระบาดของโรคโควิ นด สถานการณ์ ่ย่ยด ่ย กกกก ารแพร่ ่ย สถานการณ์ การแพร่ ความเสี งในการติ สถานการณ์ ก ารแพร่ ความเสี งในการติ ด ผ่ผ่ผ่ผ่ าาผ่ Video ความเสี Conference ปฏิ บบ ัต ิงปฏิ าน จากต่ าาจากต่ ผ่ าVideo นผ่ Video Conference ปฏิบัต ิงปฏิ าน าจากต่ งประเทศ บ ัง ต ิงบ าน างประเทศ งประเทศ ่ย่ย สถานการณ์ ารแพร่ ความเสี งในการติ ด านานนาความเสี Video ปฏิ บปฏิ ัตัต ิงบ าน างประเทศ งประเทศ ่ย ่น สถานการณ์ สถานการณ์ ารแพร่ ารแพร่ ความเสี ยดงในการติ งในการติ ด ดสถานการณ์ ผ่ า่ย าConference นConference น Video Video Conference Conference ปฏิ ปฏิ บ ัต ัตConference ิงิงาน าน ผ่าน Video จากต่ จากต่ าางประเทศ งประเทศ สถานการณ์ ารแพร่ ความเสี งในการติ น Video Conference ปฏิ บ ิ ง าน จากต่ า สถานการณ์ ก ารแพร่ งในการติ ด ผ่ น Video ปฏิ บ ั ต ิ ง าน จากต่างประเทศ จากต่ ่ สถานการณ์ ก ารแพร่ สถานการณ์ ก ารแพร่ ความเสี ย งในการติ ด ความเสี ด ผ่ า น Video Conference ผ่ า น Video Conference ั ต ิ ง าน จากต่ า งประเทศ ปฏิ บ ั ต ิ าน จากต่ า งประเทศ ่ สถานการณ์ ก ารแพร่ ความเสี ย งในการติ ด ผ่ า น Video Conference ปฏิ บ ั ต ิ ง าน จากต่ า ่ สถานการณ์ ก ารแพร่ ความเสี ย ด ผ่ า น Conference ปฏิ บ ั ต ิ ง าน จากต่ า งประเทศ และไม่เชิญบุคลากร มาตรการเหลือ่ มเวลา ประชุม หากจ� ำเป็น ความเสี ่ เชื ยโควิ งในการติ ดบประจ� เชื ้าบบวัอาประจ� รระบาดของโรคโควิ กิระบาดของโรคโควิ จ ระบาดของโรคโควิ เพืด่ อ-19 รองรั บดด-19 และลงเวลาการปฏิ ัต ิ นั​ัต และลงเวลาการปฏิ บ ต และลงเวลาการปฏิ บ ตระบาดของโรคโควิ ิ ทางธุ ้อเชื ด -19 เชื ดโควิ ประจ� าัต วัประจ� น ้อ้อ ้อ ระบาดของโรคโควิ -19 ด -19 เชื โควิ ด -19 ด -19 ประจ� า-19 วัิ วัาน น วับ ิ า-19 และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ บ-19 ัต ิ-19 บ ิ​ิ ประจ� ัต ้อ ้อน ดดดด -19 ้อ ระบาดของโรคโควิ เชื โควิ ด -19 ประจ� ด-19 -19 เชื โควิ ด -19 ประจ� าโควิ วับ นั​ัต เชื โควิ ด น ระบาดของโรคโควิ -19 เชื โควิ ด -19 ประจ� น ้อ้อ ระบาดของโรคโควิ ดด-19 -19 เชื เชื โควิ ด ด าาระบาดของโรคโควิ วัวัระบาดของโรคโควิ นน ้อ ระบาดของโรคโควิ -19 โควิ ด -19 ประจ� วั​ัต น ระบาดของโรคโควิ ด -19 เชื้อโควิด-19 ประจ� าและลงเวลาการปฏิ วัและลงเวลาการปฏิ ้อ-19 ้อ ระบาดของโรคโควิ เชื โควิ ด -19 เชื โควิ ด -19 าวัาวันิ าวันนวันระบาดของโรคโควิ ้อ ระบาดของโรคโควิ ด-19 เชื โควิ ด -19 ประจ� ้อ ด -19 เชื โควิ ด ประจ� าิ าประจ� วัประจ� งานขณะ WFH งานขณะ WFH งานขณะ WFH และลงเวลาการปฏิ บ ั ต ิ งานขณะ WFH และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ บ ิ บัตัต จากต่างประเทศ ปฏิบัติงาน ให้ ด� ำ เนิ นและลงเวลาการปฏิ การผ่ า น โควิงานขณะ ดและลงเวลาการปฏิ ประจ� ำWFH วันและลงเวลาการปฏิ และลงเวลา สถานการณ์ การแพร่ระบาด งานขณะ WFH งานขณะ งานขณะ งานขณะ WFH WFH WFH ัตัต ิ ิ ัต บัติ บบบบ และลงเวลาการปฏิ บ ิ บัตัติ ิ และลงเวลาการปฏิ ัตัต และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ ิ บัต บ-19 ัติ และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ และลงเวลาการปฏิ บิ บ ิ ัติ ิัติ บ งานขณะ WFH งานขณะ WFH WFH WFH งานขณะ WFH งานขณะ WFH การป้ อน งกั นน การป้ อการป้ งกั นนงกั อ WFH งานขณะ งานขณะ WFH WFH ของโรคโควิ งานขณะ WFH งานขณะ WFHการปฏิ งานขณะ WFH งานขณะ WFH งานขณะ WFH งานขณะ WFH Video Conference บงานขณะ ัตงานขณะ ิงงานขณะ านขณะ WFH -19 การป้ องกั งกั การป้ การป้ การป้ อดการป้ งกั อ การป้ อนงกั อ อนงกั งกั น น

การป้ อการป้ งกั นอ การป้ อ งกั งกั นงกั การป้ ออ การป้ อการป้ งกั นอองกั การป้ อ น นน การป้ งกั น การป้ การป้ อนนงกั งกั การป้ งกั น การป้ ออน งกั น งกั การป้ อน งกั การป้ งกั นอ

การป้องกัน

การป้องกัน

ประชาสั ม พั ธ์ ่​่ ช ประชาสั มมนพั พั นช ธ์อ อ งทาง จัหาหน้ ดจั หาหน้ กากอนามั ยท�•••าย ประชาสั ม พั นช ธ์อ ชงทาง อ งทาง จั ด ตัจุด ง จุตรวจคั ดจุ ตรวจคั ดกรอง กรอง ••ความสะอาด/ฉี ความสะอาด/ฉี น จัจั ดดจัหาหน้ หาหน้ กากอนามั ยย ย•ย จั ดากากอนามั หาหน้ กากอนามั ยท� จัจั ดด ตั ง จุด ดด ตรวจคั ด กรอง ความสะอาด/ฉี จั ด ตัจุ ง จุด ดกรอง ตรวจคั ด กรอง ท� ความสะอาด/ฉี ดประชาสั พ่ น จั ด ตัน งย์ ศู น ย์�าน อนวยการ นวยการ จัจัตั•ด ดด้ง ตั ง้งน ศูศูย์ น ย์ อ นวยการ จั ด ตัอ ง��าาน ศู นอ ย์��าาอ อนวยการ นวยการ • ประชาสั ประชาสั พั น ช ่น งทาง •พ่ ••พ่ • ประชาสั •• ประชาสั ม •• พั ประชาสั ม ม ธ์น พัม ธ์ ่ธ์นช ช พั งทาง ม ธ์อ ่​่ อ นช พั งทาง ธ์อ ่น ชงทาง ธ์ อ งทาง อ ่​่ งทาง กากอนามั • กรอง จั•••ดจั หาหน้ •ด ••หาหน้ ดจั ••าด กากอนามั หาหน้ าาด หาหน้ ากากอนามั าากากอนามั าาย กากอนามั ย ้ ตั ้ จัตั ้​้ จั ้ จั ้​้ ดตั ้​้ ด ง จุ ตรวจคั ดกรอง กรอง • จั•••ดจั ตั •ด ง ••ตั จุดง ด ••จุ ตรวจคั ง ด ตั ตรวจคั ง ง ตรวจคั ด ด ตรวจคั ดกรอง ด ด ท� พ่ ท� ความสะอาด/ฉี •าาาท� ความสะอาด/ฉี าท� ท� ความสะอาด/ฉี ความสะอาด/ฉี ดพ่ด ดดนพ่ พ่ ดน นน พ่ด ดน พ่ด น ••าาท� าาความสะอาด/ฉี น ้​้ ง ้งน ้​้ ง ้​้ ง • จั อย์ �าอ นวยการ • จั••ด จัตั ••ตั ศู ดจั ตั ••ด ศู จั ตั อ ด ศูย์ �าน ตั ศู นวยการ ศู นวยการ ย์ ย์ ��าานวยการ ้ ้ ้ การให้ บ ริ ก ารผ่ า นทาง การให้ บ ริ ก ารผ่ า นทาง ้ ้ ่ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ เจล การให้ บ ริ ก ารผ่ า นทาง พนั ก งาน ลู ก จ้ า ง บุ ค คล น� า ยาฆ่ า เชื อ โรคในพื น ที ้ ้ ่ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ เจล ้ ้ ่ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ เจล พนั ก งาน ลู ก จ้ า ง บุ ค คล น� า ยาฆ่ า เชื อ โรคในพื น ที พนั ก งาน ลู ก จ้ า ง บุ ค คล น� า ยาฆ่ า เชื อ โรคในพื น ที ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) • ประชาสั ม พั น ธ์ ช อ ่ งทาง • จั ด หาหน้ า กากอนามั ย ้ • จั ด ตั ง จุ ด ตรวจคั ด กรอง • ท� า ความสะอาด/ฉี ด พ่ น ้ การให้ บ ริ ก ารผ่ า นทาง ้ ้ ่ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ เจล พนั ก งาน ลู ก จ้ า ง บุ ค คล น� า ยาฆ่ า เชื อ โรคในพื น ที ้ • จั ด ตั ง ศู น ย์ อ � า นวยการ ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ม ม น ธ์น ช ธ์ ่ พั ช งทาง อ ่ธ์ งทาง ••สเปรย์ จั •จั ด หาหน้ าาอลกอฮอล์ ากากอนามั กากอนามั ย ้หาหน้ ••พนั •จั ด ง จุ ง จุ ด ตรวจคั ดดด กรอง ด กรอง •า•น�•เชื าอ ท� ด พ่ นพ่พ่ การให้ บ ริ•มน ก ารผ่ การให้ บ ริประชาสั บ ก การให้ ารผ่ บ ริธ์ นทาง บ•ก าม ริาพั ารผ่ นทาง กนพั ารผ่ าช นทาง าน ้•ท�าท�าโรคในพื ้น ่ด ้ย ้ ความสะอาด/ฉี ้ความสะอาด/ฉี ้น ้น ่ นทีน ้ด ่ด ้าดความสะอาด/ฉี ้น ่ พ่ สเปรย์ แสเปรย์ อลกอฮอล์ สเปรย์ สเปรย์ อลกอฮอล์ แจั อลกอฮอล์ แ อลกอฮอล์ แ•าหาหน้ เจล เจล เจล จ้ าตรวจคั งก บุ ค คล พนั งาน พนั ลู จ้ ก ก าด งาน จ้ งด าง บุ งง ลู จ้ บุ คล ก าค จ้ ง าจุ บุ ง ค บุ คล ค คล น� า้ ย ยาฆ่ อ โรคในพื ทีธ์่ ด น� า้ ดยน� ยาฆ่ า้ ย ยาฆ่ า้ ท�าท� ยาฆ่ เชื โรคในพื อ ที ที า้ •ความสะอาด/ฉี ยาฆ่ เชื อ โรคในพื ที •น•น ม พั ธ์มพั อ ่ นอ นาประชาสั อ ่ นทาง งทาง •ารผ่ มช น ช อ ่ ธ์ •แ ด กากอนามั ้ ลู •ด จั ด หาหน้ าด กากอนามั ้ •งาน จัจั ด ง จุ ด ตรวจคั ด กรอง •จั จั หาหน้ ากากอนามั ้ค •ย ท�•ท� าน� พ่พ่ น •อ จั ดงาน ง ตรวจคั ด กรอง ท� ความสะอาด/ฉี พ่ •้ตั จั ด ง ด ตรวจคั ด กรอง ้ง ด พ่ น ••ตอบโต้ จั ตั ด ศู น ศู ย์ น อ าตั อ นวยการ �าอ นวยการ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ตอบโต้ าวะฉุ ภด ตอบโต้ าวะฉุ ก ก าวะฉุ ภ าวะฉุ (ศอฉ.) น ก (ศอฉ.) เฉิ ก เฉิ (ศอฉ.) น (ศอฉ.) ้ง ้ง•จัจั ด ตั ศู นตั ย์จั อด �า�ตรวจคั นวยการ •การให้ ประชาสั พั น ธ์พั งทาง • ตอบโต้ จัตอบโต้ ดตั•ภ น อ �าศู จั ด ตั ศู ย์ �านวยการ ด หาหน้ ้ จัด ตั ง จุ ตรวจคั กรอง าความสะอาด/ฉี ด พ่ •มช ประชาสั ประชาสั ม ม พั น นงทาง ธ์งทาง ชชอ ่อ ่ งทาง งทาง •ด จั จักากอนามั ดด าาย กากอนามั กากอนามั ย ้ตรวจคั ้ คล •ง จั จั ด ดด ตั ตั ง จุ ด ตรวจคั ตรวจคั ด ด •อ ความสะอาด/ฉี ด•ประชาสั พ่ริประชาสั นประชาสั •าความสะอาด/ฉี ท�ท�โรคในพื าม พ่ ้งด จัศู ด ศู ย์ อ �าตั ้น ้ง •นวยการ •น จั ด ง ศู น ย์พนั ย์ อ �าพนั �ากนวยการ นวยการ •ด ประชาสั พั น ธ์ม งทาง •กรอง ด ากากอนามั ้ก จั ตั ง จุ ด ตรวจคั กรอง าความสะอาด/ฉี พ่•พ่ น ประชาสั พั ช งทาง าจุ กากอนามั ย ••ด จั•ย์ ด ตั ง จุ ดนวยการ กรอง •จั ท� าจั ความสะอาด/ฉี พ่ย นก ้ง จั ตั ย์ อ �าย์ นวยการ ประชาสั ม ธ์นทาง ่อ •ก ประชาสั พั ช ่ ธ์ •หาหน้ จั ดด หาหน้ าหาหน้ กากอนามั ้ ลู •หาหน้ าเจล กากอนามั ้ตั จั ตั ตรวจคั •เชื ท� าารใช้ ความสะอาด/ฉี จั ตั ง จุ ด ตรวจคั กรอง าท�เชื ด • จัดตั้งศูนย์อ�านวยการ ้ง ้ง •่าตั จั ตั ศู น �า์ นวยการ นวยการ •จัตั จั ด ศู น ย์ อ �าอ •พั ประชาสั ม พั ธ์ช ชอ อ ่ งทาง งทาง •หาหน้ ด าย กากอนามั ้ จุ •งาน ด จุ ด ดกรอง กรอง •ความสะอาด/ฉี าความสะอาด/ฉี ด ม นช ช อ ่ ธ์พั งทาง จั ด หาหน้ าหาหน้ กากอนามั ้ •ตั จั ด ตั จุ ด ตรวจคั ดด กรอง ท� ความสะอาด/ฉี ดน พ่ นนก ้ง จั ด ศู น ย์อน อ �านวยการ ศู น ย์ �าศู • ประชาสั พัอ่ ธ์พือน่งทาง นารผ่ • จั ด•ตอบโต้ ้ผผ้งภตั•ตอบโต้ งภเฉิ ศู้ตันเฉิ น้งย์กการ ยนวยการ • จั ดกตัก•พนั ตัพนั ง้ จุงาน จุลู•กจัดกกด•ตักลูงาน ด•ตักดงาน ตรวจคั กรอง • จั ดจักรอง หาหน้ าอ่หาหน้ กากอนามั ยย•น�ยเจล • ท� ความสะอาด/ฉี ดอ่การให้ นประชาสั อิ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พื อ ่​่ อ อิอิ ล็ ทรอนิ ส์ พื อ ่​่ ยาฆ่ แอลกอฮอล์ เครื อ งวั ด อิ•ทรอนิ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ภายนอก และประชาชน ที ม ี​ี ำานบ่ ารใช้ านบ่ อ ยและ ่​่ น� แอลกอฮอล์ เครื อ งวั ด แอลกอฮอล์ เครื อ งวั ด ภายนอก และประชาชน ที ม ี​ีย ารใช้ านบ่ อ ยและ ภายนอก และประชาชน ทีา้•ก ม ก งยและ านบ่ อ ยและ โดยมี การ (ผวก.) โดยมี ผ การ (ผวก.) โดยมี ผ การ (ผวก.) การให้ บการให้ ริบ ก ารผ่ าเารผ่ นทาง ้ าเชื ่อ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ พนั ก ลู ก จ้ลู าก ง ค คล า้ ก ยาฆ่ ายาฆ่ เชื อ โรคในพื ที้ น ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก นเฉิ (ศอฉ.) การให้ การให้ ริบ ก าเเ่ อ นทาง านทาง นทาง ้อ ้เชื ้น ้โรคในพื ่ที สเปรย์ สเปรย์ แแแ อลกอฮอล์ แ อลกอฮอล์ เจล พนั พนั ก งาน ลู ก ลู จ้ ก าลู จ้ งง าลู ง บุ ค บุ คล ค คล า้ น� าายาฆ่ าานบ่ เชื อ โรคในพื ที น ้ก ่อ ่​่ อ เล็ ล็ ก ทรอนิ ก เารผ่ พื ก เเที ทรอนิ ก เ่ ที ล็ อิ ทรอนิ ก เเริล็ อิ ก เเ่ การให้ ล็ ทรอนิ ส์บ ก พื ส์ เเก พื ส์ ก พื ส์ ก พื เเ่​่ริอ อ ่ อลกอฮอล์ ่​่ อลกอฮอล์ ่ โรคในพื ่​่ อลกอฮอล์ ่​่เจล ่ ารใช้ ่ เจล ่ น� ่​่ อ แอลกอฮอล์ เครื อ งวั แอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ เครื เครื เครื งวั อ งวั ด อ เครื งวั ด อ งวั ด อ งวั ด ด ภายนอก และประชาชน ภายนอก ภายนอก ภายนอก ภายนอก ภายนอก และประชาชน และประชาชน และประชาชน และประชาชน ม ี น� ารใช้ ง านบ่ ที ม ทีา้ ที ก ี ที ม ที ก ม ารใช้ ที ี เจล ารใช้ ก ง ารใช้ านบ่ ง อเชื ยและ ง านบ่ ยและ อ ยและ อ ยและ ที ม ก ี​ียาฆ่ ารใช้ ง านบ่ อ ยและ การให้ ริเริบ ก ารผ่ นทาง การให้ บ ก าการให้ นทาง การให้ บ่ อ ริาการผ่ ก ารผ่ านทาง นทาง ้ง ่ เ่ ที สเปรย์ แสเปรย์ อลกอฮอล์ เจล ้ าง ้น ่ เชื สเปรย์ แค เจล ก ลู ก จ้ าลู บุ ค คล ้ า้ น ้อิ แเครื อลกอฮอล์ เจล าเจล าน� เชื อ ทีอิ พนั ก กพนั จ้และประชาชน างาน ง บุ คงาน คล ยาฆ่ เชื โรคในพื ที ก งาน ก จ้ าง ง บุ คคล คล ยาฆ่ าเชื เชื โรคในพื น ตอบโต้ าวะฉุ ภ าวะฉุ ก เฉิ น น (ศอฉ.) (ศอฉ.) โดยมี ผ ู้วผ ่าตอบโต้ การ (ผวก.) โดยมี โดยมี ผตอบโต้ โดยมี ู้วตอบโต้ ผ ่าาวะฉุ โดยมี การ ู​ู้​้ววพนั ่าตอบโต้ ู้วการ ่าภ ู​ู้​้าวะฉุ ววการ (ผวก.) ผ ่​่าาาวะฉุ ู​ู้​้ววการ (ผวก.) ่​่าาเฉิ (ผวก.) (ผวก.) (ผวก.) ้ โรคในพื ก เฉิ น (ศอฉ.) การให้ บ ริทรอนิ ก ารผ่ าารผ่ นทาง ตอบโต้ ภ เฉิ น (ศอฉ.) ภ าวะฉุ กเฉิ เฉิ น (ศอฉ.) ้ าอ ่ล็อิ สเปรย์ อลกอฮอล์ เจล งาน ลู ก จ้จ้ าง บุ ค คล น� า้ม ยาฆ่ โรคในพื ที การให้ บ บ ริพื ก ก ารผ่ าานทาง นทาง ้น ้น ่ ารผ่ ้น ้ ่น สเปรย์ สเปรย์ แด แเจล อลกอฮอล์ พนั พนั ก งาน ลู ลู ก ก จ้ จ้ าค าคล ง งแอลกอฮอล์ บุ บุ คอลกอฮอล์ คล คล น�อ า้ โรคในพื ยาฆ่ เชื โรคในพื ที น� ยาฆ่ าอ อ ที ตอบโต้ ภภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ตอบโต้ ตอบโต้ ภ าวะฉุ าวะฉุ กก เฉิ เฉิ นนงาน (ศอฉ.) (ศอฉ.) ้งยาฆ่ การให้ บ ริส์ก ารผ่ าส์ ่น้ น สเปรย์ อลกอฮอล์ เจล พนั งาน าบุ งก บุ ค คล น� า ยาฆ่ เชื โรคในพื ที ้ การให้ บ ริ ก ารผ่ า นทาง ้ ้ ้ ้ ่ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ เจล กก งาน ลู ก จ้ภ าก ง บุ ค คล น� า ยาฆ่ า เชื อ น ก เฉิ น (ศอฉ.) บ ริ ก า นทาง บ ริ ก า นทาง ้ ้ ่ สเปรย์ แ เจล ้ สเปรย์ แ เจล พนั ก ก จ้ า ง บุ ค คล น� า ยาฆ่ อ โรคในพื พนั ก งาน ก จ้ า ง บุ คล น� า เชื อ โรคในพื ที ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโดยมี (ศอฉ.) ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ้ ้ การให้ บ ริ ารผ่ า ้ ้ ่ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ เจล พนั ก งาน ลู จ้ า บุ ค น� า ยาฆ่ า อ โรคในพื น ที การให้ ริ ก ารผ่ า นทาง ้ ้ ่ สเปรย์ แ อลกอฮอล์ พนั ก งาน ลู ก จ้ า ง บุ ค น� า เชื อ โรคในพื น ภ าวะฉุ น (ศอฉ.) ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น (ศอฉ.) ลดการใช้ บ ริทรอนิ ก าร ณ ลดการใช้ บ ริาร กก าร ณ ่​่ี ก อุแอลกอฮอล์ ณ หภู ม ฉากกั น เชื อ โรค ลดการใช้ บ ก าร ณ ที ข้ มาใช้ ก าร และ บริ วณที ใใก ห้ ก ารลู าาลดการใช้ อุอุหภู ณ หภู ม ฉากกั น เชื อ โรค อุ ณ หภู ม ฉากกั น เชื อ โรค ทีทีาเเ่​่ ภายนอก ข้ มาใช้ บ ริก กก าร และ บริ เเม วณที ใใ่​่ารใช้ ห้ บ ริง ารลู ค้ าาารลู ที ข้ มาใช้ บก ก าร และ บริ วณที ห้ริ บ ริายและ ก ารลู เป็ น ผู อ นวยการศู นย์ ย์ เป็ น ผู อ นวยการศู น ย์การ เป็ นผ่า้​้อ ผู อ นวยการศู นภายนอก ย์ เอิ ล็ ทรอนิ ก ส์ เล็ พื ่ านบ่ ่ ารใช้ แอลกอฮอล์ เครื อ ด และประชาชน ที ก ี ที ง านบ่ อ ยและ ริทรอนิ ก าร ณ ้อ ้ โรค อุแอลกอฮอล์ ณ หภู ม ฉากกั น เชื อ โรค ทีข้ เ่ างาน ข้ าเเ่​่ ข้ มาใช้ บก ริและประชาชน กและประชาชน และ เม วณที ใ่ก บ ริารใช้ ารลู ค้อก าลดการใช้ ู้วผ การ (ผวก.) เป็ นโดยมี ้อนวยการศู �าน นวยการศู น ย์่า(ผวก.) อกล็อิริกกอิทรอนิ งทางการให้ บ่อส์กณ ริเส์พืเพืกณ อ�ผูโดยมี ำน้อโดยมี นวยการตอบโต้ กาาภายนอก ลูกบภายนอก จ้และประชาชน าบบาร งริริาร บุริริและประชาชน คเครื คล สเปรย์ แแอลกอฮอล์ อลกอฮอล์ เจล น�วณที ยาฆ่ าม่ ารใช้ อบบารลู โรคในพื ้นอิกกยและ ทีค้ค้ล็อออิาา่ ลดการใช้ ่อ ่อ อิอิ เล็ อิ เก ทรอนิ ส์ เอ ส์ พื เส์ พื ่ โรค ่น ่ ที ่เเอิ แอลกอฮอล์ เครื เครื อ งวั อ งวั ภายนอก ภายนอก ทีที ก ีม ก ี ่ใ่ารใช้ ารใช้ ง านบ่ ง านบ่ อก ยและ อ บ ริทรอนิ าร ณ ลดการใช้ ลดการใช้ ก าร ณ บ ก ณ ริ่าร ้ งวั ้งวั ้​้ ด ้​้ เชื ้​้ ด ้ ิ​ิ อ ้ ิ​ิ แอลกอฮอล์ ้​้ น ้​้ อ ้​้ อ ณ หภู ม ิม ฉากกั เชื อ อุ ณ อุ หภู ม อุ ิณ ฉากกั ม อุ ิ​ิ ณ หภู ม น เชื ฉากกั ม เชื ฉากกั อ น อ โรค อ โรค เ่ ข้ มาใช้ ริมาใช้ และ ที(ผวก.) เ่พนั ข้ ที มาใช้ ที มาใช้ ที บ าาเเ่​่ริภายนอก ข้ มาใช้ บ าาริ าร าร และ บ และ าร ก าร และ และ บก ริเชื ก ก ค้ าอ บริ บริ วณที วณที บริ ใด วณที บ ห้ บ ารลู ก ห้ ารลู ค้ ก ก ารลู ค้ ก ค้ บริ เเริม ใใ่​่ ก ห้ บ ริ ก ่ก ่อ เก ก ส์ เริ พื อาร เลดการใช้ ก ทรอนิ ส์บเก เก พื ่ โรค อิริ ล็ พื ่น ่ งวั ่ ้ำม เครื งวั ด ่เบริ แอลกอฮอล์ เครื อ แอลกอฮอล์ เครื อ งวั ที ก ี ห้ ารใช้ านบ่ อ และประชาชน ที ม ก ีด านบ่ อ ยและ และประชาชน านบ่ อค้ โดยมี โดยมี ู้วผ ่านวยการศู การ ่ การ (ผวก.) เป็ ผู �าภายนอก นวยการศู น ย์(ผวก.) เป็โดยมี น เป็ น ผู �าโดยมี เป็ ้​้ อ นวยการศู น ผู ��าาู้ว่าู้ว้​้อ ��าาการ น ย์ น น ย์ ู้วผู การ (ผวก.) เช่ล็ ล็ ทรอนิ ส์ เทรอนิ พื ผ ู้วอผู��าาเป็ ่ผ การ ่เครื โดยมี ่าการ ่ ารใช้ แอลกอฮอล์ เครื อ งวั ภายนอก และประชาชน ม ก ี งก ง อง ยและ อิบ อิ เก เริก ล็ กส์ ก ทรอนิ การ ส์ส์่ อเเพื พื่ อ่ อ ่บริ ่เด ่ ้านบ่ ่านบ่ แอลกอฮอล์ เครื เครื อ อ งวั งวั ภายนอก ภายนอก และประชาชน ที ม ี ริง ารใช้ ง านบ่ ยและ ที ม ก ีก ารใช้ ง านบ่ ยและ ผ ่ผ าู้ว(ผวก.) (ผวก.) โดยมี โดยมี ผ ผ ู้วู้ว่า(ผวก.) การ การ (ผวก.) (ผวก.) อิ เบ ล็ ก เก พื ่เชื ่ด แอลกอฮอล์ เครื งวั ด ภายนอก และประชาชน ม ีที ารใช้ ง อ ยและ ่อ ล็ ก ส์ เกยและ พื ่ และประชาชน ่ ฉากกั แอลกอฮอล์ อ งวั ดณ ที ก ี ิ หภู ารใช้ ง ยและ ผ ่าผ (ผวก.) ่อ ่ อ่ อ เนั ล็ ก ส์ เทรอนิ ก ทรอนิ ก ่ดด ่ งวั ่ ห้ แอลกอฮอล์ อ ด ่ ที เครื อ งวั ด ภายนอก และประชาชน ม ีก ารใช้ านบ่ ยและ ที ีห้ ารใช้ งานบ่ านบ่ ยและ โดยมีผู้ว่าการ (ผวก.) โดยมี ู้วการ โดยมี ผ ู้วผ ่าย์ู้วการ การ (ผวก.) อิ เล็ ทรอนิ ส์เพื ่ งวั ่ประจ� แอลกอฮอล์ เครื อ ภายนอก และประชาชน ที ม ก ี ริทรอนิ ารใช้ ง านบ่ ยและ ่พื อิ เบ ล็ ก ทรอนิ ก เ่ อ อเก ่ และ แอลกอฮอล์ เครื อ ด ภายนอก และประชาชน ที ก ีวณที อ ยและ โดยมี ่าน (ผวก.) โดยมี ู้วผนวยการศู ่าู้ว่าและประชาชน การ ส�นัางาน ากส� นั ก งาน ส� าก นันั ก งาน (Counter Shield) ส�นั าก กล็การ งาน ก� าข้ หนดมาตรการเว้ น เป็ น ประจ� าาห้ (Counter Shield) และ (Counter Shield) และ ก� าน หนดมาตรการเว้ นและ เป็ น ประจ� าาเม ก� ามาใช้ หนดมาตรการเว้ น เป็ น าริง ลดการใช้ บ ริ ก าร ณ ้ ้ ่ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั น เชื อ โรค ที เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก าร บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า เป็ น ผู ้ อ � า นวยการศู น ย์ ลดการใช้ ลดการใช้ บ ริ บ ก ริ าร ก าร ณ ณ ้ ้ ้ ้ ่ ่ ่ ่ อุ ณ อุ ณ หภู หภู ม ิ ม ฉากกั ิ ฉากกั น เชื น เชื อ โรค อ โรค ที เ ที เ า ข้ า มาใช้ บ ริ บ ก ริ าร ก าร และ และ บริ บริ เ วณที เ วณที ใ ใ บ ห้ ริ บ ริ ารลู ก ารลู ก ค้ ก า ค้ า ส� า ก งาน ส� ส� นั า ส� นั งาน า ก ส� า งาน า นั งาน ก งาน (Counter Shield) และ (Counter (Counter (Counter (Counter (Counter Shield) Shield) Shield) Shield) และ Shield) และ และ และ และ ก� า หนดมาตรการเว้ น ก� า ก� หนดมาตรการเว้ า ก� หนดมาตรการเว้ า ก� หนดมาตรการเว้ า ก� หนดมาตรการเว้ า หนดมาตรการเว้ น น น น น เป็ น ประจ� า เป็ น เป็ ประจ� น เป็ ประจ� น เป็ ประจ� า น ประจ� า เป็ น ประจ� า ลดการใช้ บ ริ ก าร ณ ลดการใช้ บ ริ ก ณ ้ ลดการใช้ บ ริ ก าร ณ ้ ้ ่ ่ ้ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั น เชื อ โรค ่ ้ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั น เชื อ โรค ที เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก าร และ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั น เชื อ โรค บริ เ วณที ใ ห้ บ ก ารลู ก ค้ า ที เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก าร และ บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ที เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก าร และ บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู ก ค้ เป็ เป็ น ผู น ้ อ ผู � า ้ อ นวยการศู � า นวยการศู น ย์ น ย์ เป็ น ผู ้ อ � า นวยการศู น ย์ ลดการใช้ บ ริ ก าร ณ เป็ น ผู ้ อ � า นวยการศู น ย์ ้ เป็ น ผู ้ อ � า นวยการศู ย์ ้ ่ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั น เชื อ โรค ที เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก าร และ บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ลดการใช้ ลดการใช้ บ บ ริ ริ ก ก าร าร ณ ณ ้ ้ ้ ้ ่ ่ ่ ่ อุ อุ ณ ณ หภู หภู ม ม ิ ิ ฉากกั ฉากกั น น เชื เชื อ อ โรค โรค ที ที เ เ ข้ ข้ า า มาใช้ มาใช้ บ บ ริ ริ ก ก าร าร และ และ บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู ก ค้ เป็ น ผู ้ อ � า นวยการศู น ย์ เป็ เป็ ผูริ้อ้อก�า�าาร นวยการศู นวยการศู นน ลดการใช้ บเริล็บกบก าร ณ ้น ้ ริ่ อก อุณ หภู ม ิ ฉากกั น เชืน อ โรค ทีย์ย์ เ่ ข้ มาใช้ บิ ริฉากกั กบบริบ าร และ บริ เบริ วณที ใ่ งห้านบ่ บ ริห้ใ่ ริ กบก ารลู ค้กาค้ ลดการใช้ บ าร ณ ้ ้ ่ อุ ณ หภู ม น เชื อ โรค ที เ่ เป็ ข้ าผู มาใช้ บผู บริ เ วณที ใ ห้ บ ารลู ก ค้ า เป็น ผู ้อน าน นวยการศู นและ ย์นภายนอก ลดการใช้ ริ ก าร ณ ลดการใช้ บ ริ ก าร ณ ้ ้ ่ ่ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั น เชื อ โรค ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั เชื อ โรค ที เ ข้ า มาใช้ ริ ก าร และ เ วณที ใ ริ ก ารลู ค้ า ที เ ข้ า มาใช้ ริ ก าร และ บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู ค้ า เป็นผู้อ�านวยการศูนย์ภาวะฉุ ้อ นวยการศู นน ย์ ผู้อ ้อ�า้อ�า(ศอฉ.) �านน ย์ ลดการใช้ บ ริ ก าร ณ ้ ้ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั น เชื อ โรค ที เ ข้ า มาใช้ ริ ก าร และ บริ เ วณที ห้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ลดการใช้ ริ ก าร ณ ผ่ า นทางอิ ทรอนิ ก ส์ กเป็เป็ เฉิ และประชาชน แอลกอฮอล์ เครื งวั ด ที ่ ม ี ก ารใช้ อ ย และ ้ ้ ่ ่ อุ ณ หภู ม ิ ฉากกั เชื อ โรค ที เ ข้ า มาใช้ บ ก าร และ บริ เ วณที ใ ห้ บ ริ ก ารลู า น�ผู ผู �านวยการศู นวยการศู น ย์ เป็ นน นวยการศู ย์ อุกรณ์ ปอุ กรณ์ ป อ งกั นาต่ ต่ งและ ๆ ระยะห่ งทางสั งคม คม อุอุ ป(Counter กรณ์ ปป อ งกั น ต่ ง ๆ อุ ป กรณ์ ป อ งกั นาาต่ ต่ งเป็ๆ ๆนเป็ ระยะห่ งทางสั งงทางสั คม ระยะห่ งทางสั งน คม นั งาน และ ก�ระยะห่ าก�ก� หนดมาตรการเว้ นง น ประจ� านกประจ� ป(Counter ปงกั ้Shield) ต่ ง ๆ าหนดมาตรการเว้ งทางสั งหนดมาตรการเว้ ส� าส� ก นั งาน ก งาน Shield) และ า(Counter นนนน เป็ เป็ น ประจ� านน ป กรณ์ อ ้ (Counter งกั น ต่น ง ๆ อุ(Counter ป อุ กรณ์ ป อุ ป(Counter ป อ ้ เป็ กรณ์ ป งกั อ ้​้ น กรณ์ นอ ป ต่งกั น อ ้​้ าShield) ป ต่ ง งกั อ ้​้ าาาและ ๆ ง งกั น ๆ น ง าาShield) ๆ ง งทางสั ระยะห่ งทางสั ระยะห่ งทางสั ระยะห่ าาหนดมาตรการเว้ งงทางสั คม าาหนดมาตรการเว้ ง คม าาก กส� งาน งาน ส�งาน านักก นั กงาน (Counter Shield) และ Shield) าาาก� Shield) และ เป็ นนนน ประจ� าประจ� ก�นระยะห่ าระยะห่ หนดมาตรการเว้ นคม ประจ� าประจ� ก� าหนดมาตรการเว้ นอุกรณ์ เป็ นาประจ� ประจ� า าา ส�านัส�กาส�ส� ส�ส� านั ก งาน (Counter Shield) และ ก� าหนดมาตรการเว้ หนดมาตรการเว้ เป็ ประจ� าเป็ ส�งาน ส�งาน าางาน นันักกงาน งาน (Counter (Counter Shield) และ และ ก�ง ก�งาคม าคม หนดมาตรการเว้ น น เป็ ประจ� ประจ� านันั นั ก (Counter Shield) และ ก� าหนดมาตรการเว้ หนดมาตรการเว้ เป็ ประจ� า ส� า นั งาน Shield) และ ก�าหนดมาตรการเว้ ประจ� า า นั ส� า นั (Counter Shield) และ (Counter Shield) และ ก� า น เป็ น า ก� า หนดมาตรการเว้ น เป็ า ส� า ก (Counter Shield) และ ก� า น เป็ น า า นั ก งาน (Counter Shield) และ ก� า หนดมาตรการเว้ น เป็ น ประจ� า เพื อ ใช้ นส� างกั นั ก งาน (Social Distancing) ่อ เพื อ่อ ใช้ นส� นั ก งาน เพื อ ใช้ นส� นั ก งาน (Social Distancing) (Social Distancing) โดยมีผระยะห่ ู้ว่าการางทางสั (ผวก.)งคม(Social ที(Social เ่ ข้ระยะห่ าระยะห่ มาใช้ บาาระยะห่ ริางทางสั กงงทางสั าร ก�คม หนด อุอุกรณ์ ณใอุใช้ หภู มกรณ์ ิกรณ์ ฉากกั เชื ้อปางปๆานงงนาต่งอ้โรค เๆวณที่ให้บริการลูกค้า เพื่อลดการใช้บริการ ป กรณ์ อ ้ นส� งกั ต่้น าน ง าระยะห่ งทางสั ง อุ ป อุ กรณ์ ปน อ ้อุ ป งกั อ ้น งกั น ต่ น าต่ ๆ ๆ ระยะห่ ระยะห่ างทางสั คม ่อ ่​่ อ ่อ ่​่ อ เพื ใช้ ใป นส� นั ก งาน เพื นส� เพื ใใใช้ นส� เพื าป นั ใ้ ใช้ นส� าาป กาป ใในั ใช้ งาน าก ใในั นส� นั งาน าาป ก งาน ก (Social Distancing) (Social Distancing) (Social Distancing) Distancing) Distancing) ป กรณ์ ป อ ้ อุงาน น ต่ างาน ๆ อุเพื ป ป อ งกั ต่ างกั ง งงำง คม อุ กรณ์ อ ้ งกั งกั น านน ระยะห่ า(Social งทางสั างทางสั งาเพื อุ ป กรณ์ ป อ ้ าก งกั น ต่ ๆ ระยะห่ างทางสั งทางสั คม ป กรณ์ กรณ์ อ ้ต่ง งกั ต่ๆาๆ าบริ งง ๆ ระยะห่ าคม าง งทางสั งทางสั ง ง คม คม อุ กรณ์ ป อ ้ป ต่ ระยะห่ ง คม อุ ประยะห่ กรณ์ ป อ ้ งทางสั งกั น ต่ งคม ๆใช้ อุ กรณ์ ป อ ้ นั งกั าๆ ๆต่ อุ กรณ์ อ ้ป งกั ต่ ๆ าคม ระยะห่ างทางสั งทางสั คม อุ่ป ป กรณ์ อ ้ๆ น ต่ างง าDistancing) งคม คม อุ ป ป อ ้ป งกั น างกั งาต่ง ๆง ระยะห่ าระยะห่ งทางสั งงงคม ่ เพื อ ใช้ ใ นส� า นั ก งาน (Social Distancing) ่อ เพื เพื ใช้ ใใช้ นส� าในส� นัในั านั นั ก งาน (Social (Social Distancing) Distancing) ่อ่อ่อ่เพื ่อ ใช้ ใใช้ นส� าเพื นั งาน ใช้เพื ใเพื นส� าใช้ นั ก งาน (Social ใก นส� านส� นั กงาน Distancing) เพื นส� าใช้ ก งาน (Social Distancing) ่ก ่อ อ ใช้ ใช้ ในั นส� าางาน นันักกงาน งานเป็นประจ�า (Social Distancing) ณ ส�ำนักงาน เป็นผูอ้ (Social ำ� นวยการศู นย์ (Social มาตรการเว้ นDistancing) ระยะห่ าDistancing) ง เพื่อ(Counter Shield) และ อ ใช้ ใ่อ าในส� (Social Distancing) ่อ(Social เพื ใช้ ใ(Social นส� าDistancing) นัDistancing) กงาน Distancing) ่ใอนส� เพื างาน นั ก เพื ใช้ นส� างาน ก งาน (Social Distancing) (Social Distancing) ่นส� เพื อ ใช้ นส� าในั กงาน (Social ่อใเพื ใช้ ใเพื าก นั ก งาน (Social Distancing)

ทางสังคม (Social Distancing)

อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ต่ า งๆ เพื่อใช้ในส�ำนักงาน

November-December 2021


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) จับมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และบริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) จัดตั้ง บริษัท อินโนพาวเวอร์ จ�ำกัด เพื่อเป็น กลไกในการลงทุนและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ดา้ นพลังงานไฟฟ้า พร้อมสนับสนุนส่งเสริม สตาร์ตอัปในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงาน ซึ่งเป็นการปูทางรองรับโอกาสทางธุรกิจ จากการเปลี่ยนผ่านสู่เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Transformation) ในอนาคต การจัดตัง้ บริษทั อินโนพาวเวอร์ จ�ำกัด (Innopower Company Limited) เป็นไปตาม มติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 โดยได้ดำ� เนินการจดทะเบียนบริษทั เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้ถือหุ้นร่วม 3 ฝ่าย ประกอบด้วย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) (RATCH) และบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) (EGCO) ถือหุ้นร้อยละ 40, 30 และ 30 ตามล�ำดับ ส�ำหรับวงเงินลงทุน ในบริษทั อินโนพาวเวอร์ จ�ำกัด รวม 2,960 ล้านบาท โดยเป็นเงินทุนจดทะเบียนแรกเริม่ 150 ล้านบาท และจะทยอยลงทุนเพิ่มเติมจนครบจ�ำนวนในระยะเวลา 5 ปี

เทพรัตน์ เทพพิทักษ์

บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร

กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ

เทพรัตน์ เทพพิทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป กล่าวว่า การร่วมทุนจัดตั้งบริษัท อินโนพาวเวอร์ จ�ำกัด เป็นก้าวส�ำคัญในการรับมือและ ตอบสนองต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในอุตสาหกรรมพลังงาน โดยจะเป็นบริษทั เรือธงด้านนวัตกรรมไฟฟ้าของกลุม่ กฟผ. ในขณะเดียวกัน บริษทั นี้ จะช่วยเสริมความแข็งแกร่งของธุรกิจ Smart Energy Solution ของเอ็กโก กรุ๊ป เพื่อต่อยอดธุรกิจหลักด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีพลังงานแห่งอนาคต โดย เอ็กโก กรุ๊ป จะเน้นการต่อยอดและพัฒนาเทคโนโลยีด้านไมโครกริด ด้านระบบ กักเก็บพลังงาน และด้านยานยนต์ไฟฟ้า ซึง่ จะสอดคล้องกับทิศทางในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั เพือ่ มุง่ สูก่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืน คือ Cleaner, Smarter and Stronger to Drive Sustainable Growth บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า กลุ่ม กฟผ. มีแผนสร้างรายได้เพิ่มจากธุรกิจนวัตกรรมพลังงานและ เทคโนโลยีแห่งอนาคต (New S-Curve) โดยการสร้างตลาดและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ด้านพลังงาน เพือ่ รับมือกับ Energy Disruption ทีเ่ กิดขึน้ และมุง่ ต่อยอดงานวิจยั ด้านนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ของกลุ่ม กฟผ. สู่เชิงพาณิชย์ เพราะฉะนัน้ การจัดตัง้ บริษทั ครัง้ นีน้ อกจากจะเพิม่ ศักยภาพทางการลงทุน ใหม่ๆ แล้ว ยังเป็นการสนับสนุนการพัฒนาและต่อยอดเชิงพาณิชย์ในงานวิจัย และนวัตกรรมของ กฟผ. และกลุม่ กฟผ. รวมถึงลงทุนในธุรกิจพลังงานในอนาคต (Future Energy) และ Startup ในอุตสาหกรรมพลังงาน ซึง่ ในทีส่ ดุ แล้วจะส่งเสริม ให้ประเทศไทยสามารถพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม และผลักดันไปสู่ประเทศ แห่งนวัตกรรม (Innovation Nation) ที่จะสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ตามนโยบาย Thailand 4.0 ด้าน กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ตามแผนยุทธศาสตร์ของบริษัทฯ ได้ก�ำหนดสัดส่วน การลงทุนธุรกิจนอกเหนือจากผลิตไฟฟ้าไว้ท่ีร้อยละ 20 ซึ่งรวมถึงธุรกิจด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ด้านไฟฟ้าและพลังงานทีส่ ามารถตอบสนองวิถชี วี ติ ถัดไป (Next Normal) หลังวิกฤติโรคติดเชื้อโควิด-19 รองรับการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) และสังคมคาร์บอนต�ำ่ ในอนาคตอันใกล้นี้ November-December 2021

ทั้ ง นี้ 3 องค์ ก รมี ค วามมั่ น ใจว่ า อิ น โนพาวเวอร์ จ ะเป็ น กลไกที่ ไ ม่ เ พี ย ง ช่ ว ยขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาและต่ อ ยอด เชิงพาณิชย์ในงานวิจัยและนวัตกรรมของ กฟผ. เท่านัน้ แต่ยงั จะช่วยเสริมสร้างฐาน ธุรกิจใหม่ของบริษัทฯ และกลุ่ม กฟผ. ให้ขยายใหญ่และเติบโตมัน่ คงยิง่ ขึน้ ทัง้ นี้ ราช กรุ๊ป จะได้น�ำประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจเชิงธุรกิจเข้าไปเสริมการพัฒนา และลงทุนนวัตกรรมต่างๆ ให้สามารถ ตอบสนองโมเดลธุ ร กิ จ ใหม่ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ เ น้ น เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ตลอดวิถชี วี ติ ของ สังคมในยุคดิจทิ ลั ตลอดจนช่วยสร้างตลาด และขยายฐานลูกค้าของอินโนพาวเวอร์ เพื่อให้อินโนพาวเวอร์มีรายได้และเติบโต ได้ตามเป้าหมาย ดังนัน้ บริษทั อินโนพาวเวอร์ จ�ำกัด จะด�ำเนินการผ่าน 4 หน่วยงานหลัก ได้แก่ หน่วยงานสนับสนุนแนวคิดทางธุรกิจใหม่ (Collaborator) หน่วยงานเพือ่ การบ่มเพาะ ธุรกิจ (Incubator) หน่วยงานเพื่อเร่งการ เติบโตธุรกิจ (Accelerator) และหน่วยงาน Corporate Venture Capital (CVC) ซึ่งจะ ช่วยให้บริษทั ในกลุม่ กฟผ. สามารถรับมือ และตอบสนองต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมพลังงานได้อย่าง รวดเร็ว เหมาะสม และยั่งยืน


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป ขับเคลื่อนธุรกิจสู่สังคมคาร์บอนต�่ำ สอดรับกับทิศทางพลังงานโลกและแผนพลังงานชาติ โดยประกาศเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์สทุ ธิเป็นศูนย์ (Carbon Neutrality) ภายใน ปี ค.ศ. 2050 พร้อมตั้งเป้าหมายระยะกลาง ลดการ ปล่อยปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตอ่ หน่วยไฟฟ้า ที่ผลิตได้ (Carbon Emission Intensity) 10% ภายใน ปี ค.ศ. 2030

เทพรัตน์ เทพพิทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป เปิดเผยว่า เอ็กโก กรุ๊ป ตระหนักดีว่าธุรกิจผลิตไฟฟ้าและ พลังงานมีส่วนส�ำคัญในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ ทีผ่ า่ นมา เอ็กโก กรุป๊ ให้ความส�ำคัญกับการมีสว่ นร่วม แก้ไขปัญหาตัง้ แต่ตน้ ทางในการท�ำธุรกิจ เพราะเรามีความเชือ่ เรือ่ ง “ต้นทางดี จะก่อก�ำเนิดผลลัพธ์ปลายทางดี” ไม่ว่าจะเป็นการ กระจายเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้าให้สมดุลเพือ่ สร้างความมัน่ คง ทางพลังงาน การเพิม่ การลงทุนในพลังงานหมุนเวียนและพลังงาน สะอาดอย่างต่อเนือ่ งทุกปี และการก่อตัง้ มูลนิธไิ ทยรักษ์ปา่ เพือ่ อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูปา่ ต้นน�ำ้ ส�ำคัญของประเทศมานานกว่า 20 ปี อย่างไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาถึงแนวโน้มของทิศทางพลังงานโลก ในปัจจุบันและแผนพลังงานแห่งชาติของประเทศไทย ที่มุ่งสู่ พลังงานสะอาดและลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิ เป็นศูนย์ ภายในปี ค.ศ. 2065-2070 นัน้ เอ็กโก กรุป๊ จึงได้ปรับ การด�ำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว การขับเคลื่อนเป้าหมายนี้ให้บรรลุผลส�ำเร็จ เอ็กโก กรุ๊ป จึงได้กำ� หนดทิศทางในการด�ำเนินธุรกิจเพือ่ มุง่ สูก่ ารเติบโตอย่าง ยัง่ ยืน คือ “Cleaner, Smarter and Stronger to Drive Sustainable Growth” โดย Cleaner ก็คือการลงทุนในธุรกิจที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมและปรับปรุงกระบวนการท�ำงานให้มีประสิทธิภาพ สูงสุดเพือ่ ลดการปล่อยคาร์บอน ในขณะที่ Smarter เป็นการสร้าง ความมัน่ คงในระบบไฟฟ้าและการลงทุนในธุรกิจทีม่ กี ารเติบโตสูง (New S-Curve) เพื่อให้ทันต่อเทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว (Digital Disruption) และสุดท้าย Stronger การสร้าง ผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นด้วยการหาพันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อการเติบโตอย่างแข็งแกร่งและยั่งยืนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย ทุกภาคส่วน

November-December 2021


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

ชูศรี เกียรติขจรกุล นับเป็นกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่คนที่ 7 นับตัง้ แต่ บริษัทฯ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ยังด�ำรงต�ำแหน่ง รองผูว้ า่ การการเงินและบัญชี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึง่ มีความเชีย่ วชาญและความสามารถในการบริหารกลยุทธ์ดา้ นการเงิน ของ กฟผ. ให้มคี วามมัน่ คงและสามารถเติบโตท่ามกลางการเปลีย่ นแปลง และการแข่งขันทางธุรกิจที่เข้มข้นได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นผู้ท่ีมีวิสัยทัศน์ท่ีกว้างไกล รอบรู้ และเข้าใจ ในธุรกิจผลิตไฟฟ้า การลงทุน และการบริหารจัดการเงินทุนเป็นอย่างดี อีกทัง้ ยังมีความเป็นผูน้ ำ� และยึดมัน่ ในการด�ำเนินงานบนหลักธรรมาภิบาล ทัง้ นี้ ชูศรี จะได้นำ� ประสบการณ์ความเชีย่ วชาญเข้ามาบูรณาการ เสริมความแข็งแกร่งขององค์กร เพือ่ ขับเคลือ่ นเป้าหมายเพิม่ ก�ำลังการผลิต 10,000 เมกะวัตต์ และมูลค่ากิจการ 200,000 ล้านบาท ขององค์กร ให้เดินหน้าและบรรลุผลส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2568

ชูศรี เกียรติขจรกุล กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริ ษั ท ราช กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) ประกาศแต่งตั้ง นางสาวชูศรี เกียรติขจรกุล ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ แทน นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ ที่จะเกษียณอายุ โดยจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป November-December 2021

ชูศรี จบการศึกษาปริญญาบัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบัญชีมหาบัณฑิต (การบัญชีทวั่ ไป) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ยังผ่านการศึกษาหลักสูตรส�ำคัญต่างๆ ได้แก่ Postgraduate Certificate in Finance and Management จาก London School of Business and Finance สหราชอาณาจักร หลักสูตร Leadership for Inspiration for Senior Management สถาบันพระปกเกล้า หลักสูตร Financial and Fiscal Management Program for Senior Executive ของสถาบันพัฒนาบุคลากร ด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program จากสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นต้น


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) อัดฉีดเงิน 259 ล้านบาท เพือ่ เพิม่ ทุนในบริษทั ราช-ลาว เซอร์วสิ จ�ำกัด (บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ทัง้ จ�ำนวนใน สปป.ลาว) ส�ำหรับ ใช้ขยายการลงทุนโครงการด้านพลังงาน ระบบสาธารณูปโภค พื้นฐาน และอื่นๆ ที่มีศักยภาพใน สปป.ลาว ทั้งนี้ บริษัท ราช-ลาว เซอร์วสิ จ�ำกัด ได้ดำ� เนินการเพิม่ ทุนจดทะเบียน บริษัทจาก 78 ล้านบาท เป็น 462 ล้านบาท โดยมีทุน จดทะเบียนที่ช�ำระแล้วประมาณ 337 ล้านบาท กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า สปป.ลาว ถือเป็นฐาน ธุรกิจที่ส�ำคัญของบริษัทฯ โดยมีบริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด เป็นแกนหลัก ในการแสวงหาโอกาสและการลงทุ น ใน สปป.ลาว ทีผ่ า่ นมา ราช-ลาว ได้ลงทุนในโครงการต่างๆ รวมมูลค่ามากกว่า 1,200 ล้านบาท ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การเข้า ถือหุ้นร้อยละ 5.65 ในบริษัท ผลิต-ไฟฟ้าลาว (มหาชน) หรือ EDL-Gen การร่วมทุนในบริษทั เอเชีย วอเตอร์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตน�ำ้ ประปาจ�ำหน่ายให้แก่การประปานครหลวง เวียงจันทน์ ร้อยละ 40 และการร่วมทุนในบริษทั สีพนั ดอน ราช-ลาว จ�ำกัด ร้อยละ 25 เพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล อัดแท่งส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น อีกทั้งยังมีโครงการ ที่อยู่ระหว่างการศึกษาและพัฒนา ทั้งโครงการโรงไฟฟ้า พลังน�้ำ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน โครงการ เชื้อเพลิงชีวมวล และธุรกิจบริการสุขภาพด้วย

https://pixabay.com/th/photos-data-sunset-2391348/

“เงินที่ได้จากการเพิ่มทุนครั้งนี้ ส่วนหนึ่งจะน�ำไปใช้ใน การลงทุนพัฒนาและเดินหน้าโครงการต่างๆ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว รวมถึง การก่อสร้างโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลอัดแท่ง ตั้งอยู่ในเมือง มูนละปาโมก แขวงจ�ำปาสัก และพัฒนาการเพาะปลูกไม้โตเร็ว ในพื้นที่สัมปทานประมาณ 30,000 ไร่ ซึ่งมีบริษัท สีพันดอน ราช-ลาว จ�ำกัด ผูด้ ำ� เนินงาน โดย ราช-ลาว ร่วมลงทุนร้อยละ 25 โรงงานดังกล่าวมีกำ� ลังการผลิต 100,000 ตันต่อปี และคาดว่า จะผลิตและจ�ำหน่ายเชิงพาณิชย์ได้ในไตรมาส 4 ปี พ.ศ. 2565 โดย จะส่งออกให้กับบริษัท Kyuden Mirai Energy Co., Ltd. ซึ่งเป็น บริษทั ย่อยของ Kyushu Electric Power Company Incorporated ประเทศญีป่ นุ่ ในปริมาณ 100,000 ตันต่อปี ภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขาย ระยะยาว 15 ปี นอกจากนี้ บริษัทยังมีการเจรจากับลูกค้า อุตสาหกรรมญีป่ นุ่ รายอืน่ ๆ เพือ่ ขยายก�ำลังการผลิตในระยะที่ 2 รองรับความต้องการชีวมวลอัดแท่งในช่วงปี พ.ศ. 2565-2585 ทีส่ งู ราว 8,000,000 ตันต่อปี ตามนโยบายด้านพลังงานทดแทน ของประเทศญี่ปุ่น” พร้อมกันนี้ Kyuden Mirai Energy Co., Ltd. (KME) ได้ลงนามสัญญาร่วมทุนถือหุ้นร้อยละ 20 ในบริษัท สีพันดอน ราช-ลาว จ�ำกัด และมีขอ้ ตกลงจะซือ้ ชีวมวลอัดแท่งของโครงการฯ ในปริมาณ 100,000 ตันต่อปี เป็นระยะเวลา 15 ปี ส�ำหรับ KME ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวลในประเทศญีป่ นุ่ และมุง่ หมายจะเป็น ผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่รับผิดชอบ ภายใต้แนวคิด “การใช้ ท รั พ ยากรชี ว มวลหมุ น เวี ย นให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ” (Biomass Resource Recycling Concept) นอกจากนี้ บริษทั ราช-ลาว เซอร์วสิ จ�ำกัด ยังมีเป้าหมาย ที่จะพัฒนาโครงการเชื้อเพลิงชีวมวลอัดแท่งเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เป็นธุรกิจที่มีแนวโน้มการเติบโตสูงและเป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อม เพราะท�ำให้ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลลดลง ซึ่งจะช่วยลด ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศโลกด้วย ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้รว่ มกับบริษทั สักสิด ทีป่ รึกษาและการค้า จ�ำกัด และ รัฐบาล สปป.ลาว ศึกษาพื้นที่และความเป็นไปได้ในการปลูกไม้ อุตสาหกรรม และก่อสร้างโรงงานผลิตเชื้อเพลิงอัดเม็ดในเมือง สะหม้วย แขวงสาละวัน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ คาดว่าจะได้ขอ้ สรุปภายใน ปี พ.ศ. 2564 November-December 2021


สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.)

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) และบริษัท โกลเบิลแอโร่แอสโซซิเอทส์ จํากัด (GAA) กิจการร่วมค้าของบริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) (BAFS) และบริษัท ปตท. น�ำ้ มัน และการค้าปลีก จ�ำกัด (มหาชน) (OR) โดยมี สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เป็นประธานในพิธีลงนามสัญญา เช่าที่ดินราชพัสดุ เพื่อประกอบการระบบบริการน�้ ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน สนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก ผ่านระบบการประชุมทางไกล ระหว่างกระทรวงการคลัง ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการ นโยบายเขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก ส�ำนั ก งาน คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) กล่าวว่า โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและ เมืองการบินภาคตะวันออก เป็นยุทธศาสตร์ท่ีส� ำคัญใน การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดย สกพอ. ร่วมกับกองทัพเรือ ได้คัดเลือกเอกชน เพื่อเข้าร่วมพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ซึ่งในส่วนของงานบริการน�้ำมันเชื้อเพลิง อากาศยาน ได้ดำ� เนินการคัดเลือกผูป้ ระกอบการด้วยความเป็นธรรม โปร่งใส และ ตรวจสอบได้จนประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างยิง่ โดยได้คดั เลือก “กิจการร่วมค้าบาฟส์ และโออาร์” เป็นผู้เช่าที่ดินราชพัสดุเพื่อประกอบการระบบบริการน�้ำมันเชื้อเพลิง อากาศยานสนามบินอู่ตะเภา ซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์มาอย่างยาวนาน มีความ เชีย่ วชาญ และมีมาตรฐานการด�ำเนินงานในระดับสากล นับเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประโยชน์ท้ังในด้านการได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม ใหม่จากภาคเอกชน อีกทัง้ เป็นการลดภาระในด้านงบประมาณและบุคลากรในส่วน ของภาครัฐ และเป็นการเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนมีโอกาสในการด�ำเนินธุรกิจได้ มากขึน้ ท�ำให้ภาคประชาชนได้รบั ประโยชน์และความสะดวกสบายจากการบริการ สาธารณะที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น November-December 2021

หม่อมหลวงณัฐสิทธิ์ ดิศกุล ประธานกรรมการ บริษทั โกลเบิลแอโร่แอสโซซิเอทส์ จํากัด (GAA) กล่าวว่า GAA พร้ อ มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นการคมนาคมขนส่ ง และ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ ยกระดั บ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และ เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับสังคม ด้วยความ เชีย่ วชาญในการด�ำเนินธุรกิจด้านการบริหารจัดการ และการให้บริการเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน และธุรกิจด้านพลังงานมามากกว่า 30 ปี โดย BAFS และ OR จะสนับสนุนให้ GAA มีศักยภาพ ด้วย ความเชีย่ วชาญและเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เพือ่ ให้การ บริหารจัดการและการให้บริการสนามบินอู่ตะเภา มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการค้าน�ำ้ มันเสรีแบบ Open Access ดูแลระบบท่อส่งน�ำ้ มันใต้ลานจอด และในทุก กระบวนการตามขัน้ ตอนและมาตรฐานสากลทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับโลก ดั ง นั้ น การขั บ เคลื่ อ นระบบเศรษฐกิ จ และ วิถีการด�ำรงชีวิตและการท�ำงาน รัฐบาลจ�ำเป็นต้อง รักษาสมดุลของการฟืน้ ฟูเศรษฐกิจ ควบคูไ่ ปกับระบบ บริหารจัดการทางด้านสาธารณสุข และการผลักดัน ให้ภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมยังคงด�ำเนินการ ต่อไปได้อย่างราบรื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ส�ำหรับ โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบิน ภาคตะวันออกนั้น เป็นโครงการร่วมลงทุนที่ส�ำคัญ ในการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของ EEC เพือ่ รองรับ การขนส่งทางอากาศทั้งการขนส่งผู้โดยสารและ การขนส่งสินค้า และระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ภายในสนามบินก็เป็นองค์ประกอบหนึง่ ทีเ่ ป็นปัจจัย ส�ำคัญในการด�ำเนินงานของสนามบิน จ�ำเป็นต้องมี การคัดเลือกเอกชนให้เข้ามาเป็นผู้ประกอบการ ซึ่ง รวมถึงระบบบริการน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยาน และ ในวันนี้ สกพอ. ได้ดำ� เนินการคัดเลือกผูป้ ระกอบการ ระบบบริการน�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจนประสบ ความส�ำเร็จ จึงเป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง และ ถือเป็นอีกก้าวหนึ่งในการพัฒนา EEC เพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นทางด้านการค้าและการลงทุนให้แก่ นักลงทุน และกระตุน้ ให้เกิดการลงทุนในพืน้ ที่ EEC มากขึน้ อันจะน�ำไปสูก่ ารฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและพัฒนา ประเทศอย่างต่อเนื่อง


ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการนโยบายเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) หรืออีอีซี ร่วมกับหัวเว่ย อาเซียน อะคาเดมี (Huawei ASEAN Academy) และมหาวิทยาลัยบูรพา จัดสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ (Work Shop) รูปแบบออนไลน์ หัวข้อ “Technology Seeker vs Competence Development Workshop” โดยมี ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการอีอีซี และ อาเบล เติ้ง ประธานกรรมการบริหาร บริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมเปิดการสัมมนา พร้อม คณะวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในเทคโนโลยีดิจิทัล 5G มาให้ความรู้ ซึง่ มีผเู้ ข้าร่วมสัมมนาจ�ำนวนมาก อาทิ ผูบ้ ริหารระดับสูง ผูป้ ระกอบการในพืน้ ทีอ่ อี ซี ี กลุ่มเอสเอ็มอีและกลุ่มสตาร์ตอัปที่มีความสนใจ ต่อการน�ำนวัตกรรมดิจทิ ลั 5G เข้ามาผนวกกับการ พัฒนาบุคลากร การจัดสัมมนาครั้งนี้จัดขึ้นตามแนวทาง อีอีซี โมเดล สร้างคนตรงความต้องการ มีงานท�ำ รายได้สูง พร้อมขับเคลื่อนหลักสูตรนวัตกรรม ที่มีต่อภาคอุตสาหกรรมในอีอีซี อีกทั้งมุ่งให้เกิด การเรียนรู้เทคโนโลยี 5G ระดับโลกของหัวเว่ย ที่ได้พัฒนาระบบดิจิทัลในภาคอุตสาหกรรมให้มี ประสิทธิภาพ และเพื่อรวบรวมองค์ความรู้และ ข้อมูลส�ำหรับสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมให้กับ นั ก ศึ ก ษาคนรุ ่ น ใหม่ ผู ้ ที่ มี ค วามสามารถด้ า น เทคโนโลยี ICT ในพืน้ ทีอ่ อี ซี ี โดยในการสัมมนาฯ จะมีผู้เชี่ยวชาญจากหัวเว่ยร่วมถ่ายทอดความรู้ ทีน่ า่ สนใจ เช่น เทคโนโลยี 5G และระบบการจัดเก็บ ข้อมูล Cloud, Big Data, IoT รวมทัง้ การยกระดับ เทคโนโลยีดิจิทัลเชื่อมโยงในภาคอุตสาหกรรม เป็นต้น นอกจากนี้ จะได้รวบรวมข้อเสนอแนะ และความต้องการในมิติต่างๆ จากผู้เข้าสัมมนา ภาคอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ถื อ เป็ น ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ที่ Huawei ASEAN Academy จะได้นำ� ไปปรับการ จัดท�ำหลักสูตรเพือ่ เตรียมความพร้อมและพัฒนา อุตสาหกรรมในพื้นที่อีอีซีสู่อุตสาหกรรม 4.0 ในอนาคต

ดร.คณิศ แสงสุพรรณ กล่าวถึง ความร่วมมือ ระหว่างอีอซี ี หัวเว่ย และมหาวิทยาลัยบูรพา ครัง้ นีว้ า่ ในวันนีถ้ อื เป็นก้าวแรกเพือ่ ร่วมกันขับเคลือ่ นโครงการ Huawei ASEAN Academy (Thailand) EEC Branch ทีจ่ ะสร้างโอกาสการพัฒนาทักษะบุคลากรด้านดิจทิ ลั ที่ไม่เพียงแค่ตอบโจทย์การสร้างงานให้ตรงความ ต้องการของภาคอุตสาหกรรม แต่จะขยายผลไปสูก่ ารสร้างความส�ำเร็จ เพือ่ น�า เทคโนโลยี 5G มาเสริมศักยภาพอุตสาหกรรม 4.0 เพิม่ ผูใ้ ช้ 5G ในภาคการผลิต โดยอีอีซีได้ต้ังเป้าหมายให้เกิดการใช้สูงถึง 8,000 โรงงานในพื้นที่ ซึ่งจะเป็น ก้าวส�ำคัญผลักดันให้ประเทศไทยก้าวสู่อุตสาหกรรม 4.0 อย่างยั่งยืน อาเบล เติ้ง กล่าวว่า เป้าหมายของ Huawei ASEAN Academy จะพัฒนาทักษะบุคลากรด้าน ดิจิทัล 5G ให้ได้ 30,000 คน ภายในระยะเวลา 3 ปี ซึ่งทางหัวเว่ยพร้อมจะให้การสนับสนุนร่วมกับอีอีซี และมหาวิทยาลัยบูรพา ในการสร้างความพร้อมอย่าง รอบด้าน ทัง้ ด้านองค์ความรู้ หลักสูตรด้านดิจทิ ลั และ ทรัพยากรต่างๆ ซึ่งหัวเว่ยพร้อมจะร่วมผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ของภูมภิ าค (Digital Hub of the ASEAN) รองรับ การลงทุนในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีข้ันสูง เพิ่มความสามารถการแข่งขันทาง ธุรกิจ รวมทั้งการสร้างบุคลากรด้านดิจิทัลที่หัวเว่ยจะให้การสนับสนุนและยินดี ให้ความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง ในฐานะผู้น�ำด้านโซลูชันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระดับโลก หัวเว่ยสนับสนุนให้เกิดอีโคซิสเต็มของบุคลากรด้าน ICT ทีเ่ ปิดกว้าง การร่วมมือ และแบ่งปันข้อมูลจะส่งผลดีตอ่ ทุกฝ่าย ศูนย์ฝกึ อบรม Huawei ASEAN Academy แสดงให้เห็นถึงก้าวส�ำคัญอีกก้าวหนึง่ ของหัวเว่ยในการพัฒนาบุคลากรด้าน ICT และขับเคลื่อนประเทศไทยมาให้เข้าสู่ยุคดิจิทัลไปพร้อมกัน ดังนัน้ การร่วมมือในครัง้ นีน้ บั เป็นอีกก้าวส�ำคัญจากความร่วมมือระหว่าง สกพอ. และหัวเว่ย ผ่าน Huawei ASEAN Academy ครั้งแรกของไทยในอีอีซี การรวมพลังครั้งยิ่งใหญ่นี้จะท�ำให้ไทยก้าวสู่การเป็นดิจิทัลระดับอาเซียน ยกระดับให้สังคมเศรษฐกิจปลอดภัย มั่นคง ยั่งยืน เพื่อสร้างความมุ่งมั่นที่จะ สร้างรากฐานความรูด้ า้ นดิจทิ ลั ให้กบั เยาวชนไทย ร่วมกับอีอซี ี และมหาวิทยาลัย บูรพา เพื่อขับเคลื่อนการสร้างทักษะดิจิทัลแบบองค์รวม และการพัฒนาระบบ นิเวศที่เชื่อมโยงกันอย่างเข้มแข็ง เพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม ไทยอย่างยั่งยืน November-December 2021


ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) จัดการประชุมสัมมนาออนไลน์ หัวข้อ “Development of Circular Economy Investment Promotion Policy and Action Plan in EEC” โดยมี ดร.ลัษมณ อรรถาพิช รองเลขาธิการสายงานการลงทุนและ ต่างประเทศ สกพอ. เป็นประธานเปิดการประชุมในครั้งนี้ ซึ่งงานนี้เป็น การจัดขึ้นร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ องค์การบริหารจัดการก๊าซ เรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และหน่วยงานภาคเอกชน เช่น สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย จ�ำกัด บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ยูนิลิเวอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด และ บริษัท อีอาร์เอ็ม สยาม จ�ำกัด เพื่อแสดงศักยภาพและความก้าวหน้าใน การด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในมิติด้าน การสนับสนุนการลงทุนในพื้นที่อีอีซีของทั้งภาครัฐและเอกชน พร้อม แลกเปลี่ยนประสบการณ์การด�ำเนินงานของภาคเอกชนในประเทศไทย ในการน�ำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาประยุกต์ในภาคการผลิต

การประชุมสัมมนาในครัง้ นี้ สกพอ. และ ดร.พงษ์วภิ า หล่อสมบูรณ์ รองผู้อ�ำนวยการ องค์การบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. ได้ร่วมกัน เผยแพร่โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่อีอีซี เช่น การท�ำ Platform ส�ำหรับจับคู่ทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ การรีไซเคิล การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมอย่างยัง่ ยืน รวมถึง ระบบติดตามการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่อีอีซี ซึ่ง ถือเป็นพื้นที่ต้นแบบส�ำคัญของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รองรับการลงทุนเศรษฐกิจสีเขียวและเศรษฐกิจหมุนเวียน เพื่อให้อีอีซีเป็นพื้นที่คาร์บอนต�่ำ ผ่านนโยบายลด ก๊าซเรือนกระจกและการเชือ่ มโยงภาครัฐและเอกชน โดยเน้น การแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างกันผ่านการสนับสนุนเศรษฐกิจ หมุนเวียนในพื้นที่ผ่าน 4 กิจกรรม ได้แก่ การพัฒนาต้นแบบ CE-EEC Model ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้าน Circular Economy การส�ำรวจข้อมูลเทคโนโลยี วัตถุดบิ ของเสีย และ GHG Mitigation Information Platform ในขณะที่ ดร.นงนุช พูลสวัสดิ์ จากส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้น�ำเสนอ การพัฒนาพื้นที่ EECi ในฐานะพื้นที่พัฒนาเทคโนโลยีและ November-December 2021

นวัตกรรมส�ำหรับเศรษฐกิจสีเขียวและเศรษฐกิจหมุนเวียน รองรับอุตสาหกรรม New S-Curve และ เจริญชัย ประเทืองสุขศรี จากสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ได้นำ� เสนอความก้าวหน้าการพัฒนาระบบซือ้ ขายคาร์บอน เครดิต (Carbon Credit Trading Platform) ที่ได้ร่วมกับ อบก. เพื่อรองรับ มาตรการด้านสิง่ แวดล้อมในตลาดทัง้ ในและต่างประเทศ โดยเตรียมน�ำร่อง ในภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่อีอีซี พร้อมกันนี้ ภาคเอกชนได้ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ในภาคเศรษฐกิจ หมุนเวียน โดย สุพจน์ เกตุโตประการ กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย จ�ำกัด ได้น�ำเสนอการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีรองรับเศรษฐกิจหมุนเวียนในภาคการ ผลิต เช่น กระบวนการดักจับคาร์บอน วัสดุคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษรองรับการผลิต ผลิตภัณฑ์คาร์บอนต�ำ่ (Low Carbon Intensity Production) ซึง่ ประเทศไทย มีโอกาสทางการตลาดและสามารถเป็นฐานการผลิตของภูมิภาค ทั้งนี้ การสร้าง Eco System ด้านเศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่อีอีซี เพื่อเอื้อให้เป็นพื้นที่ท่ีย่ังยืนในอนาคต จะต้องผสานแนวทางเทคโนโลยี และนโยบายภาครัฐที่ดีและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสามารถท�ำได้ผ่านการ จัดท�ำ Regulatory Sandbox ในพื้นที่ เพราะฉะนั้น การด�ำเนินการน�ำร่องเศรษฐกิจสีเขียวและเศรษฐกิจ หมุนเวียนทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน พืน้ ทีอ่ อี ซี จี งึ ถือเป็นพืน้ ทีต่ น้ แบบของ การน�ำแนวทางเศรษฐกิจสีเขียวและเศรษฐกิจหมุนเวียนมาใช้อย่างเป็น รูปธรรม ทั้งในภาคการผลิตและการบริการของประเทศ อย่างไรก็ตาม เพือ่ ให้การขับเคลือ่ นบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมทีใ่ ช้เทคโนโลยี ขั้นสูง และสร้างโอกาสทางธุรกิจให้กับภาคอุตสาหกรรมของไทยอย่าง ต่อเนือ่ ง สกพอ. เตรียมออกแบบมาตรการและสิทธิประโยชน์ทต่ี อบโจทย์ ภาคการผลิตและภาคธุรกิจ ควบคู่ไปกับการเน้นการขับเคลื่อนแบบมี ส่วนร่วมกับภาคเอกชน ภาคประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้เห็นความส�ำคัญ ของเศรษฐกิจสีเขียวและเศรษฐกิจหมุนเวียนในทุกมิติ ซึ่งจะเป็นการเพิ่ม ศักยภาพของพื้นที่อีอีซีให้เป็นห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สีเขียวและเศรษฐกิจหมุนเวียนในตลาดโลกมากขึ้น


Article

> ไมเคิล โพโรสกี้ นักวิเคราะห์อาวุโส บริษัท การ์ทเนอร์

การ์ทเนอร์ อิงค์ คาดการณ์รายได้จาก การเปิดให้บริการโครงสร้างพืน้ ฐานเครือข่าย 5G ทัว่ โลก จะเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็วที่ 39% คิดเป็น มูลค่าประมาณ 19.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปีนี้ เพิ่มจาก 13.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2563 บริ ษั ท การ์ ท เนอร์ (Gartner, Inc.) (NYSE: IT) คือบริษทั วิจยั และให้คำ� ปรึกษาชัน้ น�า ของโลก และมีรายชื่ออยู่ในดัชนี S&P 500 บริษทั ฯ ให้ขอ้ มูลเชิงลึก ค�ำแนะน�ำ และเครือ่ งมือ ต่ า งๆ แก่ ผู ้ บ ริ ห ารองค์ ก รธุ ร กิ จ เพื่ อ รองรั บ การด�ำเนินภารกิจส�ำคัญที่มีอยู่ในปัจจุบัน และ สร้างองค์กรให้ประสบความส�ำเร็จในอนาคต การ์ทเนอร์น�ำเสนองานวิจัยที่ขับเคลื่อนด้วย ข้อมูล ด�ำเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญ และใช้แหล่ง ข้อมูลจากผูป้ ฏิบตั งิ านจริง เพือ่ ชีน้ ำ� ลูกค้าส�ำหรับ การตัดสินใจที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องที่ส�ำคัญ ที่สุด การ์ทเนอร์ทำ� หน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เป็น กลางและเป็นที่ปรึกษาที่ได้รับความไว้วางใจ จากองค์กรต่างๆ กว่า 14,000 แห่ง ในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ครอบคลุมทุกส่วนงานส�ำคัญๆ ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรมและองค์กรทุกขนาด

ไมเคิล โพโรสกี้ นักวิเคราะห์อาวุโสของการ์ทเนอร์ กล่าวว่า “ผู้ให้บริการด้านการสื่อสาร (CSPs) ในตลาดใหญ่ๆ ที่เร่งเปิดให้บริการ 5G ในปีก่อนและปีนี้ จะมีสัดส่วนรายได้จาก 5G อยู่ที่ 39% ของรายได้ จากเครือข่ายไร้สายทั้งหมดที่เปิดให้บริการในปีน้ี ซึ่งการแพร่ระบาด COVID-19 กระตุน้ ความต้องการในการเพิม่ ประสิทธิภาพและการเชือ่ มต่อ สัญญาณอินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ท่ีมีความเร็วสูงส�ำหรับใช้ท�ำงานจาก ทีบ่ า้ นและการใช้แอปพลิเคชันต่างๆ ทีก่ นิ แบนด์วธิ สูง อาทิ การชมสตรีม วิดีโอ เล่นเกมออนไลน์ และใช้แอปพลิเคชันโซเชียลมีเดีย”

November-December 2021


เครือข่าย 5G เติบโตรวดเร็วที่สุดในกลุ่มตลาดโครงสร้าง พืน้ ฐานเครือข่ายไร้สาย (ตารางที่ 1) และเป็นโอกาสการลงทุนเดียว ที่สร้างการเติบโตส�ำคัญแก่ผู้ให้บริการ เนื่องจากแนวโน้มการ ลงทุนในเครือข่ายไร้สายรุน่ ก่อนๆ ก�ำลังลดลงรวดเร็วทุกภูมภิ าค รวมถึงการใช้จ่ายในเซลล์เครือข่ายขนาดเล็กที่ไม่ใช่ 5G ตามที่ ผูใ้ ห้บริการสือ่ สารหันไปใช้เซลล์เครือข่ายขนาดเล็กของ 5G แทนที่ ทั้งนี้ ในระดับภูมิภาค ผู้ให้บริการด้านการสื่อสารในแถบ อเมริกาเหนือ ตั้งเป้ามีรายได้เพิ่มจากบริการ 5G จากเดิม 2.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปีกอ่ น เป็น 4.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปีน้ี ส่วนหนึง่ มาจากการน�ำคลืน่ ความถีแ่ บบไดนามิกมาปรับใช้

ร่วมกัน และเพิม่ สถานีฐานรับ-ส่งสัญญาณคลืน่ แบบ mmWave ขณะที่ผู้ให้บริการในยุโรปตะวันตกกลับให้ความส�ำคัญกับการ ออกใบอนุญาตคลืน่ ความถี่ การปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานหลัก ให้ทนั สมัยเพือ่ รองรับการใช้งานบนอุปกรณ์พกพาและปรับบริการ ให้เข้ากับกระบวนการก�ำกับดูแล ซึ่งคาดว่าจะมีรายได้จาก 5G เพิ่มเป็น 1.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปีนี้ จาก 794 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ เมือ่ ปีทแ่ี ล้ว โดยประเทศจีนยังคงรักษาต�ำแหน่ง ผู้นำ� เบอร์ 1 ของโลก ด้วยรายได้จากเครือข่าย 5G สูงแตะ 9.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปีนี้ เพิม่ จาก 7.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จากปี พ.ศ. 2563

ตารางที่ 1 : คาดการณ์รายได้โครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายไร้สายทั่วโลก เครือข่ายไร้สาย

รายได้ ปี 2563

รายได้ ปี 2564

รายได้ ปี 2565

5G

13,768.0

19,128.9

23,254.6

LTE และ 4G

17,127.8

14,569.1

12,114.0

3G และ 2G

3,159.6

1,948.2

1,095.2

เซลล์เครือข่ายขนาดเล็กที่ไม่ใช่ 5G (Small Cells Non-5G)

6,588.5

7,117.9

7,113.9

เครือข่ายหลัก (Mobile Core)

5,714.6

6,056.2

6,273.3

รวม

46,358.5

48,820.2

49,851.0

ในอีก 3 ปี สัญญาณ 5G จะครอบคลุม พื้นที่เมืองหลักทั่วโลกถึง 60%

จากปีก่อนที่มีเพียง 10% ของผู้ให้บริการสื่อสารที่เปิด บริการ 5G เชิงพาณิชย์ การ์ทเนอร์คาดว่าภายในปี พ.ศ. 2567 ตัวเลขดังกล่าวจะเพิม่ ขึน้ เป็น 60% ใกล้เคียงกับอัตราการปรับใช้ เครือข่าย LTE และ 4G ในอดีต เนือ่ งจากความส�ำเร็จในการเปิด ให้บริการในหลากหลายภูมิภาคพร้อมๆ กัน ความต้องการของธุรกิจและกลุ่มลูกค้าเป็นปัจจัยเร่ง ที่มีอิทธิพลต่อการเติบโตดังกล่าว เมื่อผู้บริโภคกลับมาท�ำงาน ที่ออฟฟิศ พวกเขาจะอัปเกรดหรือเปลี่ยนไปใช้อินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ความเร็วสูงภายในบ้านผ่านสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง (FTTH) เนือ่ งจากการเชือ่ มต่อได้กลายเป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับบริการ ระยะไกล โดยผู้ใช้จะคัดสรรผู้ให้บริการเครือข่ายอย่างละเอียด เมือ่ ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตทัง้ ทีอ่ อฟฟิศและจากบ้านเพิม่ ขึน้

November-December 2021

พฤติกรรมลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วช่วยกระตุ้น การเติบโตเทคโนโลยีโครงข่ายเชิงแสงแบบพาสซีฟ (Passive Optical Network หรือ PON) ในตลาดทั่วโลกให้กลายเป็น เทคโนโลยีทใี่ ครๆ ก็ตอ้ งการ โดยทีเ่ ทคโนโลยี 10 Gigabit-Capable Symmetric-PON (XGS-PON) ไม่ใช่เทคโนโลยีใหม่และด้วยราคา ทีต่ า่ งกันกับเทคโนโลยีอนื่ ๆ ผูใ้ ห้บริการยินดีลงทุนในเทคโนโลยี XGS-PON เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่แตกต่างให้กับ ลูกค้าและเสริมคุณภาพให้กบั เครือข่าย การ์ทเนอร์คาดว่าภายใน ปี พ.ศ. 2568 จะมีผู้ให้บริการสื่อสารชั้นน�ำประมาณ 60% น�ำเทคโนโลยี XGS-PON มาปรับใช้ในวงกว้าง เพือ่ ขยายบริการ บรอดแบนด์อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเป็นพิเศษแก่ผู้ใช้ตามบ้าน และเชิงพาณิชย์ เพิม่ ขึน้ จากเดิมทีน่ อ้ ยกว่า 30% ในปี พ.ศ. 2563


Worldwide 5G network infrastructure revenue is on pace to grow 39% to total $19.1 billion in 2021, up from $13.7 billion in 2020, according to the latest forecast by Gartner, Inc. Communications service providers (CSPs) in mature markets accelerated 5G development in 2020 and 2021 with 5G representing 39% of total wireless infrastructure revenue this year. “The COVID-19 pandemic spiked demand for optimized and ultrafast broadband connectivity to support work-from-home and bandwidth-hungry applications, such as streaming video, online gaming and social media applications.” said Michael Porowski, senior principal research analyst at Gartner. 5G is the fastest growing segment in the wireless network infrastructure market (see Table 1). Of the segments that comprise wireless infrastructure in this forecast, the only significant opportunity for investment growth is in 5G. Investment in legacy wireless generations is rapidly deteriorating across all regions and spending on non-5G small cells is poised to decline as CSPs move to 5G small cells. Table 1 : Wireless Network Infrastructure Revenue Forecast, Worldwide (Millions of U.S. Dollars) Segment

2020 Revenue

2021 Revenue

2022 Revenue

5G LTE and 4G 3G and 2G Small Cells Non-5G Mobile Core

13,768.0 17,127.8 3,159.6 6,588.5

19,128.9 14,569.1 1,948.2 7,117.9

23,254.6 12,114.0 1,095.2 7,113.9

5,714.6

6,056.2

6,273.3

Total

46,358.5

48,820.2

49,851.0

Regionally, CSPs in North America are set to grow 5G revenue from $2.9 billion in 2020 to $4.3 billion in 2021, due, in part, to increased adoption of dynamic spectrum sharing and millimeter wave base stations. In Western Europe, CSPs will prioritize on licensing spectrum, modernizing mobile core infrastructure and navigating regulatory processes with 5G revenue expected to increase from $794 million in 2020 to $1.6 billion in 2021. Greater China is expected to maintain the No.1 global position in global 5G revenue reaching $9.1 billion in 2021, up from $7.4 billion in 2020.

5G Coverage in Tier-1 Cities Will Reach 60% in 2024 While 10% of CSPs in 2020 provided commercializable 5G services, which could achieve multiregional availability, Gartner predicts that this number will increase to 60% by 2024, which is a similar rate of adoption for LTE and 4G in the past. “Business and customer demand is an influencing factor in this growth. As consumers return to the office, they will continue to upgrade or switch to gigabit fiber to the home (FTTH) service as connectivity has become an essential remote work service.” said Porowski. “Users will also increasingly scrutinize CSPs for both office and remote work needs.” This rapid shift in customer behavior is driving growth in the global passive optical network (PON) market as a preferred technology. The 10-Gigabit-capable symmetricPON (XGS-PON) is not a new technology and with the price difference with other technologies narrowing, CSPs are willing to invest in XGS-PON to differentiate themselves in customer experience and network quality. Gartner estimates that by 2025, 60% of Tier-1 CSPs will adopt XGS-PON technology at large-scale to deliver ultrafast broadband services to residential and business users, up from less than 30% in 2020.

November-December 2021


Article

> ยูนิเวอร์ซัล โรบอท

ยูนิเวอร์ซัล โรบอท ระบบอัตโนมัติแบบมีส่วนร่วม ช่วย ป้องกันการสูญเสียงานของภาคการผลิตของไทยที่ชะลอตัว ระบบอัตโนมัติสามารถท�ำให้ต�ำแหน่งงานและผลผลิตที่ลดลง กลับเพิ่มขึ้น ขณะที่ได้ปรับปรุงสภาพการท�ำงานอีกด้วย ยูนิเวอร์ซัล โรบอท หรือ ยูอาร์ ผู้น�ำเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ร่วมปฏิบตั งิ าน หรือโคบอทระดับโลกจากประเทศเดนมาร์ก กระตุน้ ให้ผู้น�ำอุตสาหกรรมของประเทศไทยเร่งการน�ำระบบอัตโนมัติและ โซลูชันที่เป็นนวัตกรรมใหม่มาใช้ เพื่อปรับให้เข้ากับสภาวะผันผวน ที่ผู้ผลิตในท้องถิ่นด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบัน เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจโลก ภาคการผลิตในประเทศไทยได้รับผลกระทบอย่าง มีนัยส�ำคัญ เนื่องจากการปิดโรงงานและข้อจ�ำกัดที่เกี่ยวข้องกับ โควิด-19 ซึง่ ท�ำให้งานตกอยูใ่ นความเสีย่ ง ระบบอัตโนมัตขิ องหุน่ ยนต์ โคบอทช่วยชะลอการลดลงของงานการผลิต เนือ่ งจากผูผ้ ลิตลงทุน ในโซลูชันที่เป็นนวัตกรรมใหม่ท่ีเพิ่มผลผลิตของแรงงานทุกหน่วย ควบคู ่ ไ ปกั บ การปรั บ ปรุ ง สภาพการท� ำ งานส� ำ หรั บ แรงงานคน จากการที่เศรษฐกิจชะลอตัวอันเนื่องมาจากการระบาดของไวรัส โควิด-19 ท�ำให้อตั ราการว่างงานของประเทศไทยเพิม่ ขึน้ 1.9% ใน เดือนสิงหาคม 2563 และเพิ่มขึ้น 1% จากเดือนสิงหาคม 25621 สหพันธ์หนุ่ ยนต์นานาชาติ หรือไอเอฟอาร์ (IFR) ได้รายงานว่า หุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเอเชียเป็น หนึ่งในตลาดที่แข็งแกร่งที่สุดส�ำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ส�ำหรับ ประเทศไทยได้สร้างรากฐานทีแ่ ข็งแกร่งในด้านระบบอัตโนมัติ และเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ในช่วงไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา โดยไอเอฟอาร์ ยังได้รายงานว่า ประเทศไทยเป็น 1 ใน 15 ตลาดทีใ่ หญ่ ที่สุดในการติดตั้งหุ่นยนต์อุตสาหกรรม2 ด้วยการ สนับสนุนของรัฐบาลไทย ท�ำให้มีการติดตั้งระบบ อัตโนมัติอย่างต่อเนื่องในอุตสาหกรรมการผลิต November-December 2021

เจมส์ แมคคิว “การเดินไปสูร่ ะบบอัตโนมัตยิ งั ไม่สน้ิ สุด เราเข้าสูช่ ว่ งทีร่ ะบบ อัตโนมัติปกป้องคนงานที่มีทักษะจากการจ้างงานภายนอก โดยได้ เพิ่มมูลค่าของเวลาและความพยายามของพวกเขา อุตสาหกรรม ในปัจจุบัน การปรับปรุงมูลค่าของทุนมนุษย์ที่ไม่เคยมีความส�ำคัญ มาก่อน ตอนนีเ้ รามุง่ เน้นทัง้ สภาพแวดล้อมทีม่ กี ารควบคุมและไม่มี การควบคุม ซึง่ มีการใช้อปุ กรณ์อตั โนมัตเิ พือ่ ปรับปรุงความปลอดภัย และประสิทธิภาพการท�ำงาน ระบบอัตโนมัตชิ ว่ ยให้ผผู้ ลิตมีววิ ฒ ั นาการ ด้วยโซลูชันที่เป็นนวัตกรรม เช่น โคบอทที่ปลอดภัยและยืดหยุ่น เพียงพอทีจ่ ะท�ำงานทีซ่ บั ซ้อนควบคูไ่ ปกับมนุษย์ได้” เจมส์ แมคคิว ผู้อ�ำนวยการภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก บริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอท กล่าว ตัวอย่างเช่น บริษทั เบนซ์มาร์ค อิเล็กทรอนิกส์ (Benchmark Electronics) ผู้ให้บริการโซลูชันด้านการผลิตและเทคโนโลยีของ ประเทศไทย มุ่งมั่นที่จะให้บริการด้านการผลิตระดับโลกท่ามกลาง ตลาดทีม่ กี ารแข่งขันสูงขึน้ ได้ตดิ ตัง้ หุน่ ยนต์โคบอท รุน่ UR5 จ�ำนวน 4 ตัว และ UR10e จ�ำนวน 2 ตัว ส�ำหรับงานประกอบและทดสอบ ในโรงงานผลิต เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพผลผลิต หุ่นยนต์โคบอทมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยให้บริษัทสามารถบรรลุ ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานได้ถงึ 25% ในขณะทีช่ ว่ ยประหยัดพืน้ ที่ การผลิตได้ 10% ซึ่งน�ำไปสู่โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ การน�ำโคบอท ของยูอาร์มาใช้ได้ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นของบุคลากร โดยช่วยให้ ผู้ปฏิบัติงานท�ำงานที่มีทักษะสูงขึ้น ซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับกระบวนการ ประกอบที่ซับซ้อนมากขึ้น


จากข้อมูลขององค์การแรงงานระหว่างประเทศพบว่า ในเอเชีย มีผเู้ สียชีวติ มากกว่า 1.1 ล้านคนต่อปี สาเหตุจากอุบตั เิ หตุในทีท่ ำ� งานหรือ โรคภัยไข้เจ็บ3 ได้รบั บาดเจ็บสาหัสจากการท�ำงาน 124 ราย ในภาคการผลิต ในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งภาคการผลิตเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่อันตรายที่สุด เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น4 ทุกวันนี้มีความเป็นไปได้มากขึ้นที่จะถ่ายโอนกิจกรรมที่มีความ เสี่ยงสูงไปยังหุ่นยนต์ หุ่นยนต์ช่วยให้บริษัทก่อสร้างย้ายคนงานออกจาก งานที่มีความเสี่ยงสูง และไปยังงานที่มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น ความปลอดภัยเป็นปัจจัยสนับสนุนทีส่ ำ� คัญส�ำหรับบริษทั PT JVC Electronics Indonesia (JEIN) ผู้ผลิตในประเทศอินโดนีเซีย โดย JEIN ได้ ปรับใช้โคบอทยูอาร์ทรี (UR3) จ�ำนวน 7 ตัว เพือ่ ให้พนักงานสามารถท�ำงาน ในบริเวณใกล้เคียงโดยไม่ตอ้ งใช้รวั้ ป้องกัน (เมือ่ ประเมินความเสีย่ ง) โคบอท ของยูอาร์ ช่วยพนักงานทีเ่ ป็นมนุษย์จากงานทีม่ คี วามเสีย่ งสูง เช่น การบัดกรี และการแยกชิน้ ส่วนแผ่นวงจรพิมพ์ ซึง่ ปล่อยควันอันตรายและมีอนุภาคฝุน่ ในอดีต นักเทคโนโลยีเคยกล่าวว่า โลกทุกวันนีจ้ ะเป็นระบบอัตโนมัติ เป็นส่วนใหญ่ มนุษย์ใช้แรงงานน้อยที่สุด และมีบทบาทส�ำคัญในการ ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์ “เครือ่ งจักรทีล่ ำ้� สมัยเหล่านีไ้ ด้ออกแบบมาเพือ่ ท�ำงานร่วมกับมนุษย์ ช่วยลดการบาดเจ็บในสถานทีท่ ำ� งานและปรับปรุงประสิทธิภาพการท�ำงาน โคบอทช่วยให้ผู้ผลิตในประเทศไทยใช้แรงงานมนุษย์และหุ่นยนต์ให้เกิด ประโยชน์สงู สุด จะเห็นได้วา่ หุน่ ยนต์แบบเดิมให้ทกั ษะการแก้ปญ ั หาอย่าง สร้างสรรค์ ความยืดหยุ่น และความรู้ในโลกแห่งความเป็นจริง ในขณะที่ หุน่ ยนต์โคบอทให้ความสามารถในการท�ำซ�ำ้ ความแม่นย�ำ และความพร้อม ตลอด 24 ชั่วโมงต่อ 7 วัน” แมคคิว กล่าว

Collaborative Automation Could Stem Job Losses in Thailand’s Manufacturing Sectors Impacted by Slowdown. Automation can potentially reverse decline in manufacturing jobs through increase of output per unit of labour while improving working conditions. Universal Robots (UR), Denmark-based collaborative robots (cobots) technology leader with global presence, urged Thailand’s industry leaders to accelerate adoption of automation and innovative solutions to adapt to the volatile conditions that local manufacturers currently operate within. As the COVID-19 pandemic disrupted global economies, the manufacturing sector in Thailand was also significantly affected due to the closure of factories and COVID-19 related restrictions, thus placing jobs at risk. Collaborative robotic automation is helping to slow and potentially reverse the decline in manufacturing jobs as manufacturers invest in innovative solutions that increase the output of every unit of labour; while improving working conditions for the human workforce. During the economic slowdown induced by the extended COVID-19 shocks, Thailand’s unemployment rate climbed to 1.9 per cent in August 2020, up from 1 per cent in August 2019.1 According to the International Federation of Robotics (IFR), there was a gradual rise in the operational stock of industrial robots, with Asia being one of the strongest markets for industrial robots. Additionally, Thailand has built a strong foundation in automation and robotic technologies over the last November-December 2021


few years. IFR reported that Thailand remains one of the 15 largest markets for the installation of industrial robots.2 With progressive support from Thailand’s government, the nation has consistently taken steps to implement collaborative automation in the manufacturing industry. “The march towards automation is far from over. We have entered a phase where automation is protecting skilled workers from outsourcing by increasing the value of their time and effort. In today’s industry, improving the value of human capital has never been more important. Now, we focus on both controlled and uncontrolled environments where automation equipment is being leveraged to improve safety and productivity. Automation is helping manufacturers evolve, thanks to innovative solutions such as cobots that are safe and flexible enough to complete complex tasks alongside humans.” said James McKew, Regional Director of Asia-Pacific in Universal Robots. For example, Thailand-based manufacturing and technology solutions provider, Benchmark Electronics, is committed to providing world-class manufacturing services in the increasingly competitive market. Benchmark Electronics deployed four UR5 and two UR10e cobots for assembly and testing tasks in its production facility to improve productivity and output quality. The highly flexible cobots enabled the company to achieve 25 per cent operational efficiency while saving 10 per cent of the manufacturing space, leading to new business opportunities. The introduction of UR cobots improved personnel flexibility by allowing operators to complete higher-skilled tasks required for more complex assembly processes. November-December 2021

According to International Labour Organisation, there are more than 1.1 million deaths every year due to workplace accidents or diseases in Asia.3 With 124 cases of fatal occupational injury in the manufacturing sector in 2020, manufacturing is one of the most hazardous industries in comparison to others.4 Today, it is increasingly possible for high-risk activities to be offloaded to robots. Robots allow construction firms to move workers away from high-risk tasks and on to more value-added tasks. Safety was an important contributing factor for the Indonesia-based manufacturer, PT JVC Electronics Indonesia (JEIN). JEIN deployed seven units of UR3 cobots to allow employees to work in close proximity without the need for safety fencing (upon risk assessment). The UR cobots relieved human workers from handling high-risk tasks such as soldering and separating cut PCB parts, which emit hazardous fumes and dust particles. In the past, technologists argued that the world today would be largely automated, with minimal labour being performed by humans. Human workforces play a critical role in designing and manufacturing products. “These state-of-the-art machines are designed to work alongside humans, helping to reduce workplace injuries and improving productivity. Cobots allow manufacturers in Thailand to make the best use of human workers and robots; the former provides creative problem-solving skills, mental flexibility, and real-world knowledge, while robots provide repeatability, accuracy, and 24/7 availability.” concluded McKew. 1

https://tradingeconomics.com/thailand/ unemploymentrate#:~:text=Unemployment%20 Rate%20in%20Thailand%20increased%20 to%201.96%20percent,0.47%20percent%20 in%20the%20fourth%20quarter%20of% 202012. 2 https://ifr.org/downloads/press2018/Presenta tion_WR_2020.pdf 3 https://www.ilo.org/asia/projects/WCMS_ 099347/lang--en/index.htm 4 https://ilostat.ilo.org/topics/safety-and-health at-work/


Article

> บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี จ�ำกัด (ประเทศไทย)

https://pixabay.com/th/illustrations/5-5g-8-4816658/

ในขณะที่ประเทศไทยยังเป็นตลาดกลยุทธ์หลักของหัวเว่ย หั ว เว่ ย เตรี ย มพร้ อ มเร่ ง ผลั ก ดั น การเปลี่ ย นผ่ า นสู ่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล ใน ประเทศไทยอย่างเต็มที่ ด้วยการขยายส่วนธุรกิจพลังงานดิจิทัล เป็นครัง้ แรกในประเทศไทย และการลงทุนอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในด้าน 5G คลาวด์ และการพัฒนาทักษะดิจิทัลในประเทศ โดยหัวเว่ยจะ มุ่งเสริมแกร่งประเทศไทยสู่การก้าวขึ้นเป็นดิจิทัลฮับแห่งอาเซียน และผู ้ น� ำ ด้ า นการลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกในอาเซี ย น ตามพันธกิจของหัวเว่ยในการ “เติบโตในประเทศไทยและสนับสนุน ประเทศไทย” เทรนด์ เ ทคโนโลยี ท่ั ว โลกที่ น ่ า สนใจในยุ ค นิ ว นอร์ มั ล (New Normal) เนือ่ งจาก 2 ปีทผ่ี า่ นมาเป็นช่วงเวลาทีท่ า้ ทายส�ำหรับ ทุกคน การรับมือกับสถานการณ์โรคระบาดในขณะนีท้ ำ� ให้เราเห็นว่า ทุกประเทศหันมาพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลมากขึ้น โดยข้อมูลจาก รายงาน Global Connectivity Index ฉบับล่าสุดของหัวเว่ยระบุวา่ ประเทศทีม่ คี วามพร้อมทางด้าน ICT มากกว่าประเทศอืน่ จะได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์นน้ี อ้ ยกว่า ทัง้ ในแง่ของภาคสังคมและ ภาคเศรษฐกิจ รวมทัง้ ยังสามารถฟืน้ ตัวได้เร็วกว่า ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั คือ ตลาดประเทศไทย ทีส่ ถานการณ์ระบาดในตอนนีท้ ำ� ให้เห็นว่า การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ICT และเทคโนโลยีดิจิทัลอย่าง เต็มที่ในช่วงก่อนหน้านี้ มีผลเป็นอย่างยิ่งกับการช่วยให้ประเทศ ยังคงฟื้นตัวและเดินหน้าต่อไปได้ท่ามกลางสถานการณ์วิกฤติ

อาเบล เติ้ง ประธานกรรมการบริหาร บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี จ�ำกัด (ประเทศไทย) กล่าวว่า หัวเว่ย ประเทศไทย ยังคง มุ่งมั่นสนับสนุนประเทศไทย คนไทย และธุรกิจไทยอย่างไม่หยุดยั้ง ตามพันธกิจในระยะยาวของเราที่ต้องการส่งมอบคุณค่าทางสังคม ให้แก่ประเทศไทยใน 3 ด้านหลัก ได้แก่ กิจกรรมเพือ่ สังคมของหัวเว่ย ในด้านการรับมือกับโควิด-19 การบ่มเพาะอีโคซิสเต็มของการพัฒนา ทักษะดิจทิ ลั ในประเทศไทย และการสร้างอีโคซิสเต็มส�ำหรับกลุม่ ธุรกิจ เอสเอ็มอีและสตาร์ตอัป นอกจากนี้ หัวเว่ยยังเชื่อว่าหัวใจส�ำคัญในการขับเคลื่อน การพั ฒ นาทั ก ษะด้ า นดิ จิ ทั ล ขึ้ น อยู ่ กั บ การวางรากฐานในด้ า น การพัฒนาทักษะทางดิจิทัล ซึ่งหัวเว่ย ได้สนับสนุนนโยบายไทยแลนด์ 4.0 อย่างต่อเนือ่ ง ผ่านการบ่มเพาะทักษะ ดิจิทัลให้แก่บุคลากรไทย โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา หัวเว่ยได้ลงทุน อย่างต่อเนือ่ งเป็นเงิน 180 ล้านบาท อาเบล เติ้ง เพือ่ เปิดตัวศูนย์ Huawei ASEAN Academy และได้ฝึกอบรม บุคลากรไปแล้วกว่า 16,500 คน ผ่านศูนย์ดังกล่าว

November-December -December 2021


ในด้านธุรกิจเอสเอ็มอีและสตาร์ตอัปของประเทศไทย หัวเว่ย ได้ร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม อาทิ สถาบันพัฒนาผู้ประกอบการ การค้ายุคใหม่ ซึ่งอยู่ภายใต้กระทรวงพาณิชย์ ร่วมกับดีป้า (Depa) ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) ลูกค้า รวมถึงพาร์ทเนอร์ในไทย เพือ่ ให้การสนับสนุนเอสเอ็มอีและสตาร์ตอัปในด้านการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีใหม่ ผ่านการส่งมอบความรู้ในระดับสากลและหลักสูตร การอบรมชัน้ น�ำอย่าง Huawei ASEAN Academy ประเทศไทย เพือ่ ช่วยให้เอสเอ็มอีและสตาร์ตอัปมีความเข้าใจในเทคโนโลยีมากขึ้น และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับแผนธุรกิจได้ ประเทศไทยยังคงเป็นตลาดส�ำคัญของหัวเว่ย ซึ่งหัวเว่ยจะ ยังคงลงทุนอย่างต่อเนื่องในประเทศไทยใน 4 ด้าน อันได้แก่ ด้าน เทคโนโลยี 5G ด้านดาต้าเซ็นเตอร์และคลาวด์ ด้านพลังงานดิจิทัล และด้านการพัฒนาทักษะดิจิทัล โดยมีจุดประสงค์เพื่อผลักดันให้ ประเทศไทยก้าวขึน้ สูก่ ารเป็นดิจทิ ลั ฮับของภูมภิ าคอาเซียน รวมทัง้ บรรลุเป้าหมายในการเป็นประเทศผู้น�ำด้านการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกในภูมิภาคนี้ให้จงได้ “หั ว เว่ ย เราเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นเทคโนโลยี แ ละพลั ง งานดิ จิ ทั ล มาเนิ่นนาน ซึ่งได้รับการน�ำไปประยุกต์ใช้ในกว่า 170 ประเทศและ ภูมิภาค โดยส่วนธุรกิจพลังงานดิจิทัลของหัวเว่ยได้เติบโตอย่าง ต่อเนือ่ งและรวดเร็ว ทัง้ ในแง่ของผลประกอบการและส่วนแบ่งตลาด ทั้งในส่วนธุรกิจ Prefabricated Modular Data Center, Smart PV และ Site Power Facility ทั้งนี้ หัวเว่ยยังเป็นผู้น�ำส่วนแบ่งตลาดใน ระดับโลก ส�ำหรับส่วนธุรกิจ mPower หัวเว่ยถือเป็นบริษัทแห่งแรก ในโลกทีส่ ง่ มอบนวัตกรรมใหม่ในชือ่ ว่า X-in-1 ePowertrain ซึง่ จะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานให้แก่รถยนต์พลังไฟฟ้า”

นอกจากนี้ หัวเว่ยยังได้ส่งมอบผลิตภัณฑ์ Modular Power ประสิทธิภาพสูงเป็นจ�ำนวนมากกว่า 300 ล้านชิ้นทั่วโลก โดยในปี พ.ศ. 2563 หัวเว่ยท�ำยอดขายในส่วนธุรกิจพลังงานจากทั่วโลกได้ มากกว่า 5,500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ให้บริการประชากรถึง 1 ใน 3 จากทั่วโลก นั่นท�ำให้หัวเว่ยตัดสินใจขยายส่วนธุรกิจพลังงานดิจิทัล ส�ำหรับตลาดประเทศไทยในปีนี้ โดยปัจจุบันหัวเว่ยได้ให้บริการ ลูกค้าระดับองค์กรธุรกิจมากกว่า 1,000 รายในตลาดประเทศไทย ทัง้ นี้ องค์กรธุรกิจ 35 แห่งจาก 50 แห่ง ได้เลือกหัวเว่ยเป็นพาร์ทเนอร์ ในด้านพลังงานดิจิทัล ซึ่งหัวเว่ยก�ำลังสร้างเครือข่ายพาร์ทเนอร์ ส�ำหรับด้านการบริการ การติดตั้ง และด้านโซลูชันมากกว่า 50 ราย ในประเทศไทย โดยหัวเว่ยคาดว่าการขยายส่วนธุรกิจในครั้งนี้จะ ช่วยสร้างงานในทางอ้อมได้มากกว่า 1,000 ต�ำแหน่งในประเทศไทย ซึง่ หัวเว่ย ทีมกับพาร์ทเนอร์หวังว่าเทคโนโลยีชน้ั น�ำและกรณีตวั อย่าง การใช้งานในระดับโลก จะสามารถช่วยส่งเสริมประเทศไทยในการ ขึ้นเป็นผู้น�ำด้านการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอาเซียนได้ ทางด้านเทคโนโลยี 5G ประเทศไทยได้ขึ้นเป็นผู้น�ำในเรื่อง การริเริม่ ติดตัง้ เครือข่าย 5G ในระดับภูมภิ าคไปเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ซึ่งผู้ให้บริการเครือข่ายรายต่างๆ ในไทยที่ช่วยผลักดันเรื่องนี้อย่าง เต็มที่ อย่างไรก็ตาม ภายในสิ้นปีนี้ ประเทศอื่นๆ ก็จะเริ่มตามทัน ไทยในแง่ของการขยายเครือข่าย 5G ต้องการจะเอาชนะในยก 2 ต่อจากนี้ ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องผลักดันให้มีอัตราการใช้งาน 5G เพิ่มขึ้นอย่างเร็วที่สุด เพื่อสร้างงานและโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ รวมถึ ง ช่ ว ยเพิ่ ม สั ด ส่ ว นที่ เ ศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล จะมี ผ ลต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มวลรวมของประเทศ (GDP) ซึ่งหัวเว่ยจะสนับสนุนประเทศไทย ผ่านการลงทุนอย่างต่อเนื่องในด้านนวัตกรรม 5G และเสริมสร้าง อีโคซิสเต็มในประเทศ

https://pixabay.com/th/illustrations-networking-background-data-website-322704/

November-December 2021


เพราะฉะนั้ น 5G จะช่ ว ยยกระดั บ ด้ า นการเชื่ อ มต่ อ (Connectivity) ในขณะที่ AI จะช่วยยกระดับด้านความชาญฉลาด (Intelligence) เมือ่ น�ำนวัตกรรมทัง้ 2 มาผสานกันจะท�ำให้เกิดโอกาส ใหม่ๆ ทีไ่ ร้ขดี จ�ำกัด (Infinite Possibilities) โดยอีโคซิสเต็มจากเทคโนโลยี 5G จะท�ำให้ทกุ ภาคอุตสาหกรรมในอนาคต น�ำทัง้ เทคโนโลยี Cloud, AI และ Big Data ไปประยุกต์ใช้รว่ มกับ 5G จนเกิดความ “อัจฉริยะ” ในทุกกระบวนการท�ำงาน ไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรม การผลิต อัจฉริยะ (Smart Manufacturing) อุตสาหกรรมสาธารณสุขอัจฉริยะ (Smart Healthcare) หรือแม้แต่ระบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ซึง่ จะช่วยเพิม่ ศักยภาพในการด�ำเนินธุรกิจให้แก่องค์กรในประเทศไทย รวมถึงสร้างโอกาสการต่อยอดรายได้และเปิดโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ มากขึ้น อีกทัง้ 5G ยังจะช่วยยกระดับ Digital Society ของประเทศไทย ได้แก่ การต่อยอดมาตรฐานของภาคสาธารณสุข การสนับสนุนภาค การศึกษาออนไลน์ และการสร้างความเท่าเทียมทางดิจทิ ลั ให้ทวั่ ถึง ทุกพืน้ ที่ ซึง่ จะช่วยพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศ พร้อมกันนี้ 5G ก็ยังมีบทบาทในการผลักดัน Digital Economy ของประเทศ ได้แก่ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคอีคอมเมิร์ซ และ ภาคการท่องเที่ยว เป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะช่วยผลักดันภาคเศรษฐกิจ ในประเทศไทยให้ เ ดิ น หน้ า ต่ อ ได้ ภ ายใต้ ค วามท้ า ทายที่ เ กิ ด ขึ้ น ดังจะเห็นได้จากการที่หลายประเทศหันมาใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ ช่วยผลักดันเศรษฐกิจในขณะนี้ ทั้งนี้ หัวเว่ยได้ลงทุนเป็นเงิน 475 ล้านบาท ในโปรเจ็กต์ 5G EIC เพื่อพัฒนานวัตกรรม 5G ส�ำหรับใช้งานในหลากหลายภาค อุตสาหกรรม สร้างโมเดลธุรกิจใหม่ และเพิม่ ทักษะให้แก่สตาร์ตอัป และเอสเอ็มอี โดยหัวเว่ยยังได้ร่วมมือกับพาร์ทเนอร์เพื่อจัดงาน ประชุมสุดยอด 5G Summit ในไทยในปีน้ี เพือ่ ช่วยวางรากฐานให้แก่ อุตสาหกรรมและอีโคซิสเต็มของ 5G ในประเทศ ซึ่งหัวเว่ยเชื่อว่า งานประชุมสุดยอดในครั้งนี้จะมีส่วนช่วยผลักดันการเปลี่ยนแปลง สู่ยุคดิจิทัลในประเทศไทย ด้วยการประยุกต์ใช้ 5G ในอุตสาหกรรม แนวดิ่ง นอกจากนี้ หัวเว่ยยังจะได้รับการสนับสนุนจากดีป้าในการ สร้างอีโคซิสเต็มของพาร์ทเนอร์เพื่อก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรด้าน 5G และเพื่อสร้างอีโคซิสเต็มส�ำหรับนวัตกรรมและแอปพลิเคชัน 5G ในภาคอุตสาหกรรมที่สมบูรณ์ “ที่ส�ำคัญคือ หัวเว่ยจะยังคงมุ่งมั่นสร้างอีโคซิสเต็มของ 5G ในประเทศไทยต่อไป เพื่อสร้างนคร 5G ระดับแนวหน้า และมี มาตรฐานโครงสร้างพื้นฐานของโครงข่าย 5G ในขั้นสูง เสริมแกร่ง แอปพลิเคชัน รวมทัง้ นวัตกรรมด้าน 5G เพือ่ สร้างโมเดลและคุณค่า ใหม่ทางธุรกิจ ซึง่ จะช่วยให้ประเทศไทยมีศกั ยภาพสูงพอทีจ่ ะขึน้ เป็น เมือง 5G แห่งภูมิภาคอาเซียน รองรับการเป็นเจ้าภาพ APEC ในปี พ.ศ. 2565 ของไทยทีจ่ ะจัดขึน้ ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร พัทยา และ เชียงใหม่”

ทางด้านคลาวด์ หัวเว่ยจะให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา เทคโนโลยีคลาวด์ โดยในปีนห้ี วั เว่ยจะลงทุนเป็นเงิน 700 ล้านบาท ส�ำหรับศูนย์ข้อมูลการให้บริการคลาวด์แห่งที่ 3 ในประเทศไทย ซึ่งท�ำให้หัวเว่ยเป็นผู้ให้บริการ HUAWEI CLOUD ระดับโลกในไทย เพียงรายเดียวทีม่ ศี นู ย์ขอ้ มูลในประเทศถึง 3 แห่ง โดยหัวเว่ยต้องการ สนับสนุนด้านการวางจุดยืนให้ประเทศไทยเป็นประเทศทีด่ นู า่ ลงทุน จากนักลงทุนต่างชาติในด้านการตั้งศูนย์ข้อมูล (Data Center) และ การลงทุนในครัง้ นีย้ งั ช่วยสร้างงานใหม่กว่า 200 ต�ำแหน่ง ด้วยความ ร่วมมือกับพาร์ทเนอร์ในไทยกว่า 200 ราย ทั้งนี้ หัวเว่ยต้องการจะ ผลักดันให้ประเทศไทยดูนา่ ดึงดูดและน่าลงทุนมากขึน้ ในสายตาของ องค์กรธุรกิจข้ามชาติที่ต้องการจะตั้งศูนย์ข้อมูลในภูมิภาคนี้ เพราะฉะนั้น หัวใจส�ำคัญของการผลักดันการพัฒนาด้าน ดิจทิ ลั นัน้ ขึน้ อยูก่ บั โครงสร้างพืน้ ฐานส�ำหรับการพัฒนาทักษะด้าน ดิจิทัล ซึ่งทางบริษัทได้ผลักดันนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ผ่านการ บ่มเพาะบุคลากรในไทย เพื่อช่วยลดช่องว่างเรื่องการขาดจ�ำนวน บุคลากรด้านดิจทิ ลั ในประเทศไทย ด้วยโครงการพัฒนาอย่าง Huawei ASEAN Academy ประเทศไทย ซึง่ ตัง้ เป้าฝึกอบรมบุคลากรทีท่ ำ� งาน ด้านไอทีในไทยให้ได้รบั ทักษะในระดับโลกเป็นจ�ำนวน 100,000 คน ภายในเวลา 5 ปีนี้ ดังนัน้ เทคโนโลยีจะมีบทบาทส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ ในการเชือ่ มต่อ ทุกคนเข้าด้วยกัน รวมถึงน�ำเสนอโอกาสใหม่ๆ ในฐานะที่หัวเว่ย เป็นองค์กรด้าน ICT ชั้นน�ำที่มุ่งผลักดันการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัล อย่างต่อเนื่อง และส่งมอบคุณค่าให้แก่สังคมไทยมากว่า 22 ปี เราจะมุ่งผลักดันการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัลในประเทศไทยต่อไป เพือ่ น�ำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เชือ่ มต่อทุกผูค้ น ทุกครัวเรือน และทุกองค์กร เข้าด้วยกันอย่างชาญฉลาด และช่วยให้ประเทศไทยสามารถฟืน้ ตัว ได้อย่างรวดเร็ว หัวเว่ยจะไม่หยุดยัง้ ในด้านการมุง่ ผลักดันประเทศไทย ต่อไป ตามพันธกิจของการเติบโตไปพร้อมกับประเทศไทย และ สนับสนุนช่วยเหลือประเทศไทยเพื่อช่วยสนับสนุนให้ประเทศไทย ก้าวขึ้นสู่การเป็นดิจิทัลฮับแห่งอาเซียน และการขึ้นเป็นผู้น�ำด้าน การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ได้ส�ำเร็จลุล่วง

November-December 2021


Article

> บริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี จ�ำกัด

ในปัจจุบัน ระบบการประมวลผลรูปแบบ Edge Computing จ�ำเป็นจะต้องใช้ อุปกรณ์ขนาดกะทัดรัดทีส่ ามารถตัง้ โปรแกรมได้ รวมถึงใช้พลังงานต�ำ่ และปลดปล่อย พลังงานความร้อนในปริมาณที่น้อยเพียงพอเพื่อก�ำจัดการติดตั้งพัดลมและลดความ จ�ำเป็นในการบรรเทาความร้อน ซึ่งในขณะเดียวกันก็สามารถให้พลังงานแรงม้ำ ส�ำหรับประมวลผลได้อย่างมัน่ คงเช่นกัน บริษทั ไมโครชิพ เทคโนโลยี อิงค์ (Microchip Technology Inc.) (Nasdaq : MCHP) ได้ท�ำการแก้ไขปัญหานี้โดยการลดการใช้งาน พลังงานสถิตของอุปกรณ์ไมโครชิป FPGAs ที่มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลระดับ ปานกลาง (Mid-Bandwidth) และอุปกรณ์ FPGA แบบผสานระบบลงบนชิป (SoC) ออก ในปริมาณครึ่งหนึ่ง รวมถึงจัดท�ำให้อุปกรณ์เหล่านี้ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมจากการ ปล่อยพลังงานความร้อนน้อยที่สุด ทว่ายังคงสามารถสร้างสมรรถภาพและพลังงาน แรงม้าส�ำหรับประมวลผลที่ดีที่สุดได้เมื่อเทียบกับอุปกรณ์ทางเลือกรูปแบบอื่นๆ ในหมวดหมู่เดียวกัน บริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี จ� ำกัด เป็นผู้น�ำด้านการจัดหาเซมิคอนดักเตอร์ส�ำหรับ โซลูชันควบคุมแบบฝังที่เป็นอัจฉริยะ เชื่อมต่อ และปลอดภัย อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือพัฒนาที่ ใช้งานง่าย ตลอดจนกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ครอบคลุม ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถสร้างสรรค์งานออกแบบ ได้ อ ย่ า งเหมาะสม ซึ่ ง จะช่ ว ยลดความเสี่ ย ง ลดต้นทุนโดยรวมของทั้งระบบ และยังช่วยลด ระยะเวลาในการน�ำผลิตภัณฑ์ออกสูต่ ลาด โซลูชนั ของบริษทั ให้บริการลูกค้ามากกว่า 120,000 ราย ในตลาดอุตสาหกรรม ยานยนต์ ผูบ้ ริโภค อวกาศ และการป้องกันประเทศ รวมถึงการสื่อสารและ การประมวลผล

November-December 2021

บรูซ เวเยอร์ รองประธานกลุ่มธุรกิจ FPGA จากบริษัทไมโครชิพ กล่าวว่า อุปกรณ์ PolarFire แบบความหนาแน่นต�ำ่ ของบริษทั ไมโครชิพ ซึง่ ใช้พลังงานทางเลือก สถิตเพียงครึ่งเดียว ผนวกกับการปลดปล่อยพลังงานความร้อนที่น้อยที่สุดในโลก โดยที่อุปกรณ์ไมโครชิป PolarFire แบบ FPGAs และ FPGA (SoC) แบบใหม่ของเรา จะช่วยลดค่าใช้จ่ายระบบให้กับลูกค้า อีกทั้งยังช่วยให้พวกเขาสามารถแก้ไขปัญหำ ด้านการจัดการความร้อนที่มีความซับซ้อนได้โดยไม่จ�ำเป็นต้องสูญเสีย Bandwidth “แพลตฟอร์มระดับรางวัลชนะเลิศของอุปกรณ์ไมโครชิป PolarFire แบบ FPGA ได้ส่งมอบทั้งประสิทธิภาพและสมรรถภาพการท�ำงานที่ยอดเยี่ยมที่สุดภายใน อุตสาหกรรมให้กบั ลูกค้า และตอนนีเ้ ราก็ได้ทำ� การลดการใช้พลังงานลงถึง 50% หรือ มากกว่านั้น พร้อมยังส่งมอบตัวเลือกที่มีความหนาแน่นที่ตำ�่ กว่า ซึ่งในขณะเดียวกัน เราก็ยังคงรักษาระดับความสามารถอันยอดเยี่ยมที่สุดในหมวดหมู่ผลิตภัณฑ์ของเรา ภายในแพลตฟอร์มเหล่านีเ้ อาไว้ได้อกี ด้วย ไม่มขี อ้ เสนออืน่ ใดในหมวดหมูผ่ ลิตภัณฑ์น้ี ที่ตรงตามลักษณะความสามารถเหล่านี้อีกแล้ว”


ด้วยความสามารถในการใช้พลังงานในขีดต�่ำสุด จึงท�ำให้ อุปกรณ์ทางเลือก PolarFire รูปแบบ FPGAs (MPF50T) และ SoC (MPFS025T) อันมีความหนาแน่นต�่ำล่าสุดของบริษัทไมโครชิพ (Microchip) มีสมรรถภาพที่เหนือกว่า และมีตัวชี้วัดด้านพลังงานที่ ดีกว่าอุปกรณ์ทางเลือกรูปแบบ FPGA และ SoC ทีม่ คี วามหนาแน่นต�ำ่ อื่นๆ ภายในตลาด โดยมีสมรรถภาพในการประมวลผลสัญญาณ และโครงสร้างต่างๆ ของ FPGA ที่รวดเร็ว ซึ่งนี่เป็นอุปกรณ์รับส่ง สัญญาณทีม่ ีศักยภาพสูงสุดและเป็นการใช้งานอุปกรณ์ประมวลผล รุน่ RISC-V® ทีอ่ งิ จากสถาปัตยกรรม ซึง่ มีความมัน่ คงเพียงหนึง่ เดียว ในอุตสาหกรรมที่มีแคช L2 ปริมาณ 2 เมกะไบต์ (MB) และมีตัว รองรับความจ�ำพลังงานต�่ำแบบ Low-Power DDR4 (LPDDR4) การสร้างสรรค์ผลงานเพิ่มเติมโดยการจัดท�ำอุปกรณ์ 25K Logic Elements Multi-Core RISC-V SoC และอุปกรณ์ 50K Logic Elements FPGA ได้ช่วยเปิดโลกทัศน์ในการใช้งานรูปแบบใหม่ๆ ให้มคี วามเป็นไปได้มากขึน้ โดยอุปกรณ์เหล่านีเ้ หมาะกับการใช้งาน ในรูปแบบ Smart Embedded Vision ทีใ่ ช้พลังงานต�ำ่ และยานยนต์ จ�ำกัดความร้อน ระบบอัตโนมัตอิ ตุ สาหกรรม การสือ่ สาร การป้องกัน และระบบ Internet of Things (IoT) ซึ่งจะไม่มีการลดมาตรฐาน ความสามารถและสมรรถภาพลงแต่อย่างใด อุ ป กรณ์ PolarFire รู ป แบบใหม่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม จาก ชุดอุปกรณ์ตา่ งๆ ของบริษัทไมโครชิพ เพื่อให้สามารถท�ำการแก้ไข ปัญหาของระบบต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งรวมไปถึง Smart Embedded Vision การเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning) ความปลอดภัย (Security) อวกาศและการป้องกัน (Aerospace and Defense) และการประมวลผลแบบฝัง (Embedded Compute) โดย นอกจากนี้มันยังช่วยอ�ำนวยความสะดวกแนวทางการใช้งานใน รูปแบบเสียบปลัก๊ และใช้งานได้เลย (Plug-and-Play) ให้กบั พลังงาน และการออกแบบ บรรดาว่าที่ลูกค้าต่างใช้งานอุปกรณ์ PolarFire ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการออกแบบ “ในฐานะที่เราเป็นหนึ่งในผู้ผลิตฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แปลงสัญญาณวิดโี อรายใหญ่ของโลก เราจึงพยายามทีจ่ ะด�ำเนินงาน ให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดอยู่เสมอ โดยเราจะท�ำงาน ร่วมกับลูกค้าของเราเพือ่ สร้างกรณีการใช้งานใหม่ๆ ทีน่ า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยอุปกรณ์ PolarFire รูปแบบ FPGA ของบริษทั ไมโครชิพได้ชว่ ยขยับขยายโอกาสของเราในการสรรค์สร้าง สายผลิตภัณฑ์วิดีโอแคปเจอร์ (Video Capture) USB 3.2 ซึ่งมันมี ขนาดทีเ่ หมาะเจาะ ใช้พลังงานต�ำ่ เมือ่ เปรียบเทียบกับในอุตสาหกรรม เดียวกัน รวมถึงเป็นอุปกรณ์รบั ส่งสัญญาณระดับกลางทีม่ คี วามเฉพาะ ตลอดจนยังเป็น Logic เครื่องประมวลผลของสัญญาณเสียงด้วย รูปแบบดิจิทัล (DSP) และทรัพยากร RAM” เฟรเดริค อับรัน ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร บริษทั Xenics กล่าวว่า บริษทั Xenics คือผูบ้ กุ เบิกเทคโนโลยีการถ่ายภาพ อินฟราเรด ด้วยประสบการณ์ที่สืบทอดมารุ่นต่อรุ่นกว่า 20 ปี ในการสร้างสรรค์ผลงานเกีย่ วกับเครือ่ งถ่ายภาพอินฟราเรด ทัง้ แบบ คลืน่ สัน้ คลืน่ กลาง และคลืน่ ยาว รวมถึง Core และกล้องในระดับที่ ยอดเยีย่ มทีส่ ดุ SWaP ขนาดน�ำ้ หนักและพลังงาน คือองค์ประกอบ

การพิจารณาที่มีความส�ำคัญเป็นอย่างมากในการออกแบบระบบ การถ่ายภาพด้วยความร้อนเหล่านี้คือสมรรถภาพส�ำคัญที่สร้าง ความเปลีย่ นแปลงให้กบั ลูกค้าของเรา โดยอุปกรณ์ SmartFusion 2® และอุปกรณ์ PolarFire รูปแบบ FPGA ของบริษทั ไมโครชิพ ได้ชว่ ย สร้างความสมดุลอันยอดเยี่ยมที่สุดระหว่างเมนบอร์ดแบบฟอร์ม ขนาดเล็ก (SFF) ประสิทธิภาพพลังงาน และทรัพยากรประมวลผล ที่มีความจ�ำเป็นส�ำหรับรองรับอัลกอริทึมแบบฝัง เช่น การชดเชย แบบชัตเตอร์นอ้ ย และการปรับปรุงภาพทีใ่ ช้กำ� ลังไฟปริมาณต�ำ่ มาก ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ปัจจุบันและรุ่นใหม่ของเรำ ไมเคิล ยัมโพลสกี้ ผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหาร จากบริษทั Kaya Instruments กล่าวว่า บริษทั Kaya Instruments มีความภาคภูมิใจในการออกแบบเมนบอร์ดแบบฟอร์มขนาดเล็ก เกรดอุตสาหกรรมและกล้องถ่ายภาพพลังงานต�่ำ ซึ่งสามารถจัดท�ำ วิดโี อคุณภาพยอดเยีย่ มได้ภายใต้สภาวะวิกฤตและสภาวะทีม่ คี วาม ท้าทายสูงสุด อุปกรณ์กล้องเหล็ก PolarFire รูปแบบ FPGA จะใช้ ประโยชน์จากเมนบอร์ดแบบฟอร์มขนาดเล็กของ FPGA และ สมรรถภาพในการใช้พลังงานในปริมาณต�่ำ เพื่อให้โครงร่างมีขนาด กะทัดรัดและสามารถเข้ากับบริเวณพื้นที่ท่ีคับแคบได้ แต่ในขณะ เดียวกันก็สามารถส่งมอบคุณภาพที่ยอดเยี่ยมจากตัวเซนเซอร์ Global-Shutter CMOS ในรูปแบบทันสมัยที่สุด ซึ่งมีประสิทธิภาพ ในการใช้ไฟต�่ำได้เช่นกัน ดังนั้นส�ำหรับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมในวันนี้ ปรับตัวมาใช้ เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกันมากขึ้น มีหลายองค์กรเริ่มใช้ระบบ Cloud Computing เข้ามาช่วยในการ บริหารจัดการข้อมูลต่างๆ และมีองค์กรใหม่ๆ เริ่มใช้เทคโนโลยี ทีน่ า่ สนใจกว่าเข้ามาช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพประมวลผลข้อมูลนัน้ คือ Edge Computing ซึ่ง ณ ตอนนี้เทคโนโลยีน้ีเริ่มได้รับความนิยม มากขึ้นเรื่อยๆ แม้วา่ ระบบการประมวลผลแบบ Edge Computing จะมีประโยชน์ในแง่ของการลด Latency และลดการใช้ Bandwidth ได้ และเพิม่ ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของข้อมูลได้มากขึน้ ก็จริง แต่ก็ไม่จ�ำเป็นเสมอไปที่ทุกองค์กรต้องน�ำมาใช้ เพราะการเปลี่ยน ระบบนั้นก็ย่อมมีคา่ ใช้จ่าย ต้นทุนองค์กรที่สูงอยู่ไม่น้อย ในส่วนนี้ จึงต้องพิจารณาจากส่วนงานและการแข่งขันในธุรกิจอุตสาหกรรมของ แต่ละคนด้วย แต่ถา้ หากว่าต้องการที่จะขยายกิจการ ท�ำให้กิจการ โตเร็วสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงแบบ IoT เทคโนโลยีนี้ก็ดูจะเป็น สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับองค์กร

November-December 2021


Article

> นาดีน อัลเลน ประธาน บริษัท อีริคสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2020 ที่กรุงโตเกียว นับว่าเป็นมหกรรมกีฬาของมวลมนุษยชาติที่ค่อนข้าง แปลกกว่าทุกครั้งที่ผ่านมา ช่างเป็นการแข่งขันกีฬาที่ เงียบเหงา เพราะคณะผู้จัดงานไม่ได้เปิดให้สาธารณชน เข้าร่วมชม เนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ซึ่งน่าจะอยู่กับพวกเราไปอีกช่วงเวลาหนึ่ง บริษทั อีรคิ สัน สนับสนุนผูใ้ ห้บริการด้านการสือ่ สาร ในการสร้างมูลค่าสูงสุดจากการเชือ่ มต่อ กลุม่ ผลิตภัณฑ์ ของบริษทั ครอบคลุมเครือข่าย (Networking) การบริการ ดิจิทัล (Digital Services) การบริหารจัดการเครือข่าย (Managed Services) และธุรกิจเกิดใหม่ที่ก�ำลังเติบโต (Emerging Business) และมีความมุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือ ลูกค้าให้มุ่งสู่ระบบดิจิทัล เพิ่มประสิทธิภาพและมองหา รายได้รูปแบบใหม่ การลงทุนเพื่อพัฒนานวัตกรรมของ อีรคิ สันได้มอบประโยชน์จากระบบโทรศัพท์และเครือข่าย เคลื่อนที่ให้แก่ผู้คนหลายพันล้านคนทั่วโลก เทคโนโลยี 5G จะน�ำความเปลี่ยนแปลงอย่าง มหาศาลมายังทุกภาคส่วนในสังคม รวมทั้งวงการกีฬา เพราะเทคโนโลยี 5G สามารถรองรับการใช้งาน Digital Application, Video on Demand และ Immersive User Experience (ประสบการณ์การรับชมที่เสมือนจริงและ ล�้ำลึก) เราก�ำลังก้าวเข้าสู่โลกของการดูกีฬาที่ใกล้ชิด พร้อมพรั่งด้วยข้อมูลเชิงลึกเพียงปลายนิ้วสัมผัสและ Interactive สุดๆ ไม่วา่ แฟนกีฬาเหล่านัน้ จะเข้าชมทีส่ นาม หรือดูจากที่บ้าน มีการคาดการณ์วา่ ผูบ้ ริโภคไม่นอ้ ยกว่า 300 ล้าน คนทัว่ โลกจะปรับเปลีย่ นเข้าใช้งานเทคโนโลยี 5G ภายใน ปี พ.ศ. 2564 นี้ โดยในรายงาน Consumer Lab ที่ จัดท�ำขึ้นโดยบริษัทผู้น�ำด้านเทคโนโลยีส่ือสารอย่าง อีริคสันได้วิเคราะห์ถึงแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภคว่า ผู้ใช้งานเทคโนโลยี 5G จะใช้เวลาเพิ่มเติมอีก 2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ในการรับชมวิดีโอความคมชัดระดับ HD ผ่านมือถือ และอีก 1 ชัว่ โมงเพิม่ ขึน้ เพือ่ ใช้งานเทคโนโลยี ความจริงเสมือน (AR : Augmented Reality) เมือ่ เทียบกับ ยุค 4G

November-December 2021

ด้วยเทคโนโลยี 5G ที่นั่งที่ดีที่สุดในการดูกีฬาอยู่ในบ้านของคุณ นั่นเอง อีริคสันเผยแพร่ผ่าน 5G in Sports Blog ว่า สิ่งที่ 5G จะน�า ความเปลี่ยนแปลงมาสู่การจัดงานอีเว้นท์ต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขัน กีฬา และจะเป็นช่องทางการหารายได้ใหม่ๆ ของค่ายมือถือ นัน่ คือ 5G จะเสริมประสบการณ์การดูกีฬาของผู้บริโภคทั้งจากสนามแข่งขันที่ผู้ชม จะสามารถรับข้อมูลเกีย่ วกับการแข่งขันและนักกีฬาแบบเรียลไทม์ และน�า ผูช้ มทางบ้านเข้าใกล้แบบเกาะสนามแข่งขัน อีกทัง้ ยังสามารถบูรณาการ ประสบการณ์การรับชมแบบองค์รวมทั้งก่อนและหลังการแข่งขัน ชาติทต่ี น่ื ตัวทีส่ ดุ ในการน�ำเอาเทคโนโลยี 5G มาเสริมประสบการณ์ การชมกีฬา คือ กาตาร์ เจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายในปี ค.ศ. 2022 Ooredoo ผู้น�ำค่ายมือถือในประเทศที่ม่ังคั่งที่สุดแห่งหนึ่ง ของโลกจับมือกับอีรคิ สัน เพือ่ น�ำเอาขีดความสามารถของเทคโนโลยี 5G มาเพื่อสร้างให้ฟุตบอลโลกที่จะจัดขึ้นมีความยิ่งใหญ่ท่ีสุด โดยกาตาร์ ไม่เพียงแต่ทุ่มเงินมหาศาลถึงกว่า 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในการ สร้างสนามแข่งขันใหม่ถึง 8 สนาม Ooredoo ยังได้เตรียมความพร้อม ด้านการถ่ายทอดการแข่งขัน โดยได้พัฒนาเครือข่าย 5G ให้ครอบคลุม สนามหลักๆ เช่น สนาม Al Wakrah สนาม Al Janoub รวมทัง้ สนามกีฬา เสมือนจริงในศูนย์การค้าชั้นน�ำอย่าง Mall of Qatar กาตาร์เอาจริงเอาจังมากกับการเตรียมความพร้อม ด้วยการทดลอง ระบบกับการแข่งขันฟุตบอลลีกในประเทศอย่าง Amir Cup 2021 ซึง่ ผูช้ ม ในสนามจริงและแบบเสมือนจริงสามารถรับชมการแข่งขันได้อย่างใกล้ชดิ และมีอารมณ์ร่วมไปกับการแข่งขัน (Immersive Experience) ด้วย เทคโนโลยี 5G ทีพ่ คี สุดของการดูกฬี าแบบเสมือนจริงของกาตาร์คอื ผูช้ ม สามารถเลือกจุดการรับชมได้อย่างอิสระและไม่จ�ำกัดระหว่างการชม การแข่งขัน กล่าวคือ สามารถเป็นผู้กำ� กับภาพได้ด้วยตัวเอง


อีกความน่าสนใจของการน�ำเอาเทคโนโลยี 5G มาใช้เพือ่ ชม การแข่งขันกีฬาในแบบ Immersive การแข่งขันฟุตบอลบุนเดสลีกา ในปี ค.ศ. 2020 ของเยอรมนี ซึ่งเกิดขึ้นจากความร่วมมือของ Vodafone, Sky Sport Channel และอีริคสัน ในการร่วมสร้าง ประสบการณ์ใหม่ของผูช้ มในสนาม Merkul Spiel ในเมือง Düsseldorf แน่นอนว่าสิง่ ทีเ่ พิม่ เติมส�ำหรับผูช้ มในสนามคือ เสียงบรรยายและ การวิเคราะห์การแข่งขันทีใ่ ห้ผชู้ มในสนามสามารถเลือกทีจ่ ะฟังได้ ยิ่งไปกว่านั้น AR Technology ยังสามารถช่วยให้ผู้ชม ในสนามเข้าถึงข้อมูลการแข่งขันและนักกีฬาได้แบบเรียลไทม์ ไม่ว่าจะเป็นสถิติการครองบอล ความเร็วในการวิ่ง และข้อมูล รอบด้านของนักฟุตบอล การชมวิดีโอย้อนหลังทั้งแบบปกติและ Slow Motion เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลการตัดสิน และ เลือกฟังเสียงการสนทนาในสนามระหว่างผู้เล่น กรรมการ และ ผูจ้ ดั การทีม ซึง่ เติมเต็มประสบการณ์การชม ณ สนามแข่งได้อย่าง สมบูรณ์แบบ

เทคโนโลยี 5G จะน�ำมาซึง่ โอกาสทางธุรกิจมาสูค่ า่ ยมือถือ ผู้จัดการแข่งขันกีฬา ผู้พัฒนานวัตกรรมและโซลูชันต่างๆ ที่จะมา สนั บ สนุ น การสร้ า ง Immersive Experience ให้ กั บ ผู ้ ช ม มี ประมาณการว่าผูช้ มกีฬากว่า 160 ล้านคนต่อเดือนในสหรัฐอเมริกา จะใช้งาน 5G for Immersive Experience ในปี พ.ศ. 2567 โดย 1 ใน 4 จะเป็นการใช้งาน AR Rendering Service ทัง้ จากในสนาม แข่งขันและจากทางบ้าน และจะก่อให้เกิดรายได้ใหม่จาก 5G for Immersive Experience กว่า 4 พันล้านเหรียญต่อปี อีริคสันคาดว่ายอดผู้ใช้งาน 5G ทั่วโลกจะพุ่งขึ้นเกินกว่า 580 ล้านราย ภายในสิน้ ปี พ.ศ. 2564 โดยเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ 1 ล้านราย ต่อวัน จากรายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับที่ 20 ตอกย�า้ ให้เห็นว่า 5G จะกลายเป็นเจนเนอเรชันเครือข่ายไร้สายทีม่ กี ารใช้ เร็วที่สุด โดยภายในสิ้นปี พ.ศ. 2569 จะมีผู้ใช้ 5G แตะระดับ 3.5 พันล้านราย และจะครอบคลุมถึง 60% ของประชากร 5G ทัง้ หมด

ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จ�ำนวนผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันมีมากกว่า 1.1 พันล้านราย ในขณะที่ยอดผู้ใช้งาน 5G ยังต�ำ่ กว่าระดับ 2 ล้านราย อย่างไรก็ตาม คาดว่าการสมัครใช้ 5G จะเติบโตอย่างมาก ในอีกไม่กปี่ ขี า้ งหน้า โดยจะมียอดรวมพุง่ ขึน้ ถึง 400 ล้าน ราย ภายในปี พ.ศ. 2569 เพราะฉะนัน้ มีการคาดการณ์วา่ ปริมาณการใช้งาน อินเทอร์เน็ตต่อสมาร์ทโฟนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้และโอเชียเนีย จะมีอตั ราการเติบโตรวดเร็วทีส่ ดุ เมื่อเทียบกับทั่วโลก โดยจะแตะ 39 กิกะไบต์ (GB) ต่อ เดือน ภายในปี พ.ศ. 2569 โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย ที่ 36% ต่อปี ในขณะที่ปริมาณการใช้งานอินเทอร์เน็ต บนมือถือทัง้ หมดจะเพิม่ ขึน้ ตามล�ำดับ เฉลีย่ เติบโตต่อปีที่ 42% เพิม่ ขึน้ ถึง 39 เอกซะไบต์ (EB) ต่อเดือน อันเป็นผล มาจากการเติบโตอย่างต่อเนื่องของผู้สมัครใช้ 4G และ การเปลีย่ นมาใช้เครือข่าย 5G ในประเทศทีม่ กี ารเปิดตัว 5G แล้ว ดังนั้นจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า เทคโนโลยี 5G ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้สามารถก้าวข้ามข้อจ�ำกัดของ เทคโนโลยีการสือ่ สารไร้สายในปัจจุบนั และช่วยต่อยอด ให้สามารถประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ เชิงพาณิชย์ได้ อย่างทัว่ ถึง โดยจะเป็นยุคแห่งการน�ำเทคโนโลยีการสือ่ สาร ไร้สายไปใช้งานในอุตสาหกรรมอื่นๆ อย่างกว้างขวาง นอกเหนื อ จากการใช้ ง านส� ำ หรั บ การสื่ อ สารทั่ ว ไป ศักยภาพที่มากขึ้นในทุกด้านของระบบ 5G จึงสามารถ น�ำมาประยุกต์ใช้งานได้ในหลากหลายภาคส่วน

November-December 2021


Article

> สุวรรณี สิงห์ฤาเดช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและซีอีโอ บริษัท ซีเมนส์ ประเทศไทย จ�ำกัด

การแพร่ระบาดของโควิด-19 ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2563 จนถึงวันนี้ ได้สง่ ผลกระทบอย่างรุนแรงไปยังทุกภาคส่วน ภาครัฐและเอกชนต่างมุง่ จัดการปัญหาจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดที่ล้วนเป็นเรื่องเร่งด่วนในทุกๆ ด้าน อย่างไรก็ตาม เราก็ปฏิเสธไม่ได้วา่ “การเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศของโลกและสิ่งแวดล้อม” เป็นอีก ปัญหาใหญ่ทต่ี อ้ งได้รบั การจัดการอย่างเร่งด่วนเช่นกัน จากเหตุ ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น บ่ อ ยและ มีความรุนแรงมากขึ้น อันเป็นผลจากสภาวะโลกร้อน ในหลายประเทศทุกภูมิภาคทั่วโลก แท้จริงแล้วภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทส�ำคัญ ต่อประเด็นนี้ เนือ่ งจากกระบวนการผลิตทีใ่ ช้พลังงาน มากถึง 1 ใน 3 ของการใช้พลังงานทั้งหมดในโลก ซึ่ง เทคโนโลยีการจัดการพลังงานไฟฟ้าทีก่ า้ วหน้าไปมาก ในปัจจุบันช่วยให้ภาคอุตสาหกรรมมีส่วนส�ำคัญช่วย ลดสภาวะโลกร้อน โดยอาศัยการจัดการพลังงานอย่าง ชาญฉลาดด้วยเทคโนโลยีดังกล่าว บริษัทมีความเชี่ยวชาญในการจัดการพลังงาน หลากหลายรูปแบบ ระบบออโตเมชันและดิจทิ ลั ไลเซชัน ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม และระบบโครงสร้างอัจฉริยะ ส�ำหรับอาคาร โดยเน้นการผสานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ อย่างเหมาะสม เพือ่ สร้างคุณค่าให้แก่องค์กรธุรกิจและ สังคมโดยรวม นอกจากนี้ยังมีซีเมนส์ โมบิลิตี้ ผู้น�า โซลูชันคมนาคมทางรางและทางบก

November-December 2021

การจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Electrification) คืออะไร

สมัยก่อนการจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับเครื่องจักรเป็นการจ่ายพลังงาน แบบตายตัวตามระดับที่ก�ำหนด เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ท�ำงานโดยใช้พลังงาน ตามทีอ่ อกแบบมา ไม่มกี ารวัดระดับการใช้พลังงานทีม่ คี วามแม่นย�ำในระหว่างที่ เครือ่ งจักรท�ำงาน วิธเี ดียวในการวัดระดับการใช้พลังงานก็คอื การติดเครือ่ งวัด หรือ มิเตอร์ แล้วจดค่าทีป่ รากฏบนมิเตอร์ตามช่วงเวลาทีก่ ำ� หนด แล้วน�ำข้อมูลดิบทีไ่ ด้ มาวิเคราะห์ผ่านการค�ำนวณต่างๆ ในภายหลัง การจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ ในบทความนี้ หมายถึงระบบนิเวศ ของการจ่ายพลังงานไฟฟ้าอย่างชาญฉลาดให้กบั เครือ่ งจักรหรืออุปกรณ์ โดยเริม่ ตัง้ แต่แหล่งทีม่ าของพลังงานไฟฟ้า (Energy Supply) ไปจนถึงการใช้พลังงานไฟฟ้า (Energy Consumption) เช่น ความสามารถในการจ่ายพลังงานไฟฟ้าจากหลายแหล่ง พลังงาน ไม่ว่าจะเป็นแหล่งพลังงานจากถ่านหินแบบดั้งเดิม รวมไปถึงพลังงาน ทดแทน (Renewable Energy) อาทิ พลังงานจากแสงอาทิตย์ ลม หรือน�า้ การท�ำงานของเครือ่ งจักร อุปกรณ์ไฟฟ้าสมัยใหม่ทสี่ ามารถส่งข้อมูลดิจทิ ลั และติดต่อสือ่ สารกันได้ ท�ำให้เราสามารถจัดการเลือกแหล่งทีม่ าของพลังงานไฟฟ้า ที่ต้นทุนต�ำ่ ที่สุด ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือมาจากพลังงานทดแทนมากที่สุด และ ทีส่ ำ� คัญคือ สามารถก�ำหนดโปรแกรมการเพิม่ ลดอัตราการใช้พลังงานของเครือ่ งจักร อุปกรณ์ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับช่วงเวลาการใช้งาน เช่น เพิ่มพลังงานไฟฟ้าช่วง เดินเครื่องจักรต้องใช้พลังงานมาก และลดพลังงานไฟฟ้าโดยอัตโนมัติเป็นระยะ เมือ่ เครือ่ งจักรเดินไประดับหนึง่ หรือสัง่ ให้เปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าตามเวลาเพือ่ ลด การใช้พลังงานทีไ่ ม่จำ� เป็น หรือรูล้ ว่ งหน้าถึงอัตราการเสือ่ มสภาพของเครือ่ งจักร ผ่านการวิเคราะห์รูปแบบ (Pattern) ของการใช้พลังงานไฟฟ้าในแต่ละช่วงเวลา เทียบกับข้อมูลในอดีต เป็นต้น


การจัดการพลังงานไฟฟ้าสำ�หรับภาคอุตสาหกรรม มีส่วนช่วยลดสภาวะโลกร้อนได้อย่างไร

เรามาถึงจุดเปลี่ยนส�ำคัญซึ่งทุกภาคส่วนเห็นร่วมกันชัดเจนถึง ความจ�ำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันอย่างเต็มที่ในการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก (GHG) ในขณะทีภ่ าคส่วนอืน่ ๆ อาทิ การผลิตพลังงานไฟฟ้า การเกษตร และการบริโภคในครัวเรือน ได้เริม่ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก มาระดับหนึง่ แล้ว แต่ภาคอุตสาหกรรมนัน้ แทบจะไม่มกี ารปรับเปลีย่ น เลยแม้แต่ในประเทศเยอรมนีทเี่ ป็นผูน้ ำ� ในโลกอุตสาหกรรมยุคใหม่เอง ก็ตาม เพื่ อ จั ด การปั ญ หานี้ ซี เ มนส์ เ ห็ น แนวทางขั บ เคลื่ อ นส� ำ คั ญ 3 ประการ ที่จะช่วยให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้

การจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ ช่วยให้การผลิตมีความ ยืดหยุน่ มากขึน้ ช่วยบริหารรอบการท�ำงานให้ได้ประโยชน์สงู สุด และเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต นอกเหนือจากนัน้ ยังลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของภาคอุตสาหกรรม พร้อมเพิม่ โอกาส ใหม่ๆ ในการน�ำพลังงานไฟฟ้าทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมมาปรับใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันการจัดการพลังงานไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูง ท�ำได้งา่ ยขึน้ ด้วยการปรับกระบวนการจัดการให้เป็นระบบดิจทิ ลั (Digitalization) และน�ำการจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Electrification) มาใช้ ผลที่ตามมาไม่เพียงแต่เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน แต่ยังเพิ่มความยืดหยุ่นในการด�ำเนินงานและ ท�ำให้การใช้ทรัพยากรเกิดประโยชน์สงู สุด ยิง่ ไปกว่านัน้ การปรับ

1. 2.

การสร้างความยืดหยุ่นในการน�ำพลังงานมาใช้ เช่น การใช้ โซลู ชั น การกั ก เก็ บ พลั ง งานและการใช้ ร ะบบ โรงไฟฟ้าเสมือน (Virtual Power Plants : VPP)

การปรับเปลี่ยนกระบวนการท�ำงานให้เป็นดิจิทัล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการใช้พลังงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถท�ำได้โดยการติดตั้งอุปกรณ์ IoT (Internet of Things) เซนเซอร์ และซอฟต์แวร์ควบคุม

การน�ำการจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Electrification) มาใช้ ในการด�ำเนินงานให้ครอบคลุม ทุกกระบวนการท�ำงาน

3.

จาก 3 แนวทางข้างต้น “การจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ” เป็ น หนทางที่ ดี ที่ สุ ด ในการลดการปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ทั้งยังสามารถสร้างประโยชน์สูงสุดจากปัจจัยการขับเคลื่อนที่เหลือ ในการจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะนัน้ มี 2 ปัจจัยทีต่ อ้ งค�ำนึงถึง ได้แก่ ความเป็นไปได้ที่จะน�ำพลังงานสะอาดซึ่งไม่มีการปล่อยคาร์บอนสู่ สิง่ แวดล้อมมาป้อนเข้าสูส่ ถานประกอบการอุตสาหกรรม อาทิ พลังงาน ลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน�้ำ และการจัดการพลังงานของ สถานประกอบการอุตสาหกรรม เช่น การจัดการความต้องการใช้พลังงาน ด้วยซอฟต์แวร์ เป็นต้น การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ คือ “หัวใจส�ำคัญ” ในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในภาคอุตสาหกรรม กรณีศกึ ษาจากบริษทั Gestamp ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนโลหะยานยนต์ในประเทศ สเปน ซึ่งมีหลายกระบวนการผลิตที่ต้องใช้พลังงานเป็นจ�ำนวนมาก แต่ขาดข้อมูลการใช้พลังงานทีช่ ดั เจน ท�ำให้โรงงานต้องเผชิญกับค่าไฟฟ้า ที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แต่ด้วยการติดตั้งอุปกรณ์มาตรวัดพลังงานและการใช้โซลูชัน การสื่อสารรับส่งข้อมูลขนาดใหญ่จากโรงงาน 15 แห่ง ใน 6 ประเทศ แล้วน�ำมาวิเคราะห์ Gestamp สามารถระบุจุดที่เป็นปัญหาและ ปรับปรุงการด�ำเนินงาน ท�ำให้สามารถลดการใช้ไฟฟ้าลงถึง 15% และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้ถงึ 14,000 ตันต่อปี

กระบวนการท�ำงานเป็นระบบดิจิทัล (Digitalization) ท�ำให้เรา สามารถพัฒนาระบบดิจทิ ลั ทวิน (Digital Twin) ส�ำหรับระบบไฟฟ้า ของโรงงานได้ และเมือ่ ควบรวมกับระบบอัตโนมัตทิ างอุตสาหกรรม ผูว้ างระบบงานสามารถทดสอบการจ�ำลองสถานการณ์การท�ำงาน ต่างๆ เพื่อหาจุดที่เหมาะสมที่สุดในการวางระบบงาน เพื่อลด ความผิดพลาดและลดต้นทุนในการวางแผนงาน การก่อสร้าง และการบ�ำรุงรักษา เพราะฉะนั้นวิกฤติการณ์การแพร่ระบาดท�ำให้เราต้อง พิจารณาอีกครั้งเกี่ยวกับวิธีการด�ำเนินงานทางธุรกิจของเรา ส�ำหรับอุตสาหกรรม ถึงเวลาแล้วทีจ่ ะสร้างรากฐานธุรกิจในอนาคต ด้วยการผสมผสานการจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะเข้ากับ แผนงานของกิจการ ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จะไม่ใช่แค่ตวั เลขทางธุรกิจเท่านัน้ แต่ยงั เป็นการสร้างอนาคตทีม่ นั่ คงและยัง่ ยืน ครอบคลุมตัง้ แต่ลกู ค้า ชุมชน ประเทศ ไปจนถึงสังคมและสิง่ แวดล้อมในโลกของเราด้วย ดังนั้นเหตุผลที่การจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะมีผล อย่างมากต่อการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก็คือ เมือ่ จัดการการใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะท�ำให้สามารถ เพิ่มการใช้พลังงานสะอาด ซึ่งสามารถผลิตไฟฟ้าได้โดยไม่ก่อ มลภาวะ แทนที่การผลิตไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีแบบเดิม เช่น เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงานดีเซลที่มีการก่อมลภาวะสูง November-December 2021


Article > Opensignal

ประสบการณ์การใช้งาน 5G บนโทรศัพท์มอื ถือ มีการ เปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ งจากความต้องการใช้งาน 5G ของ ผู้ใช้สมาร์ทโฟนที่เพิ่มขึ้น และการพัฒนาเครือข่าย 5G ของ ผู้ให้บริการต่างๆ จากมุมมองของผู้ใช้ Opensignal พบว่า ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (APAC) มีคุณภาพประสบการณ์ การใช้งาน 5G สูงสุดเท่าทีเ่ คยเห็นมา อย่างไรก็ตาม ในแต่ละ ตลาดยังมีความแตกต่างกันอย่างมาก โดยขึน้ อยูก่ บั ระยะเวลา การเปิดใช้ 5G และประเภทของคลืน่ ความถีไ่ ร้สายทีผ่ ใู้ ห้บริการ เปิดใช้กับเครือข่าย 5G บริษทั Opensignal เป็นบริษทั ผูด้ ำ� เนินการวิเคราะห์ ระบบมื อ ถื อ และก� ำ หนดมาตรฐานระดั บ โลกโดยอิ ส ระ เพื่อท�ำความเข้าใจสถานะที่แท้จริงของเครือข่ายมือถือโลก โดยอิงจากการวัดประสบการณ์ผใู้ ช้จริงรายงานอุตสาหกรรม ของบริ ษั ท สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางที่ ชั ด เจนเพื่ อ เข้ า ใจ ประสบการณ์จริงที่ผู้บริโภคได้รับจากเครือข่ายไร้สาย และ เราท�ำการวัดนีก้ บั ผูใ้ ห้บริการเครือข่ายรายใหญ่ทกุ รายทัว่ โลก ข้อมูลการวิเคราะห์ลา่ สุดของ Opensignal วิเคราะห์วา่ เกาหลีใต้และไต้หวันนับเป็นคู่แข่งที่สูสีในด้านประสบการณ์ การใช้งาน 5G โดยเกาหลีใต้มคี วามเร็วในการดาวน์โหลด 5G เฉลีย่ สูงสุดอยูท่ ี่ 380.5 Mbps ส่วนไต้หวันพบว่ามีความเร็วใน การดาวน์โหลด 5G ทีจ่ ดุ สูงสุด (847.3 Mbps) และความเร็วใน การอัปโหลด 5G เฉลีย่ (51.8 Mbps) แซงหน้าเกาหลีใต้เล็กน้อย ส�ำหรับสิงคโปร์นั้น มีความเร็วในการดาวน์โหลด 5G อยูใ่ นระดับกลางของกลุม่ เอเชีย-แปซิฟกิ เนือ่ งจากการเพิง่ เริม่ ให้บริการ 5G ในช่วงครึง่ ปีหลัง พ.ศ. 2563 ซึง่ เป็นเรือ่ งน่าสนใจ ส�ำหรับสิงคโปร์ เพราะผูใ้ ห้บริการมีคลืน่ ความถี่ 5G ย่านกลาง ทีจ่ ำ� กัดมากกว่าผูใ้ ห้บริการในประเทศอืน่ ๆ ทัง้ ยังมีปญ ั หาด้าน การน�ำคลืน่ ความถีห่ ลากหลายมาใช้รว่ มกันทีเ่ ป็นความท้าทาย หลักของประเทศ ซึง่ เกิดจากประเทศเพือ่ นบ้านใช้คลืน่ ความถี่ ย่าน 3.5 GHZ ในการให้บริการทีวดี าวเทียมแบบยิงตรงถึงบ้าน และการใช้บริการมือถือในย่านความถี่นี้อาจท�ำให้เกิดการ รบกวนได้ November-December 2021

ผู ้ ใช้ ส มาร์ ท โฟนต้ อ งการใช้ เ ครื อ ข่ า ย 5G เพื่ อ พั ฒ นา ประสบการณ์ในการใช้แอปพลิเคชันในโทรศัพท์มือถือ เมื่อเรา เปรียบเทียบวิดโี อทีเ่ ปิดใช้งานด้วยเครือข่าย 5G รวมถึงการเล่นเกม แบบมัลติเพลเยอร์และประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั ผ่านแอปฯ สือ่ สารด้วย เสียงยอดนิยมต่างๆ ท�ำให้เห็นถึงผลลัพธ์ดา้ นความเร็วทีแ่ ตกต่างกัน อย่างมาก ตัวอย่างเช่น สิงคโปร์อยูอ่ นั ดับ 2 ด้านประสบการณ์เกม 5G ตามหลั ง ประเทศชั้ น น� ำ ด้ า นเกมอย่ า งเกาหลี ใ ต้ ม าติ ด ๆ ส่ ว น ประเทศไทยนัน้ ขยับขึน้ จากเดิม 4 อันดับในด้านประสบการณ์วดิ โี อ 5G ซึง่ สูงกว่าอันดับด้านความเร็วในการดาวน์โหลด 5G เช่นเดียวกับ ฮ่องกงทีข่ ยับขึน้ มาอยูใ่ นอันดับที่ 3 ตรงกันข้ามกับญีป่ นุ่ ทีป่ ระสบการณ์ 5G ยังพัฒนาได้ไม่เต็มที่ ท�ำให้ตกอันดับลง นอกจากนี้ Opensignal ยังพบว่าทุกประเทศในเอเชีย-แปซิฟกิ ได้รบั ประสบการณ์วดิ โี อ 5G อยูใ่ นระดับยอดเยีย่ ม (75 ขึน้ ไป) ส่วน ในด้านประสบการณ์เกม 5G ใน 2 ประเทศ เกาหลีใต้และสิงคโปร์ ได้รับคะแนนในระดับยอดเยี่ยม อีกทั้งผู้ใช้ในอีก 4 ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน ฮ่องกง ไทย และออสเตรเลีย ยังได้รบั ประสบการณ์เกม 5G อยูใ่ นระดับดี (75<85) ความแตกต่างระหว่างการวัดค่าทัง้ 2 นี้ ท�ำให้ เห็นได้ถงึ ความส�ำคัญของการปรับใช้ 5G เวอร์ชนั ใหม่รวมถึงการเข้าถึง เครือข่ายในแบบสแตนด์อโลน (SA) ที่มีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุง ประสบการณ์เวลาแฝง (Latency) และการตอบสนองในด้านประสบการณ์ มือถือ


ความเร็วเฉลี่ยในการดาวน์โหลด 5G ในทุกประเทศของ เอเชีย-แปซิฟกิ มีความเร็วขึน้ มากอย่างเห็นได้ชดั เมือ่ เทียบกับการใช้ เทคโนโลยีเครือข่าย 4G โดยต่างกันอย่างน่าประหลาดใจถึง 10.4 เท่า ในฟิลิปปินส์และไต้หวัน และ 2.9 เท่าในสิงคโปร์ ทั้งนี้ยังเป็นการเปรียบเทียบกันระหว่างเวอร์ชันแรกของ เทคโนโลยี 5G กับเวอร์ชันล่าสุดของเทคโนโลยี 4G ที่ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ งมาเป็นเวลา 10 ปี นับตัง้ แต่เปิดตัวเครือข่าย 4G ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552/53 ในอีก 10 ปีข้างหน้า 5G จะพัฒนาขึ้น พร้อมทิง้ ห่างช่องว่างในด้านประสบการณ์ 5G บนมือถือกับเครือข่าย เวอร์ชนั ก่อนๆ มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ ผูใ้ ห้บริการเครือข่าย ปรับใช้เทคโนโลยี mmWave 5G ให้กว้างขึ้นในภูมิภาค เพราะฉะนั้นเราได้เห็นการปรับปรุงขึ้นพอประมาณส�ำหรับ ประสบการณ์วดิ โี อ 5G โดยมี 4 ประเทศทีม่ ปี ระสบการณ์วดิ โี อ 5G ดีขึ้นกว่าประสบการณ์วิดีโอ 4G มากกว่า 10% ส่วนอีก 2 ประเทศ มีการปรับปรุงพัฒนามากกว่า 5% ทัง้ ในด้านประสบการณ์ความเร็ว ในการดาวน์โหลดและอัปโหลดวิดีโอแบบ 5G โดยผู้ใช้สมาร์ทโฟน ในฟิลิปปินส์ได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดีขึ้นเป็นอย่างมาก

Opensignal เปรียบเทียบเครือข่าย 5G โดยใช้การวัดค่า 2 แบบ คือ สัดส่วนของเวลาทีผ่ ใู้ ช้เชือ่ มต่อกับการให้บริการ 5G (ความพร้อม ใช้งาน 5G) และสัดส่วนของสถานทีท่ ผี่ ใู้ ช้งานได้รบั ประสบการณ์การ เชือ่ มต่อ 5G (การเข้าถึง 5G) ผลลัพธ์ออกมาไม่เป็นทีน่ า่ แปลกใจนัก

ทีผ่ ชู้ นะอันดับ 1 ในตารางของประสบการณ์ทง้ั 2 ด้านเป็นของฮ่องกง และยิง่ ไปกว่านัน้ ผูใ้ ช้ของ Opensignal ในเกาหลีใต้ใช้เวลาเชือ่ มต่อ 5G ในเวลาแทบเท่ากันกับชาวฮ่องกงในเชิงสถิติ และยังสามารถ พบเจอสัญญาณ 5G ในสัดส่วนทีไ่ ม่หา่ งกันมากนัก โดยคิดเป็นคะแนน ด้านการเข้าถึง 5G ที่ 5.8 จาก 10 คะแนน เทียบกับฮ่องกงที่ 6.2 คะแนน คะแนนด้านความพร้อมใช้งาน 5G และการเข้าถึง 5G ทีย่ งั ต�า่ ของญีป่ นุ่ นัน้ ท�ำให้เห็นถึงความเชือ่ มโยงในด้านความไม่เสถียรของ ประสบการณ์การใช้งาน 5G ในญีป่ นุ่ เอง และยังเป็นตัวช่วยอธิบาย ถึงคะแนนประสบการณ์วิดีโอ 5G ประสบการณ์เกม 5G และ ประสบการณ์แอปฯ สือ่ สารด้วยเสียง 5G ในญีป่ นุ่ ได้อกี ด้วย ขณะที่ ผู้ให้บริการเครือข่ายของญี่ปุ่น 3 ค่ายได้เปิดให้บริการ 5G ในช่วง กลางปี พ.ศ. 2563 และรายที่ 4 เปิดให้บริการในช่วงปลายปีเดียวกัน นั้น ท�ำให้ความครอบคลุมของสัญญาณยังไม่กว้างขวางนัก อย่างไรก็ตาม ผูใ้ ห้บริการในญีป่ นุ่ ทุกรายต่างให้ความส�ำคัญ กับการขยายพื้นที่สัญญาณ 5G ในช่วง 18 เดือนนี้ โดยเริ่มตั้งแต่ ไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2564 (คลิกดูเพิม่ เติมที่ au/KDDI, SoftBank, NTT DoCoMo และ Rakuten) แต่ยังเร็วเกินไปที่จะเห็นผลลัพธ์ของ การพัฒนา นอกจากนี้ ทัง้ ฟิลปิ ปินส์และออสเตรเลียยังมีผลคะแนน ด้านประสบการณ์เป็นทีน่ า่ พอใจด้วยพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ทใ่ี หญ่กว่า ผู้ใช้งาน 5G ของ Opensignal ในตลาดทั้ง 2 แห่งนั้นใช้เวลาในการ เชือ่ มต่อ 5G คิดเป็น 10% และได้รบั ประสบการณ์ 5G เกือบ 1 ใน 3 ครอบคลุมพืน้ ทีต่ี า่ งๆ พร้อมมีคะแนนการเข้าถึง 5G ที่ 3.0 และ 2.9 ตามล�ำดับ

ดังนั้นผู้ให้บริการประเทศอื่นๆ ในแถบเอเชีย-แปซิฟิกก็มี การเปิดให้ใช้งาน 5G เช่นเดียวกัน รวมทัง้ นิวซีแลนด์และอินโดนีเซีย Opensignal จะวิเคราะห์เกี่ยวกับความก้าวหน้าของ 5G ในทุกๆ ตลาดอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงตลาดอื่นๆ เพิ่มเติมเกี่ยวกับ 5G เชิงลึกในอนาคต

November-December 2021


Scoop

> กองบรรณาธิการ

จากบริบทของสถานการณ์ปัจจุบันที่สร้าง ผลกระทบโดยตรงต่อวงจรของธุรกิจ ท�ำให้ต้อง เผชิ ญ กั บ ข้ อ จ� ำ กั ด และความท้ า ทายมากมาย ตัง้ แต่ภาคการผลิตไปถึงการขายและการให้บริการ แต่ในมุมของ AIS ก็ยังคงเดินหน้าตาม แผนงานการน� ำ ศั ก ยภาพ 5G ขยายสู ่ ภ าค อุตสาหกรรม เดินหน้าฟื้นฟูประเทศในทุกมิติ ล่าสุด AIS Business 5G ได้ลงนาม (MOU) ร่วมกับบริษทั ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด หรื อ ออมรอน (OMRON) ผู ้ น� ำ ด้ า น Smart Manufacturing–Autonomous Mobile Robot เพือ่ ร่วมเป็นพันธมิตรในการน�ำ 5G และเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ายกระดับภาคการผลิตในอุตสาหกรรม ส่งโซลูชนั ทีพ่ ร้อมตอบโจทย์ภาคการผลิตอัจฉริยะ หรือ Smart Manufacturing ได้อย่างสมบูรณ์

November-December 2021

ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย หัวหน้าคณะผู้บริหาร กลุ่มลูกค้าองค์กร AIS Business กล่าวว่า จาก แผนงานของ AIS ที่มุ่งขยายศักยภาพ 5G เพื่อร่วม ยกระดั บ ภาคอุ ต สาหกรรมและภาคการผลิ ต นั้ น เรายังคงเดินหน้าเชือ่ มต่อการท�ำงานจากภาคส่วนต่างๆ เพื่ อ ให้ ดิ จิ ทั ล เทคโนโลยี เข้ า ไปมี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการ ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย สนับสนุนการท�ำงานของภาคอุตสาหกรรมในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการท�ำงานร่วมกับพันธมิตรที่จะ น�ำมาซึง่ ความแข็งแกร่งของทัง้ 2 ฝ่าย สูเ่ ป้าหมายทีจ่ ะร่วมท�ำให้ภาคอุตสาหกรรม และภาคการผลิตมีเทคโนโลยีเป็นเครือ่ งยนต์สำ� คัญในการขับเคลือ่ น โดยเฉพาะ ในช่วงระหว่างการแพร่ระบาดที่ต่างต้องปรับตัวให้มีความพร้อม ครั้งนี้จึงนับว่าเป็นอีกความร่วมมือครั้งส�ำคัญของ AIS กับพันธมิตรที่มี ความแข็งแกร่งด้านวิศวกรรมบนระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เพือ่ การผลิตอย่าง ออมรอน (OMRON) ทีค่ รัง้ นีเ้ ป็นการน�ำเทคโนโลยีการสือ่ สาร ประยุกต์การเชื่อมต่อเทคโนโลยีการผลิต ผนวก Information Technology (IT) กับ Operation Technology (OT) อย่างไร้ขดี จ�ำกัด และจะได้รว่ มกันสร้างโซลูชนั ใหม่ ยกระดับภาคการผลิตสู่การเป็น Smart Manufacturing อย่างสมบูรณ์ เพิม่ คุณภาพ ลดต้นทุนการผลิต บนโครงสร้างพืน้ ฐานดิจทิ ลั AIS 5G ทีอ่ อกแบบ ได้ตามความต้องการใช้งานในรูปแบบเครือข่ายเฉพาะ (Private Network) เพิ่ม คุณสมบัตดิ า้ นความปลอดภัยของข้อมูล เพิม่ ความเร็ว ลดความหน่วง (Latency) เพื่อการรองรับการท�ำงาน IoT ได้อย่างเต็มรูปแบบ ศิรวิ รรณ คูอมั พร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ออมรอน อี เ ลคทรอนิ ค ส์ จ� ำ กั ด กล่ า วเสริ ม ว่ า ออมรอน ในฐานะผู้น�ำการให้บริการเทคโนโลยีด้าน การผลิต ทัง้ สินค้า บริการ ระบบอัตโนมัติ และหุน่ ยนต์ ให้กับภาคอุตสาหกรรมมาอย่างยาวนาน ครอบคลุม กลุ่มลูกค้าทั้งยานยนต์ ผู้ผลิตชิ้นส่วน กลุ่มผู้ผลิต ชิน้ ส่วน-เซมิคอนดัคเตอร์ กลุม่ อิเล็กทรอนิกส์-เครือ่ งใช้ ไฟฟ้า ตลอดจนอาหาร เครื่องดื่ม เครื่องอุปโภค และ ศิริวรรณ คูอัมพร ยา


ซึ่งความร่วมมือกับ AIS ในครั้งนี้ จึงเป็นอีกครั้ง ส�ำคัญของออมรอนที่จะเดินหน้ายกระดับเทคโนโลยี โซลูชัน ด้วยการเชื่อมต่อข้อมูลที่เร็วและเสถียร ภายใต้ การท�ำงานของ 5G ซึง่ ข้อมูลจะถูกเชือ่ มโยงอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นแง่พื้นที่หรือความครอบคลุมของสัญญาณ ความหลากหลายของอุ ป กรณ์ ตั้ ง แต่ เซนเซอร์ จ นถึ ง หุน่ ยนต์ ทุกหน่วยการผลิตจะสามารถเชือ่ มโยงกับระบบ การจัดการได้ด้วยความปลอดภัย ภายใต้ 5G Private Network เพือ่ ให้ตอบโจทย์การท�ำงานแบบ Industry 4.0 ซึ่งถือว่าเป็นแนวทางหลักของการขับเคลื่อนประเทศ ซึง่ เรามีความคาดหวังทีจ่ ะร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในการท�ำให้ โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลเทคโนโลยีในภาคส่วนของ อุตสาหกรรมมีความแข็งแกร่งผ่านการใช้ศักยภาพของ ทั้ง 2 ฝ่าย โดยเฉพาะในส่วนของการผลิตที่เราจะเข้าไป เพิม่ ขีดความสามารถ ยกระดับการท�ำงานให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึ้น น�ำพาลูกค้าก้าวไปสู่อนาคตด้วยเทคโนโลยี 5G

การยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทย สู่ Industry 4.0 ด้วยโซลูชน ั Smart Manufacturing

โดยการลงนามความร่วมมือ (MOU) ครัง้ นีร้ ะหว่าง AIS และออมรอน (OMRON) จะเปิดขีดความสามารถ ใหม่ ท่ี ย่ั ง ยื น ให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการภาคอุ ต สาหกรรม บนโครงสร้างพื้นฐาน 5G และดิจิทัลเทคโนโลยีที่ช่วย ปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิต อาทิ ความสามารถในการ ผลิตสินค้าทีม่ คี วามหลากหลายและยืดหยุน่ ต่อข้อก�ำหนด (Flexible Manufacturing) การลดต้นทุนการผลิตสินค้า จ�ำนวนน้อย (Small Lot Size Production) การสอบย้อน กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม (Traceability) และระบบ ซ่อมบ�ำรุงเชิงรุก (Predictive Maintenance) ซึ่งช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�ำงาน ด้วยโซลูชนั บนโครงสร้างพืน้ ฐาน 5G Private Network ที่เพิ่มความปลอดภัย ภายใต้การ ลงทุนที่เหมาะสม สามารถควบคุมต้นทุนได้ในขณะที่ ยังคงความสามารถในการผลิตและการแข่งขัน หรือ แม้แต่ในเรื่องของการจัดการวัตถุดิบให้ถูกต้อง รวมถึง การน�ำเทคโนโลยีควบคุมระยะไกลและปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาใช้ เพิ่มความแม่นย�ำ ลดเวลาสิ้นเปลืองการใช้ แรงงาน ท�ำให้บุคลากรสามารถใช้เวลากับการท�ำงาน ด้านอื่นได้มากขึ้น ซึ่งทั้งหมดคือภาพของภาคการผลิต แบบอัจฉริยะ หรือ Smart Manufacturing ทัง้ นี้ จึงเกิดเป็น โซลูชันต้นแบบที่จะสร้างประโยชน์จากการน�ำศักยภาพ ของทั้ง 2 มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ

• หุ่นยนต์รถล�ำเลียงอัจฉริยะ Autonomous Mobile Robot (AMR) อาศัยแผนทีใ่ นการก�ำหนดเส้นทางโดยไม่ตอ้ งตีเส้น ซึง่ การสร้าง แผนทีจ่ ะให้การท�ำงานรวดเร็ว ง่ายดาย ทีต่ วั อุปกรณ์จะมีเซนเซอร์สแกน พืน้ ทีโ่ ดยรอบบริเวณ แล้วน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาสร้างเป็นแผนทีใ่ นการล�ำเลียง สิ่งของบนเครือข่าย 5G Private Network • สายการผลิตแบบยืดหยุ่น Layout-Free Production Line การน� ำ เสนอโซลู ชั น ที่ ส ามารถสร้ า งสายการผลิ ต แบบยื ด หยุ ่ น โดย สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการการผลิตและสภาพแวดล้อม ของพืน้ ที่ รวมถึงข้อจ�ำกัดอืน่ ๆ รองรับความต้องการของการจัดสายงาน การผลิตที่หลากหลาย สามารถออกแบบให้เหมาะสม ปรับเปลี่ยน ได้อย่างรวดเร็วตามรูปแบบการใช้งาน • การตรวจจับด้วยเซนเซอร์ ด้วยอุปกรณ์หรือกล้องความ ละเอียดสูง เก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต เครื่องจักรในพื้นที่ โรงงาน และน�ำไปประมวลผลด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพือ่ ใช้คาดการณ์ ความผิดปกติ เป็นข้อมูลในการตรวจสอบและแก้ไขก่อนเกิดปัญหาต่างๆ ได้ทันที

ดังนัน้ ความร่วมมือในครัง้ นีจ้ ะเป็นการยกระดับให้กบั อุตสาหกรรม ไทยทุกแขนงในการท�ำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และยังเป็นการ ผลักดันให้วงการอุตสาหกรรมเพิ่มศักยภาพและความเชี่ยวชาญในการ ท�ำงานเพื่อตอบรับกับความต้องการของตลาดโลกได้อย่างเต็มก�ำลัง

November-December 2021


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

วิเชียร งามสุขเกษมศรี

November-December 2021

ปัจจุบันธุรกิจการผลิตและโรงงานนั้นจะรับบทบาท เพียงแค่การผลิตและจัดจ�ำหน่ายอย่างเดิมๆ ไม่ได้อกี แล้ว แต่ การสร้างช่องทางการขายทั้งแบบ Online และ Offline ควบคู่ กันไปนัน้ ก็ถอื เป็นอีกหนึง่ งานส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้ธรุ กิจการผลิต อยู่รอดไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล่าธุรกิจยานยนตร์ท่ีการ เข้าใจความต้องการและพฤติกรรมของลูกค้าให้ได้นน้ั ถือเป็น สิง่ ทีส่ ำ� คัญมากส�ำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้โดนใจลูกค้า ให้ได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากการรวบรวมข้อมูลของลูกค้า ผ่านทางระบบ Internet of Things (IoT) แล้ว การมีช่องทาง หน้าร้าน E-Commerce นั้น ก็ถือเป็นอีกกลยุทธ์สำ� คัญที่จะ ท�ำให้ได้มาทั้งข้อมูลความต้องการและพฤติกรรมของลูกค้า พร้อมๆ กับการเพิ่มยอดขาย บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้ผลิตชั้นน�ำในระบบอุตสาหกรรม อัตโนมัติแบบครบวงจร น�ำโมเดลไลน์ e-F@ctory เดินหน้า ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศไทยที่เน้นความก้าวหน้าของ อุตสาหกรรมการผลิต เพื่อสร้างโซลูชันที่ดีท่ีสุดและคุ้มค่า ส�ำหรับผู้ประกอบการ พร้อมแถลงความร่วมมือกับพันธมิตร บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AIS และ บริษทั ทีเคเค คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ในการพัฒนา Factory Automation Remote Solution ด้วย 5G Smart Manufacturing Solutions ทีพ่ ร้อมใช้งานจริง เพือ่ เติมเต็มขีดความสามารถและ เพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรมไทย ตามนโยบาย Thailand 4.0

วิเชียร งามสุขเกษมศรี กรรมการบริหาร บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชัน่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ในวาระครบรอบ 100 ปีของ Mitsubishi Electric ผู้น�ำด้านเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้รับความเชื่อถือมาอย่างยาวนาน และในปัจจุบันยังเป็นผู้น�า ในด้านผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ สาย Automation ครบวงจร โดยได้น�ำโมเดลไลน์ “e-F@ctory” มา ยกระดับสายการผลิตในวงการอุตสาหกรรมของไทย ส่งเสริมความรู้ด้าน Automation ให้ บุคลากรในประเทศไทย และผลักดันให้ Factory Automation ของไทยมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ตอบโจทย์ความต้องการของบริษทั ข้ามชาติไม่ให้ยา้ ยฐานการผลิตไปใช้แรงงานคนในประเทศ ที่มีค่าแรงต�ำ่ กว่า อีกทั้งยังคงเดินหน้าให้ความส�ำคัญในการพัฒนาโซลูชันในด้านต่างๆ Factory Automation Remote Solution โซลูชนั ส�ำหรับอุตสาหกรรมทีจ่ ะช่วยให้สามารถ ท�ำงานจากระยะไกล ยืนยันสถานะการผลิตได้แบบ Real Time เสมือนการควบคุมการท�ำงาน ในสถานที่ท�ำงานจริง จากสถานที่ใดหรือเวลาใดก็ได้ รวมทั้งตรวจจับและแก้ไขปัญหาได้ ทันท่วงที อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ช่างและวิศวกรทีท่ ำ� งานแบบ Work From Home ในช่วง การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้เป็นอย่างดี โดยมีพนั ธมิตรอย่าง AIS ผูใ้ ห้บริการเครือข่าย 5G ร่วมผสานเทคโนโลยีดา้ น IT (Information Technology) และด้าน OT (Operation Technology) ซึง่ เป็นความเชีย่ วชาญในระบบ Factory Automation ของ Mitsubishi Electric เข้าไว้ดว้ ยกัน อย่างลงตัว เติมเต็มขีดความสามารถ เพิ่มความยืดหยุ่นในการน�ำไปใช้งานได้อย่างเสถียร รวมทัง้ บริษทั ทีเคเค คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ผูน้ ำ� ธุรกิจตัวแทนจ�ำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม ทีจ่ ะ ร่วมบูรณาการและแนะน�ำโซลูชันนี้ให้กับผู้ประกอบการที่สนใจ เพื่อรองรับการเติบโตของ ภาคอุตสาหกรรมไทยในอนาคต


ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย

ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย หัวหน้าคณะผู้บริหารกลุ่มลูกค้าองค์กร AIS กล่าวว่า หัวใจ ส�ำคัญของการขยายศักยภาพ 5G สู่ภาคอุตสาหกรรม นอกเหนือจากความแข็งแกร่งของ การมีเครือข่ายที่พร้อมใช้งานแล้ว การมีพันธมิตรทางธุรกิจที่พร้อมเดินหน้าพลิกโฉมการ เปลี่ยนแปลงของโรงงานให้มีศักยภาพสอดรับกับโลกยุคใหม่ก็เป็นแนวทางส�ำคัญที่ AIS ยึดถือมาโดยตลอด โดยในครั้งนี้นับเป็นอีกก้าวส�ำคัญที่เราจะยกเอาต้นแบบที่ได้รับการ พัฒนาสู่การใช้งานจริง ผ่านความร่วมมือกับมิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น ที่มี ความแข็งแรงในด้านสายการผลิตของโรงงานในประเทศไทย และทีเคเค คอร์ปอเรชั่น ผู้จ�ำหน่ายสินค้าและด�ำเนินการใช้งานระบบควบคุมการผลิตอัตโนมัติในโรงงานชั้นน�ำ ที่จะมาร่วมกันน�ำเสนอโซลูชัน e-F@ctory ที่พร้อมให้บริการและยกระดับภาคการผลิตด้วย Smart Manufacturing ทีใ่ ช้งานจริงบนเครือข่าย AIS 5G ทีจ่ ะมาเสริมประสิทธิภาพการท�ำงาน ภายในภาคการผลิตได้อย่างสมบูรณ์ ทั้งการเพิ่มคุณภาพ ลดต้นทุนการผลิต และตอบรับ ความต้องการการใช้งานในรูปแบบเครือข่ายเฉพาะ (Private Network) อีกทัง้ ยังช่วยเพิม่ ความปลอดภัยของข้อมูล ความเร็ว ลดความหน่วง เพือ่ การรองรับ การท�ำงาน IoT ได้อย่างเต็มรูปแบบ นับเป็นความร่วมมือที่จะยกระดับขีดความสามารถ ให้กับภาคอุตสาหกรรมบนโครงข่าย 5G ที่มีศักยภาพดีที่สุดในประเทศไทย ผสมผสานกับ ความเป็นผู้นำ� ด้าน Factory Automation ของ Mitsubishi Electric และความเชี่ยวชาญใน การจ�ำหน่ายและด�ำเนินการใช้งานสินค้าในระบบควบคุมการผลิตอัตโนมัตใิ นโรงงานของ TKK โดยนอกเหนือจากโซลูชัน Factory Automation ที่เป็นพื้นฐานแล้ว Factory Automation Remote Solution อีกหนึ่งโซลูชันที่มีความส�ำคัญ สามารถตอบสนองการท�ำงานที่แตกต่าง และเหมาะกับสถานการณ์โควิด-19 ที่ต้องท�ำงานแบบระยะไกล ย่อมต้องการ Network 5G ที่เป็น Network ไร้สายที่มีศักยภาพและมีความเสถียรอีกด้วย

กัลยาณี คงสมจิตร ประธานบริหาร บริษัท ทีเคเค คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด กล่าวว่า ทีเคเค คอร์ปอเรชั่น เป็นผู้แทนจ�ำหน่ายสินค้าและโซลูชันด้านอุตสาหกรรม พร้อมทั้งเป็น ผูใ้ ห้บริการด้านโซลูชนั แบบครบวงจร (Total Solution Provider) ส�ำหรับความร่วมมือระหว่าง Mitsubishi Electric และ AIS ในครั้งนี้ ทาง TKK เชื่อมั่นว่าจะสามารถส่งมอบโซลูชันให้กับ โรงงานในภาคอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยความพร้อมจากพันธมิตรทัง้ 3 ฝ่าย โดยมีเป้าหมายร่วมกันคือ ยกระดับภาคอุตสาหกรรมของไทยให้กา้ วไปอีกขัน้ ด้วยการเติมเต็ม คุณภาพการท�ำงานด้วยเทคโนโลยีทเ่ี ข้าใจปัญหา และตอบโจทย์ความต้องการอย่างแท้จริง ส�ำหรับ Factory Automation Remote Solution คือการท�ำงานของ IoT (Internet of Things) ที่รวบรวมการควบคุมระยะไกลไว้ด้วยกัน เป็นโซลูชันส�ำหรับอุตสาหกรรมที่ช่วยให้ สามารถท�ำงานจากระยะไกลได้อย่างสมบูรณ์แบบ เสมือนการควบคุมการท�ำงานจากสถานที่ ท�ำงานจริงหรือไลน์การผลิต โดยมี 4 ส่วนประกอบส�ำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจสอบระยะไกล (Remote Monitoring) ท�ำให้สามารถตรวจสอบ KPI (Key Performance Indicator) ทัง้ ผลงาน และความส�ำเร็จของชิน้ งานต่างๆ ภายในโรงงานและข้อมูลอืน่ ๆ ได้ตลอดเวลา (2) การบ�ำรุง รักษาระยะไกล (Remote Maintenance) ที่จะช่วยในการแก้ไขปัญหาได้ทันที โดยไม่จ�ำเป็น ต้องไปที่สถานที่ทำ� งานจริง (3) การพัฒนาโปรแกรมจากระยะไกล (Remote Development) ท�ำให้สามารถท�ำงานได้จากสถานที่ใดก็ได้ รวมถึงประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ โดยเห็น ภาพและรายละเอียดการท�ำงานในพืน้ ทีก่ ารผลิตจริง และ (4) การบริการระยะไกล (Remote Service) ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเทคนิคขององค์กรสามารถตอบโต้การท�ำงานได้ทนั ทีทเี่ จ้าหน้าทีม่ ี ปัญหาเกีย่ วกับอุปกรณ์ โดยมีฟงั ก์ชนั ควบคุมการท�ำงานทีง่ า่ ยต่อผูเ้ ชีย่ วชาญในการแก้ไขปัญหา และปลอดภัยในการจัดการอุปกรณ์จากระยะไกล

กัลยาณี คงสมจิตร

November-December 2021


โซลูชน ั Factory Automation กับการควบคุม ระยะไกลด้วย IoT

เทคโนโลยี IoT กลายเป็นก้าวส�ำคัญของการเปลีย่ นแปลง ท�ำให้การ ท�ำงานและใช้ชวี ติ สะดวกมากขึน้ โดยการท�ำลายขีดจ�ำกัดของการเดินทาง และเวลาในการท�ำงานออกไป ท�ำให้สามารถท�ำงานจากทีไ่ หนและเมือ่ ไร ก็ได้ จึงเป็นปัญหาค�ำตอบว่า หากอุตสาหกรรมการผลิตใช้โซลูชัน IoT จะสามารถท�ำลายขีดจ�ำกัดการท�ำงานควบคุมการผลิตได้มากแค่ไหน Mitsubishi Electric พัฒนาโซลูชนั IoT ร่วมกับ Partners ในโครงการ e-F@ctory Alliance ซึง่ มีความท้าทายในการพัฒนาการควบคุมเครือ่ งจักร และอุปกรณ์ท่ีมีความซับซ้อน ตั้งแต่ระบบการท�ำงานไปจนถึงเครือข่าย การเชือ่ มต่อทีจ่ ะสามารถควบคุมการท�ำงานได้อย่างสมบูรณ์ เสมือนการ ควบคุมจากหน้าไลน์การผลิต จนได้ออกมาเป็นกลุ่มโซลูชัน FA Remote

โซลูชน ั FA Remote ควบคุมการทำ�งานระยะไกล ได้อย่างสมบูรณ์

FA Remote คือ โซลูชนั ส�ำหรับอุตสาหกรรมทีช่ ว่ ยให้สามารถท�ำงาน จากระยะไกล เสมือนการควบคุมการท�ำงานจากสถานที่ท�ำงานจริงหรือ ไลน์การผลิต โดยมี 4 ส่วนประกอบ ได้แก่ 1. การตรวจสอบระยะไกล (Remote Monitoring) ท�ำให้สามารถตรวจสอบ KPI ต่างๆ ภายในโรงงานและข้อมูลอื่นๆ ได้ตลอดเวลาการควบคุม อุปกรณ์ HMI (GOT) ระยะไกล การรวบรวมข้อมูลและแสดงภาพการ ท�ำงานระยะไกลภายในพื้นที่การผลิต 2. การบ�ำรุงรักษาระยะไกล (Remote Maintenance) ช่วยในการแก้ไข ปัญหาทันที โดยไม่จำ� เป็นต้องไปทีส่ ถานทีท่ ำ� งานจริง ควบคุมการท�ำงาน ระยะไกลของ PLC อุปกรณ์กล้องและอื่นๆ 3. การพัฒนาโปรแกรมจากระยะไกล (Remote Development) ท�ำให้ สามารถท�ำงานได้จากทีไ่ หนก็ได้ รวมถึงประสานงานกับหน่วยงานอืน่ ๆ โดยเห็นภาพและรายละเอียดการท�ำงานในพื้นที่การผลิตจริง บริหาร จัดการพื้นที่การผลิตส�ำหรับท�ำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น 4. การบริการระยะไกล (Remote Service) สามารถให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน เทคนิคขององค์กรตอบโต้การท�ำงานได้ทันที เมื่อเจ้าหน้าที่มีปัญหา เกีย่ วกับอุปกรณ์ฟงั ก์ชนั ควบคุมการท�ำงานทีง่ า่ ยต่อผูเ้ ชีย่ วชาญในการ แก้ไขปัญหา ฟังก์ชนั ความปลอดภัยส�ำหรับการจัดการอุปกรณ์ระยะไกล November-December 2021

ซอฟต์แวร์ระบบการควบคุม โดย e-F@ctory Alliance

GX Works3 เป็นโซลูชัน IoT ต่างๆ ประกอบ ไปด้วยซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ของ Mitsubishi Electric และเหล่าพันธมิตร ช่วยเติมเต็มศักยภาพของโซลูชัน FA Remote ครอบคลุมการท�ำงานทุกด้านในอุตสาหกรรม ตั้งแต่การตรวจสอบ การบ�ำรุงรักษา การบริการ และ การพัฒนาระยะไกล โดยระบบทัง้ หมดจะท�ำงานร่วมกัน และเชื่ อ มต่ อ ข้ อ มู ล ไปยั ง Cloud Computing ซึ่ ง ประกอบด้วยซอฟต์แวร์ทั้งหมด 5 ตัว ได้แก่ 1. GENESIS64 เป็นซอฟต์แวร์รวบรวมและบริหาร จัดการข้อมูลที่ช่วยให้อุตสาหกรรมสามารถควบคุม KPI แบบรวมศูนย์ 2. FACTORIUM เป็นแอปพลิเคชัน CMMS ของ Partner ในการสร้างระบบสนับสนุนกิจกรรมงานซ่อมและ บ�ำรุงรักษาเครื่องจักรของโรงงานด้วยคอมพิวเตอร์ 3. GOT Mobile เป็นซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันที่ช่วยให้ สามารถตรวจสอบระยะไกลถึงสถานะของเครือ่ งจักร หรือสายการผลิตได้แบบ Real Time ผ่าน Smart Device โดยข้อมูลจะเชือ่ มต่อกับ HMI รุน่ GOT2000 ซอฟต์แวร์การบ�ำรุงรักษาระยะไกลของอุปกรณ์ตา่ งๆ ในพืน้ ทีก่ ารท�ำงาน ใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ Industrial Remote Access 4. Gateway ของ HMS และ MELSEC iQ-R รวมถึง อุปกรณ์อื่นๆ 5. Remote Expert ระบบซอฟต์แวร์ทช่ี ว่ ยให้ผเู้ ชีย่ วชาญ ด้านเทคนิคสามารถตอบโต้เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นได้ ทันที ดังนั้น คุณสมบัติของโซลูชัน FA Remote การ ยืนยันสถานะไลน์การผลิตแบบ Real Time มองเห็น สถานะการท�ำงานและคุณภาพของโรงงานได้ตลอด เวลา ทุกที่ ตรวจจับปัญหาได้แบบ Real Time รวมถึง การคาดการณ์ล่วงหน้า ตรวจสอบ KPI ของโรงงานได้ ทุก Site ของเครือข่ายการผลิต รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับ สายเชื่อมต่อและอุปกรณ์ในพื้นที่การผลิต


Special Area

> แมทเธีย กุเอลล็อท วิศวกรฝ่ายเทคนิคดีเด่น เชี่ยวชาญด้าน Low Voltage Applications ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

https://pixabay.com/th/photos/fire-extinguish-firefighter165575/

หากพูดถึงเรือ่ งอัคคีภยั การป้องกัน คือวิธีที่จะรับมือได้ดีที่สุด การให้ความส�ำคัญ จึงมุ่งเน้นด้านการออกแบบอาคาร รวมถึงวิธีการ และขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบุคลากรและ สิ น ทรั พ ย์ จ ะได้ รั บ การป้ อ งกั น กรณี เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ อย่างไรก็ตาม เมือ่ เกิดเพลิงไหม้กน็ บั ว่าสายเกินไปส�ำหรับธุรกิจ ส่วนใหญ่ ซึ่งสอดคล้องตามข้อมูลจาก AXA Insurance กล่าวว่า จ�ำนวนองค์กรกว่าครึง่ ทีเ่ ดือดร้อนจากเหตุเพลิงไหม้ตอ้ งปิดกิจการลง ภายใน 5 ปีต่อมา การเกิ ด เพลิ ง ไหม้ เ ป็ น อั น ตรายโดยตรงต่ อ ชี วิ ต รวมถึ ง สินทรัพย์และสภาพคล่องของธุรกิจ ฉะนัน้ การมีแผนรับมือกับการเกิด เพลิงไหม้เพียงอย่างเดียวนับว่าไม่เพียงพอ คุณจ�ำเป็นต้องมีกลยุทธ์ การป้องกันการเกิดเพลิงไหม้ได้อย่างครอบคลุม ด้วยการน�ำเทคโนโลยี มาช่วยในการตรวจจับความผิดปกติ พร้อมทัง้ การด�ำเนินการตอบสนอง ได้อย่างรวดเร็ว ทันท่วงที และเทคโนโลยีที่ลำ�้ สมัย ดังนั้นการเกิด เพลิงไหม้อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งปัจจุบันมาตรฐานที่มี ช่วยสร้างความมัน่ ใจได้วา่ อาคารจะได้รบั การปกป้องอย่างถูกวิธจี าก เหตุเพลิงไหม้ทเี่ กิดจากกระแสไฟฟ้าเกิน ซึง่ มีสาเหตุมาจากการเกิด โอเวอร์โหลดและลัดวงจร อย่างไรก็ตาม การเกิดเพลิงไหม้จากกระแสไฟฟ้าเกินยังอาจ เกิดจากความผิดพลาดระหว่างการติดตั้ง เช่น การเดินสายหลวม หรือใช้แผงวงจรเก่า ซึ่งระบบป้องกันกระแสไฟเกินจะไม่สามารถ ตรวจจับเรื่องเหล่านี้ได้ จริงๆ แล้วฉนวนที่ช�ำรุดหรือสึกหรอ เป็น สาเหตุของเพลิงไหม้จากระบบไฟฟ้าภายในอาคาร โดยคิดเป็นอัตรา 14% ซึ่งอาคารขนาดใหญ่ที่มีการติดตั้งสายไฟจ�ำนวนมากจะยิ่ง เกิดความเสี่ยงมากขึ้น ยังคงมีจุดบอดที่คุณไม่สามารถมองข้ามได้ ผู้จัดการอาคารหรือวิศวกรที่ปรึกษาท� ำได้เพียงเล็กน้อยในการ ปกป้องอาคารหากเกิดเพลิงไหม้ ซึง่ ความสูญเสียและการหยุดชะงัก ของธุรกิจอาจสร้างความเสียหายอย่างมาก

ส�ำหรับการป้องกันสูงสุดนัน้ คุณจ�ำเป็นต้องเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ ที่มีนวัตกรรมและเชื่อถือได้ ซึ่งอยู่เหนือมาตรฐาน เพื่อป้องกัน ก่อนเกิดเพลิงไหม้ตั้งแต่เริ่มต้น หมายความว่ามีการป้องกันเสริม ในส่วนของแผงสวิตช์และวงจรในการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าในทุกระดับ และเสริมความมัน่ คงด้วยระบบตรวจสอบและจัดการอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อให้ตรวจสอบและด�ำเนินการได้ในเชิงรุก ความเสี่ ย งและความผิ ด ปกติ ข องฉนวนสายไฟมี ใ ห้ เ ห็ น มากขึ้นและอาจส่งผลต่อเนื่องที่ร้ายแรง โดยความผิดปกติของการ เกิดประกายไฟทีม่ คี วามหนาแน่นต�ำ่ อาจเกิดจากสภาพแวดล้อมทีม่ ี ฝุน่ มากและความชืน้ สูง ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บจากเหตุเพลิงไหม้ จนกระทั่งเสียชีวิตได้หากไม่มีการป้องกันไว้ก่อนหน้านี้ การจะช่วย ให้มีความมั่นใจเรื่องการป้องกันความผิดปกติของฉนวนสายไฟ คือการใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันไฟรัว่ ซึง่ จะท�ำงานกรณีเกิดกระแสไฟฟ้ารัว่ ลงดินเกิน 300mA ผลิตภัณฑ์ ComPacT NSX และ NSXm ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric) ให้การป้องกัน กระแสไฟฟ้ า รั่ ว ลงดิ น ในลั ก ษณะ เดียวกับการป้องกันกระแสไฟฟ้า ลั ด วงจรและโอเวอร์ โ หลดแบบ ทั่วไป นอกจากนี้ โซลูชันดังกล่าว ยังสามารถตรวจวัดกระแสไฟฟ้ารั่ว ลงดินอย่างต่อเนื่อง โดยเชื่อมต่อ เข้ากับระบบตรวจสอบ ก็จะช่วย เรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า อีกทั้ง คอยตรวจสอบการเกิดความต่างศักย์ ของฉนวนไฟฟ้า

Circuit-Breakers, to protect lines carrying up to 630 amps

November-December 2021


นอกจากนี้ วงจรทีเ่ ชือ่ มต่อกับโหลดปลายทางมีการแนะน�ำตามมาตรฐาน IEC60364 ว่าควรได้รับการป้องกันด้วยอุปกรณ์ตรวจสอบความผิดปกติของ การเกิดอาร์ก (AFDD–Arc Fault Detection Device) ซึ่งเซอร์กิตเบรกเกอร์จะ ท�ำหน้าทีต่ ดั แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าเมือ่ ตรวจเจอความผิดปกติของการเกิดอาร์ก ในวงจร โดยอุปกรณ์ AFDD จะหยุดจ่ายกระแสไฟฟ้าทันที ซึ่งจะช่วยหยุด ความผิดปกติไม่ให้เกินจุดที่อุณหภูมิสูงจนเกิดเหตุเพลิงไหม้ได้ ทัง้ นี้ ตูส้ วิตช์บอร์ดอาจเป็นจุดอันตรายส�ำหรับการเกิดเพลิงไหม้ สิง่ ส�ำคัญ ที่อยากจะเน้นคือ การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับด้านการออกแบบและการผลิต ตูส้ วิตช์บอร์ด อย่างไรก็ตาม ความเสีย่ งและปัญหาอันเนือ่ งมาจากการเชือ่ มต่อ ยังสามารถเกิดขึ้นด้วยปัจจัยส�ำคัญที่เป็นผลสืบเนื่องจากความต้านทานของ จุดเชือ่ มต่อในระบบไฟฟ้า ก่อให้เกิดการเสือ่ มสภาพ เป็นสาเหตุให้อณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ และท�ำให้พนื้ ผิวการเชือ่ มต่อเสือ่ มสภาพเร็วขึน้ ก่อให้เกิดวงจรของปัญหาทีท่ ำ� ให้ ความต้านทานของหน้าสัมผัสเพิ่มขึ้นอีก ผลลัพธ์ของการที่ไม่สามารถควบคุม ความร้อนได้จะกลายเป็นสาเหตุท่ีท�ำให้การเชื่อมต่อล้มเหลวโดยสิ้นเชิง ซึ่งมี ความเป็นไปได้สูง อาจท�ำให้เกิดการระเบิดและเพลิงไหม้ได้ นอกจากนั้นยังมีอีก 2-3 ทางเลือกส�ำหรับผู้ที่ต้องการความมั่นใจเรื่อง ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของอุปกรณ์ตลอดช่วงอายุการใช้งานนั้น • การปรับปรุงจุดเชื่อมต่อให้ดียิ่งขึ้น ด้วยการเพิ่มอุปกรณ์เสริมที่ผ่าน การทดสอบและประกอบมาส�ำเร็จรูปเข้ากับสวิตช์บอร์ด เช่น ระบบ Linergy ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค หรือขัว้ ต่อพิเศษของอุปกรณ์ปอ้ งกัน การคลายตัวของจุดเชื่อมต่อ เช่น EverLink • การใช้ระบบตรวจวัดความร้อนเพือ่ ตรวจจับความผิดปกติทจ่ี ดุ เชือ่ มต่อ และแจ้งเตือนเรื่องอุณหภูมิได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อติดตั้งสวิตช์เกียร์ใน พืน้ ทีส่ ำ� คัญ Easergy TH110 และ CL110 เซนเซอร์วดั ความร้อน ของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จะท�ำหน้าทีว่ ดั อุณหภูมจิ ดุ เชือ่ มต่อและแจ้งเตือน อุณหภูมิที่เหมาะสมได้อย่างแม่นย�า • ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ก�ำลังพัฒนาเซนเซอร์อจั ฉริยะทีส่ ามารถตรวจจับ อนุภาคก๊าซที่ปล่อยออกมาจากสายไฟเพื่อเตือนผู้ปฏิบัติงานในกรณี ที่อุณหภูมิสูงถึงระดับที่เป็นอันตรายได้ก่อนที่จะเกิดวิกฤติ การเกิดเหตุเพลิงไหม้เป็นสิ่งที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เมื่อคุณท�ำตามวิธีที่ ถูกต้องส�ำหรับการป้องกันอัคคีภยั ด้วยเครือ่ งมือทีด่ ที ส่ี ดุ จะช่วยรักษาชีวติ ผูค้ น และธุรกิจของคุณได้ หัวใจส�ำคัญคือการปฏิบัติตามแนวทางโดยใช้ประโยชน์ จากผลิตภัณฑ์ท่ีมีนวัตกรรมช่วยตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลจากอุปกรณ์ ในระบบไฟฟ้าของคุณทัง้ หมดอย่างต่อเนือ่ ง วิธดี งั กล่าวช่วยให้คณ ุ สามารถระบุ ความเสีย่ งทีเ่ ป็นปัจจัยหลักของการเกิดเพลิงไหม้ และด�ำเนินการแก้ไขได้อย่าง รวดเร็ว ด้วยกลยุทธ์ด้านการป้องกันอัคคีภัยแบบมืออาชีพที่เชื่อมต่อกันอย่าง เป็นระบบ ช่วยให้มน่ั ใจได้วา่ ธุรกิจของคุณจะด�ำเนินไปอย่างต่อเนือ่ งและมัน่ คง ดังนัน้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค คือการช่วยให้ทกุ คนใช้พลังงานและทรัพยากร ได้เกิดประโยชน์สงู สุด เชือ่ มโยงความก้าวหน้าและความยัง่ ยืนเพือ่ ประโยชน์ของ ทุกคน และยังเป็นพันธมิตรด้านดิจทิ ลั กับเพือ่ สร้างประสิทธิภาพและความยัง่ ยืน ด้วยการขับเคลือ่ นการปฏิรปู สูด่ จิ ทิ ลั ด้วยการผสานรวมเทคโนโลยีชน้ั น�ำของโลก ด้านพลังงานและกระบวนการจัดการเข้ากับผลิตภัณฑ์ตง้ั แต่จดุ เชือ่ มต่อปลายทาง ไปยังคลาวด์ ระบบควบคุม รวมถึงซอฟต์แวร์และการบริการครอบคลุมตลอด วงจรชีวติ การท�ำงานทัง้ หมด เพือ่ สร้างศักยภาพในการบริหารจัดการองค์กรแบบ บูรณาการ ทั้งส�ำหรับบ้าน อาคาร ดาต้าเซ็นเตอร์ ระบบโครงสร้างพื้นฐานและ อุตสาหกรรม November-December 2021

> Matthieu Guillot, Distinguished Technical Engineer - Low Voltage Applications at Schneider Electric

When it comes to fire, prevention is the best cure. Much attention has been given to building design, rules and procedures to ensure property and staff are protected once a fire has started. However, by that stage it is already too late for most businesses. According to AXA Insurance, half of all organisations that suffer a fire close within the next five years. Fires and explosive damage are the number one cause of insurances losses for business, responsible for almost a quarter (24 per cent) of all claims. In an analysis of over 470,000 claims conducted by Allianz over a period of five years, fires caused €14bn in insurance losses alone. Yet the cost of a fire can become much greater when you consider reputational damage and the loss of market share resulting from business interruption. Fire directly endangers life, property and the health of the business itself. It’s not enough for you to have a fire response plan, you need a comprehensive fire prevention strategy that utilizes the latest technologies for fast detection and rapid response.

Trailblazing Technology

A fire can spring from many sources. Current standards do a good job of ensuring buildings are properly defended against fires created by overcurrent caused by overloads and short circuits however, electrical fires can also result from mistakes made during the installation process, namely loose cabling or aging circuits that will not be detected by


overcurrent protection. Indeed, a defective or worn insulation is the cause of 14% of all electrical fires in buildings. Large building installations with extensive cable networks are especially vulnerable. For maximum protection, organisations need reliable, innovative products that excel past the minimum standards to prevent a fire starting in the first place. This means additional protection for the switchboard and the circuits at all levels of the electrical installation, underpinned by a centralized system for monitoring and pro-active action. The risk of cable insulation faults grows over time and the consequences can be severe. Low-intensity arc faults are more likely in humid, dusty environments, causing injuring and deadly fires if precautions aren’t taken. Protection against insulation faults within cables can be assured by residual-current devices (RCD) triggered by earth leakage currents exceeding 300mA. Schneider Electric’s ComPact NSX and NSXm range now offer this earth leakage protection with the same footprint as a classical overload and short-circuit protection. This solution also offers permanent measurement of earth leakage current which, when connected to a monitoring system, allows pre-alarming and monitoring for any drift in the insulation. Additionally, final circuits, in critical location as recommended in IEC 60364, should be protected by an arc fault detection device (AFDD). It is a circuit breaker that automatically cuts off the electricity supply when it detects an arc fault in the circuit. By immediately stopping the supply, AFDDs stop arc faults from reaching temperatures where fires can break out. Electrical switchboards can be dangerous hotspots for fires. It’s important to stress that fulfilling design and manufacturing rules for a switchboard does not eliminate the risk of connection failure. A critical sequence of events can still occur: increased electrical contact resistance accelerates deterioration, causing a rise in temperature. Higher temperatures deteriorate the connection surface even further, creating a vicious circle where contact resistance is increased even more. The resulting thermal runaway will cause complete connection failure, with a strong likelihood of fire and explosions. However, several options are available to those who want to ensure the performance and safety of the equipment during its lifetime: The improvement of power connections by adding tested and pre-fabricated accessories to the

https://pixabay.com/th/ photos-firetechnology-1006924/

switchboard, such as Schneider Electric’s Linergy system or special terminals on devices that prevent creep like EverLink. The use of continuous thermal monitoring for the early detection of faulty connections and temperature alarming. When installed at critical areas of the switchgear, Schneider Electric’s Easergy TH110 and CL110 thermal sensors perform accurate connection and ambient temperature measurements. Schneider Electric is developing smart sensors can detect gas particles emitted by cables to alert operators to dangerously high temperatures before they turn critical. The risk of fire increases as components and equipment age, so choosing the ideal time for maintenance becomes very important. Cloud analytics can help provide asset health analytics to interpret the status and history of your most critical assets, with preventive notifications and 24/7 support. Solutions like EcoStruxureTM Asset Advisor can also provide analytics with condition-based, pro-active recommendations through periodic reports. Fire is never an inevitability. When you follow the right approach for electrical fire prevention with the best tools, a fire can be put out before it even has a chance to begin, saving lives and your business. The key is to follow a connected approach that makes use of innovative products that deliver continuous monitoring and data collection across all your electrical estate. This way you can identify where the greatest fire risk is, and rapidly move in to resolve it. A connected, professional fire prevention strategy helps ensure your business continuity. November-December 2021


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

ระบบควบคุ ม อั ต โนมั ติ เ ป็ น ที่ นิ ย มใช้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลาย ในโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ มีตงั้ แต่ระบบง่ายๆ จนถึงระดับทีซ่ บั ซ้อน เช่น ต้องท�ำการตัง้ หรือสัง่ การท�ำงานด้วยอุปกรณ์จำ� นวนหลายตัว มีความซับซ้อน และมีโอกาสต่อความผิดเพี้ยน AKYTEC ผู้ผลิตอุปกรณ์ในระบบควบคุมอัตโนมัติจาก ประเทศเยอรมนี ได้พฒ ั นา Universal Process Display คุณภาพสูง เพือ่ แสดงค่าอนาล็อก ใช้งานง่าย สะดวก และมีเอาต์พตุ เพือ่ แจ้งเตือน ในชื่อรุ่น ITP14 โดยมีฟังก์ชันต่างๆ ดังนี้

มีหน้าจอสีแดง สีเขียว ให้เลือกใช้ อินพุตเป็นสัญญาณอนาล็อก ได้ทั้ง 0-10V และ 4-20mA เอาต์พุตเป็นชนิดดิจิทัล (NPN) ส�ำหรับต่อ Alarm ใช้ไฟเลี้ยงเป็น 24VDC ติดตั้งง่าย ด้วยรูขนาดมาตรฐาน 22.5 มิลลิเมตร ประหยัดเวลาในการติดตั้ง ขนาดกะทัดรัด ประหยัดพื้นที่ สามารถใส่กับกล่องสวิตช์ได้ ความแม่นย�ำ Class 0.2 ป้องกันน�้ำฝุ่น IP65 ใช้งานได้ถึงอุณหภูมิ 60°C

November-December 2021


ITP14 เป็นอุปกรณ์ที่สามารถติดตั้งได้ง่ายดาย ด้วยรูขนาด 22.5 มิลลิเมตร มาตรฐานเท่ากับ Push Button, Pilot Lamp เพื่อ ใช้งานส�ำหรับมอนิเตอร์คา่ ต่างๆ เช่น ความดัน อัตราการไหล ฯลฯ ในแต่ละส่วน ในระบบกระบวนการควบคุมอัตโนมัติไม่ว่าจะเป็น Industrial Boiler Plants, Water Supply, Thermal Processing เป็นต้น

Application การใช้งานใน Industrial Boiler Plants

ตัวอย่างการต่อ

Current Sensor Input

Voltage Sensor Input

ข้อมูลทางด้านเทคนิค Power Supply Power Consumption, Max. Inputs Inputs Sampling Time Accuracy Temperature Influence Input Resistance Outputs Type Loading Capacity Display Colour IP Code Dimensions Weight Protection Class Ambient Temperature Storage Temperature Humidity

24 (10...30) V DC 1W 1 0-5 mA, 0(4)-20 mA, 0(2)-10 V 0.3 s ± (0.2% FS + 1 digit) ≤ 0.2% / 10°C 0-5 mA, 0(4)-20 mA ≤ 120 ohm / 0(2)-10 V ≥ 250 kohm 1 NPN Transistor 200 mA, 42 V DC Red or Green Front IP65, Rear IP20 48 x 26 x 65 mm approx. 30 g III -40...+60°C -25...+55°C up to 80% (at +35°C, Non-Condensing)

NPN Transistor Output

ขนาด (มิลลิเมตร)

บริษทั แม็กซิ ไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com November-December 2021


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

Vacuum Technology for Contactor เทคโนโลยีสุญญากาศส�ำหรับคอนแทคเตอร์ เนื่องจากการควบคุมระบบ Motor และ Pump ต้องการอุปกรณ์ที่มี ความน่าเชือ่ ถือไว้ใช้ในการจัดการสภาพแวดล้อมทีเ่ ลวร้ายและมีสง่ิ สกปรกสูง จึงท�ำให้เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับผู้ใช้งาน ผู้ผลิตตู้สวิตช์เกียร์ ผู้รับเหมาและ โรงงานผลิต หลายคนเริ่มมองหาเทคโนโลยีสุญญากาศมากขึ้น เทคโนโลยี สุญญากาศจึงกลายเป็นทางเลือกหนึง่ เพือ่ ลดการหยุดการท�ำงานของอุปกรณ์ ไฟฟ้าในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายและสกปรก โดยปกติแล้ว Contactor ถูกใช้เป็นอุปกรณ์ส�ำหรับเปิด-ปิด Motor Starter และ Pump Control โดยจะใช้หลักการแยกหน้าสัมผัสออกจากกัน และใช้อากาศเป็นตัวดับอาร์ก ในทางตรงกันข้ามนั้น Vacuum Contactor จะเป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าสัมผัสอยู่ภายในกระบอกที่ปิดทึบ หรือที่เรียกกันว่า Vacuum Interrupter (VI) ท�ำหน้าที่ขัดขวางไม่ให้อากาศเข้ามาภายใน หน้าสัมผัส เมือ่ หน้าสัมผัสถูกแยกออกจากกันแล้วเกิดอาร์กขึน้ นัน้ จะใช้การ ดับอาร์กแบบลดความดันลง

November-December 2021


Vacuum Interrupter (VI) Vacuum Interrupter คือ ผลิตภัณฑ์ทม่ี หี น้าสัมผัสอยูใ่ นภาชนะสุญญากาศทีป่ ดิ ทึบ เพือ่ ตัดต่อวงจรไฟฟ้า (Opening/Closing) ทีแ่ รงดัน และกระแสสูง Current Flow Current Flow Contact

Ceramic Insulation

Bellows

Stem

Arc movement by transverse magnetic

Vacuum Circuit Breakers

15

Arc expansion by axial magnetic field Overview and Characteristics (VI) closing in the high-voltage large current. 

Very low leak rate over long period of usage –high reliability Minimized Maintenance  Special material with very low gas content–long-lasting high-vacuum state

˙High insulation performance in vacuum - able to cut off large current even in short-distance

˙Less arc and low contact consumption

Eco-Friendly

˙Optimized design - compact and lightweight

Sealed and welded under highly vacuum state not Eco-Friendly effecting or is affected by surrounding environment

˙Special material with very low gas content - long-lasting highvacuum state

Compliant with International Standards

Manufactured in accordance with IEC standard–can be Compliant with International Standards used by various products

˙Sealed and welded under highly vacuum state not effecting or is affected by surrounding environment

˙Manufactured in accordance with IEC standard - can be used by various products

Compact and Lightweight

Vacuum Contactor เหมาะส�ำหรับการใช้งานทีแ่ รงดันสูง และในสภาพแวดล้อมทีเ่ ลวร้าย เช่น Motors, Transformers, Capacitors, Reactors, Resistive Loads อืน่ ๆ (Generators, Pumps, Variable Frequency Drives, Feeders, Power Transmitters and Switchgears) และเหมาะกับอุตสาหกรรม ต่างๆ เช่น Utilities, Industrial, Commercial, Mining, Oil & Gas, Medium Voltage

MCCB

Compact and Lightweight

MS

˙Very low leak rate over long period of usage - high reliability

Excellent Cutting-Off Performance

Excellent Cutting-Off Performance

RELAY

Minimized Maintenance

Vacuum interrupters is a product that places conducting contacts in a sealed vacuum container for stable cutting off and opening/

High insulation performance in vacuum–able to cut off large current even in short-distance High Performance  Less arc and low contact consumption  Optimized design–compact and lightweight 

ACB

High Performance

VCB

Arc column

November-December 2021


Internal and External Components

1 2 3 4

ON/OFF Indicator Counter Control Plug Draw-Out Button

5 Fuse 6 Fuse Holder 7 Fuse Melting Detector (Option)

8 Manual Checking Hole 9 Emergency Trip Button Latch Device

Front Cover Name Plate Position Switch

The Design of the Cradle

Cradle of the Class E 1 Cradle Terminals 2 Position Indicator November-December 2021

Cradle of the Class F 3 Safety Shutter 4 Damper Lifting Mechanism

5 Rear Barrier 6 Interlock Support


ท�ำไมต้องเลือกใช้ Vacuum Contactor “HYUNDAI” Vacuum Contactor HYUNDAI เป็นผลิตภัณฑ์ขนาดกะทัดรัด ปลอดภัย และใช้งานง่าย สอดคล้องกับมาตรฐาน IEC, NEMA อุปกรณ์ ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน UL และ KAS Vacuum Contactor HYUNDAI เป็นอุปกรณ์คุณภาพสูงที่ใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก มีเทคโนโลยีข้ันสูงที่ช่วยให้ผลิตภัณฑ์ใหม่น้ี มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น

Easily Removable Fuse

DIN fuse can be easily removed Use a spring-loaded contact holder that does not require a bolted connection.

Anti Pumping

The control unit has a built-in re-lock switch-on, provides a one-time closing and opening in case of simultaneous receipt of external and local signals.

Power Supply of Different Voltage Classes

The standard operating voltage is AC/DC 100-125V and AC/DC 200-230V.  It is possible to use one control unit for two types of voltage. 

The Use of Automatic Position Locks

To move the contactor in the cradle, you must Lift the locking rod and press the button. When the contactor reaches the TEST or other position, the lock will automatically trigger the position.

Noiseless

Noiseless operation is achieved through the use of PWM to control the electromagnetic system excitation.

Reduction of Current Consumption

Electricity consumption was reduced by 40% compared to existing similar devices by controlling the current using a PWM system.

Product Certification

The device is designed in accordance with IEC, NEMA standards.  Certification in the Korean Electricity certification of KAS. No separate testing is required.  UL certification in accordance with UL347; product can be used on American and Canadian markets. 

บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com November-December 2021


IT Article

> มาร์ค วีเซอร์ รองประธานประจ�ำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ของเอาท์ซิสเต็มส์

ในปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา โลกของเราได้ก้าวเข้าสู่ ออนไลน์อย่างแท้จริง และการเปลี่ยนแปลงนี้จะด�ำเนินไป อย่างไม่มวี นั ถอยกลับ ดังนัน้ องค์กรธุรกิจจึงจ�ำเป็นต้องน�ำเสนอ ประสบการณ์ดจิ ทิ ลั ทีเ่ หนือกว่าให้แก่ลกู ค้า เพือ่ ให้ธรุ กิจอยูร่ อด และประสบความส�ำเร็จทัง้ ในปีนแ้ี ละในอนาคต แบรนด์ตา่ งๆ อาจคิดว่าตนเองน�ำเสนอประสบการณ์ได้ดพี อแล้ว แต่ลกู ค้า กลับไม่คดิ เช่นนัน้ และด้วยเหตุนผี้ บู้ ริหารไอทีจงึ ต้องเข้ามามี บทบาทช่วยองค์กรปิดช่องโหว่ดังกล่าว มาตรการล็อกดาวน์ส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้คนกับเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวร ตัวอย่างเช่น ปีท่ีแล้วมีลูกค้า 35% ใช้ออนไลน์แบงก์ก้ิงเพิ่มมากขึ้น และ ส่วนใหญ่จะยังคงใช้ตอ่ ไปหลังจากทีธ่ รุ กิจเริม่ กลับเข้าสู่ ‘ภาวะ ปกติ’ ดังนัน้ การน�ำเสนอประสบการณ์ทไี่ ร้รอยต่อให้แก่ลกู ค้า บนระบบดิจิทัลจึงนับว่ามีความส�ำคัญอย่างมาก ทีจ่ ริงแล้วองค์กรต่างๆ ได้ให้ความส�ำคัญกับการลงทุน ในเรือ่ งประสบการณ์สำ� หรับลูกค้า (Customer Experience-CX) และสร้างแอปพลิเคชันที่จ�ำเป็นส�ำหรับการรองรับ CX โดย ผลการส�ำรวจความคิดเห็นจาก Harvey Nash–KPMG CIO Survey ชี้ว่า ก่อนหน้าที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 มีเรื่องใหญ่ๆ 2 เรื่องที่องค์กรธุรกิจให้ความส�ำคัญมากที่สุด ได้แก่ ประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน และ ประสบการณ์ของ ลูกค้า แม้กระทัง่ หลังช่วงการแพร่ระบาดไปแล้ว องค์กรก็ยงั คง มุ่งเน้น 2 เรื่องนี้มากที่สุด

> Mark Weaser, Vice President, APAC, OutSystems

November-December 2021

In 2020, the world moved decisively online–and that genie is not going back into the bottle. So, creating a superior digital customer experience is critical for any business wanting to thrive in 2021 and beyond. Brands think they’re doing a great job of delivering on that mandate. Their customers don’t agree. It’s down to IT leaders to help their organizations close the gap. The lockdown has changed our relationship with technology–forever. For example, 35 percent of customers increased their use of online banking in 2020–and the majority will continue to do so once ‘business as usual’ resumes. So, the need to provide a seamless experience to these digital customers is paramount. In truth, investment in the Customer Experience (CX) and in building the applications needed to support it was already a priority. The Harvey Nash–KPMG CIO Survey


รายงานจากการ์ทเนอร์ยังระบุว่า 91% ขององค์กรที่ ตอบแบบสอบถามก�ำหนดให้ CX เป็นเป้าหมายหลักส�ำหรับ โครงการเปลีย่ นผ่านธุรกิจไปสูด่ จิ ทิ ลั การใช้มาตรการล็อกดาวน์ และการโยกย้ายสู่ระบบออนไลน์ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องตามมา นับเป็นปัจจัยเร่งทีก่ ระตุน้ การลงทุนในส่วนนี้ โดยบริษทั ทีเ่ คย มองว่าการน�ำเสนอประสบการณ์ดิจิทัลให้แก่ลูกค้าเป็นเพียง ‘ทางเลือกหนึง่ ’ เพราะตอนนัน้ ธุรกรรมทีท่ ำ� กับลูกค้าส่วนใหญ่ เป็นการติดต่อแบบพบปะเห็นหน้ากันโดยตรง แต่ทุกวันนี้ ช่องทางดิจทิ ลั ได้กลายเป็น ‘สิง่ ทีธ่ รุ กิจต้องมี’ ส�ำหรับการรองรับ ธุรกรรมออนไลน์จำ� นวนมาก

สิ่งที่ทำ�อยู่ตอนนี้ดีพอแล้วหรือยัง?

ข้อเท็จจริงก็คือ การน�ำเสนอบริการดิจิทัลเพียงแค่ใน ระดับพื้นฐานไม่ใช่สิ่งที่เพียงพออีกต่อไป องค์กรจ�ำเป็นต้อง จัดหาบริการระดับชั้นน�ำที่ดีที่สุด ข้อมูลจากการ์ทเนอร์ชี้ว่า บริษัทกว่า 2 ใน 3 แข่งขันกันน�ำเสนอ CX ระดับพื้นฐานเป็น ส่วนใหญ่ ซึ่งถ้าหากบริษัทน�ำเสนอประสบการณ์ท่ีไม่ค่อยดี ลูกค้าก็จะหันไปซื้อสินค้าหรือบริการจากบริษัทคู่แข่งในทันที ได้อย่างง่ายดาย ด้วยการคลิกหน้าจอเพียงไม่ก่ีครั้ง แม้ว่า แบรนด์ตา่ งๆ จะเข้าใจความจริงดังกล่าว แต่ 80% ก็ยงั เชือ่ ว่า ตนเองน�ำเสนอประสบการณ์ที่เหนือกว่าคู่แข่ง

อย่างไรก็ตาม การมองโลกในแง่ดีนี้กลับสวนทางกับความเป็นจริง เพราะข้อมูลจากการ์ทเนอร์ยงั ระบุวา่ ราว 65% ของบริษทั ทีท่ ำ� ธุรกิจแบบ B2C และ 75% ของบริษัทที่ทำ� ธุรกิจแบบ B2B ยังล้าหลังในแง่ของการ ปรับเปลี่ยน CX ซึ่งนั่นก่อให้เกิดปัญหา “ช่องว่างในการให้บริการ” โดยมี ลูกค้าเพียงแค่ 8% เท่านัน้ ทีย่ อมรับว่าตนเองได้รบั ประสบการณ์ทเ่ี หนือกว่า เนือ่ งจากองค์กรส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญอย่างมากต่อประสบการณ์ลกู ค้า ดังนั้นผู้บริหารไอทีจึงมองว่าการแก้ไขปัญหาช่องว่างดังกล่าวถือเป็น ภารกิจส�ำคัญอย่างหนึ่ง แต่การด�ำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ว่านี้ นับเป็นเรื่องยาก ดังนั้นผู้บริหารไอทีจึงตกอยู่ในภาวะกดดันเพิ่มมากขึ้น

this has become a ‘must have’ with the bulk of those transactions online.

We’re Doing Great! Aren’t We? indicates that the top two priorities before COVID-19 –operational efficiency and the customer experience– remain the same after the pandemic has struck. Gartner also reports that 91% of organizations surveyed have CX as a primary or major goal of their digital business transformation efforts. The lockdown and the subsequent rush online have simply accelerated existing investments. After all, companies that might have considered good digital CX as a ‘nice to have’ when the many of their customer transactions were face-to-face now find that

The fact is that merely having basic digital service capabilities isn’t enough anymore–they must be first-grade. According to Gartner, more than two-thirds of companies compete mostly on the basis of CX–if they offer a mediocre experience, their customers will opt for the products or services of competitors–and those are only a few clicks away. This penny has clearly dropped for brands, with 80% believing they provide a superior proposition. However, this optimism is at odds with reality. According to Gartner, around 65% of B2C and 75% of B2B companies are falling behind in their CX transformations: this is creating a “delivery gap”, with only 8% of customers agreeing that the experience they get from brands is superior. Given the primacy of customer experience in most

November-December 2021


อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน แน่นอนว่าฝ่ายไอทีต้องเผชิญกับแรงกดดันมาโดยตลอด ทั้งในเรื่องของการดูแลรักษาระบบไอทีท่ีมีอยู่ และการพัฒนา แอปพลิเคชัน ระบบ และโครงสร้างพื้นฐานใหม่ที่จ�ำเป็นส�ำหรับ การน�ำเสนอประสบการณ์ดจิ ทิ ลั ให้แก่ลกู ค้าเพือ่ รองรับอนาคต และ ทุกวันนี้แรงกดดันดังกล่าวไปถึงจุดแตกหักที่ฝ่ายไอทีไม่สามารถ แบกรับได้อกี ต่อไป ก่อนหน้านีท้ พี่ นักงานยังท�ำงานอยูใ่ นองค์กรทีม่ ี ระบบรักษาความปลอดภัยทีเ่ ข้มงวด ‘การดูแลระบบให้ทำ� งานได้อย่าง ต่อเนือ่ ง’ ก็ถอื เป็นงานทีย่ ากพอแล้ว แต่ปจั จุบนั ยังต้องเจอโจทย์ใหม่ เมือ่ พนักงานหลายร้อยหรือหลายพันคนท�ำงานจากทีบ่ า้ น ส่งผลให้ ฝ่ายไอทีท�ำงานหนักขึ้นจนไม่มีเวลาตอบสนองต่อความต้องการ หรือความจ�ำเป็นในอนาคตของธุรกิจ

ยกระดับจากแนวทางแบบ Agile ไปสู่แนวทางใหม่

แนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบเก่าทีเ่ ป็นขัน้ ตอนแบบ ไล่ระดับลงมา หรือทีเ่ รียกว่าแนวทางแบบ ‘Waterfall’ กลายเป็นเรือ่ ง ล้าสมัยไปแล้ว และแม้กระทั่งแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ ‘Agile’ ก็ยงั ไม่สามารถตอบสนองต่อตารางเวลาทีเ่ ร่งรีบในการติดตัง้ ใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อรองรับความต้องการของธุรกิจในปัจจุบัน ทางทีด่ ผี บู้ ริหารไอทีควรพัฒนาต่อยอดไปให้ไกลกว่าแนวทาง แบบ Agile โดยปรับใช้แนวทางใหม่ในการพัฒนาแอปพลิเคชันที่มี การใช้ระบบอัตโนมัตขิ นั้ สูง ระบบอัจฉริยะ และความสามารถในการ น�ำมาใช้ซ้�ำได้ ฝ่ายไอทีและองค์กรธุรกิจโดยรวมจะต้องเลิกมองว่า ช่องทางติดต่อและแอปพลิเคชันต่างๆ ส�ำหรับขัน้ ตอนการด�ำเนินการ ของลูกค้าเป็นระบบที่แยกออกจากกัน ซึ่งแต่ละระบบจะถูกพัฒนา

organization’s priorities, closing this gap is something CIOs believe is a key part of their remit. However, delivering on this ambition is easier said than done: CIO are now under more pressure than ever before. There has always been a tension between maintaining the existing IT estate and building the applications, systems and infrastructure that is needed to invest in creating the digital customer experiences of the future. That tension has now reached breaking point. ‘Keeping the lights on’ was difficult enough when employees were safely ensconced in secure corporate locations; now that they are distributed across hundreds or even thousands of individual home-working spaces, this is eating up even more resources, leaving little left over to attend to the future needs of the business.

November-December 2021

และจัดการโดยทีมงานที่ก�ำหนดไว้เฉพาะเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี ที่แตกต่างกัน เพื่อตอบโจทย์ความต้องการด้านธุรกิจโดยใช้ทรัพยากรที่มี อยูอ่ ย่างจ�ำกัด ผูบ้ ริหารไอทีจำ� เป็นต้องปรับใช้แพลตฟอร์มทีท่ นั สมัย ซึ่งขับเคลื่อนด้วยระบบ AI เพื่อเร่งการท�ำงานที่มีอยู่และก้าวให้ทัน กับเทคโนโลยีใหม่ แพลตฟอร์มนี้จะช่วยเพิ่มความรวดเร็วให้แก่ กระบวนการพัฒนาแอปพลิเคชันทุกประเภทส�ำหรับลูกค้า โดย ครอบคลุมทุกช่องทางการติดต่อ พร้อมทัง้ ให้ความยืดหยุน่ อย่างเต็มที่ และแพลตฟอร์มดังกล่าวยังรองรับการสร้าง “ระบบประสบการณ์”

Beyond Agile

Traditional ‘waterfall’ application development approaches are now (rightly) seen as archaic. But even so-called ‘Agile’ methodologies can’t meet the accelerated deployment schedules that businesses now demand if they rely on old ways of building software. Instead, IT leaders need to move beyond Agile to embrace a new approach to application development that embraces much higher degrees of automation, intelligence and repeatability. The IT function–and the business as a whole– must stop treating the different touchpoints and applications that comprise their digital customer journeys as silos, each of which need to be developed and managed individually by different teams developing in different technologies. To square the circle of business expectations and scarce resources, IT leaders should embrace a modern, AI-powered platform that allows them to speed through their backlog and


ประกอบด้วยตรรกะทางธุรกิจ (Business Logic) กระบวนการ ข้อมูล และการบูรณาการโดยสามารถเชือ่ มต่อกับระบบอืน่ (เข้ากับบริการ ของบริษัทอื่น API หรือระบบหลักที่มีอยู่ เป็นต้น) และเนื่องจาก คอมโพเนนต์ท่ีว่านี้ถูกน�ำกลับมาใช้ส�ำหรับแอปพลิเคชันต่างๆ ทั้งหมด ดังนั้นเมื่อต้องการปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของลูกค้าทีเ่ ปลีย่ นไป กฎระเบียบ หรือพลวัตด้านการแข่งขัน ก็สามารถปรับเพียงครัง้ เดียวแล้วคัดลอกไปยังส่วนอืน่ ๆ ทีม่ กี ารใช้งาน คอมโพเนนต์นั้นๆ ได้ทันที สรุปก็คอื เพือ่ เพิม่ ความคล่องตัวให้กบั ธุรกิจ ฝ่ายไอทีจะต้อง เปลี่ยนย้ายจากแนวทางการพัฒนาแบบ Agile ไปสู่แนวทางใหม่ ส�ำหรับการน�ำเสนอซอฟต์แวร์ ซึง่ จะช่วยแก้ไขปัญหาช่องว่างระหว่าง สิง่ ทีอ่ งค์กรธุรกิจเชือ่ ว่าตนเองก�ำลังน�ำเสนอ กับประสบการณ์จริงที่ ลูกค้าได้รบั รวมไปถึงการตอบสนองทีร่ วดเร็วอย่างทีล่ กู ค้าต้องการ

(Experience System) ซึ่งหมายถึงชุดคอมโพเนนต์ หรือโมดูลที่ เกีย่ วข้องกับประสบการณ์ สามารถน�ำกลับมาใช้ซำ�้ ได้อย่างง่ายดาย ส�ำหรับพัฒนาช่องทางและแอปพลิเคชันต่างๆ ช่วยให้บคุ ลากรไอที ไม่ตอ้ งท�ำงานพัฒนาทีซ่ ำ�้ ซ้อนกัน ทัง้ ยังช่วยลดความยุง่ ยากซับซ้อน และเพิม่ ความรวดเร็วในการน�ำแอปพลิเคชันและบริการออกสูต่ ลาด โดยทั้งหมดนี้มีความสอดคล้องกันส�ำหรับทุกขั้นตอนการ ด�ำเนินการของลูกค้าบนระบบดิจทิ ลั คอมโพเนนต์ของแอปพลิเคชัน ที่ประกอบด้วย Experience System ที่สร้างขึ้นบนแพลตฟอร์ม ดังกล่าว นอกจากจะมี UI และองค์ประกอบด้านภาพแล้ว ยัง

keep up with new technologies. One that accelerates the development process for any kind of customer application, across any touchpoint, while also delivering full flexibility. One that allows them to create an “experience system”: a set of experience components, or modules, that can easily be reused across different touchpoints and applications, essentially eliminating duplicate development work, massively reducing complexity and accelerating time to market–all the while ensuring consistency across their digital customer journeys. The application components that comprise an Experience System built on such a platform, may include a mesh of, not only UI and visual elements, but also business logic, processes, data and integrations (with third party services, APIs or existing core systems, for example). And because they are reused across the entire application portfolio, any changes made in response to changing customer preferences, regulatory requirements or

เอาท์ซิสเต็มส์ (OutSystems) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2544 ด้วยพันธกิจในการเสริมสร้างขีดความสามารถให้แก่ องค์กรต่างๆ ส�ำหรับการสร้างสรรค์นวัตกรรมผ่านซอฟต์แวร์ แพลตฟอร์ ม แอปพลิ เ คชั น OutSystems ประกอบด้ ว ย เครื่องมือประสิทธิภาพสูงที่เชื่อมต่อกันและขับเคลื่อนด้วย เทคโนโลยี AI ช่วยให้นกั พัฒนาสามารถสร้างและติดตัง้ ใช้งาน แอปพลิเคชันที่หลากหลายได้อย่างรวดเร็ว ตอบโจทย์ความ ต้องการของทุกภาคส่วนภายในองค์กรด้วย Community Member กว่า 435,000 ราย

competitive dynamics are made once, and instantly replicated everywhere they are used. In short, achieving the agility the business requires of the IT function means moving beyond Agile development methodologies into new ways of delivering software. This is the only realistic means of closing the gap between what the business believes it is delivering, the experience their customers actually get, and the speed at which they expect it. OutSystems was founded in 2001 with the mission to give every organization the power to innovate through software. The OutSystems modern application platform’s high productivity, connected, and AI-assisted tools help developers rapidly build and deploy a full range of applications anywhere the organization requires. With more than 435,000 community members.

November-December 2021


IT Article

> ปีเตอร์ แชมเบอร์ส กรรมการผู้จัดการ บริษัท AMD ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และประเทศญี่ปุ่น

https://pixabay.com/th/photos-starup-business-working-594132/

ก่อนการระบาดของ COVID-19 บริษัทข้ามชาติ ระดับชัน้ น�ำครุน่ คิดเรือ่ งแนวคิดการท�ำงานรูปแบบไฮบริด และมีพนักงานไม่มากนักที่ท�ำงานในรูปแบบไฮบริดนี้ อย่างไรก็ตาม ด้วยอุปสรรคทางวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย และเทคโนโลยี จึงเป็นไปได้ยากที่ธุรกิจจะจินตนาการ ไปถึ ง การเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบการท� ำ งานที่ มี อ ยู ่ ใ น อุตสาหกรรมไปสูร่ ปู แบบไฮบริด เพราะการเปลีย่ นแปลง เชิงโครงสร้างเช่นนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้หากปราศจากตัวเร่ง ปัจจุบันท่ามกลางสถานการณ์โรคระบาด หลาย องค์กรเริ่มมองว่า ท้ายที่สุดธุรกิจสามารถด�ำเนินและ เห็นผลก�ำไรได้จากค่าใช้จา่ ยทีล่ ดลงไปจนถึงประสิทธิภาพ การท� ำ งานและขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจของพนั ก งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ก่อนหน้านีม้ าตรการฉุกเฉินด้านการจัดการความปลอดภัย ถูกมองว่าเป็นเรือ่ งยุง่ ยาก แต่ในปัจจุบนั มาตรการเหล่านี้ ในหลายๆ กลุ่มอุตสาหกรรมเริ่มมีความสมเหตุสมผล มากขึ้น บริษัทข้ามชาติต่างมองหาวิธีน�ำการท�ำงาน รูปแบบไฮบริดมาใช้มากขึน้ ซึง่ ในอีกไม่นานจะมีองค์กร ต่างๆ เริ่มน�ำมาปฏิบัติตามมากขึ้น

กำ�หนดบริบท : การทำ�งานรูปแบบไฮบริด ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกำ

Source : Remote work : A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’. 2020 Deloitte Consulting Pte Ltd.

จากการศึกษาของ Deloitte พบว่า “อาจมีพนักงาน จ�ำนวนมากถึง 47.8 ล้านคน จาก 6 ประเทศในภูมภิ าค อาเซียน ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลปิ ปินส์ ไทย และเวียดนาม ปรับเปลี่ยนไปท�ำงานรูปแบบจาก ระยะไกลมากขึ้นในอนาคต”1 ลักษณะของงานจะเป็นตัวก�ำหนดศักยภาพในการ พิจารณาการท�ำงานในรูปแบบไฮบริดหรือแบบระยะไกล ในบางอุตสาหกรรม เช่น ก่อสร้าง และเกษตรกรรมนั้น อาจไม่เหมาะเสียทีเดียว ในท�ำนองเดียวกัน จากสัดส่วน การครองตลาดด้านอุตสาหกรรมบริการ คาดว่าสิงคโปร์ November-December 2021

และมาเลเซียจะเป็นผูน้ ำ� ในภูมภิ าคนี้ ในการเปลีย่ นผ่าน เชิงโครงสร้างไปสู่รูปแบบการท�ำงานระยะไกล โดยมี พนักงานทีท่ ำ� งานนอกสถานทีส่ งู ถึงร้อยละ 45 และ 26 ตามล�ำดับ2 ประเทศที่มีลักษณะเศรษฐกิจ เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม อาจเห็นการ เปลี่ยนแปลงด้านผลผลิตการท�ำงานที่เพิ่มขึ้นจากการ เดินทางทีล่ ดลง โดยอาจมีพนักงานท�ำงานจากระยะไกล สูงขึ้นถึง 15%, 16%, 22% และ 13% ตามล�ำดับ3 ในขณะที่ลักษณะของงานจะมีบทบาทส�ำคัญ ในการก�ำหนดว่าสามารถท�ำงานจากระยะไกลได้ไหม ปัจจัยอื่นๆ เช่น วัฒนธรรม และการเข้าถึงเทคโนโลยีก็ มีความส�ำคัญเช่นกัน ภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ทีม่ จี ำ� นวน ประชากรประมาณ 60% ของประชากรโลก เป็นหนึ่ง ในภู มิ ภ าคที่ มี ค วามหลากหลายด้ า นวั ฒ นธรรมและ เทคโนโลยี ซึ่งทั้ง 2 ประเด็นเป็นปัจจัยส�ำคัญในการ ก�ำหนดแนวคิดว่าจะน�ำรูปแบบการท�ำงานแบบไฮบริด มาปรับใช้อย่างไร เช่น วัฒนธรรมการท�ำงานของพนักงาน ชาวญีป่ นุ่ ทีเ่ รียกกันว่า “Presenteeism” นักวิจยั ระบุวา่ พนักงานจ�ำนวนหนึ่งไม่สะดวกใจที่จะท�ำงานที่บ้าน เนือ่ งจากไม่มน่ั ใจว่า “นายจ้างจะประเมินผลการท�ำงาน ของตนอย่างถูกต้องและมีความเป็นธรรม”4 นอกเหนือจากข้อมูลข้างต้น ปรากฏชัดเจนว่า การท�ำงานแบบไฮบริดบางประเภทจะยังสามารถท�ำได้ ท่ามกลางสถานการณ์การระบาดทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ การท�ำงาน รูปแบบนี้มีประโยชน์ที่สำ� คัญหลายประการ และวิธีที่ดี ที่สุดส�ำหรับองค์กรในการเก็บเกี่ยวประโยชน์เหล่านี้ ให้ดีท่ีสุด คือการลงทุนในเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพื่อ ช่วยให้พนักงานท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิผล และปลอดภัย


วิวัฒนาการของภัยคุกคามและการฉวยโอกาส ของแฮกเกอร์

จากการศึกษาที่สนับสนุนโดยบริษัท Cisco เปิดเผยว่า ภัยคุกคามหรือการแจ้งเตือนการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ เพิ่มขึ้นถึง 25% หรือมากกว่านั้นจากจ�ำนวนธุรกิจ 6 ใน 10 แห่ง ทีท่ ำ� การส�ำรวจ 62% ของบริษทั ทีท่ ำ� การส�ำรวจระบุวา่ การตรวจสอบ ความปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูลเป็นความท้าทายด้านความปลอดภัย ทางไซเบอร์อนั ดับต้นๆ และ 85% ระบุวา่ การรักษาความปลอดภัย ทางไซเบอร์เป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดของตน ข้อกังวลนี้มีเหตุผล กลุ่มแฮกเกอร์มักฉวยโอกาสจากการ เปลี่ยนแปลงการท�ำงานไปสู่การท�ำงานระยะไกลอย่างกะทันหัน ซึ่งหลายธุรกิจยังไม่มีระบบรักษาความปลอดภัยที่เพียงพอและ โครงสร้างพื้นฐานระบบคลาวด์ที่มีช่องโหว่ การโจมตีทางไซเบอร์ บนระบบ Domain Name Systems (NDS) ในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ นั้น มีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่เกิดเหตุการณ์โรคระบาด และ จากข้อมูลของ IDC InfoBrief ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนโดย Efficient iP ระบุว่า “ประเทศมาเลเซียได้รับความเสียหายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทีส่ ดุ ถึง 78% มีคา่ ใช้จา่ ยเฉลีย่ ต่อการโดนโจมตีทาง DNS เพิม่ ขึน้ จาก 442,820 เหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2562 เป็น 787,200 เหรียญ สหรัฐฯ ในปีทผี่ า่ นมา” การโจมตีรปู แบบ Phishing ยังคงเพิม่ ขึน้ เป็น ทวีคณ ู ในภูมภิ าคนี้ ซึง่ ประเทศสิงคโปร์มอี ตั ราการโดนโจมตีรปู แบบ Phishing สูงเป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียอยู่ที่ 46% และตามมาด้วย มาเลเซียที่ 43%5 แฮกเกอร์มกั ฉวยโอกาสใช้มลั แวร์เพือ่ รวบรวมข้อมูลทีม่ คี วาม ซับซ้อน เช่น Remote Access Trojan โปรแกรมส�ำหรับขโมยข้อมูล และที่คล้ายคลึงกัน เพื่อขโมยข้อมูลส�ำคัญของบริษัทไปจนถึงเงิน องค์กรควรก�ำหนดมาตรฐานของซอฟต์แวร์ตรวจสอบการรักษา ความปลอดภัยที่สามารถเข้าถึง และลดความเสี่ยงของภัยคุกคาม และช่องโหว่อย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องข้อมูลขององค์กร ระบบ Secured-Core PC เป็นระบบที่ริเริ่มโดย Microsoft ได้รับการ สนับสนุนจาก AMD ท�ำให้พนักงานสามารถบูทแล็ปท็อปด้วยฟีเจอร์ ด้านความปลอดภัยทีแ่ ข็งแกร่ง ช่วยให้มน่ั ใจว่าได้รบั การปกป้องจาก ช่องโหว่ของเฟิร์มแวร์ และการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาต พื้นฐานการรักษาความปลอดภัยบนฮาร์ดแวร์ : ระบบรักษา ความปลอดภัยทีร่ ะดับของฮาร์ดแวร์ (Hardware Root of Trust) และ การเข้ารหัสหน่วยความจ�า สิ่งที่ต้องระลึกถึงเสมอเมื่อมีการซื้อหรืออัปเกรดฮาร์ดแวร์ ให้กับพนักงาน คือคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม จะช่วยให้องค์กรธุรกิจ มีภาพรวมแนวทางในการรักษาความปลอดภัยและในหลากหลายขัน้ นอกเหนือจากฟีเจอร์และฟังก์ชันการรักษาความปลอดภัยบน คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตั กิ าร (OS) แล้ว คอมพิวเตอร์ทม่ี ฟี เี จอร์ การรักษาความปลอดภัยภายในตัวชิปยังจะได้รับประโยชน์จาก การป้องกันที่มากขั้นตอนขึ้น เพิ่มความมั่นใจในการท�ำงานตั้งแต่ การเปิดเครื่องอย่างปลอดภัยไปจนถึงการท�ำงาน

https://pixabay.com/th/photos-security-network-internet-7-3484137/

“Hardware Root-of-Trust” เป็นพื้นฐานของฟีเจอร์ด้าน ความปลอดภัยในด้านการประมวลผล ใช้คีย์เข้ารหัสเพื่อท�ำให้ การเปิดเครือ่ งท�ำงานอย่างปลอดภัย เป็นองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญและ เป็นสาเหตุทสี่ ถาปัตยกรรมบนโปรเซสเซอร์ของ AMD ต้องมาพร้อม ฟีเจอร์รกั ษาความปลอดภัยบนฮาร์ดแวร์ทร่ี จู้ กั กันในชือ่ AMD Secure Processor (ASP)6 ท�ำหน้าทีเ่ ป็นระบบรักษาความปลอดภัยทีร่ ะดับ ของฮาร์ดแวร์ (Hardware Root-of-Trust) ท�ำให้แพลตฟอร์มมีความ สมบูรณ์โดยการตรวจสอบสิทธิการเข้าถึงเฟิร์มแวร์ท่ีโหลดลงมา บนแพลตฟอร์ม หากตรวจพบว่ามีข้อผิดพลาดหรือมีการแก้ไข จะถูกปฏิเสธการเข้าถึงโดยอัตโนมัติ ช่วยให้ผใู้ ช้มคี วามมัน่ ใจในการ เปิดเครื่องท�ำงานได้อย่างปลอดภัยและมีชั้นรักษาความปลอดภัย เฟิร์มแวร์ที่เป็นภัย7 ดังนัน้ องค์กรต่างๆ เมือ่ ต้องซือ้ คอมพิวเตอร์จำ� เป็นต้องพิจารณา เครือ่ งทีม่ รี ะบบรักษาความปลอดภัยทีม่ คี วามหลากหลาย เมือ่ ผูค้ น จ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มมองหาสถานที่ท�ำงานที่หลากหลายขึ้น ท�ำให้เกิดความเสี่ยงต่างๆ มากขึ้นตามมา เช่น โน้ตบุ๊กถูกขโมย รวมถึงข้อมูลที่เป็นความลับและมีความส�ำคัญ ในกรณีของโน้ตบุ๊ก ถูกขโมย การเข้ารหัสแบบ Full Disk Encryption (FDE) เป็นแนว ป้องกันแรกในการปกป้องข้อมูลผูใ้ ช้ อย่างไรก็ตาม มันยังมีขอ้ จ�ำกัด ด้านการป้องกันและแฮกเกอร์ก็ยังมีวิธีที่สามารถเปิดดูข้อมูลของ ผู้ใช้ได้ในที่สุด ซึ่งแฮกเกอร์อาจถอดรหัสของคีย์การเข้ารหัสได้หาก สามารถเข้าถึงข้อความต่างๆ ได้ทั้งหมด รวมไปถึงการเข้ารหัสหรือ ถอดรหัสบนไดรฟ์ วิธีรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ คือ การเข้ารหัสบนหน่วยความจ�ำ (Encrypting The System Memory)8 ด้วยวิธีน้ีผู้ไม่ใช่เจ้าของเครื่องแล็ปท็อปนั้นๆ จะไม่สามารถผ่าน การเข้ารหัสแบบ FDE ไปได้ง่ายๆ เพราะต้องเข้ารหัสที่ถูกจัดไว้ใน หน่วยความจ�ำ นี่คือเหตุผลที่ว่าท�ำไมโปรเซสเซอร์ AMD ทั้งหมด ทีม่ าพร้อมเทคโนโลยี PRO จึงมีระบบรักษาความปลอดภัยหลายขัน้ รวมถึงเลเยอร์ของการป้องกันการเข้ารหัสด้วยฟีเจอร์ AMD Memory Guard ที่จะช่วยป้องกันไม่ให้สิ่งไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น November-December 2021


มาตรการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ระดับองค์กร

มาตรการป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ทไี่ ด้ผลทีส่ ดุ วิธหี นึง่ คือ การเปลีย่ น พฤติกรรมการใช้งานบนโลกออนไลน์ของพนักงาน ด้วยการจัดฝึกอบรมการ ป้องกันภัยในโลกไซเบอร์ทเ่ี หมาะสมอย่างสม�ำ่ เสมอ เนือ่ งจากภัยคุกคามต่างๆ มี วิวฒ ั นาการอย่างต่อเนือ่ ง จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีพ่ นักงานต้องคอยสอดส่องความเสีย่ ง ทีอ่ าจเกิดขึน้ ให้ความรูใ้ นเรือ่ งการแยกแยะกิจกรรมทางออนไลน์ทเ่ี ป็นอันตราย และการแก้ไขในเชิงรุก เมือ่ พนักงานได้รบั องค์ความรูด้ า้ นความเสีย่ งของภัยคุกคาม ทางไซเบอร์ พวกเขาจะมีความมัน่ ใจมากขึน้ ในการท�ำงานจากระยะไกลและมีความ ปลอดภัยในการท�ำงานมากขึ้นในอนาคต Virtual Private Network (VPN) เป็นสิ่งแรกที่ควรติดตั้งบนแล็ปท็อป ทุกเครื่อง เพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่าพนักงานที่ท�ำงานจากนอกออฟฟิศจะได้รับ ประโยชน์จากระดับการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เช่นเดียวกับอยูท่ ท่ี ำ� งาน ซึง่ VPN เป็นบริการทีม่ รี าคาสมเหตุสมผล สามารถใช้ได้ในอุปกรณ์ทหี่ ลากหลาย ตัง้ แต่แล็ปท็อป แทบเล็ต และสมาร์ทโฟน เป็นมาตรการป้องกันทีช่ ว่ ยให้มนั่ ใจว่า ข้อมูล บทสนทนา และพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของพนักงานจะได้รับการ เข้ารหัสและมีความปลอดภัย ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ แต่กส็ ามารถป้องกันได้เพียงในระดับหนึง่ เท่านัน้ การติดตัง้ ซอฟต์แวร์ปอ้ งกันไวรัส เชิงตัง้ รับหลังจากตรวจพบกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตทีเ่ ป็นอันตราย จะมีผลก็ตอ่ เมือ่ พนักงานทราบวิธีตรวจจับและระบุความเสี่ยงได้เท่านั้น สิ่งส�ำคัญที่ต้องจ�ำไว้คือ แฮกเกอร์มีวิธีการมากมายที่ท�ำให้ผู้ใช้ไม่สามารถตรวจพบ ถึงแม้ว่าผู้ใช้จะได้รับ การฝึกเรื่องภัยคุกคามทางไซเบอร์มาแล้ว เพราะฉะนั้นกันไว้ดีกว่าแก้! Cloud Security หรือความปลอดภัยบนระบบคลาวด์ เป็นอีกสิ่งที่ธุรกิจ ต้องจัดการเพือ่ ท�ำให้มน่ั ใจได้วา่ พนักงานจะสามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่างปลอดภัย เป็นที่ทราบกันดีว่าเครื่องมือการประชุมทางวิดีโอ (Video Conferencing) ได้รับ ความนิยมเป็นอย่างมากในช่วงเหตุการณ์โรคระบาด เนือ่ งจากมีประสิทธิภาพสูง ไม่เพียงแต่สามารถท�ำงานร่วมกันได้ แต่ยังสามารถติดต่อสื่อสารกับเพื่อนและ เพื่อนร่วมงานในช่วงเวลาที่มีข้อจ�ำกัดต่างๆ ได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม แม้ว่า เครือ่ งมือเหล่านีจ้ ะมีการรักษาความปลอดภัยทีด่ ใี นระดับหนึง่ แต่กย็ งั มีผไู้ ม่หวังดี ทีส่ ามารถเข้าถึงการประชุมทางวิดโี อได้ ธุรกิจต่างๆ ควรเตือนให้พนักงานตรวจสอบ ลิงค์เข้าประชุมทางวิดโี ออย่างรอบคอบ และน�ำระบบ Multi-Factor Authentication หรือ MFA เข้ามาใช้เพือ่ ท�ำการยืนยันตัวตนของผูเ้ ข้าร่วมประชุมทางวิดโี อทัง้ หมด

บทสรุป

เมื่อเราพูดถึงการเปลี่ยนแปลงการท�ำงานมาเป็นรูปแบบการท�ำงานจาก ระยะไกล สุดท้ายแล้วก็ไม่มีวิธีท่ีสามารถแก้ปัญหาได้อย่างครบวงจร แม้ว่าจะ ได้รับการส่งเสริมทั้งจากธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดเล็ก เพื่อให้พนักงานสามารถ ท�ำงานได้ในรูปแบบไฮบริดหรือระยะไกล เพราะเป็นการด�ำเนินงานทีม่ คี วามส�ำคัญ และมีความเสี่ยงหลายประการ เป็นสิ่งส�ำคัญที่ธุรกิจต้องประเมินความต้องการ ให้สามารถตอบโจทย์ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อน�ำมาลงทุนด้านเทคโนโลยีให้มี ความเหมาะสม จัดหาเครือ่ งมือทีจ่ ำ� เป็น และมีความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงาน ไม่ว่าพนักงานจะอยู่ที่ใด *ค�ำว่า “ไฮบริด” และ “ระยะไกล (รีโมต)” สามารถใช้เแทนกันได้ตลอดทั้งบทความ November-December 2021

เป็นเวลากว่า 50 ปีที่ AMD ขับเคลื่อน ให้เกิดนวัตกรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงทัง้ ในส่วน ของการประมวลผลกราฟิกและเทคโนโลยี เวอร์ชวลไลเซชันต่างๆ ซึง่ เป็นส่วนส�ำคัญส�ำหรับ วงการเกม เป็นแพลตฟอร์มระดับมืออาชีพ และเป็ น ศู น ย์ ก ลางข้ อ มู ล ผู ้ บ ริ โ ภคหลาย ร้อยล้านคน องค์กรธุรกิจชั้นน�ำที่จัดอยู่ใน กลุ่ม Fortune 500 และหน่วยงานวิจัยทาง วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ทวั่ โลก ต่างใช้เทคโนโลยี ของ AMD เพือ่ การพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการใช้ชวี ติ การท�ำงาน และความ บันเทิง พนักงานของ AMD ทุกคนทั่วโลก ล้วนมุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่จะก้าวข้าม ขอบเขตของข้อจ�ำกัดทั้งหลาย ท่านสามารถดู ข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ AMD (NASDAQ: AMD) และกระบวนการสร้างสรรค์ต่างๆ ที่เราท�ำใน ปัจจุบันและที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ที่ Website, Blog, Facebook และ Twitter

1

Indranil Roy, Duleesha Kulasooriya, Clarissa Turner and Vicnan Pannirselvam, Deloitte Consulting Pte. Ltd., “Remote work, A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’”, 2020, p5 2 Indranil Roy, Duleesha Kulasooriya, Clarissa Turner and Vicnan Pannirselvam, Deloitte Consulting Pte. Ltd., “Remote work, A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’”, 2020, p5 3 Indranil Roy, Duleesha Kulasooriya, Clarissa Turner and Vicnan Pannirselvam, Deloitte Consulting Pte. Ltd., “Remote work, A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’”, 2020, p5 4 Nippon.com, Implementation of Telework in Japan Continues to Lag, May 2021 5 IDC InfoBrief, sponsored by Efficient iP, 2020 Global DNS Threat Report, doc #EUR146302820, June 2020 6 Advanced Micro Devices, “AMD PRO Security”, 2021 7 Akash Malhotra, Advanced Micro Devices, “Full-Stack, Multilayered Security Features for a Changing World”, 2020 8 Akash Malhotra, Advanced Micro Devices, “Full-Stack, Multilayered Security Features for a Changing World”, 2020


ปัจจุบนั แอปพลิเคชันอวาตาร์สของ TeSys island ได้ ถู ก เพิ่ ม ไว้ ใ นไลบรารี ข องฟั ง ก์ ชั น ที่ เ ป็ น อวาตาร์ ส ซึง่ เป็นดิจทิ ลั ออปเจ็ก ทีผ่ สานรวมฟังก์ชนั การท�ำงานที่ ตัง้ โปรแกรมล่วงหน้าได้ แอปพลิเคชันอวาตาร์ส 2 ตัวใหม่ ทีก่ ำ� หนดค่าได้ ตัวหนึง่ ส�ำหรับแอปพลิเคชันด้านการสูบน�ำ้ อีกตัวหนึง่ ส�ำหรับแอปพลิเคชันด้านการขนถ่ายล�ำเลียง ต่ า งได้ รั บ การออกแบบมาเพื่ อ ให้ ค วามมั่ น ใจเรื่ อ ง การผสานการท�ำงานเข้ากับโครงสร้างพืน้ ฐานของระบบ ทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั ได้งา่ ย ผ่านการเชือ่ มต่อกับ Bus Coupler และโมดูล I/O ของ TeSys island ผู้ให้สามารถเลือก โหมดการควบคุมว่าจะให้เป็นแบบรีโมต (ขับเคลือ่ นด้วย PLC) ระบบอัตโนมัติ (ขับเคลือ่ นด้วยตัวแปรกระบวนการ) หรือเป็นแบบ Local (ขับเคลือ่ นด้วยผูด้ ำ� เนินการ) ฟีเจอร์ ของแอปพลิเคชันอวาตาร์สให้ศักยภาพการด�ำเนินงาน ที่ยืดหยุ่นของระบบบริหารจัดการโหลดดิจิทัล TeSys island ด้วยวิธีใหม่หลายแนวทางด้วยกัน

คุณสมบัติ

• โหมดควบคุมอัตโนมัติ (Autonomous Control Mode) โหมด อัตโนมัติช่วยให้ TeSys island ควบคุมโหลดได้โดยอิสระจาก PLC ซึ่ง TeSys อวาตาร์ส สามารถตรวจสอบค่าลอจิกทีม่ าจากเซนเซอร์ (เช่น ความดัน การไหล) และดูให้ตรงกับเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ลว่ งหน้า เพือ่ ให้แน่ใจว่าโหลดท�ำงานในรูปแบบ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ตัวอย่างเช่น ในโหมดนี้ แอปพลิเคชันสามารถท�ำงานได้อย่าง ต่อเนื่องแม้ว่าจะไม่มีการเชื่อมต่อกับ PLC ก็ตาม • การแจ้งเตือนเชิงพยากรณ์ (Predictive Alarms) ระบบ TeSys island สามารถสร้างสัญญาณเตือนและแจ้งเตือนเมื่อก�ำลังจะเกิดความล้มเหลวใน ระดับโหลดก่อนทีค่ วามล้มเหลวจะเกิดขึน้ จึงช่วยลดการดาวน์ไทม์แบบฉับพลัน การแจ้งเตือนเชิงพยากรณ์จะถูกกระตุ้นจากฟังก์ชันการแจ้งเตือนเพื่อป้องกัน ทีผ่ สานรวมอยูใ่ นระบบ (สร้างขึน้ จากค่าเซนเซอร์ เช่น อุณหภูมหิ รือความหนืด ของของเหลว) และเงื่อนไขการป้อนตัวแปรของกระบวนการแอปพลิเคชันของ อุปกรณ์ (เช่น ระดับของเหลวและความดันการไหลในปั๊ม) ตัวอย่างเช่น ระบบ สามารถเอาค�ำเตือนทัง้ 2 เรือ่ งมารวมกันและระบุวา่ มีโอกาสสูงทีป่ ม๊ั จะไม่มนี า้� หากไม่รีบด�ำเนินการแก้ไข

Lexar ผู้นำ� โซลูชันหน่วยความจ�า แฟลชระดั บ โลก เปิ ด ตั ว Lexar ® Professional CFexpressTM Type B USB 3.2 Gen 2x2 Reader อุปกรณ์ ส�ำหรับอ่านข้อมูลจากการ์ดหน่วยความจ�ำ CFexpressTM Type B ส�ำหรับนักสร้างสรรค์ ที่ต้องการความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูล แม้ในขณะเดินทาง ออกแบบมาเพือ่ ใช้กบั การ์ ด หน่ ว ยความจ� ำ CFexpress TM Type B โดยเฉพาะ Lexar Professional CFexpressTM Type B USB 3.2 Gen 2x2 Reader ช่วยให้คุณน�ำข้อมูลภาพถ่าย คุ ณ ภาพสู ง จ� ำ นวนมหาศาลและวิ ดี โ อ RAW 8K จากการ์ด CFexpressTM Type B ไปยังคอมพิวเตอร์ของคุณผ่านทางพอร์ต USB 3.2 Gen 2x2 ได้อย่างรวดเร็ว ช่วยลดเวลาขั้นตอนการท�ำงานของคุณ ได้ตั้งแต่สถานที่ถ่ายท�ำไปจนถึงขั้นตอน หลังการถ่ายท�า

คุณสมบัติเด่น

• ส่ ง มอบประสิ ท ธิ ภ าพในการถ่ า ยโอนข้ อ มู ล ที่รวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นไฟล์วิดีโอ RAW 8K และ ภาพถ่ายคุณภาพสูง • ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี USB 3.2 Gen 2x2 เพื่อลดเวลาการรับส่งข้อมูลในเวิร์กโฟลว์ • ความเร็วในการอ่านสูงถึง 1700MB/s1 • ขนาดกะทัดรัด ดีไซน์เพื่อการพกพา ส�ำหรับ ช่างภาพและงานถ่ายวิดีโอทุกที่ทุกเวลา • มาพร้อมสาย USB Type-C to USB Type-A และสาย USB Type-C to USB Type-C ความยาว 30 เซนติเมตร • ออกแบบมาเพื่ อ ใช้ กั บ การ์ ด CFexpress TM Type B โดยเฉพาะ • การรับประกัน 5 ปี ทั้งนี้ การออกแบบผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของ Lexar ผ่านการทดสอบอย่างละเอียดใน Lexar Quality Labs ที่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับ ทดสอบอุปกรณ์ดจิ ทิ ลั มากกว่า 1,100 รายการ เพือ่ ให้มั่นใจถึงประสิทธิภาพ คุณภาพ ความเข้ากันได้ และความน่าเชื่อถือ ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป ตามการก�ำหนดค่าระบบและความเร็วของการ์ด

November-December 2021


PEA ร่วมบริจาคโลหิตเพื่อช่วยเหลือสภากาชาด ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19

ปตท. ร่วมทุน ฟ็อกซ์คอนน์ เตรียมจัดตั้งโรงงานผลิต ยานยนต์ไฟฟ้าครบวงจร พร้อมดันไทยสูศ่ นู ย์กลางอาเซียน

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) ร่วมบริจาคโลหิตช่วงการระบาดของ COVID-19 เนือ่ งจากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท�ำให้มปี ริมาณ โลหิตทั่วประเทศขาดแคลนไม่เพียงพอต่อความต้องการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จึงร่วมกับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จัดรถรับบริจาคโลหิตเป็น วาระพิเศษ ณ ส�ำนักงานใหญ่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีผู้บริหาร พนักงาน ลูกจ้าง การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคร่วมบริจาคโลหิต ได้ปริมาณโลหิต 41,850 ซีซี ส่งมอบโลหิต ให้ศนู ย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ต่อไป เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการช่วยเหลือ สภากาชาดไทยที่ประสบกับสถานการณ์การขาดแคลน

บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ได้ทำ� การ MOU กับ บริษทั หงไห่ พริซชิ น่ั อินดัสทรี จ�ำกัด (Hon Hai Precision Industry Co., Ltd.) หรือ ฟ็อกซ์คอนน์ (Foxconn) ซึ่งในความร่วมมือด้านการลงทุนอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าใน ประเทศไทย ก็เพื่อการสร้างฐานการผลิตยานยนต์พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย โดยใช้ความเชี่ยวชาญของฟ็อกซ์คอนน์ ทางด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต และพัฒนาแพลตฟอร์มยานยนต์ไฟฟ้า ผสานกับองค์ความรู้การด�ำเนินธุรกิจใน ประเทศไทยของกลุม่ ปตท. ซึง่ จะช่วยผลักดันให้อตุ สาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย เปลี่ยนผ่านสู่เทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าสมัยใหม่ และเพิ่มขีดความสามารถการ แข่งขันในระดับสากลมากยิ่งขึ้น การร่วมทุนในครั้งนี้ จะกระตุ้นให้เกิดการลงทุน ในประเทศ เสริมสร้างทักษะและอาชีพให้กับประชาชน ซึ่งนอกจากจะช่วยเพิ่ม ศักยภาพทางธุรกิจสู่เวทีโลกในอนาคตแล้ว ยังเป็นการตอบสนองนโยบายและ ทิศทางการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าของภาครัฐ ที่พร้อมขับเคลื่อนประเทศให้บรรลุ เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกอีกด้วย

Chevron จับมือ EA Anywhere เล็งขยายบริการ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า รองรับดีมานด์พลังงานทางเลือก เติบโตในไทย

บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ “คาลเท็กซ์” ผนึกก�ำลังกับบริษัท พลังงานมหานคร จ�ำกัด “EA Anywhere” เติมเต็มความ สะดวกสบายให้กบั ผูใ้ ช้รถยนต์ไฟฟ้า ขยายบริการสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าในสถานี บริการน�้ำมันคาลเท็กซ์ รองรับความต้องการยานยนต์ไฟฟ้าที่ก�ำลังเติบโตในไทย สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐ เพือ่ ก้าวเข้าสูก่ ารเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า และชิน้ ส่วนทีส่ ำ� คัญของโลก ทัง้ นี้ สถานีอดั ประจุไฟฟ้า EA Anywhere ในสถานีบริการ น�้ำมันคาลเท็กซ์ ประกอบไปด้วย เครื่องชาร์จระบบปกติ AC (Normal Charger) และระบบชาร์จเร็ว DC (Fast Charge) ทีใ่ ช้เวลาเพียง 15-20 นาที (เวลาในการชาร์จ ขึ้นอยู่กับรถแต่ละรุ่น) รวมทั้งยังอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการด้วยโมบายล์ แอปพลิเคชัน “EA Anywhere” บนมือถือ ทัง้ ในระบบปฏิบตั กิ าร IOS และ Android ที่เข้าใจง่าย สะดวกรวดเร็ว และปลอดภัย

November-December 2021

Dow ร่วมพัฒนารถแข่ง EV ผนึก “จากัวร์ เรซซิ่ง” ลงชิงชัย Formula E ระดับโลก

บริษัทดาว (Dow) ผู้น�ำด้านวัสดุศาสตร์ (Material Science) ระดับโลก ได้รว่ มเป็นพันธมิตรอย่างเป็นทางการกับทีมแข่งชัน้ น�ำของโลกอย่างจากัวร์ เรซซิง่ (Jaguar Racing) ในการแข่งขันรถยนต์ไฟฟ้าทางเรียบชิงแชมป์โลก (ABB FIA Formula E World Championship) เพื่อน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมของ Dow ด้วยประสบการณ์มากกว่า 100 ปี มาเพิม่ สมรรถนะให้กบั รถแข่งพลังงานไฟฟ้าของ ทีม พร้อมความเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ทัง้ นี้ การแข่งขันรถยนต์ไฟฟ้าชิงแชมป์โลก (Formula E) เป็นการแข่งขันมอเตอร์สปอร์ตพลังงานไฟฟ้าที่ล้�ำสมัย ซึ่ง Dow ได้ผนึกก�ำลังกับทีมจากัวร์ เรซซิ่ง เพื่อสร้างสรรค์รถยนต์ไฟฟ้าแห่งอนาคต โดยน�า เทคโนโลยีดา้ นวัสดุศาสตร์มาเพิม่ ความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และสมรรถนะ ให้กบั รถยนต์ EV ทัง้ ในและนอกสนามแข่ง พร้อมตอบโจทย์รถยนต์คาร์บอนต�า่


GPSC ร่วมกับ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ มอบชุดตรวจ COVID-19 โครงการลมหายใจเดียวกัน

NEPS ติดตั้งโซลาร์ให้กับ “แอสเซทไวส์” ส่งมอบพลังงาน สะอาดให้กับสังคม

บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC น�ำโดย ณรงค์ชยั วิสตู รชัย ผูจ้ ดั การฝ่ายอาวุโสรัฐกิจสัมพันธ์และกิจการสาธารณะ GPSC แกนน�ำนวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้ากลุ่ม ปตท. ร่วมกับศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในฐานะพันธมิตรด้านนวัตกรรมเพื่อสังคม ได้ส่งมอบนวัตกรรมชุดตรวจ Nano Covid Antigen Rapid Test และชุดตรวจ Antigen Test Kit จ�ำนวน 10,000 ชุด รวมมูลค่า 3,000,000 บาท ให้กบั นพ.วิชาญ ปาวัน ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันป้องกัน ควบคุมโรคเขตเมือง (สปคม.) เพื่อน�ำไปใช้ตรวจคัดกรองผู้ป่วย ณ ศูนย์คัดกรอง COVID-19 โครงการลมหายใจเดียวกัน

บริษัท นิว เอ็นเนอร์จี้ พลัส โซลูชั่นส์ จ�ำกัด หรือ NEPS ผู้น�ำด้าน การให้บริการพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและได้มาตรฐานระดับ สากล เปิดเผยว่า พลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดก�ำลังเป็นเทรนด์ท่ีหลาย ภาคส่วนต่างหันมาให้ความสนใจ และมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ขึ้นมารองรับ ต่อความต้องการในปัจจุบัน ทั้งนี้ เพื่อเป้าหมายการลดใช้พลังงานและลดปัญหา สภาวะโลกร้อน ส�ำหรับ NEPS ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้รับความไว้วางใจจาก บริษัท แอสเซทไวส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ASW ซึง่ เหตุผลส�ำคัญถึงความร่วมมือการติดตัง้ ระบบโซลาร์เซลล์กับ NEPS ครั้งนี้ว่า มาจากนโยบายมุ่งพัฒนาธุรกิจแบบยั่งยืน ภายใต้แนวคิด “GrowGreen” ของบริษัทฯ ที่ต้องการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย ควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งการน�ำพลังงานแสงอาทิตย์เข้ามาใช้ทดแทน พลังงานไฟฟ้า นับเป็นหนึ่งในช่องทางส�ำคัญที่จะช่วยลดการใช้พลังงานที่มีอยู่ อย่างจ�ำกัดของโลกได้เป็นอย่างดี

NIA และ HUAWEI Thailand ร่วมพัฒนาบ่มเพาะสตาร์ตอัป โชว์ผลงานนวัตกรรมเทคโนโลยีเชิงลึกด้าน 5G

10th Anniversary T&D Power Tech (Thailand) Co., Ltd.

ปริวรรต วงษ์ส�ำราญ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการนวัตกรรม ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. (NIA) และ วรกาน ลิขิตเดชาศักดิ์ Chief Technology Officer (CTO), Carrier Network Business Group บริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้จดั กิจกรรม DEMO DAY ในงาน Startup Thailand Club ครัง้ ที่ 6 หัวข้อ 5G Technology ในรูปแบบกิจกรรม ออนไลน์ทาง Facebook Startup Thailand ในโครงการพัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้น เทคโนโลยีเชิงลึกด้าน 5G ปีท่ี 3 เพือ่ มุง่ ส่งเสริมวิสาหกิจเริม่ ต้นและผูป้ ระกอบการ นวัตกรรมในระยะเริม่ ต้นเข้าสูก่ ระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตน้ แบบด้านเทคโนโลยี เชิงลึกด้าน 5G (Pre-Incubator) และผลักดันเข้าสู่กระบวนการบ่มเพาะวิสาหกิจ เริม่ ต้น (Incubation Program) พร้อมน�ำเทคโนโลยีใหม่ อาทิ 5G, Cloud, IoT เข้ามา ปรับใช้เพื่อความอยู่รอดและสร้างรูปแบบธุรกิจใหม่เพื่อการเติบโตต่อไป

บริษทั T&D Power Tech (Thailand) ฉลองครบรอบ 10 ปี ให้บริการด้าน พลังงานครบวงจรภายใต้แบรนด์ Hyundai Electric & Energy Systems Co., Ltd. เราพร้อมที่จะก้าวเข้าสู่ปีที่ 11 อย่างมุ่งมั่น ด้วยทรัพยากรที่มีวิสัยทัศน์และทุ่มเท ของเราที่จะท�ำหน้าที่เป็นพันธมิตรให้กับลูกค้า และรองรับการเติบโตในภาค อุตสาหกรรมในอนาคต รวมถึงโอกาสทางธุรกิจและตลาดพลังงานในประเทศไทย ที่ก�ำลังเติบโตอย่างเต็มที่ เราจะมุ่งเน้นน�ำเสนอบริการและผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ในภาคการจ�ำหน่ายพลังงานไฟฟ้าและโซลูชันดิจิทัลอัจฉริยะ ขอบคุณทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของการเดินทางของเรา ในขณะทีเ่ รามุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็น ผู้ให้บริการอย่างเต็มที่ต่อไป

November-December 2021


Industry News

บ้านปู ติดอันดับ 100 บริษัทที่โดดเด่นด้าน ESG ในกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่

เพือ่ ตอบสนองความต้องการไฟฟ้าพลังงานสะอาดทีม่ แี นวโน้ม เติบโตอย่างต่อเนื่อง บ้านปูจึงเข้ามาด�ำเนินธุรกิจผลิตพลังงาน หมุนเวียน ทั้งรูปแบบธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดใหญ่ (Renewable Energy Power Plant) ในประเทศญี่ปุ่น จีน และ เวียดนาม เพือ่ ตอบรับเทรนด์การใช้พลังงานสะอาดเพือ่ โลกอนาคต ตอบโจทย์ทางธุรกิจและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม พร้อมตัง้ เป้าหมาย ทีจ่ ะเพิม่ สัดส่วนของไฟฟ้าทีผ่ ลิตจากพลังงานหมุนเวียนให้ถงึ 1,600 เมกะวัตต์ ภายในปี พ.ศ. 2568 บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำธุรกิจด้านพลังงาน ที่หลากหลายในระดับนานาชาติ ได้รับการคัดเลือกเป็น 1 ใน 100 บริษัทในกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) ที่มี ความโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการก�ำกับดูแลกิจการ (Environment, Social and Governance : ESG) ในภาคอุตสาหกรรม เหมืองแร่และโลหะ จากการจัดอันดับของ Vigeo Eiris (V.E), Moody’s ESG Solutions สถาบันจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือด้าน ESG ระดับโลก สะท้อนถึงความมุง่ มัน่ และความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน ด้านความยั่งยืน พร้อมสร้างคุณค่าในระยะยาวแก่ผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่ายของกลุ่มบ้านปูใน 10 ประเทศที่ดำ� เนินงาน สมฤดี ชั ย มงคล ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) กล่ า วว่ า การได้ รั บ การ จัดอันดับครัง้ นีน้ บั เป็นอีกหนึง่ บทพิสจู น์ ให้เห็นถึงจุดยืนของบ้านปูในการส่งมอบ อนาคตพลังงานเพือ่ ความยัง่ ยืน พร้อม สร้างมูลค่าเพิม่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยการยึดมั่นในการ ด�ำเนินธุรกิจตามหลัก ESG อย่างแท้จริง ซึง่ ถือเป็นหัวใจในการด�ำเนินธุรกิจของบ้านปูตลอดระยะเวลาเกือบ 4 ทศวรรษที่ผ่านมา โดยผลจากการจัดอันดับชี้ให้เห็นว่า บ้านปู November-December 2021

มีความโดดเด่นในเรื่องการปฏิบัติตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทาง ชีวภาพ (Biodiversity) ในด้านการก�ำกับดูแลกิจการ บ้านปูยงั มุง่ มัน่ ด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและโปร่งใส มีนโยบายและ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน รวมถึงมีระบบ ตรวจสอบและควบคุมภายในทีไ่ ด้มาตรฐานสากล เพือ่ ช่วยเสริมสร้าง การก�ำกับดูแลและติดตามการปฏิบตั งิ านอย่างเหมาะสม พร้อมกับ ดู แ ลประโยชน์ แ ละผลตอบแทนอย่ า งยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างต่อเนื่อง เพราะฉะนัน้ ความมุง่ มัน่ ทุม่ เทในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลัก ESG ของบ้านปู ได้บรรลุเป้าหมายที่เป็นรูปธรรมตลอดระยะเวลา หลายปีทผี่ า่ นมา โดยเมือ่ เดือนมิถนุ ายนทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล Asia’s Best SDG Reporting ระดับ Silver จาก Asia Sustainability Reporting Awards 2020 ตลอดจนการยอมรับให้เป็นหนึ่งในผู้น�า ด้านความยั่งยืนจากองค์กรชั้นน�ำทั้งในระดับประเทศและระดับ นานาชาติ อาทิ การรักษาสถานะสมาชิกกลุม่ ดัชนีความยัง่ ยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices : DJSI) ต่อเนื่องเป็นปีท่ี 7 การรักษาต�ำแหน่ง “Gold Class” ในกลุ่มอุตสาหกรรม Coal & Consumable Fuels จากการประกาศผลรางวัล SAM Sustainability Award 2021 รวมถึงได้รบั การจัดอันดับให้อยูใ่ นระดับ A (ตามเกณฑ์วดั AAA ถึง CCC) ในการประเมินความยัง่ ยืน ESG Ratings โดย MSCI ในปี พ.ศ. 2562 ทัง้ นี้ การจัดอันดับครัง้ นีจ้ ดั ท�ำโดย Vigeo Eiris (V.E) สถาบัน จัดอันดับความน่าเชื่อถือด้าน ESG อันเป็นที่ยอมรับทั่วโลก และ เป็นหน่วยธุรกิจของ Moody’s Corporation โดยท�ำการประเมิน ข้อมูล วิจัย วัดประสิทธิภาพ และวิเคราะห์การด�ำเนินธุรกิจของ 843 บริษทั จาก 36 ภาคอุตสาหกรรม ใน 31 ประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) ตามแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในมิตดิ า้ น เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และสังคม โดยพิจารณาจากกว่า 330 ตัวชีว้ ดั ภายใต้ 6 หัวข้อหลัก อันได้แก่ สิง่ แวดล้อม สิทธิมนุษยชน ทรัพยากร บุ ค คล การมี ส ่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน พฤติ ก รรมขององค์ ก ร และ การก�ำกับดูแลกิจการ


เอสซีจี เคมิคอลส์ และ Braskem ผนึกก�ำลังร่วมมือขับเคลื่อนพลาสติกชีวภาพ ในประเทศไทย เพื่อตอบโจทย์ความยั่งยืนและตลาดโลก บริษทั เอสซีจี เคมิคอลส์ จ�ำกัด ผนึกก�ำลังร่วมกับ Braskem (บราสเคม) ผูน้ ำ� ด้านพลาสติกชีวภาพระดับโลกจากประเทศบราซิล โ ด ย ไ ด ้ ล ง น า ม ใ น บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการ ลงทุนในโรงงานผลิตพลาสติก ชีวภาพในประเทศไทย เพื่อ ผลิตไบโอ-เอทิลนี (Bio-Based Ethylene) ซึ่ ง จะน� ำ ไปผลิ ต เป็ น เม็ ด พลาสติ ก ประเภท ไบโอ-พอลิเอทิลนี (Bio-Based Polyethylene) เพื่อตอบโจทย์ ความต้องการพลาสติกชีวภาพ ในเอเชียและตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งช่วย ส่งเสริมการใช้พลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในกลุ่มผู้บริโภค สายกรีนอีกด้วย

ธนวงษ์ อารีรชั ชกุล กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั เอสซีจี เคมิคอลส์ จ�ำกัด กล่าวว่า เอสซีจี เคมิคอลส์ ผู้ผลิตเคมีภัณฑ์ ครบวงจรรายใหญ่ของประเทศไทยและผูผ้ ลิตชัน้ น�ำในภูมภิ าคเอเชีย เดินหน้าขับเคลื่อนพลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง การด�ำเนินธุรกิจ “ปิโตรเคมีเพือ่ ความยัง่ ยืน” สอดคล้องกับหลัก ESG (Environmental, Social, Governance) “เอสซีจี เคมิคอลส์ มีแนวทางที่ชัดเจนในการมุ่งสู่ธุรกิจ ปิโตรเคมีเพื่อความยั่งยืน หนึ่งในกลยุทธ์ส�ำคัญคือ การเร่งขยาย เข้าสู่ธุรกิจเศรษฐกิจหมุนเวียน เพื่อส่งเสริมการใช้ทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ลดภาวะโลกร้อน พร้อมตอบโจทย์ลูกค้า เจ้าของ แบรนด์สนิ ค้า และผูบ้ ริโภคทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อม ส�ำหรับการลงนามใน MOU ร่วมกับ Braskem ผูน้ ำ� ด้านพลาสติกชีวภาพระดับโลกในครัง้ นี้

เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมทุนสร้างโรงงานผลิตพลาสติก ชีวภาพในประเทศไทย ซึง่ จะตอบโจทย์เทรนด์โลกทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อม ช่วยลดโลกร้อน และช่วยให้เรามุ่งสู่การเป็น ‘ธุรกิจปิโตรเคมีเพื่อ ความยัง่ ยืน’ อย่างเป็นรูปธรรมตามแนวทาง ESG (Environmental, Social, Governance) และเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน (SDGs) ของ องค์การสหประชาชาติ และสอดคล้องกับนโยบาย BCG Model ของ รัฐบาล สร้างมูลค่าเพิ่มให้เศรษฐกิจประเทศไทย” โรเจอร์ มาร์คโิ อนี Braskem’s Director for Asia กล่าวว่า ด้ ว ยวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ก ว้ า งไกลและเน้ น ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ผู ้ ค นและ การสร้างความยัง่ ยืน Braskem พร้อมส่งมอบคุณค่าดีๆ ผ่านเศรษฐกิจ หมุนเวียนให้กบั ทัง้ Value Chain ด้วยพนักงานกว่า 8,000 คน ทีม่ งุ่ มัน่ สร้างสรรค์โซลูชัน นวัตกรรมด้านเคมีและพลาสติก เพื่อยกระดับ คุณภาพชีวติ ของคนในสังคมให้ดขี นึ้ อย่างยัง่ ยืน DNA ของ Braskem เน้นการพัฒนานวัตกรรมพลาสติกเพือ่ ตอบโจทย์หลากอุตสาหกรรม อาทิ บรรจุภณ ั ฑ์อาหาร การก่อสร้าง การผลิต ยานยนต์ เกษตรกรรม สุขภาพและสุขอนามัย และอื่นๆ อีกมากมาย มีโรงงานผลิตกว่า 40 ยูนิต ในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก และเยอรมนี โดยส่งออกสินค้าไปยังกว่า 100 ประเทศทั่วโลก “เทรนด์โลกมีความต้องการโซลูชนั ทีต่ อบโจทย์ดา้ นเศรษฐกิจ หมุนเวียนและความยัง่ ยืนมากขึน้ เรือ่ ยๆ ดังนัน้ Braskem จึงมองหา โอกาสทีจ่ ะน�ำเสนอพลาสติกทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ภายใต้แบรนด์ I’m GreenTM ซึ่งเป็นไบโอ-พอลิเอทิลีน เพื่อช่วยดูแลโลกควบคู่กับ การตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ ยังมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2593 ส�ำหรับการร่วมมือกับเอสซีจี เคมิคอลส์ ผูผ้ ลิตเคมีภณ ั ฑ์ ครบวงจรรายใหญ่ของประเทศไทยและเป็นผู้ผลิตชั้นน�ำในภูมิภาค เอเชีย ถือเป็นก้าวแรกทีส่ ำ� คัญของเราในเอเชีย ซึง่ ทัง้ 2 องค์กรต่างมี เป้าหมายด้านความยั่งยืนที่สอดคล้องกัน โดยจะร่วมกันศึกษา แลกเปลีย่ นความเชีย่ วชาญ รวมทัง้ จะช่วยพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี และนวัตกรรมพลาสติกชีวภาพได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น” ดังนัน้ หากการศึกษาความเป็นไปได้ดงั กล่าวด�ำเนินไปด้วยดี และบรรลุข้อตกลงของทั้ง 2 ฝ่าย การด�ำเนินการก่อสร้างโรงงาน ผลิตพลาสติกชีวภาพจะเกิดขึ้นในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยโครงการนีจ้ ะผสมผสานความเชีย่ วชาญด้านเทคโนโลยีพลาสติก ชีวภาพของ Braskem เข้ากับความเชีย่ วชาญด้านการผลิตพลาสติก พอลิเอทิลนี และความเป็นเลิศด้านการตลาดของเอสซีจี เคมิคอลส์ เพื่อส่งเสริมการใช้พลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในวงกว้าง ต่อไป November-December 2021


ใบสมัครสมาชิก

ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE ชื่อ-นามสกุล ........................................................................................................................................................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ..................................................................................................................................................................................................................... ที่อยู่ ........................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท์ ............................................................................................................. แฟกซ์ ........................................................................................................ รหัสสมาชิก ............................................................................................................................................................................................................................. ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” สมาชิกใหม่  1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ  1 ปี 6 ฉบับ 450 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 900 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน ......................................... ปี .................. โดยส่งนิตยสารไปที่  ที่ท�ำ งาน  ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................... บาท (ตัวอักษร ............................................................................................)  เช็คธนาคาร ................................................................................... สาขา ................................................................................................... เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี  กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5  ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 21-2-04080-0  กรุงไทย ถนนศรีอยุธยา 013-0-09071-9 หมายเหตุ : กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพื่อการติดต่อจัดส่งข้อมูล กลับไปยังท่านต่อไป

ดัชนีสินค้าประจ�ำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ. 2564 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ABB POWER GRIDS (THAILAND) LTD. LS ELECTRIC CO., LTD. MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2665-1000 0-2053-9133 0-2194-8738-9

0-2324-0502 0-2003-2215

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก. ปตท. น�้ำมันและการค้าปลีก บมจ. เพาเวอร์ เรด บจก. มหาธน อีเลคทริค บจก. ลีฟเพาเวอร์ บจก. เวอร์ทัส บจก. เอ็ม.พี.ที. ซัพพลาย บจก. เอส เอ วี เมคคานิคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

ประเภทสินค้า

หน้า

อุปกรณ์ไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปกหลังนอก ปกหน้าใน 6

0-2590-9590 0-2590-9598 0-2002-4395-97 0-2002-4398 0-2239-7847 0-2239-7898 0-2322-0810-6 0-2322-0430 0-2894-3447 0-2416-1659 0-2130-6371 0-2130-6372 0-2876-2727-8 0-2476-1711 0-2868-1127-9 0-2868-1395-9

บริการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า น�้ำมันหล่อลื่นอุตสาหกรรม อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า Couplings เครื่องมือและสินค้า อุตสาหกรรมทุกชนิด

13 7 3 9 ปกหลังใน 11 8 4

0-2702-0581-8

0-2377-5937

ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกัน มอเตอร์ไหม้

10

อินเทค 2000 บจก.

0-2440-1853

0-2440-1900

อุปกรณ์เครื่องมือวัด ระบบออโตเมชัน

15

เอบีเอ็ม คอนเนค บจก.

085-166-2442

-

-

5

November-December 2021



HitachiFP.pdf

1

11/17/2564 BE

1:34 PM


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.