Green Network Issue 108

Page 1

ISSUE 108 November-December 2021

จากแนวคิด Smart City ระดับโลก ที่งานเอ็กซโป 2020 ดูไบ

สูโครงการ “ภูเก็ต ชุมชนนาอยู สมารท ปลอดภัย สุขใจทุกชีว�ต” รัฐจับมือเอกชน สรางการตระหนักรูปญหาสิ�งแวดลอม พรอมหาแนวทางปองกันทุกรูปแบบเพ�่อความยั่งยืน Green Industry กับ COP26 กำจัดขยะติดเชื้อแบบไมตองเผา Zero Waste Zero Emission

211210


“สายน�า้ คือแหล่งก�าเนิดชีวติ ” และเป็นทรัพยากรอันล�า้ ค่าทีจ่ า� เป็น ต่ อ การใช้ ชี วิ ต เริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารใช้ น�้ า ในชี วิ ต ประจ� า วั น ของคนทุ ก คน จนกระทั่งไปถึงการใช้น�้าเพื่อประกอบกิจการในภาคเกษตรกรรมและ ภาคอุตสาหกรรม อันเป็นเศรษฐกิจส�าคัญของประเทศไทย เมื่อการ ขับเคลือ่ นธุรกิจเกีย่ วกับการจัดการน�า้ ใส่ใจการน�าทรัพยากรไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สงู สุด ก้าวไปพร้อมกับการพัฒนาชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม นั่นหมายถึง สายน�้า คือตัวแทนสายสัมพันธ์แห่งชีวิตที่ยั่งยืน ตลอด ระยะเวลาเกือบ 30 ปี ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้า ภาคตะวันออก จ�ากัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ ด�าเนินธุรกิจด้วย ความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล และไม่ลดทอนคุณภาพชีวิตของ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม “อี ส ท์ วอเตอร์ บริ ห ารจั ด การน�้ า เพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตทาง เศรษฐกิจของประเทศ โดยค�านึงถึงคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและ สังคมโดยรวม” คือนโยบายหลักที่ อีสท์ วอเตอร์ ก�าหนดเป็นแนวทาง การปฏิบัติอย่างยั่งยืน เพื่อคืนก�าไรสู่สังคมผ่านกรอบการพัฒนาชุมชน 3 ด้าน ได้แก่ โครงการส่งเสริมสาธารณูปโภคด้านน�้าและอนุรักษ์ สิง่ แวดล้อม โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ และโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวติ โครงการส่งเสริมสาธารณูปโภคด้านน�า้ และอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม อีสท์ วอเตอร์ แบ่งพืน้ ทีจ่ ดั กิจกรรมออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ต้นน�า้ กลางน�า้ และปลายน�้า จัดอยู่ในพื้นที่บริเวณโดยรอบอ่างเก็บน�้า แหล่งน�้าต่างๆ ที่เป็นต้นทุนน�้าดิบของบริษัท รวมถึงผืนป่าต้นน�้าที่เป็นเขตป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ โครงการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ แหล่งน�้า เช่น โครงการเพาะกล้าน้อย ร้อยผืนป่า ภาคตะวันออก โครงการบ�ารุงดูแลรักษาและฟื้นฟูป่าชุมชนแบบมีส่วนร่วม เพื่อเพิ่ม

พื้นที่สีเขียวในป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัด โครงการปล่อยพันธุ์สัตว์น�้า เพือ่ รักษาสมดุลของระบบนิเวศและรักษาพันธุส์ ตั ว์นา�้ บริเวณป่าชายเลน ของแม่น�้าบางปะกง โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น โครงการเครือข่ายอีสท์ วอเตอร์ รักษ์น�้า ค่ายเยาวชนอีสท์ วอเตอร์รักษ์น�้า และมอบทุนการศึกษา เพื่อ สร้างเครือข่ายเยาวชนอีสท์ วอเตอร์รกั ษ์นา�้ เพือ่ เฝ้าระวังและตรวจสอบ คุณภาพน�้าในพื้นที่ เพื่อสร้างให้ชุมชนร่วมกันอนุรักษ์น�้าอย่างยั่งยืน โครงการควบคุมการผลิตและบ�ารุงรักษาระบบประปาชุมชน (บูรณาการ ร่วมกับโครงการ Fix It Center) เพือ่ พัฒนาการใช้งานระบบประปาชุมชน ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและลดปั ญ หาการขาดแคลนน�้ า อุ ป โภคบริ โ ภค โครงการโรงเรียนต้นแบบระบบบ�าบัดน�า้ เสียโรงอาหาร เพือ่ เป็นต้นแบบ ศูนย์การเรียนรูเ้ รือ่ งการบริหารจัดการน�า้ และการบ�าบัดน�า้ เสียอย่างง่าย ให้แก่ชุมชนโดยรอบโรงเรียน ด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะน�าศักยภาพ ประสบการณ์ และความเชีย่ วชาญ ในการบริหารจัดการน�้าที่มีอยู่มาสร้างสรรค์พัฒนาต่อโครงการต่างๆ ให้เกิดความยั่งยืนบนพื้นฐานความร่วมมือกันระหว่างอีสท์ วอเตอร์ กับชุมชน เพื่อปลุกจิตส�านึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรน�้าและส่งเสริม คุณภาพชีวิตให้กับชุมชนให้สามารถเข้าถึงแหล่งน�้าสะอาด และมีน�้า เพียงพอต่อการอุปโภคและบริโภค ทั้งนี้ ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นตลอด 2 ปีที่ผ่านมา อีสท์ วอเตอร์ ยังได้สนับสนุนงบประมาณและสนับสนุนน�า้ ดืม่ และสิง่ ของ เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของชุมชน เพื่อตอกย�้าว่า ไม่ว่าจะสถานการณ์ใด อีสท์ วอเตอร์ จะอยู่เคียงข้างทุกคนเสมอ






คณะที่ปรึกษา

ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค์ ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต

นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศ์พิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการ

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการข่าว

สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

กองบรรณาธิการ

ณัฐชยา แก่นจันทร์

พิสูจน์อักษร

อ�าพันธ์ุ ไตรรัตน์

ศิลปกรรม

พฤติยา นิลวัตร, ศศิธร มไหสวริยะ

ประสานงาน

ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย

ฝ่ายการตลาด

ทิพวัลย์ เข็มพิลา, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท

เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมณฑน์ บัวผัน

ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์

กรรณิการ์ ศรีวรรณ์

แยกสี

บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด

โรงพิมพ์

หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 เว็บไซท์ http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail editor@greennetworkthailand.com

สวัสดีท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน ในช่วงหน้าหนาวของทุกปี ระหว่างเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ สถานการณ์ฝนุ่ PM2.5 ในไทยมักจะเกินค่ามาตรฐาน โดยเฉพาะเดือนมกราคม ของทุกปี อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ (14 ธันวาคม 2564) ค่าฝุ่นเริ่มเข้าใกล้ค่า มาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม. แล้ว และในบางช่วงเวลาบางพื้นที่ค่าฝุ่นเริ่มสูง เกินค่ามาตรฐานแล้ว ซึง่ พบใน 10 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรปราการ นครปฐม สมุทรสงคราม สระบุรี สุพรรณบุรี พิษณุโลก พิจติ ร และนครพนม ทัง้ นี้ กระทรวงสาธารณสุขได้คาดการณ์วา่ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2564 ถึงต้นปี พ.ศ. 2565 สถานการณ์ฝุ่น PM2.5 อาจจะมีความรุนแรงมากกว่า ปีทผี่ า่ นมา เนือ่ งจากความกดอากาศสูง ท�าให้สภาพอากาศนิง่ จนเกิดการสะสม ของฝุ่นได้ง่าย ประกอบกับมีกิจกรรมต่างๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น ทั้งการเดินทาง และขนส่ง โรงงานอุตสาหกรรม การจัดการทางการเกษตร รวมถึงไฟป่า ส�าหรับพื้นที่กรุงเทพฯ คาดว่าค่าฝุ่น PM2.5 จะเริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคมนี้เป็นต้นไป โดยเฉพาะพื้นที่กรุงเทพฯ กลาง กรุงเทพฯ ตะวันออก และกรุงธนบุรีเหนือ ซึ่งมีพื้นที่การจราจรที่หนาแน่น กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกมาตรการ 9 ข้อ เพือ่ เฝ้าระวังดูแลและป้องกัน ผลกระทบสุขภาพประชาชนจากฝุ่น PM2.5 ในส่วนของประชาชนในพื้นที่ ดังกล่าวควรหลีกเลี่ยงการท�ากิจกรรมนอกบ้าน แต่หากมีความจ�าเป็นต้อง ออกนอกบ้านควรสวมหน้ากากอนามัยทีช่ ว่ ยป้องกันการแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 และป้องกันฝุน่ PM2.5 ตลอดเวลา พร้อมทัง้ ลดกิจกรรมทีท่ า� ให้ เกิดฝุ่น หากมีอาการผิดปกติของทางเดินหายใจควรรีบพบแพทย์ทันที นิตยสาร Green Network ฉบับส่งท้ายปีฉลูตอ้ นรับปีขาลนี้ ขอน�าเสนอ เรื่องเด่นประจ�าฉบับ เริ่มจาก Cover Story เรื่อง “จากแนวคิด Smart City ระดับโลก ทีง่ านเอ็กซ์โป 2020 ดูไบ สูโ่ ครงการ “ภูเก็ต ชุมชนน่าอยู่ สมาร์ท ปลอดภัย สุขใจทุกชีวิต”, “รัฐจับมือเอกชน สร้างการตระหนักรู้ปัญหา สิง่ แวดล้อม พร้อมหาแนวทางป้องกันทุกรูปแบบเพือ่ ความยัง่ ยืน”, “Green Industry กับ COP26” โดยคุณวิฑรู ย์ สิมะโชคดี ประธานกรรมการ มูลนิธิ การจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน (3R) อดีตปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ให้เกียรติเป็นนักเขียนกิตติมศักดิ์ให้กับนิตยสาร Green Network อีกครั้ง ตามด้วยบทความ “ก�าจัดขยะติดเชื้อแบบไม่ต้องเผา Zero Waste Zero Emission” โดยคุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท.) นักเขียนประจ�าของนิตยสาร ทีก่ รุณาแบ่งปันความรูด้ า้ นแวดวงพลังงานมาอย่างยาวนาน และคอลัมน์อนื่ ๆ ที่น่าสนใจ ติดตามได้ในฉบับครับ พบกันฉบับหน้า สวัสดีปีใหม่ครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล


Contents November-December 2021

9

Cover Story

จากแนวคิด Smart City ระดับโลก ที่งานเอ็กซ์โป 2020 ดูไบ สู่โครงการ “ภูเก็ต ชุมชนน่าอยู่ สมาร์ท ปลอดภัย สุขใจทุกชีวิต” กองบรรณาธิการ

Report

13 รัฐจับมือเอกชนสร้างการตระหนักรู้ปัญหาสิ่งแวดล้อม

พร้อมหาแนวทางป้องกันทุกรูปแบบเพื่อความยั่งยืน กองบรรณาธิการ

34

Environment

18 ไปรษณีย์ไทยสรุปยอดกล่อง/ซอง reBOX กว่า 220,000 กก.

แปลงมูลค่าเป็นหน้ากากอนามัยกว่า 3 แสนชิ้น พร้อมส่งมอบ ให้ รพ. 8 แห่ง กองบรรณาธิการ

บทความ

Automotive

30 เอ็มจี เปิดตัว MG Cyberster รถยนต์ต้นแบบ

20 ก�าจัดขยะติดเชือ้ แบบไม่ตอ้ งเผา Zero Waste Zero Emission

พิชัย ถิ่นสันติสุข

Industry

23 Green Industry กับ COP26

วิฑูรย์ สิมะโชคดี

BCG

32 บีโอไอ เผย 9 เดือนแรกของปี ’64 มีโครงการ BCG

Energy

26 ‘บ้านปู เน็กซ์’ จับมือ ‘เอสพี กรุ๊ป’ ผู้ให้บริการ

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าแห่งชาติสิงคโปร์ พัฒนาโซลูชันพลังงาน สะอาด มุ่งขยายตลาดเอเชีย-แปซิฟิก กองบรรณาธิการ

Innovation

28 คณะวิศวฯ มหิดล ร่วมกับคณะวิศวฯ มอ. จัดการประชุม

นานาชาติ นวัตกรรมสีเขียวและยั่งยืน (ICGSI 2021) “ขับเคลื่อนความปกติใหม่ สู่อนาคตใหม่อย่างยั่งยืน” กองบรรณาธิการ

พลังงานไฟฟ้า 100% เตรียมวางแผนผลิต พร้อมจ�าหน่าย เวอร์ชัน Thailand Edition ในปี ’66 กองบรรณาธิการ

ยื่นขอลงทุน 564 โครงการ มูลค่า 128,370 ล้านบาท สูงกว่าปี ’63 ถึง 160% กองบรรณาธิการ

Health

34 คณะวิศวฯ จุฬาฯ พัฒนาเครื่องแบ่งบรรจุวัคซีนอัตโนมัติ

แห่งแรกของโลก ช่วยเพิ่มปริมาณวัคซีน 20% ลดภาระงาน บุคลากรทางการแพทย์ กองบรรณาธิการ


Cover Story

จากแนวคิด

Smart City ระดับโลก ที่งานเอ็กซ์โป 2020 ดูไบ

กองบรรณาธิการ

สู่โครงการ

“ภูเก็ต ชุมชนน่าอยู่ สมาร์ท ปลอดภัย สุขใจทุกชีวิต“

เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นรูปแบบการประยุกต์ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั หรือข้อมูลสารสนเทศและการสือ่ สารในการเพิม่ ประสิทธิภาพและคุณภาพของบริการชุมชน เพือ่ ช่วยลดต้นทุนและ ลดการบริโภคของประชากร โดยมุง่ หวังยกระดับคุณภาพชีวติ ของ ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แนวคิด Smart City เกิดขึ้นพร้อมๆ กับการพัฒนาอย่าง ก้าวกระโดดของเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ซึง่ เป็นรากฐาน ในการเชื่อมโยงอุปกรณ์หรือสิ่งของรอบๆ ตัวเข้ากับโครงข่ายการ สื่อสารแบบอินเทอร์เน็ต รวมไปถึงการวางผังเมืองที่ชาญฉลาด รองรับการใช้ชีวิตที่สะดวกสบายรูปแบบการบริหารจัดการเมือง แบบ Smart City ซึง่ เป็นการสร้างเมืองทีจ่ ะมีการเติบโตอย่างยัง่ ยืน เน้นการจัดสมดุลของสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน และเลือกใช้ พลังงานสะอาด

9

7 องค์ประกอบสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ

การที่จะเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) สมบูรณ์แบบ จ�าเป็นต้องมี องค์ประกอบ 7 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1. Smart Mobility แผนการเดินทางและ ขนส่งอัจฉริยะ 2. Smart Community ชุมชนอัจฉริยะ 3. Smart Economy เศรษฐกิจอัจฉริยะ 4. Smart Environment สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ 5. Smart Governance การปกครองอัจฉริยะ 6. Smart Building อาคารอัจฉริยะ และ 7. Smart Energy พลังงานอัจฉริยะ ในส่วนของประเทศไทยได้ผลักดันการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตาม วิสยั ทัศน์ Thailand 4.0 โดยพัฒนาพืน้ ทีเ่ ป้าหมายทีค่ ดั เลือกเป็นเมืองอัจฉริยะ ต้นเเบบด้วยกัน 7 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ ภูเก็ต ขอนแก่น ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ภายใต้ความร่วมมือของ 3 กระทรวง คือ กระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม

GreenNetwork4.0 November-December

2021


จับตา

Smart City ระดับโลก ที่งานเอ็กซ์โป 2020 ดูไบ

ส�าหรับตัวอย่างของแนวคิด Smart City ที่มีความโดดเด่น ระดับโลกอยู่ที่งานเอ็กซ์โป 2020 ดูไบ ซึ่งจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 256431 มีนาคม 2565 โดยซีเมนส์พาร์ทเนอร์ระดับพรีเมียร์ของงานเอ็กซ์โป 2020 ดูไบ ได้เข้ามามีบทบาทส�าคัญในการสร้างโครงสร้างพืน้ ฐานให้เป็นดิจทิ ลั ด้วยการน�าระบบ การจัดการอาคารดิจิทัล Desigo CC มาติดตั้งใช้งานทั่วทั้งงาน ซึ่งครอบคลุมในแต่ละ โซนการจัดงาน ได้แก่ โซน Mobility โซน Opportunity และโซน Sustainability รวมถึง ศูนย์การจัดแสดงนวัตกรรมของประเทศต่างๆ และ Dubai Exhibition Centre โดยระบบ จะใช้เซนเซอร์และการวิเคราะห์หลากหลายเพื่อตรวจสอบและควบคุมฟังก์ชันของอาคาร อาทิ ระบบปรับอากาศ การใช้พลังงาน การควบคุมความสว่าง ลิฟต์ คุณภาพอากาศ และ ระบบส่งสัญญาณเตือนอัคคีภัย ข้อมูลจากระบบเหล่านี้จะถูกป้อนเข้าสู่ Siemens Navigator แพลตฟอร์ม ศูนย์กลางการจัดการข้อมูลบนคลาวด์ เพือ่ เชือ่ มต่อกับอาคารต่างๆ มากกว่า 130 แห่งที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียว นับเป็นหนึ่งในการติดตั้งระบบคลาวด์ที่ใหญ่ที่สุด ในโลกเพือ่ ให้ผใู้ ห้บริการต่างๆ สามารถเห็นข้อมูลทัง้ หมดและน�ามา วิเคราะห์เพื่อตรวจสอบการใช้พลังงานระหว่างการจัดงาน เอ็กซ์โปในครั้งนี้

สุวรรณี สิงห์ฤาเดช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและซีอีโอ ซีเมนส์ (ประเทศไทย) กล่าวว่า เทคโนโลยีเมืองอัจฉริยะที่ใช้ใน งาน World Expo 2020 Dubai เป็นตัวอย่างการใช้งานจริงของ หลากหลายโซลูชันเมืองอัจฉริยะที่ถูกน�ามารวมกันเพื่อสร้างเมือง ที่มีความยั่งยืน และให้ความสะดวกสบายกับผู้อยู่อาศัย โดย สามารถน�ามาต่อยอดหรือเป็นนวัตกรรมต้นแบบส�าหรับการ วางแผนงานเมืองอัจฉริยะในประเทศไทย

บ้านปู เน็กซ์ น�าโซลูชันฉลาดวิเคราะห์มาใช้ ในโครงการภูเก็ต ชุมชนน่าอยู่ สมาร์ท ปลอดภัย สุขใจทุกชีวิต

สุวรรณี สิงห์ฤาเดช

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และซีอีโอ ซีเมนส์ (ประเทศไทย)

ย้อนกลับมาที่ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2564 มีโครงการ Smart City ที่น่าสนใจและมีความก้าวหน้าเป็นรูปธรรม คือ โครงการ ‘ภูเก็ต ชุมชนน่าอยู่ สมาร์ท ปลอดภัย สุขใจทุกชีวติ ’ ซึง่ บริษทั บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด ได้รว่ มมือกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน น�าโซลูชนั ฉลาดวิเคราะห์มาใช้วเิ คราะห์ประเด็นปัญหา ของทั้ง 2 พื้นที่ บริเวณถนนถลาง-ซอยรมณีย์ และต�าบลราไวย์ (บริเวณเทศบาลและแหลมพรหมเทพ) และออกแบบระบบความ

10

GreenNetwork4.0 November-December ember-December

2021


ปลอดภัยที่ตอบโจทย์ความต้องการของแต่ละพื้นที่ โดยมอบหมายให้ บริษัท แพลนเน็ต คอมมิวนิเคชั่น เอเชีย จ�ากัด (มหาชน) หรือ PLANET เป็นผู้ติดตั้งระบบฮาร์ดแวร์และระบบปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟติงส์ (Internet of Things : IoT)

น�าสมาร์ทคอมมูนิตี้ แพลตฟอร์ม และแอปพลิเคชัน พัฒนาโครงการภูเก็ตสมาร์ทซิตี้

พร้อมกันนีย้ งั น�าสมาร์ทคอมมูนติ ี้ แพลตฟอร์ม และแอปพลิเคชัน ซึง่ เป็นระบบซอฟต์แวร์ทบี่ า้ นปู เน็กซ์พฒ ั นาขึน้ เป็นรายแรกของไทยมาใช้ พัฒนาโครงการสมาร์ทซิตี้ดังกล่าว โดยแพลตฟอร์มนี้สามารถเชื่อมต่อ ระบบปฏิบตั กิ ารของอุปกรณ์อนื่ ๆ และท�างานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์และประมวลผลด้วย ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ส่งเข้าสู่ศูนย์ควบคุมส่วนกลาง (War Room) ซึ่ง จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการท�างาน ท�าให้เจ้าหน้าทีส่ ามารถวางแผนและ ป้องกันสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างแม่นย�า ส่วนแอปฯ สมาร์ทคอมมูนิตี้ จะเป็นตัวช่วยให้เจ้าหน้าที่ใช้ดูอุปกรณ์ต่างๆ ของระบบฯ เพื่อเฝ้าระวัง ตรวจสอบและสั่งการได้ทุกที่ทุกเวลา

11

ระบบความปลอดภัยทีน่ า� มาติดตัง้ นีย้ งั ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพเรือ่ ง การเฝ้าระวังสถานการณ์ COVID-19 ครอบคลุม 5 ด้านตามมาตรการ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ได้แก่ 1. นับจ�านวนคน เพื่อจ�ากัดคนเข้าออก 2. ตรวจสอบความหนาแน่นของคนในพื้นที่ 3. ตรวจคัดกรองอุณหภูมิร่างกาย 4. ตรวจจับผู้ที่ไม่ใส่หน้ากากอนามัย 5. น�าข้อมูลมาวิเคราะห์ไทม์ไลน์เบื้องต้นของผู้ที่เข้ามาในพื้นที่ และ ตรวจสอบผู้ที่สงสัยว่าติดเชื้อ COVID-19 ซึ่งเจ้าหน้าที่สามารถใช้แอปฯ ติดตามข้อมูลทั้งหมด พร้อมระบบแจ้งเตือนแบบเรียลไทม์เมื่อพบความ ผิดปกติ และรายงานเหตุการณ์ไปยังศูนย์ควบคุมส่วนกลาง เพื่อควบคุม สถานการณ์ได้ทันเวลา

ระบบความปลอดภัยแบบอัจฉริยะ

ส่วนบริษัท แพลนเน็ต คอมมิวนิเคชั่น เอเชีย จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งติดตั้งระบบฮาร์ดแวร์ในโครงการนี้ ได้วางระบบด้านความปลอดภัย ดังนี้ 1. เซนเซอร์คัดกรอง COVID-19 แบบไร้สัมผัส มีระบบตรวจจับ อุณหภูมิร่างกายที่มีความแม่นย�าสูง 2. สถานีเฝ้าระวังอัจฉริยะ (Smart Surveillance) ประกอบด้วย กล้อง CCTV ทีใ่ ช้บนั ทึกภาพเหตุการณ์ และ บุคคลในระบบซอฟต์แวร์ของศูนย์ควบคุมส่วนกลาง (War Room) พร้อม

GreenNetwork4.0 November-December

2021


สมฤดี ชัยมงคล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด

มีเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่นับจ�านวนคนเข้าออกพื้นที่ แจ้งเตือนเหตุการณ์ ผิดปกติ ตรวจจับวัตถุต้องสงสัย สืบค้น และติดตามบุคคล (Tracking) ด้วยการ วิเคราะห์จดจ�าใบหน้า (Face Recognition) ระบบเสียงตามสายสาธารณะ (Public Address) และระบบรับแจ้งเหตุฉุกเฉิน (SOS) 24 ชั่วโมง ซึ่งใช้เทคโนโลยีคลาวด์ 3. สถานีเฝ้าระวังสภาพอากาศ (Air Quality) ตรวจวัดอุณหภูมิ ปริมาณฝุ่น PM2.5 และความชื้น 4. เซนเซอร์ตรวจวัดสถานะจุดจอดรถ (Smart Parking) เทคโนโลยี ตรวจจับต�าแหน่งการจอดรถที่มีเซนเซอร์แจ้งเตือนแบบเรียลไทม์ นอกจากนีย้ งั ได้นา� ระบบปฏิบตั กิ าร IoT มาใช้ในการควบคุมและรวบรวมข้อมูล จากอุปกรณ์ต่างๆ ส่งไปยังแพลตฟอร์มของบ้านปู เน็กซ์ เพื่อประมวลผลต่อไป

วางระบบความปลอดภัย สอดรับกับแนวทางการพัฒนา Smart City ด้านต่างๆ

สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และ บริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด กล่าวว่า ระบบความปลอดภัยเหล่านี้ สอดรับกับแนวทาง การพัฒนาสมาร์ทซิตี้ด้านการปกครอง (Smart Governance) สิ่งแวดล้อม (Smart Environment) เศรษฐกิจ (Smart Economy) ความเป็นอยู่ (Smart Living) การเดินทาง และขนส่ง (Smart Mobility) ซึ่งทุกระบบฯ ได้เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการแล้ว “ทั้งนี้ เราจะเดินหน้าน�าโซลูชันพลังงานฉลาดอื่นๆ พร้อมบริการที่ครบวงจร ในราคาที่เหมาะสม มาเติมเต็มการพัฒนาภูเก็ตให้ก้าวสู่สมาร์ทซิตี้โดยสมบูรณ์ โดยเราจะวางภูเก็ตเป็นโครงการต้นแบบสมาร์ทซิตี้ครบวงจร ซึ่งเราจะน�าโซลูชัน และแพลตฟอร์มนีไ้ ปประยุกต์ใช้กบั โครงการสมาร์ทซิตอี้ นื่ ๆ ในอนาคตต่อไป” สมฤดี กล่าว

12

GreenNetwork4.0 November-December GreenNetw

2021


Report กองบรรณาธิการ

ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็น ปั ญ หาระดั บ โลกที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่อผู้คน สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ และมีแนวโน้ม ทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งจาก ฝีมอื ของมนุษย์และภัยธรรมชาติ ดังนั้นทุกภาคส่วนจะต้องสร้าง การตระหนักรู้และร่วมมือกัน เพื่อหาแนวทางป้องกัน และ ฟืน้ ฟูปญ ั หาสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ทุกรูปแบบเพื่อความยั่งยืน

13

ชี้ปัญหา Climate Change เป็นปัญหาส�าคัญระดับโลก

วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า ปัจจุบันปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate Change เป็น ปัญหาส�าคัญในระดับโลกที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้คน และระบบนิเวศ และมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่ง จากรายงานการประชุ ม เผยแพร่ ร ายงานพิ เ ศษเกี่ ย วกั บ ภาวะโลกร้อนที่ 1.5°C (IPCC Special Report on Global Warming of 1.5°C) ที่เผยแพร่ในปี พ.ศ. 2563 ระบุว่า หากอุณหภูมเิ พิม่ ขึน้ 2°C มีความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดน�า้ ท่วมเพิม่ ขึน้ 170% ประชากร 49,000,000 คน จะได้รับผลกระทบจาก ระดับน�้าทะเลที่สูงขึ้น และประชากร 410,000,000 คน จะเผชิญภัยแล้งภายในปี พ.ศ. 2643 รวมถึงสายพันธุ์แมลง พืช และสัตว์มกี ระดูกสันหลังจะได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรง เช่นเดียวกัน หากทุกประเทศไม่ช่วยกันหาแนวทางในการ หยุดยั้งปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศดังกล่าวจะก่อ ให้เกิดความสูญเสียทัง้ ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และยิ่งมีวิกฤต COVID-19 เข้ามา ยิง่ ต้องให้ความส�าคัญและแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมไปพร้อมๆ กับการแก้ปัญหาโรคอุบัติใหม่อย่างเชื้อ COVID-19

GreenNetwork4.0 November-December

2021


เผยปี ’62 ไทยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ได้ 17%

ส�าหรับประเทศไทยนัน้ ได้เข้าร่วมเป็นภาคีกรอบอนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) มายาวนานกว่า 25 ปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 จนถึง ปัจจุบนั และในปี พ.ศ. 2559 ได้เข้าร่วมเป็นภาคีความตกลงปารีส (Paris Agreement) เพื่อร่วมกันควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ เฉลีย่ ของโลกให้ตา�่ กว่า 2°C และพยายามไม่ให้เกิน 1.5°C ภายใน ปลายศตวรรษนี้ ซึ่งประเทศไทยได้ประกาศเป้าหมายการลด ก๊าซเรือนกระจกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ 1. เป้าหมายก่อนปี พ.ศ. 2563 เป็นการด�าเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Action : NAMA) มีระยะการด�าเนินงานถึง พ.ศ. 2563 บนพื้นฐานการด�าเนินการ โดยสมัครใจ ซึ่งประเทศไทยได้แสดงเจตนารมณ์ไว้ว่าจะลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 7-20% เทียบกับกรณีปกติในสาขาพลังงาน และขนส่ ง ที่ ป ล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกภายในประเทศมากที่ สุ ด จากการด�าเนินการในปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา พบว่าไทยสามารถ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 17% และ 2. เป้าหมายหลังปี พ.ศ. 2563 เป็นเป้าหมายตามกลไกการมีสว่ นร่วมทีป่ ระเทศก�าหนด หรือ NDC ฉบับที่ 1 (ระยะเวลาด�าเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 25642573) ภายใต้ความตกลงปารีส โดยประเทศไทยจะลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก 20-25% จากปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ในกรณีปกติ (BAU) ในปี พ.ศ. 2573 ซึ่งจะด�าเนินการในทุก ภาคส่วนเศรษฐกิจ (Economy-Wide) ได้แก่ พลังงานและขนส่ง กระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ และการจัดการ ของเสีย เป็นต้น ทัง้ นี้ ภาครัฐได้สง่ เสริมและให้การสนับสนุนให้ทกุ ภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องหันมาใช้พลังงานทดแทน พลังงานสะอาด รณรงค์ให้ ใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในการคมนาคมขนส่งภายในปี พ.ศ. 2573 ให้ได้ 30% ส่งเสริมการเกษตรในการลดการใช้สารเคมี ลดการใช้น�้า ในภาคการเกษตร ในการปลูกสลับเปียกสลับแห้งเพื่อลดการ ปลดปล่อยก๊าซมีเทน ส่วนภาคอุตสาหกรรมมีการปรับปรุงการ ก่อสร้าง ให้หนั มาใช้ปนู ซีเมนต์ไฮดรอลิกและใช้อปุ กรณ์กอ่ สร้างที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมมากขึน้ พร้อมทัง้ เพิม่ ศักยภาพการจัดการ ของเสีย ด้วยการน�าเทคโนโลยี 3R (Reduce-Reuse-Recycle) ช่วยในการจัดการของเสียในภาคการก่อสร้าง ด้านการดูแลป่าไม้ และทีด่ นิ นัน้ ได้มกี ารจัดการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวให้มากขึน้ โดยตัง้ เป้า จะต้องมีพื้นที่ป่า 40% แบ่งเป็นป่าอนุรักษ์ 25% และอีก 15% เป็น ป่าเศรษฐกิจให้ได้

สินค้าไทย 5 ประเภทที่ส่งไปยังประเทศ แถบยุโรปได้รับผลกระทบจากมาตรการ ปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน

วราวุธ กล่าวว่า ด้านการค้าระหว่างประเทศ สิ่งที่น่ากังวล และเป็นห่วง คือ มาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน หรือ

วราวุธ ศิลปอาชา

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

14

GreenNetwork4.0 November-December

2021


Carbon Border Adjustment Mechanism (CBAM) เป็น มาตรการภายใต้ขอ้ ตกลงสิง่ แวดล้อม ธุรกิจในยุโรปทีจ่ ะบังคับใช้ ในปี พ.ศ. 2569 ซึ่งจะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจกภายใต้ข้อบังคับ EU Emissions Trading Scheme (EU ETS) ท�าให้ประเทศอื่นๆ เสียเปรียบคู่แข่งในเรื่องของต้นทุน เนื่องจากไม่มีข้อบังคับเช่นนี้ ดังนั้นจึงได้มีมาตรการคืนความ เป็นธรรมในการแข่งขันและกีดกันสินค้าทีก่ อ่ ให้เกิดก๊าซเรือนกระจก จากประเทศโลกที่สามในระยะกลาง ส่งผลให้ประเทศไทยได้รับ ผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวในการส่งสินค้า 5 ประเภทไปยัง ประเทศยุโรป ได้แก่ ซีเมนต์ ไฟฟ้า ปุ๋ย เหล็กและเหล็กกล้า และ อะลูมิเนียม และหากในอนาคตประเทศคู่ค้าอย่างสหรัฐอเมริกา และแคนาดาน�ามาตรการมาบังคับใช้ก็จะท�าให้การส่งสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องมีความยากล�าบากมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ขณะนี้รัฐบาลได้ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามสถานการณ์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิด เพื่อน�ามาปรับเปลี่ยน การจัดการผลิตสินค้าของผู้ประกอบการไทยให้ตรงกับมาตรการ CBAM เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อการท�าธุรกิจระหว่างประเทศใน ระยะยาว เชื่อว่าผู้ประกอบการไทยมีความพร้อมในการปรับตัว ในการท�าธุรกิจ เพื่อลดคาร์บอนเครดิตในทุกๆ ขั้นตอนการผลิต สอดรับกับมาตรการดังกล่าว

เวทีเจรจาการค้าระหว่างประเทศให้ความส�าคัญ กับประเด็นสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

อรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ กล่าวว่า ส�าหรับประเด็นการค้าระหว่างประเทศได้ให้ ความส�าคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง โดยมีข้อก�าหนด และข้อบังคับต่างๆ ออกมามากมาย เช่น ในเวทีองค์การการค้าโลก (World Trade Organization : WTO) มีข้อยกเว้นให้สมาชิก จ�ากัดการน�าเข้าเพื่อสิ่งแวดล้อมได้ แต่จะต้องสมเหตุสมผล มีคณะกรรมการว่าด้วยการค้าและสิ่งแวดล้อม (CTE) เป็นเวที หารือหลักเรื่องการค้าและสิ่งแวดล้อม มีความพยายามจัดท�า ข้อตกลงหลายฝ่ายเรื่องการค้าและสิ่งแวดล้อม และเป็นเวทีให้ สมาชิกหารือในเรื่องสิ่งแวดล้อมที่สมาชิกสนใจ ด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟกิ (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) มีการจัดท�าบัญชีรายการสินค้า และสิ่งแวดล้อม เพื่อลดภาษีน�าเข้าให้เหลือไม่เกิน 5% ในสินค้า 54 รายการ อยูร่ ะหว่างการจัดท�าแนวทางส่งเสริมและอ�านวยความ สะดวกแก่บริการสิง่ แวดล้อมและจัดกิจกรรมในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับ สิ่งแวดล้อม เขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA) ยุคใหม่ มักมีขอ้ บทเรือ่ งสิง่ แวดล้อมและข้อบทเรือ่ งการค้าและการพัฒนา ที่ยั่งยืน ซึ่งประเทศไทยมี FTA อยู่ 17 ฉบับ แต่ไม่ได้ครอบคลุม เรือ่ งสิง่ แวดล้อม แต่หลังจากนีจ้ า� เป็นต้องมีการน�าเรือ่ งสิง่ แวดล้อม อยู่ใน FTA พิมพ์เขียว

15

แนะผู้ประกอบการศึกษากฎระเบียบ ด้านสิ่งแวดล้อม ก่อนส่งสินค้าไป EU มิฉะนั้นอาจถูกกีดกันทางการค้า

การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community Blueprint : AEC Blueprint พ.ศ. 2568 : ก�าหนด ให้เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนเป็นกลยุทธ์การเติบโต ของอาเซียน รับรองกรอบเศรษฐกิจหมุนเวียนส�าหรับ AEC (Framework for Circular Economy for the AEC) มอบหมาย ฝ่ายเลขาธิการอาเซียนไปศึกษากลยุทธ์ในการท�าให้อาเซียนเป็น ภูมิภาคที่มีความเป็นกลางทางคาร์บอน และประเทศคู่เจรจาของ อาเซียน เสนอให้มีการ Upgrade FTA ในข้อบทเรื่องสิ่งแวดล้อม และกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (UNFCCC) มีหลักการที่ระบุถึงผลกระทบต่อการค้า ระหว่างประเทศ ซึง่ ผูป้ ระกอบการต้องรับทราบข้อมูลการค้าเหล่านี้ แล้วน�าไปปฏิบัติเพื่อผลิตสินค้า ผลิตภัณฑ์ และบริการต่างๆ ให้ สอดรับมากขึ้น มิฉะนั้นจะถูกกีดกันทางการค้า โดยมาตรการส่วนใหญ่จะแบ่งการค้าออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุม่ แรกจะเป็นมาตรการของผูน้ า� เข้า ซึง่ ผูป้ ระกอบการและ ผูส้ ง่ ออกของไทยจะต้องติดตามและเฝ้าระวัง เช่น สหภาพยุโรป (EU) จะให้ความส�าคัญเรื่อง Illegal Unreported and Unregulated Fishing (IUU Fishing) ต้องมีการควบคุมดูแลเรือ่ งการจับสัตว์นา�้ ทางทะเลไม่ให้มกี ารจับทีผ่ ดิ กฎหมาย นอกจากนี้ ทางสหภาพยุโรป ได้ควบคุมเรือ่ งการท�าไม้ทผี่ ดิ กฎหมาย เพราะฉะนัน้ หลายประเทศ ทีท่ า� ป่าไม้จะต้องเพิม่ ความเข้มงวด หรือแม้กระทัง่ เรือ่ งน�า้ มันปาล์ม ทางสหภาพยุ โ รปจะต้ อ งมี ก ารตรวจทานถึ ง แหล่ ง ที่ ม าว่ า มี การจัดการน�าไม้ น�าน�้ามันปาล์ม ที่ผลิตเหล่านั้นมาได้อย่างไร มีการบุกรุกป่าส่งผลกระทบต่อชุมชน สังคมหรือไม่อย่างไร ส่วนเรือ่ ง CBAM (Carbon Border Adjustment Mechanism) กลไกการปรับคาร์บอนข้ามพรมแดน ซึง่ สหภาพยุโรปจะใช้มาตรการ CBAM เต็มรูปแบบตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2569 เป็นต้นไป สินค้าทีน่ า� เข้าทีจ่ ะอยูใ่ นบังคับของมาตรการ CBAM คือ สินค้าทีม่ ี กระบวนการผลิตทีป่ ล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง เพือ่ ลดช่องว่างระหว่าง สินค้า ในอนาคตคาดว่าจะมีการขยายมาตรการ CBAM ในชนิด สินค้าอื่นๆ เพิ่มเติม เพราะแต่ละประเทศต่างให้ความส�าคัญและ คุ้มครองผู้บริโภคภายในประเทศเป็นหลักมากขึ้น หากตรวจพบ สินค้าและบริการใดจากประเทศใดมีการฝ่าฝืนละเมิดการค้า ทีล่ ะเมิดสิง่ แวดล้อม ก็จะไม่สามารถน�าเข้าไปจ�าหน่ายในประเทศ นั้นๆ ได้ โดยเฉพาะในประเทศสหภาพยุโรปที่จะมีข้อจ�ากัดเรื่อง การใช้สตั ว์เข้าร่วมท�าการผลิตสินค้าของไทย เช่น ใช้ลงิ เก็บมะพร้าว ที่เป็นประเด็นปัญหาก่อนหน้านี้ เป็นต้น “ส� ำ หรั บ ค� ำ แนะน� ำ ที่ อ ยำกให้ ภ ำคเอกชนทุ ก ๆ ธุ ร กิ จ ทัง้ รำยใหญ่ รำยเล็ก และสตำร์ตอัป ควรปรับตัวเพือ่ ให้สอดคล้อง กับทิศทำงโลก ควรใช้แนวทำง BCG ในกำรเพิ่มมูลค่ำสินค้ำและ บริกำร ปรับตัวให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีธรรมำภิบำลในกำร ด�ำเนินธุรกิจ ค�ำนึงถึงประเด็นด้ำนสังคมและสิ่งแวดล้อม จัดท�ำ

GreenNetwork4.0 November-December

2021


ระบบ Traceability ตรวจสอบย้อนกลับ และรำยงำนควำมยั่งยืน (Sustainability Reporting) ปลูกฝังแนวควำมคิดเรือ่ งโมเดลทำง เศรษฐกิ จ ชี ว ภำพ-เศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย นและเศรษฐกิ จ สี เ ขี ย ว (BCG Model) ใช้กำรท�ำงำนประกอบธุรกิจวิถใี หม่ ให้ควำมส�ำคัญ กับกำรผลิตและกำรด�ำเนินธุรกิจทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมมำกขึน้ รวมทัง้ เล็งเห็นโอกำสในกำรเกิดธุรกิจใหม่ เช่น สินค้ำและบริกำร สิ่งแวดล้อม พลังงำนสะอำด กำรซื้อขำยคำร์บอนเครดิต เป็นต้น ใช้ประโยชน์หรือขอสนับสนุนสิทธิประโยชน์ภำครัฐที่โยงกับเรื่อง สิ่งแวดล้อม และที่ส�ำคัญ ติดตำมข่ำวสำรทำงด้ำนตลำดกำรค้ำ ที่เป็นเป้ำหมำยของธุรกิจอย่ำงใกล้ชิด ศึกษำรำยละเอียดของ มำตรกำรและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องให้เข้ำใจ และจับมือกับภำครัฐ สื่อสำรสองทำงในกำรท�ำงำนเพื่อที่จะช่วยกันในกำรท�ำงำนให้มี ประสิทธิภำพที่ดียิ่งขึ้น” อรมน กล่าว

แนะรัฐควรออกนโยบายชัดเจน โดยเฉพาะแผน PDP

ชาญยุทธ ฉายาวัฒนะ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อมิตา เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ากัด บริษัทในเครือ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า บริษัทฯ มี ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย เช่น ธุรกิจน�้ามันปาล์ม ธุรกิจโรงไฟฟ้า และพลังงานหมุนเวียน ธุรกิจสถานีอดั ประจุไฟฟ้า ธุรกิจยานยนต์ ไฟฟ้า และธุรกิจระบบกักเก็บพลังงาน เป็นต้น ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทีก่ ระบวนการผลิตในแต่ละธุรกิจจะก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซมลพิษ ท�าลายสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปลดปล่อย CO2 ซึ่งเป็นมลพิษ ในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์สชู่ น้ั บรรยากาศทีบ่ ริษทั ฯ หลีกเลีย่ ง ไม่ได้ แม้วา่ ทางบริษทั ฯ จะมีความพยายามในการหากระบวนการ แก้ไขปัญหา ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต ด้วยการน�าเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ช่วยในการลดการปล่อย CO2 รวมทั้งระดม นักวิชาการ งานวิจยั ต่างๆ และผูเ้ ชีย่ วชาญมาร่วมให้องค์ความรูท้ กุ ๆ กระบวนการผลิตสินค้าของบริษทั ฯ เพือ่ ร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในการลด การปล่อยคาร์บอน ลดปัญหาโลกร้อน และฝุ่น PM2.5 มาอย่าง ต่อเนื่อง

16

“ขณะนีบ้ ริษทั ฯ ก�ำลังรอแนวนโยบำยส่งเสริมตำมแผนพัฒนำ ก�ำลังผลิตไฟฟ้ำของประเทศ (Power Development Plan : PDP) ที่จะประกำศออกมำว่ำกำรส่งเสริมกำรลงทุนพลังงำนหมุนเวียน อย่ำงไรบ้ำง เพื่อที่บริษัทฯ จะน�ำแนวทำงมำปรับใช้ในกำรด�ำเนิน ธุรกิจในเครือให้สอดรับ สร้ำงซัพพลำยเชนรองรับทีต่ รงเป้ำหมำย มำกกว่ำที่จะด�ำเนินธุรกิจไปแล้วต้องปรับเปลี่ยนเนื่องจำกไม่ตรง แนวทำงนโยบำยภำครัฐในอนำคต ท�ำให้บริษทั ฯ สูญเสียโอกำสใน กำรแข่งขันทำงกำรค้ำได้ เช่น นโยบำยภำครัฐต้องมำก�ำหนดภำพ ให้ชดั เจนว่ำ ในอนำคตนโยบำยกำรซือ้ ขำยคำร์บอนเครดิตอย่ำงไร ซึ่งถ้ำมีแผนชัดเจน ภำพกำรลงทุนก็ชัดเจนขึ้น และภำคเอกชน ก็พร้อมลงทุนในพลังงำนหมุนเวียนควบคู่ไปกับพลังงำนชนิด อื่นๆ ที่ให้คำร์บอนเครดิตที่สูง และขำยได้รำคำที่สูงตำมไปด้วย โดยภำพรวมพลังงำนหมุนเวียนทั้งประเทศขณะนี้มีอยู่ 10,000 เมกะวัตต์” ชาญยุทธ กล่าว

วอนรัฐส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน สร้างซัพพลายเชนพลังงานหมุนเวียน ครอบคลุมทั่วประเทศ

ทั้งนี้ ต้องการให้รัฐบาลเข้ามาส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน ควบคูไ่ ปกับการผลิตอาหารทีป่ ระเทศไทยได้ชอื่ ว่าเป็นครัวของโลก รวมทั้งสร้างซัพพลายเชนของพลังงานหมุนเวียนทั้งระบบให้มี ความเสถียรและครอบคลุมทั่วประเทศ ลดการน�าเข้าวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง แล้วหันมาส่งเสริมให้ใช้ สินค้า วัตถุดบิ จากผูป้ ระกอบการไทย เช่น แผงโซลาร์เซลล์ เป็นต้น

GreenNetwork4.0 November-December

2021


และเรื่องการซื้อขายไฟที่ยังติดข้อก�าหนดบางประการ โดยเร่ง ปรับแก้เพื่ออ�านวยความสะดวก สร้างแรงจูงใจแก่ภาคเอกชน ผู้สนใจเข้าร่วมท�าธุรกิจด้านนี้ให้มากขึ้น รวมทั้งควรศึกษาการน�า เทคโนโลยีบล็อกเชนเข้ามาช่วยเรือ่ งการซือ้ ขายไฟฟ้า เพือ่ ช่วยลด คาร์บอนเครดิตแบบระบบเครือข่ายการแชร์ข้อมูลและทรัพยากร ที่มีประสิทธิภาพ (Peer to Peer) เป็นต้น

BIG ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการลด CO2 และก๊าซเรือนกระจกในไทย

ปิยบุตร จารุเพ็ญ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางกอก อินดัสเทรียลแก๊ส จ�ากัด (BIG) กล่าวว่า บริษัทฯ ด�าเนินธุรกิจ มากว่า 30 ปี ภายใต้แนวคิด Innovative Green และ Clean มุง่ เน้นการพัฒนานวัตกรรมก๊าซอุตสาหกรรมและแอปพลิเคชันใหม่ๆ ทีต่ อบสนองความต้องการด้านการอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมและผูบ้ ริโภคไทย พร้อมไปกับการพัฒนาสิง่ แวดล้อม สังคม และชุมชน ด้วยกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดทัง้ กระบวนการผลิตอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนมีการด�าเนินงาน ที่โปร่งใส รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายตลอดมา โดยมี พื้นฐานมาจาก 4 คุณค่าหลักของบริษัท ได้แก่ ความปลอดภัย ความไว้วางใจ นวัตกรรมใหม่ และความสัมพันธ์แบบคู่ค้าที่ยั่งยืน การสร้างสรรค์นวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ โซลูชันที่เหมาะสมใน การผลิต และแอปพลิเคชันการใช้ก๊าซอุตสาหกรรมควบคุมการ ปล่อย CO2 ลดการใช้พลังงานและลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก

17

ซึง่ ถือเป็นความท้าทายอย่างยิง่ ทัง้ จากบริษทั ฯ เองและจากทางคูค่ า้ ทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ยานยนต์ เหล็ก และกระจก ที่จะต้องช่วยกันในการท�าระบบการด�าเนินธุรกิจให้ เข้าสู่ Low Carbon ไปด้วยกัน นอกจากนี้ อุตสาหกรรมไทยต้องมีระบบ Ecosystems เชื่อมโยงการท�างานทั้งระบบให้เกิดประสบการณ์ท�างานร่วมกัน ทัง้ บริษทั ฯ เพือ่ ทราบสถานการณ์การท�างานของธุรกิจของบริษทั ฯ หากมี เ หตุ ฉุ ก เฉิ น เกิ ด ขึ้ น จะได้ เ ร่ ง เข้ า ไปจั ด การแก้ ไ ขปั ญ หา เฉพาะจุดได้โดยเร็ว ซึง่ ขณะนีบ้ ริษทั ฯ พยายามน�าโซลูชนั นีไ้ ปใช้ใน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี โรงกลัน่ เนือ่ งจากมีความพร้อมในการลด คาร์บอนแล้ว ส่วนหลายอุตสาหกรรมที่ยังต้องด�าเนินการอยู่กับ ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบเดิม ก็ต้องน�านวัตกรรมเหล่านี้เข้าไปช่วยใน การลดคาร์บอน เพื่อช่วยกันท�าให้โลกนี้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน ส�าหรับประเด็นที่ภาคเอกชนต้องการให้ภาครัฐสนับสนุน คือ เรือ่ งงบประมาณในการสร้างระบบโครงสร้างพืน้ ฐานโซลูชนั และเทคโนโลยีใหม่ที่ทันสมัยรองรับการด�าเนินธุรกิจ เพราะ บางธุรกิจบางบริษัทไม่สามารถที่จะด�าเนินการปรับสร้างระบบ โครงสร้างพื้นฐาน น�าโซลูชันที่มีราคาสูงมาใช้ในกิจการของ ตนเองได้ ใ นช่ ว งเวลาที่ เ กิ ด วิ ก ฤตทางเศรษฐกิ จ และวิ ก ฤต COVID-19

GreenNetwork4.0 November-December

2021


Environment กองบรรณาธิการ

บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด จับมือ บริษัท เอสซีจีแพคเกจจิ้ง จ�ำกัด (มหำชน) หรือ SCGP และองค์การเภสัชกรรม สรุปผล การด�าเนินโครงการไปรษณีย์ reBOX ได้รับ กล่อง/ซองที่ไม่ใช้แล้วจากคนไทยรวมจ�านวน 220,000 กิโลกรัม หรือ 220 ตัน โดยสามารถ แปลงมูลค่าเป็นหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ได้กว่า 304,000 ชิ้น โดยบรรจุรวมใน “กล่อง BOX บุญ” เพือ่ ส่งมอบให้กบั โรงพยาบาลน�าไป ใช้ประโยชน์ในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรค ติดเชือ้ COVID-19 จ�านวน 8 แห่งทีข่ าดแคลน และมีผู้ติดเชื้อจ�านวนมาก

ศ. ดร.ปำริชำต สถำปิตำนนท์ กรรมการ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ากัด

18

GreenNetwork4.0 November-December

2021


“โครงการไปรษณีย์ reBOX มุง่ เน้น น�ากล่อง/ซองทีไ่ ม่ได้ใช้แล้วมาสร้างสรรค์ ให้เป็นสิง่ ของทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม ตลอดจนรณรงค์ให้ภาคประชาชน องค์กร ธุรกิจ ให้ความส�าคัญถึงกระบวนการ สร้างความยัง่ ยืนตามหลัก 3R คือ Reuse การใช้ซา�้ Reduce การลดใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และ Recycle การน�ากลับมาใช้ใหม่”

ศ. ดร.ปำริชำต สถำปิตำนนท์ กรรมกำร บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด กล่าวว่า ไปรษณีย์ไทยในฐานะหน่วยงานด้านการสื่อสารและการ ขนส่งของชาติ ได้รว่ มเป็นส่วนส�าคัญสนับสนุนแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ทีจ่ ดั การกับของเสียหรือขยะจากสินค้าหลังจากการ บริโภค เพือ่ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด มุง่ สูก่ ารพัฒนาเศรฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยในปี พ.ศ. 2563-2564 ที่ผ่านมา ได้จัดโครงการไปรษณีย์ reBOX มุ่งเน้นน�ากล่อง/ซองที่ไม่ได้ใช้แล้ว มาสร้างสรรค์ให้เป็นสิ่งของที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ตลอดจน รณรงค์ให้ภาคประชาชน องค์กรธุรกิจให้ความส�าคัญถึงกระบวนการ สร้างความยั่งยืนตามหลัก 3R คือ Reuse การใช้ซ�้า Reduce การลดใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และ Recycle การน�ากลับมาใช้ใหม่ ในปี พ.ศ. 2564 นี้ การด�าเนินโครงการไปรษณีย์ reBOX ได้รับ ความร่วมมือจากประชาชนและภาคส่วนต่างๆ เช่น กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม บริษัท ซีพีแรม จ�ากัด สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ฟิวเจอร์ปาร์ครังสิต และสเปลล์ SHIPPOP เป็นต้น ร่วมน�ากล่อง/ซอง ทีไ่ ม่ใช้แล้วส่งต่อเข้าสูร่ ะบบรีไซเคิลของ SCGP เป็นจ�านวนมาก ตัง้ แต่เดือน พฤษภาคม-ตุลาคม 2564 สามารถรวบรวมได้กว่า 220,000 กิโลกรัม หรือ 220 ตัน โดยในระยะที่ 1 ในเดือนพฤษภาคม ไปรษณีย์ไทยได้ส่งมอบให้

19

SCGP จ�านวน 23,500 กิโลกรัม คิดเป็น 23.5 ตัน ในโครงการ “รวมใจ สู้โควิด เปลี่ยนกระดาษเป็นเตียงสนามกระดาษเอสซีจีพี” เพื่อมอบให้ โรงพยาบาลสนามต่างๆ เรียบร้อยแล้ว ส่วนระยะที่ 2 ในเดือนมิถุนายน-ตุลาคม 2564 ไปรษณีย์ไทยได้ รวบรวมกล่อง/ซองที่ไม่ใช้แล้วให้ SCGP โดยองค์การเภสัชกรรมจัดท�า และสมทบหน้ากากอนามัยทางการแพทย์จ�านวน 304,000 ชิ้น บรรจุ รวมใน “กล่อง BOX บุญ” เพื่อส่งมอบให้กับโรงพยาบาลใช้ประโยชน์ ในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรคติดเชื้อ COVID-19 รวม 8 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา โรงพยาบาลนครนายก โรงพยาบาล แม่สอด โรงพยาบาลบ้านตาก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา โรงพยาบาลบุรีรัมย์ โรงพยาบาลยะลา และโรงพยาบาลปัตตานี

GreenNetwork4.0 November-December

2021


บทความ พิชัย ถิ่นสันติสุข

ค�ากล่าวโบราณที่ว่า “กวาดขยะซ่อนไว้ใต้พรม” ก็ถือว่าสะอาดแล้ว แต่แท้ที่จริงปัญหายังไม่ได้รับการแก้ไข ไม่ต่างอะไรกับการ ก�าจัดขยะติดเชื้อและขยะจาก COVID-19 ซึ่งภาครัฐเองก็ตกที่นั่งกลืนไม่เข้า คายไม่ออก ท�าเป็นเอาหูไปนา เอาตาไปไร่ เนื่องจากชุมชน ไม่ยอมรับเตาเผาขยะติดเชือ้ จึงไม่สามารถสร้างเพิม่ ได้ ส่วนเตาเผาขยะติดเชือ้ ทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั รัฐก็ผอ่ นผัน ไม่ได้ตรวจมลพิษ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสารไดออกซิน (Dioxins) ที่ปลดปล่อยจากการเผาตามมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ

จึ ง ได้ เ วลาที่ ป ระเทศไทยจะปรั บ เปลี่ ย น เทคโนโลยี ก ารจั ด การขยะติ ด เชื้ อ และขยะจาก สถานพยาบาล (Medical Waste) ในรูปแบบของ เตาเผาขยะมาเป็นระบบไฮโดรเทอร์มอลทรีตเมนต์ (Hydrothermal Treatment : HTT) ซึง่ ไม่ได้ใช้วธิ กี าร เผาขยะแบบโรงไฟฟ้า แต่ HTT ใช้ความร้อนจากไอน�า้ ความดันอากาศ และระยะเวลา เพือ่ เปลีย่ นสภาพขยะ จนเป็นมวลสารเล็กๆ จึงปลอดภัยจากเชื้อโรค และ สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น เป็นเชื้อเพลิง คุณภาพดีที่มีค่าความร้อนสูง เทคโนโลยี Hydrothermal Treatment ได้มี การศึกษาและพัฒนาในเมืองไทยมาเป็นระยะเวลา หนึ่งแล้ว โดย รศ. ดร.สุธรรม ปทุมสวัสดิ์ ภาควิชา วิศวกรรมเครือ่ งกลและการบิน-อวกาศ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กระบวนการไฮโดรเทอร์มอลทรีตเมนต์ 20

GreenNetwork4.0 November-December

2021


ถังปฏิกรณ์ (Reactor) ไฮโดรเทอร์มอลที่ใช้ในประเทศญี่ปุ่น

ตารางเปรียบเทียบระบบก�าจัดขยะติดเชื้อระหว่างระบบเตาเผาและระบบไฮโดรเทอร์มอลแรงดันสูง รายละเอียด

Hydrothermal Treatment

เตาเผา (Incinerator)

1. เทคโนโลยีที่ใช้

• ใช้ไอน�้าที่มีอุณหภูมิมากกว่า 200oC ความดันมากกว่า 20 บาร์ ป้อนเข้าถังปฏิกรณ์ (Reactor) ภายในถังมี ใบกวนขยะ • เมือ่ อุณหภูม+ิ ความดันสูงขึน้ จนเท่ากับไอน�า้ ทีป่ อ้ น จะคง สภาพนี้ไว้ไม่น้อยกว่า 30 นาที เพื่อก�าจัดเชื้อโรคและ แปรสภาพของขยะ

• ใช้เตาเผาไหม้ชนิดพิเศษ แบบ 2 ห้องเผา ห้องเผาที่ 1 : เป็นการเผาไหม้ขยะติดเชื้อที่มีอุณหภูมิ ไม่เกิน 800oC เพื่อท�าลายขยะและฆ่าเชื้อโรค ห้องเผาที่ 2 : ใช้อณ ุ หภูมมิ ากกว่า 1200oC เป็นเวลาที่ นานกว่า 1-2 วินาที เพื่อควบคุมมลพิษ

2. ผลพลอยได้จาก กระบวนการ (By Product)

• ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีสามารถน�าไปใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ มีคณ ุ ภาพดี ขนาดเล็ก ร่วนซุย และสามารถลดความชืน้ ได้เร็ว • มีค่าความร้อนสูง สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ดี

• ขี้เถ้าจัดว่าเป็นขยะอันตรายตามกฎหมายกรมโรงงาน อุตสาหกรรม จึงต้องน�าไปฝังกลบในบ่อขยะอันตราย (Secured Landfill for Industrial Waste)

3. การควบคุมมลพิษ และผลกระทบ

• ผลผลิตที่ได้สามารถน�ามาเป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าและ ไอน�้าขนาดเล็กได้ เพื่อใช้ภายในโรงงาน • ขยะติดเชือ้ เมือ่ ผ่านกระบวนการนีแ้ ละผ่านการตรวจสอบ ตามกฎกระทรวงสาธารณสุข ไม่ถอื ว่าเป็นขยะอันตราย สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้ • ชุมชนยอมรับและปลอดภัยจากมลพิษ

• การควบคุมไดออกซินท�าได้ยาก แม้วา่ จะมีระบบกรองฝุน่ ที่ดีแล้วก็ตาม • ต้นทุนในการเผามีราคาสูงเนื่องจากต้องใช้เชื้อเพลิง จากภายนอก เช่น น�้ามันดีเซล หรือก๊าซ LPG • ชุมชนไม่ยอมรับ

21

GreenNetwork4.0 November-December

2021


มหันตภัยไดออกซิน (Dioxins)

“ได้เวลาที่ประเทศไทยจะปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีการจัดการขยะติดเชื้อและขยะจาก สถานพยาบาลในรูปแบบของเตาเผาขยะ มาเป็นระบบไฮโดรเทอร์มอลทรีตเมนต์ (HTT) ซึ่งไม่ได้ใช้วิธีการเผาขยะแบบโรงไฟฟ้า แต่ HTT ใช้ความร้อนจากไอน�้า ความดัน อากาศ และระยะเวลา เพื่อเปลี่ยนสภาพขยะ จนเป็นมวลสารเล็กๆ จึงปลอดภัยจาก เชื้อโรค และสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้อีก”

ไดออกซิน คือ กลุ่มสารเคมี 2 กลุม่ ทีเ่ จือปนอยูเ่ มือ่ เราเผาขยะ ได้แก่ คลอรีนและสารอินทรีย์ที่มีโครงสร้าง ทางเคมีคล้ายๆ กัน ไดออกซินเกิดจาก ผลข้างเคียงของกระบวนการเผาไหม้ สารไฮโดรคาร์บอนร่วมกับสารประกอบ คลอรีน ถึงแม้เตาเผาขยะจะเผาใน อุณหภูมสิ งู ก็ไม่อาจจัดการกับไดออกซิน ดังนั้นจึงต้องมีระบบดักจับไดออกซิน แล้ ว เผา โดยเตาเผาส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เทคโนโลยีเก่าๆ ไม่มีส่วนนี้ ส่วนที่ อันตรายคงไม่ต้องบรรยายเพราะท่าน เข้าใจดีแล้วว่า ไดออกซินคือสารก่อ มะเร็ง ส่งผลต่อระบบประสาท ระบบ สืบพันธุ์ และทารกในครรภ์ สิง่ ทีอ่ นั ตราย กว่านัน้ ก็คอื สารพิษชนิดนีส้ ามารถเกาะ อยู่กับอนุภาคควันไฟ ลอยในอากาศ เข้าไปปนเปือ้ นในสิง่ แวดล้อม อายุยนื ยาว ไม่ย่อยสลายง่ายในสิ่งแวดล้อม และ จะไปสะสมอยู่ในห่วงโซ่อาหาร เช่น สั ต ว์ เ ลี้ ย ง จนท้ า ยที่ สุ ด อยู ่ ใ นตั ว เรา เพราะมนุษย์เรากินทุกอย่าง

เนื่องจากการเผาขยะติดเชื้อควบคุมมลพิษได้ยาก และสารไดออกซินมีอันตรายสูง การทดสอบและควบคุมท�าได้ยาก ประเทศที่พัฒนาแล้ว จึงได้น�าเทคโนโลยีไฮโดรเทอร์มอลทรีตเมนต์ ซึ่งมีต้นทุนไม่แตกต่างจากเตาเผาขยะและเป็นที่ยอมรับของชุมชนมาใช้แทน สิ่งส�าคัญก็คือ จะช่วยให้ ชุมชนรอบโรงงานก�าจัดขยะมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความปลอดภัยจากมลพิษ ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องและผู้รับผิดชอบขยะติดเชื้อ ขยะจากสถานพยาบาล รวมทั้งขยะจากการรักษา COVID-19 จึงควรมีการพิจารณาน�าเทคโนโลยีที่ปลอดภัยเข้ามาแก้ไขปัญหาขยะโดยเร็ว เพื่อให้เกิดความมั่นใจกับ นักท่องเที่ยว และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยสู่ยุค Bio-Circular-Green Economy 22

GreenNetwork4.0 November-December

2021


Industry วิฑูรย์ สิมะโชคดี

ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมให้เกิดความร่วมมือกันระดับโลกเพือ่ การแก้ปญ ั หา Climate Change พร้อมๆ กับอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมในวันนี้ ก็คอื ข้อตกลง ร่วมกันจากผลของ “การประชุม COP26”

COP ย่อมาจาก “Conference of the Parties” คือ การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วย

“การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” (Climate Change) ซึ่งจัดขึ้นทุกปีในช่วง 26 ปีที่ผ่านมา เพื่อน�าปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ไปสู่เวทีที่ทุกประเทศช่วยกันคิดช่วยกันแก้ปัญหานี้ร่วมกันทั้งโลก

การประชุม COP26 ครัง้ นี้ จัดขึน้ ทีเ่ มืองกลาสโกว์ ประเทศ สกอตแลนด์ ระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม ถึง 12 พฤศจิกายน 2021 ซึ่งคาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งหมดราว 30,000 คนจาก ทั่วโลก อันประกอบด้วย ผู้น�าระดับสูงของแต่ละประเทศ ผู้แทน องค์กร นักวิชาการ นักข่าว และผู้สนใจจากทั่วทุกมุมโลก นอกจากการมุ่งหวังว่าประเทศทั่วโลกจะประกาศแผนการ ลดการปล่อยมลพิษภายในปี ค.ศ. 2030 แล้ว ยังมีขอ้ ตกลงเฉพาะ เกี่ยวกับการเลิกใช้ถ่านหิน การเปลี่ยนไปใช้ยานพาหนะไฟฟ้า และคาดว่าจะมีมาตรการด�าเนินการต่างๆ เพื่อปกป้องธรรมชาติ มากขึ้นด้วย คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) ซึ่งเป็นหน่วยงานชั้นน�าของโลกด้าน วิทยาศาสตร์ภูมิอากาศ ได้ประเมินผลกระทบที่มีต่อโลกจาก อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1.5oC อย่างละเอียด (อันเป็นส่วนหนึ่งของ “ข้อตกลงปารีส” เมือ่ ปี ค.ศ. 2015) ได้พบว่า ความเสียหายทีเ่ กิด จากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1.5oC กับ 2oC นั้น แตกต่างกันมาก และ สรุปได้ว่า อุณหภูมิที่ต�่ากว่านั้นจะมีความปลอดภัยกว่ามาก

ผลการวิจยั เพิม่ เติมจาก IPCC ทีเ่ ผยแพร่ในเดือนสิงหาคม ที่ผ่านมา ได้เน้นย�้าในค�าเตือนเหล่านี้ และสรุปว่ายังมีโอกาสที่ โลกจะอยู่ภายในเกณฑ์ 1.5oC แต่จะต้องมีความพยายามร่วมกัน ในระดับโลกอย่างจริงจัง การประชุม COP26 ครั้งนี้ จึงไม่ได้เป็นเพียงการประชุม ระดับนานาชาติอีกงานหนึ่งเท่านั้น แต่ถือเป็นช่วงเวลาส�าคัญที่ ชาวโลกจะร่วมกันก�าหนดว่า เราจะสามารถป้องกันภัยพิบัติทาง สภาพภูมิอากาศที่จะเกิดในอนาคตอันใกล้ได้ดีมากน้อยเพียงใด ซึง่ เป็นความเร่งด่วนที่ “ผูน้ า� ” และชาวโลกจะต้องร่วมด้วยช่วยกัน อย่างจริงจังมากขึ้น เราอาจจะเป็น “โอกาสสุดท้ายของโลกที่จะ ท�าให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) อยู่ภายใต้การควบคุม” ทุกวันนี้ “อุตสาหกรรมสีเขียว” (Green Industry) จึงเป็น มาตรการส�าคัญอีกประการหนึง่ ของไทยทีจ่ ะสนับสนุนการแก้ปญ ั หา Climate Change ตาม “COP26” เพื่อความยั่งยืนของโลกต่อไป ครับผม!

23

2021

GreenNetwork4.0 November-December


เจมส์ ฮิกกิ้นส์ (James Higgins)

เจ้าของบ้านและธุรกิจต่างๆ เริ่มมีความสนใจ ที่จะติดตั้งระบบ PV มากขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัย ทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น โดยทั่วไปแล้วการติดตั้งระบบ PV เหล่านีจ้ ะปลอดภัย แต่เราควรค�านึงถึงมาตรการ ความปลอดภัยในระหว่างที่ท�าการออกแบบ ติดตั้ง และใช้งาน

มาตรฐานและกฎระเบียบระดับโลกในปัจจุบนั นีก้ า� ลังช่วยปรับปรุง ให้อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์มีระบบที่ปลอดภัยมากขึ้น แม้ว่า แต่ละประเทศจะต้องรับผิดชอบข้อก�าหนดด้านความปลอดภัยของ PV ของ ตนเองและอาจแตกต่างกันไปตามภูมภิ าค กฎระเบียบต่างๆ มีผลกระทบ ร่วมกันในการผลักดันให้มาตรฐานความปลอดภัยในอุตสาหกรรมเกิด ความก้าวหน้า ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งในประเทศผู้น�าด้าน กฎระเบียบความปลอดภัยของระบบ PV ทัง้ นี้ บทบัญญัตใิ น NEC 2017 หรือ NEC 2020 ฉบับใหม่ลา่ สุด ช่วยลดอันตรายจากไฟฟ้าดูดบนแผง PV โดยมีข้อก�าหนดให้มีฟังก์ชันการปิดระบบเร่งด่วนในการติดตั้งระบบ รูฟท็อปในท�านองเดียวกัน ล่าสุดวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ประกาศใช้มาตรฐานความปลอดภัยขัน้ สูงภาคบังคับในมาตรฐาน การติดตัง้ โซลาร์รฟู ท็อปในประเทศไทยฉบับแก้ไข ด้วยก�าหนดการชัว่ คราว ให้มผี ลบังคับใช้ตน้ ปี พ.ศ. 2565 ข้อก�าหนดในการปิดระบบเร่งด่วนระบุ ให้ลดตัวน�าไฟฟ้าทีม่ กี ารควบคุมเกิน 300 มิลลิเมตรของแผง PV ลงเหลือ 30 โวลต์ หรือน้อยกว่าภายใน 30 วินาที นอกจากนี้ ต้องลดแรงดันไฟฟ้า ภายในขอบเขตของแผง PV ลงเหลือ 80 โวลต์ หรือน้อยกว่าภายใน 30 วินาที บทบัญญัตเิ หล่านีช้ ว่ ยให้ผตู้ ดิ ตัง้ เจ้าหน้าทีซ่ อ่ มบ�ารุง และนักดับเพลิง สามารถเข้าถึงระบบและพื้นที่โดยรอบได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย

ประเด็นส�าคัญอีกประการหนึ่งที่กฎระเบียบใหม่เน้นย�้า คือ การตรวจสอบการลัดวงจรของอาร์ก มาตรฐานขั้นสูงเหล่านี้ ก�าหนดให้ใช้งานฟังก์ชันการตรวจสอบอาร์กที่ถูกออกแบบให้ลด ผลกระทบจากการลัดวงจรของอาร์กทีอ่ ยูภ่ ายใต้สภาวะบางอย่าง ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงที่จะไฟไหม้ได้ ดังนั้นตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2565 การติดตัง้ โซลาร์บนดาดฟ้าใหม่ในประเทศไทยต้องมีอปุ กรณ์ ป้องกันการลัดวงจรของอาร์ก (Arc Fault Circuit Interrupter (AFCI)) บนฝัง่ DC ของอินเวอร์เตอร์เพือ่ เป็นมาตรการด้านความ ปลอดภัยในการป้องกันอัคคีภัยที่อาจเกิดขึ้นจากการลัดวงจรของ อาร์ก ทัง้ นี้ จะต้องเปิดใช้งานกลไกการป้องกันนีภ้ ายใน 2.5 วินาที หลังจากตรวจพบเหตุการณ์ วิธนี เี้ ป็นข้อก�าหนดทีค่ ล้ายกับมาตรฐาน UL1699B ของ UL ในสหรัฐอเมริกา ซึง่ เรียกร้องให้มกี ารตรวจสอบ อาร์กเฉพาะเมื่อเกิดขึ้น


นอกจากความส� า คั ญ ในกฎระเบี ย บด้ า นความปลอดภั ย แล้ ว การเพิ่มประสิทธิภาพด้านความปลอดภัยของระบบ PV รวมทั้งความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทกี่ า� หนดเกณฑ์มาตรฐานใหม่เพือ่ ความปลอดภัย ในระดับทีส่ งู ขึน้ ก็มคี วามส�าคัญมากเช่นกัน ในขณะทีอ่ นิ เวอร์เตอร์แบบเดิม อาจให้โซลูชนั ด้านความปลอดภัยทีจ่ า� กัด ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีใหม่ จะน�าหน้าและเพิ่มประสิทธิภาพเกินมาตรฐานความปลอดภัยอีกด้วย ทัง้ ในเรือ่ งราคาทีค่ มุ้ ค่าและใช้เวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อินเวอร์เตอร์ แบบเดิ ม มี ฟ ั ง ก์ ชั น ด้ า นความปลอดภั ย ที่ จ� า กั ด เนื่ อ งด้ ว ยในขณะที่ อินเวอร์เตอร์หยุดท�างาน กระแสไฟฟ้าในสายเคเบิล DC ไม่จ�าเป็นต้อง ตัดกระแสไฟฟ้า ซึ่งหมายความว่าดาดฟ้าจะยังคงไม่ปลอดภัยส�าหรับ หน่วยปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินเบือ้ งต้น ทัง้ นี้ เพือ่ ให้อนิ เวอร์เตอร์แบบเดิมเหล่านี้ ได้ตามมาตรฐานความปลอดภัย โดยปกติแล้วจ�าเป็นจะต้องซือ้ และติดตัง้ ฮาร์ดแวร์เฉพาะด้านความปลอดภัยเพิ่มเติม แต่อย่างไรก็ตาม ด้วย เทคโนโลยีขนั้ สูงมากขึน้ เช่น อินเวอร์เตอร์ทปี่ รับให้เหมาะกับ DC จะต้อง ใส่ฟงั ก์ชนั ความปลอดภัยทีเ่ ป็นไปตามกฎระเบียบในการลดแรงดันไฟฟ้า DC เมื่ออินเวอร์เตอร์หรือพลังงาน AC หยุดท�างานในตัวโซลูชันในตัว

ความก้าวหน้าด้านความปลอดภัยประเภทเหล่านี้มีประโยชน์ต่อ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด ผู้ติดตั้ง PV สามารถท�างานด้วยความอุ่นใจ เนื่องจากคุณลักษณะด้านความปลอดภัยช่วยลดความเสี่ยงที่จะเกิด ไฟไหม้และเกิดประจุไฟฟ้าในช่วงระหว่างทีต่ ดิ ตัง้ และทดสอบระบบ PV ได้ นักดับเพลิงสามารถเข้าถึงดาดฟ้าได้โดยไม่ต้องเสี่ยงว่าจะโดนไฟฟ้าดูด เจ้าหน้าทีซ่ อ่ มบ�ารุงสามารถท�าการตรวจสอบทางกายภาพบนระบบ PV ได้ เมื่อใส่เทคโนโลยีด้านความปลอดภัยลงในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ระดับ โมดูล ซึ่งมีการตรวจสอบระดับโมดูลด้วย ประโยชน์เพิ่มเติมที่เจ้าหน้าที่ ซ่อมบ�ารุงจะได้รบั คือ การทีส่ ามารถด�าเนินการแก้ไขปัญหาแบบทางไกล เพือ่ จ�ากัดปริมาณงานทีม่ ไี ฟฟ้าแรงสูงบนดาดฟ้า ท้ายทีส่ ดุ เจ้าของระบบ จะรูส้ กึ อุน่ ใจและปรับปรุง ROI ได้ดขี นึ้ อันเป็นผลมาจากเทคโนโลยีดา้ น ความปลอดภัยที่ใส่ลงในโซลูชันโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมและมีอัตรา การประกันภัยที่อาจลดลง การใช้เทคโนโลยีของ SolarEdge ในประเทศไทยมีเพิ่มมากขึ้น เรื่อยๆ โดยไม่เพียงแต่จะได้ตามมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่ขยาย เพิ่มขึ้นของประเทศเท่านั้น แต่ยังเป็นเพราะองค์กรต่างๆ ตระหนักถึง ความจ�าเป็นทีจ่ ะต้องป้องกันความเสีย่ งด้านความปลอดภัยทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ ส�าหรับผู้ติดตั้ง PV เจ้าหน้าที่ซ่อมบ�ารุง และนักดับเพลิง บริษัท เอเวอรี่ เดนนิสสัน (ประเทศไทย) จ�ากัด ซึ่งเป็นบริษัทด้านวัสดุศาสตร์ระดับโลก ที่เชี่ยวชาญการออกแบบและผลิตวัสดุฉลากและวัสดุตามการใช้งานที่ หลากหลาย ได้ตดิ ตัง้ โซลูชนั อินเวอร์เตอร์ SolarEdge ทีป่ รับให้เหมาะสม ทีส่ ดุ บนดาดฟ้าของโรงงานในจังหวัดระยอง : “เอเวอรี่ เดนนิสสัน ต้องการ มาตรฐานด้านความปลอดภัยที่โดดเด่น โดยมีเกณฑ์ขั้นต�่าที่ก�าหนดไว้ ในมาตรฐานระดับโลกของ FM (FM Global Standards) ซึง่ เป็นแนวทาง เชิงวิศวกรรมที่ผ่านการพิสูจน์แล้วว่าสามารถลดโอกาสที่ทรัพย์สิน จะสูญเสียอันเนื่องมาจากอัคคีภัย สภาพอากาศ และอุปกรณ์ไฟฟ้าและ เครื่องกลล้มเหลวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เราออกแบบระบบที่ช่วยให้เรา สามารถแยกการลัดวงจรออกมาและตัดไฟฟ้าของแผง PV ทีร่ ะดับโมดูล ซึ่งอินเวอร์เตอร์สตริงแบบเดิมไม่สามารถท�าได้” โจส หลุยส์ มาร์ติน (Mr.Jose Luis Martin) กรรมการผู้จัดการ บริษัท อีเนอร์กรีน เอเชีย จ�ากัด ซึ่งเป็นผู้ติดตั้ง SolarEdge ให้กับบริษัท เอเวอรี่ เดนนิสสัน (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าว แม้ว่าอัคคีภัยที่เกี่ยวข้องกับระบบ PV จะเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก แต่ อัคคีภยั ทีเ่ กิดจากระบบ PV จะเกิดขึน้ บ่อยน้อยกว่า อย่างไรก็ตาม ฟังก์ชนั ด้านความปลอดภัยที่ก้าวหน้าเพิ่มเติมภายในอุตสาหกรรมมีความส�าคัญ ต่อการเพิม่ จ�านวน PV อย่างต่อเนือ่ ง ขณะทีห่ น่วยงานอุตสาหกรรมต่างๆ ให้ความส�าคัญกับการเขียนมาตรฐานใหม่ แต่ SolarEdge ยังคงมุ่งมั่น ที่จะเป็นผู้น�าอุตสาหกรรมด้วยการพัฒนาโซลูชันด้านความปลอดภัย ขัน้ สูงมากขึน้ การผสานรวมกฎระเบียบทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเข้ากับนวัตกรรม ทางเทคโนโลยี ตลอดจนการตระหนักรูข้ องผูบ้ ริโภคยังคงผลักดันให้ความ ปลอดภัยมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง เรียนรูเ้ พิม่ เติมเกีย่ วกับโซลูชนั ความปลอดภัยของ SolarEdge เพือ่ ปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อบังคับตามมาตรฐานความปลอดภัย PV ใหม่ของประเทศไทย ได้ที่ https://marketing.solaredge. com/solaredge-thailand-2


Energy กองบรรณาธิการ

‘บ้านปู เน็กซ์’ บริษัทลูกของบ้านปูฯ ในฐานะผู้ให้บริการโซลูชัน พลังงานฉลาดชัน้ น�าในประเทศไทยและภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ร่วมลงนาม ความร่วมมือครั้งส�าคัญกับ ‘เอสพี กรุ๊ป’ ผู้ให้บริการระบบสาธารณูปโภค ด้านพลังงานแห่งชาติในสิงคโปร์และเอเชีย-แปซิฟกิ เดินหน้าพัฒนาโซลูชนั พลังงานสะอาดเพือ่ ความยัง่ ยืนและโครงการสมาร์ทซิตใี้ นประเทศไทยและ เอเชีย-แปซิฟิก การจั บ มื อ เป็ น พั น ธมิ ต รในครั้ ง นี้ เ ป็ น การผนึ ก ความเชี่ ย วชาญ และจุดแข็งด้านโซลูชันพลังงานสะอาดเพื่อความยั่งยืนของทั้ง 2 บริษัท เพื่อเป้าหมายที่จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนในภูมิภาค โดยทั้ง 2 บริษัท จะร่วมกันศึกษาโอกาสทางธุรกิจในการพัฒนาระบบบริหารจัดการพลังงาน อย่างระบบผลิตความเย็นจากส่วนกลาง (District Cooling System) บริการ แพลตฟอร์มการรับรองการผลิตพลังงานหมุนเวียนข้ามพรมแดน (CrossBorder Renewable Energy Certificates หรือ RECs) และโซลูชันพัฒนา เมืองอัจฉริยะ เพือ่ ต่อยอดการพัฒนาพลังงานฉลาดเพือ่ ความยัง่ ยืนในภูมภิ าค คาดว่ามูลค่าตลาดพลังงานสะอาดทั่วโลกจะเติบโตสูงถึง 1,977.6 พันล้าน เหรียญสหรัฐฯ ในปี ค.ศ. 2030 โดยเอเชีย-แปซิฟิกจะมีสัดส่วนตลาดที่สูง ที่สุด ด้วยอัตราการเติบโตต่อปีสูงถึงร้อยละ 9.6* ซึ่งความร่วมมือระหว่าง บ้านปู เน็กซ์ และเอสพี กรุป๊ ในครัง้ นี้ จะสามารถรองรับความต้องการด้าน โซลูชันพลังงานสะอาดที่เพิ่มขึ้นได้ในอนาคต 26

สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษทั บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด กล่าวว่า บ้านปู เน็กซ์ ด�าเนินงาน ภายใต้ ก ลยุ ท ธ์ Greener & Smarter ของกลุ่มบ้านปู ซึ่ง มุ ่ ง น� า โซลู ชั น พลั ง งานฉลาด (Smart Energy Solutions) มาขับเคลือ่ น 5 กลุม่ ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจพลังงานหมุนเวียน ธุรกิจ แบตเตอรี่ ธุ ร กิ จ ซื้ อ ขายไฟฟ้ า ธุรกิจอี-โมบิลติ ี้ และธุรกิจพลังงาน ฉลาด เรามีพอร์ตโฟลิโอลูกค้าใน หลากหลายธุรกิจและครอบคลุม

สมฤดี ชัยมงคล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด

GreenNetwork4.0 November-December

2021


ทุกอุตสาหกรรม บ้านปู เน็กซ์และเอสพี กรุป๊ มีวสิ ยั ทัศน์ในการด�าเนินธุรกิจทีส่ อดคล้องกัน คือมุง่ ผลักดันการใช้พลังงานสะอาดเพือ่ ความยัง่ ยืนในวงกว้าง และน�าโซลูชันด้านพลังงานสะอาดที่ผสานเทคโนโลยีไปขับเคลื่อนธุรกิจ เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของผู้คนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน ทั้ง 2 บริษัทจะร่วมกัน หาโอกาสในการเสริมแกร่งธุรกิจ ตลอดจนขยายธุรกิจที่มีศักยภาพการเติบโตไปยังประเทศต่างๆ ในแถบเอเชีย-แปซิฟิก ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจ District Cooling System บริการ Cross-Border Renewable Energy Certificates Platform และโครงการพัฒนาสมาร์ทซิตี้ เป็นต้น “ความร่วมมือใน 3 ส่วนนี้มีวัตถุประสงค์ในการออกแบบและพัฒนาระบบจัดการพลังงานสะอาดให้มีประสิทธิภาพ เพื่อผลลัพธ์ด้านการประหยัด พลังงานให้กับลูกค้าของทั้ง 2 บริษัท ช่วยให้ต้นทุนด้านพลังงานถูกลง ได้ก�าไรมากขึ้น และสร้างความได้เปรียบทางธุรกิจให้กับลูกค้า เรามั่นใจว่า ความเชี่ยวชาญในเรื่องการออกแบบโซลูชันพลังงานสะอาดและดิจิทัลแพลตฟอร์มของบ้านปู เน็กซ์ ที่ตอบโจทย์ลูกค้าอย่างตรงจุด และเครือข่ายธุรกิจ ของเอสพี กรุ๊ป ที่มีอยู่ทั่วทั้งภูมิภาคจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งทางธุรกิจของทั้ง 2 องค์กรได้” สมฤดี กล่าว ด้าน สแตนลีย์ หวง ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร เอสพี กรุ๊ป กล่าวว่า เอสพี กรุ๊ป ยินดีที่ ได้เป็นพันธมิตรกับบ้านปู เน็กซ์ เพื่อร่วมผลักดัน การใช้งานพลังงานสะอาดในประเทศไทยและ เอเชีย-แปซิฟกิ โดยเราเชือ่ ว่า ความเชีย่ วชาญด้าน โซลูชันพลังงานสะอาดและเทคโนโลยีพลังงาน ของทั้ง 2 บริษัท จะช่วยให้ภูมิภาคสามารถลด ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอน รวมถึงการน�า โซลูชันประสิทธิภาพสูงไปใช้สนับสนุนการพัฒนา อย่างยั่งยืน และการเป็นส่วนหนึ่งเพื่อขับเคลื่อน การเปลีย่ นผ่านสูพ่ ลังงานสะอาดในภูมภิ าค ถือเป็น หนึ่งในวิสัยทัศน์ส่งเสริมอนาคตของพลังงานและ สร้างอนาคตที่ยั่งยืนให้กับทุกคน เอสพี กรุ๊ป ได้เริ่มด�าเนินการให้บริการ ระบบจัดการพลังงานและระบบปรับอากาศภายใน อาคาร เพื่อลดค่าใช้จ่ายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 โดย เป็นผูอ้ อกแบบ สร้าง และให้บริการเครือข่ายระบบ ผลิตความเย็นจากส่วนกลางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทีม่ ารินา่ เบย์ ประเทศสิงคโปร์ และยังได้นา� ความ เชี่ ย วชาญและนวั ต กรรมเทคโนโลยี District

Cooling System ไปติ ด ตั้ ง ให้ กั บ โครงการ ราฟเฟิลส์ ซิตี้ เมืองฉงชิ่ง ประเทศจีน โครงการ ขนาดใหญ่ซงึ่ ประกอบไปด้วยศูนย์การค้า โรงแรม อาคารส�านักงาน และที่พักอาศัย รวมถึงเป็น ผู้ริเริ่มแพลตฟอร์มการรับรองการผลิตพลังงาน หมุนเวียนข้ามพรมแดนโดยใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ลู ก ค้ า สามารถตรวจสอบการใช้ พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน การร่วมมือ กับบ้านปู เน็กซ์ ซึ่งมีพอร์ตโฟลิโอธุรกิจพลังงาน ยัง่ ยืนทีห่ ลากหลาย และโปรเจกต์พลังงานหมุนเวียน ระบบกักเก็บและบริหารจัดการพลังงาน โซลูชัน พลังงานฉลาด รวมถึงสมาร์ทซิตแี้ ละสมาร์ทแคมปัส จะช่วยปูทางให้ทงั้ 2 บริษทั สามารถบรรลุเป้าหมาย ด้านพลังงานสะอาด รวมถึงเสริมศักยภาพทาง ธุรกิจได้ในหลากหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นการเสริม ระบบนิเวศทางธุรกิจ สร้างความได้เปรียบใน การแข่งขัน ขยายเครือข่ายทางธุรกิจ และขยาย พอร์ ต โฟลิ โ อในระดั บ ภู มิ ภ าคให้ ค รอบคลุ ม ยิ่งขึ้น

* ข้อมูลอ้างอิง Renewable Energy Market by Type (Hydroelectric Power, Wind Power, Bioenergy, Solar Energy, and Geothermal Energy) and End Use (Residential, Commercial, Industrial, and Others): Global Opportunity Analysis and Industry Forecast, 2021-2030, Allied Market Research

สแตนลีย์ หวง

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เอสพี กรุ๊ป 27

GreenNetwork4.0 November-December

2021


Innovation กองบรรณาธิการ

เพื่อตอบรับ COP26 กระแสโลกที่นานาประเทศต่างให้ความส�าคัญ กับสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ภาวะโลกร้อน และการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยมหิดล โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ โดย สถานวิจยั การประเมินทางสิง่ แวดล้อมและเทคโนโลยีการจัดการ ของเสียอันตราย คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จัด การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ นวัตกรรมสีเขียวและยัง่ ยืน (International Conference on Green and Sustainable Innovation) ครั้งที่ 8 (ICGSI) ประจ�าปี 2564 ภายใต้แนวคิด “ขับเคลื่อนความปกติใหม่ สู่อนาคตใหม่อย่าง ยั่งยืน” (Driving the New Normal Towards a Sustainable New Future) ผ่านระบบออนไลน์และออนไซต์ ณ โรงแรมกระบี่รีสอร์ท จังหวัดกระบี่ รศ. ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ด้วยวิสัยทัศน์และพันธกิจ ของมหาวิทยาลัยมหิดล เรามุ่งมั่นที่จะเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก การประชุม นานาชาติครั้งนี้เป็นการผนึกพลังร่วมแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโลกและพัฒนา ประชาคมนานาชาติสู่ความยั่งยืน โดยมีจุดมุ่งหมายของการจัดงานเพื่อแบ่งปัน องค์ความรูแ้ ละเรียนรูจ้ ากเครือข่ายพันธมิตร เปิดรับโอกาสในการท�างานร่วมกัน 28

ในด้านการศึกษา การวิจัย และนวัตกรรมด้านวิศวกรรมในการ ประเมินผลสภาวะแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยคาดว่า การประชุมนี้จะช่วยสร้างกรอบการท�างานระดับชาติและระดับ นานาชาติสา� หรับการศึกษา การวิจยั และนวัตกรรมทีย่ งั่ ยืนในอนาคต โดยมหาวิทยาลัยมหิดลมีความร่วมมือที่แข็งแกร่งกับพันธมิตร มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� า ทั้ ง ในประเทศไทยและต่ า งประเทศ เช่ น ออสเตรเลีย บังคลาเทศ อินเดีย อินโดนีเซีย อิหร่าน มาเลเซีย ซาอุดีอาระเบีย สิงคโปร์ ไต้หวัน สหรัฐอเมริกา เป็นต้น รศ. ดร.ตระการ ประภัสพงษา ประธานร่วมจัดงาน ICGSI 2021 จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า โลกเผชิญปัญหาวิกฤต สิ่ ง แวดล้ อ มจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศและภาวะ โลกร้อนทีร่ นุ แรงขึน้ ทุกขณะ งานประชุมครัง้ นีเ้ ป็นความร่วมมือจาก นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม สีเขียวและยัง่ ยืนเพือ่ โลกของเรา โดยมีผเู้ ข้าประชุมทัง้ ออนไซต์และ ผ่านระบบออนไลน์ ภายในงานมีการจัดการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร (Workshop) ที่น่าสนใจ ได้แก่ 1. Biocapacity and Ecological Footprint Workshop โดย รศ. ดร.จรงค์พันธ์ มุสิกะวงศ์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. Thai Spatially Differentiated Life Cycle Impact Assessment Method (ThaiSD Method) Workshop และ 3. PM2.5 Footprint Workshop โดย รศ. ดร.ตระการ ประภัสพงษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ 4. BenMAP Workshop โดย Dr.Thao

GreenNetwork4.0 November-December

2021


รศ. ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รศ. ดร.ตระการ ประภัสพงษา

ประธานร่วมจัดงาน ICGSI 2021 จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล

คาน จาก University of Nevada ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา 4. นวัตกรรมและ นโยบายด้านสิง่ แวดล้อมกับคุณภาพอากาศบริสทุ ธิเ์ พือ่ อนาคตทีย่ งั่ ยืนของเอเชีย (Environmental Innovation and Policies Towards Clean Air for a Sustainable Future in Asia) โดย ศ. ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 5. Dietary Footprints-การประยุกต์ใช้การประเมินวัฎจักรชีวิต (LCA) ในการบริโภค อาหาร (Dietary Footprints-LCA Applications in Food Consumption) โดย Dr.Brad Ridoutt, The Commonwealth Scientific and Industrial Research Organization (CSIRO) ประเทศออสเตรเลีย Pham บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ร่ ว มด้ า นพลั ง งานและ สิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ตลอดจนกิจกรรมการพบปะของเครือข่าย Thai LCA Network และการประชุมนักวิจยั รุน่ ใหม่ ทั้ ง นี้ ได้ มี ก ารน� า เสนอผลงานวิ จั ย และ สาระต่างๆ องค์ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ อาทิ 1. การประยุกต์ใช้การประเมินวัฏจักรชีวิตและ ระบบนิเวศอุตสาหกรรม (LCA and Industrial Ecology Applications : From Research to Implementation in Policies and Industry) โดย Prof. Dr.Sangwon Suh มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย ซานตาบาบาร่า (UC Santa Barbara) สหรัฐอเมริกา 2. แนวนโยบายและการปฏิบัติ ของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และเศรษฐกิจ หมุนเวียนเพื่อการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืนในประเทศไทย (SDGs & Circular Economy Policies and Practices for Sustainable Consumption and Production in Thailand) โดย รศ. ดร.ธ�ารงรัตน์ มุ่งเจริญ ประธานคณะอนุกรรมการแผนงาน กลุม่ เศรษฐกิจหมุนเวียน หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 3. เจนเนอเรชัน เอ็กซ์กับสิ่งทดแทนสารเคมีที่ตกค้างยาวนานในสิ่งแวดล้อม (PFOA) (GenX as a Replacement for PFOA : Aqueous Phase Treatability Issue and The Price to Pay) โดย ศ. ดร.เอกลักษณ์ 29

นักวิชาการ นักวิจัย และนักสิ่งแวดล้อม ร่วมระดมข้อคิดเห็น นอกจากนี้ ยังมีการจัดประชุมคู่ขนานน�าเสนอผลงานทางวิชาการ ทั้งหมด 57 ผลงาน ในหลากหลายหัวข้อ ได้แก่ การผลิตและการบริโภคอย่าง ยัง่ ยืน การเกษตรและอาหารยัง่ ยืน สารเคมี วัสดุและทรัพยากรยัง่ ยืน การขนส่ง และพลังงานยั่งยืน การบริการ การท่องเที่ยว และการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน เศรษฐกิจหมุนเวียน และนวัตกรรมด้านวิศวกรรมสิง่ แวดล้อมเพือ่ ส่งเสริมความ ยั่งยืน

GreenNetwork4.0 November-December

2021


Automotive กองบรรณาธิการ

MG Cyberster

รถยนต์ต้นแบบพลังงานไฟฟ้า 100%

บริษทั เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จ�ากัด และบริษทั เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผูผ้ ลิตและผูจ้ า� หน่ายรถยนต์เอ็มจีในประเทศไทย ชูคอนเซ็ปต์ “PIONEER of EV” ตอกย�้าภาพการเป็นผู้บุกเบิกและ ผลักดันรถยนต์พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย ในงานมหกรรมยานยนต์ ครั้งที่ 38 (Motor Expo 2021) เปิดโอกาสให้คนไทยสามารถเป็น เจ้าของ MG Cyberster รถยนต์ต้นแบบพลังงานไฟฟ้า 100% ซึ่ง เอ็มจีกา� ลังพัฒนาให้ใช้งานได้จริงในอนาคตอันใกล้นี้ พร้อมวางแผน ที่จะเพิ่มจ�านวนสถานี MG Super Charge ที่เปิดให้บริการแล้วกว่า 120 แห่งทั่วประเทศ ให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

พงษ์ศักดิ์ เลิศฤดีวัฒนวงศ์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด

30

เป้ า หมายของแบรนด์ ร ถยนต์ เ อ็ ม จี ใ นประเทศไทย คื อ การน�าเสนอผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามทันสมัย มีเทคโนโลยี และมีความคุม้ ค่า ส�าหรับลูกค้าคนไทย รวมทั้งท�าให้อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยก้าวทัน อุตสาหกรรมยานยนต์โลกที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี 4 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีการเชือ่ มต่อ (Connectivity) เทคโนโลยีเพือ่ การขับขีแ่ บบ อัตโนมัติ (Autonomous) การแบ่งปันการใช้งาน (Car Sharing) รวมไปถึงการแนะน�ารถยนต์พลังงานไฟฟ้า (Electric Vehicle) ซึ่ง ท�าให้เอ็มจีได้รบั การยอมรับในฐานะผูร้ เิ ริม่ และแนะน�านวัตกรรมใหม่ๆ เข้าสู่ตลาดเมืองไทยอย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างมาตรฐานใหม่ๆ ให้กับอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยในหลากหลายมิติ พงษ์ศกั ดิ์ เลิศฤดีวฒ ั นวงศ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า วันนี้อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ได้ก้าวมาไกลอย่างที่เอ็มจีตั้งใจไว้ หลายๆ แบรนด์ได้หันมาให้ความ ส�าคัญและเดินตามแนวทางของยานยนต์โลกมากขึ้น จะเห็นได้จาก การแนะน�ารถยนต์ที่ติดตั้งระบบการเชื่อมต่ออัจฉริยะและระบบ การขั บ ขี่ อั ต โนมั ติ ที่ ใ ห้ ค วามสะดวกสบายกั บ ผู ้ ขั บ ขี่ เ พิ่ ม มากขึ้ น รวมทัง้ การเติบโตของธุรกิจ Car Sharing ภายในประเทศ และทีส่ า� คัญ คือการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของรถยนต์พลังงานไฟฟ้าภายหลัง จากเอ็มจีได้บุกเบิกและผลักดันตลาดรถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100% อย่างจริงจัง นอกจากนี้ เอ็มจียังวางรากฐานเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้ กับระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าอย่างจริงจัง ด้วยการลงทุนติดตั้งสถานี อัดประจุไฟฟ้าแบบ Quick Charge ภายใต้ชื่อ MG Super Charge ทีป่ จั จุบนั พร้อมให้บริการแล้วกว่า 120 แห่งทัว่ ประเทศ โดยจะมีสถานี ชาร์จอย่างน้อย 1 แห่ง ในทุกๆ 150 กิโลเมตร ท�าให้ผู้ใช้งานรถยนต์ พลังงานไฟฟ้าของเอ็มจีสามารถเดินทางทั่วประเทศได้อย่างสบายใจ ไร้กังวล นอกจากนี้ เรายังได้ร่วมมือกับทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมี แผนที่จะเพิ่มจ�านวนสถานี MG Super Charge ให้ครอบคลุมและ หนาแน่นมากยิ่งขึ้น

GreenNetwork4.0 November-December

2021


“หากเราพู ด ถึ ง EV นั่ น ต้ อ งหมายถึ ง รถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100% เท่านั้น โดยเอ็มจีได้เริ่มน�ารถยนต์ ไฟฟ้าต้นแบบ MG E-Motion มาจัดแสดงในงาน Motor Expo แห่งนีใ้ นปี พ.ศ. 2551 และนับจนถึง ปัจจุบัน เราได้เปิดตัวรถยนต์พลังงาน ไฟฟ้ารวม 2 รุ่น ได้แก่ MG ZS EV และ MG EP รถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100% ในรูปแบบของ SUV และ Station Wagon ด้วยรูปลักษณ์ที่โดดเด่นและสมรรถนะ ที่ดีเยี่ยม จนท�าให้เอ็มจีสามารถครอง ส่วนแบ่งตลาดรถยนต์พลังงานไฟฟ้า ในประเทศไทยได้มากกว่า 90% ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 จนถึงปัจจุบัน” พงษ์ศักดิ์ กล่าว

MG Super Charge

31

ในงาน Motor Expo 2021 เอ็มจีได้แนะน�า MG Cyberster รถยนต์ต้นแบบพลังงานไฟฟ้า 100% เพื่อตอกย�้าภาพการเป็นผู้บุกเบิก รถยนต์พลังงานไฟฟ้าของเอ็มจี โดย MG Cyberster เป็นรถสไตล์สปอร์ต แบบ 2 ทีน่ งั่ ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจมาจาก MGB Roadster รถสปอร์ตใน ต�านานของเอ็มจี โดดเด่นด้วยการออกแบบที่ล�้าสมัยและเป็นเอกลักษณ์ มีระยะทางการขับขี่ด้วยไฟฟ้ากว่า 800 กิโลเมตร จากแบตเตอรี่แบบ ไร้โมดูล (Moduleless Battery) ผสานขีดสุดของสมรรถนะด้วยการ ท�าเลขอัตราเร่ง 0-100 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในระยะเวลาไม่ถึง 3 วินาที นอกจากนี้ ในด้านของเทคโนโลยียังสามารถรองรับระบบการเชื่อมต่อ แบบ 5G และติดตั้งระบบขับขี่อัจฉริยะ (Intelligent Driving) เป็น รถยนต์ที่มีระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติระดับที่ 3 (Autonomous Level 3 : Conditional Automation) ด้านการออกแบบ นอกจากการดีไซน์หอ้ งโดยสารแบบ E-Sport แล้ว MG Cyberster ยังติดตั้งชุดไฟหน้าแบบ “Magic Eye” แบบอินเทอร์ แอคทิฟ เสมือนดวงตาของรถยนต์ทส่ี ามารถกะพริบได้ ติดตัง้ ชุดไฟ LED แบบ “Laser Belt” ทีด่ า้ นข้างของตัวรถ ล้อดีไซน์ใหม่แบบ “Hacker Blade” และไฟท้ายแบบ “Red Wing” พงษ์ศักดิ์ กล่าวว่า รถ MG Cyberster คันนี้ จะไม่ใช่เพียงแค่ รถยนต์ตน้ แบบ แต่เอ็มจีกา� ลังจะปรับปรุงและพัฒนาให้กลายเป็นรถยนต์ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้งานได้จริงในอนาคตอันใกล้นี้ โดยเอ็มจีวางแผนน�า MG Cyberster เข้าสู่สายการผลิต และจะเปิดตัวอย่างเป็นทางการ เป็นเวอร์ชนั ทีข่ ายจริงในประเทศไทย (Thailand Edition) ภายในปี พ.ศ. 2566 พร้อมจัดท�าแคมเปญ “MG Cyberster Prestige Reservation” เปิดโอกาสให้ลูกค้าสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและเป็นเจ้าของ MG Cyberster เป็นกลุ่มแรกในประเทศไทย

GreenNetwork4.0 November-December

2021


BCG กองบรรณาธิการ

คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เผยทิศทางการส่งเสริม การลงทุนตามแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green Economic) พบมีการส่งเสริมการลงทุนมาอย่างต่อเนื่องตามนโยบายภาครัฐ และ สอดรับกับแนวทางการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนขององค์การสหประชาชาติ นับตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2558-กันยายน พ.ศ. 2564 มีการขอรับการส่งเสริมการลงทุน ในกิจการกลุ่ม BCG ในประเทศไทยแล้ว 2,829 โครงการ มูลค่าเงิน ลงทุนรวม 677,157 ล้านบาท ส่วนในช่วง 9 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2564 ตั้งแต่เดือนมกราคม-กันยายน พ.ศ. 2564 มีกิจการขอรับการส่งเสริม การลงทุน 564 โครงการ มูลค่าลงทุน 128,370 ล้านบาท

ดวงใจ อัศวจินตจิตร์

เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) 32

ดวงใจ อัศวจินตจิตร์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (บีโอไอ) กล่าวถึงภาพรวมการขอรับการส่งเสริมการ ลงทุนของบีโอไอก่อนเกิด COVID-19 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2562 มีประมาณ 503,000 ล้านบาท ส่วนค�าขอรับการลงทุนในช่วง สถานการณ์ COVID-19 ปี พ.ศ. 2563 มีประมาณ 432,270 ล้านบาท ส่วนค�าขอการส่งเสริมการลงทุน 9 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2564 ตัง้ แต่เดือนมกราคม-กันยายน พ.ศ. 2564 มีประมาณ 520,680 ล้านบาท โดยประเทศที่มีนักลงทุนขอรับการส่งเสริม การลงทุนมากที่สุด 5 ล�าดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น 64,817 ล้านบาท สหรัฐอเมริกา 26,936 ล้านบาท สิงคโปร์ 26,882 ล้านบาท จีน 23,709 ล้านบาท และไต้หวัน 15,871 ล้านบาท เพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐและสอดรับกับแนวทาง การพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์กรสหประชาชาติ บีโอไอได้มีการ ส่งเสริมการลงทุนแก่ผู้ประกอบการที่ท�าธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ BCG มาอย่างต่อเนื่อง เช่น การส่งเสริมการลงทุนด้านมาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ภายใต้มาตรการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่อประหยัดพลังงาน ใช้พลังงานทดแทน การส่งเสริมการลงทุน เศรษฐกิจฐานราก ครอบคลุมถึงการสนับสนุนองค์กรท้องถิน่ ในการ พัฒนากิจการเกษตรทีย่ งั่ ยืน ด้านการปรับปรุงประเภทกิจการและ สิทธิประโยชน์โดยให้ความส�าคัญต่อเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม มาตรการปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรและกิจการลดผลกระทบทางด้าน ก๊าซเรือนกระจก เป็นต้น ซึง่ นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2558-กันยายน พ.ศ. 2564 มีการขอรับการส่งเสริมการลงทุนในกิจการกลุ่ม BCG ใน ประเทศไทยแล้ว 2,829 โครงการ มูลค่าเงินลงทุนรวม 677,157 ล้านบาท

GreenNetwork4.0 November-December

2021


โดยกิจการ BCG 5 อันดับแรกที่มีมูลค่าการลงทุนสูงสุด ได้แก่ 1. กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าที่เป็นพลังงานหมุนเวียน (รวมถึง ไฟฟ้าจากขยะ) 289,007 ล้านบาท 2. กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) หรือสิ่งปรุงอาหาร (Food Ingredient) โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย 94,226 ล้านบาท 3. กิจการผลิตเคมีภัณฑ์หรือพอลิเมอร์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรื อ การผลิ ตผลิต ภัณฑ์ที่ขึ้นรูปต่อ เนื่อ งจากการผลิตพอลิ เ มอร์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในโครงการเดียวกัน 40,998 ล้านบาท 4. กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้หรือเศษวัสดุทางการเกษตร 25,838 ล้านบาท และ 5. กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ 22,250 ล้านบาท ดวงใจ กล่าวว่า ในช่วง 9 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2564 ตั้งแต่ เดือนมกราคม-กันยายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นมา มีกิจการขอรับ การส่งเสริมการลงทุนจ�านวน 564 โครงการ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2563 ถึง 74% และมีมูลค่าลงทุน 128,370 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ สูงกว่าช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2563 ถึง 160% และ สูงกว่ามูลค่าการลงทุนในปี พ.ศ. 2563 ทัง้ ปีคดิ เป็นประมาณ 93,883 ล้านบาท โดยมีตัวอย่างบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนภายใต้ กิจการ BCG เช่น 1. กลุ่มโปรตีนทางเลือก (Alternative Protein) ได้แก่ บริษทั โกลบอล บัก๊ ส์ เอเชีย จ�ากัด ด�าเนินธุรกิจโครงการผลิต โปรตีนจากจิง้ หรีด และบริษทั ฟลายอิง้ สปาร์ค (ประเทศไทย) จ�ากัด โครงการผลิตโปรตีนผงจากหนอนแมลงวันผลไม้ 2. กลุม่ เทคโนโลยี ชีวภาพ Biotechnology ได้แก่ บริษทั เจเนพูตกิ ไบโอ จ�ากัด โครงการ ผลิตผลิตภัณฑ์เซลล์และยีนบ�าบัด เพือ่ รักษาโรคส�าหรับผูป้ ว่ ยโรคมะเร็ง เม็ดเลือดขาวที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาหลัก และบริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ากัด โครงการผลิตยาจากเทคโนโลยีชีวภาพ หรือ ชีวเภสัชภัณฑ์ที่ได้จากการใช้ต้นยาสูบเป็นเจ้าบ้าน (HOST) 3. กลุ่ม พลาสติกชีวภาพ Bioplastic ได้แก่ บริษัท โททาล คอร์เบียน พีแอลเอ (ประเทศไทย) จ�ากัด และบริษทั เนเชอร์เวิรค์ ส์ เอเชีย แปซิฟิก จ�ากัด โครงการผลิตโพลีแลคติค แอซิด (Polylactic Acid : PLA) ซึ่งเป็น พอลิเมอร์ชีวภาพที่สามารถย่อยสลาย ได้ และเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม สามารถน�าไปใช้งานได้หลากหลาย ประเภท บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จ�ากัด โครงการ ผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก ชี ว ภาพ ชนิด PBS (Polybutylene Succinate) บริษทั ไทยวา จ� า กั ด โครงการผลิ ต พลาสติ ก ชี ว ภาพชนิ ด TPS (Thermo Plastic Starch) ซึง่ เป็นบริษทั ผลิต และส่ ง ออกผลิ ตภัณฑ์ จากมั น ส� า ปะหลั ง ของ

33

ไทย และบริษัท ฟรุตต้า ไบโอเมด จ�ากัด โครงการผลิตพลาสติก ชีวภาพชนิด PHA (Polyhydroxyalkanoate) และ PHA Bioplastic Compound และผลิตภัณฑ์ขึ้นรูปจากพลาสติก PHA ซึ่งเป็นกิจการ ที่น�าของเหลือทางการเกษตรมาใช้ 4. กลุ่มพลาสติกรีไซเคิลเกรด อาหาร (Food-Grade Recycled Plastics) ได้แก่ บริษัท เอ็นวิคโค จ�ากัด โครงการผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลชนิด rPET (Food Grade) เป็นการร่วมทุนระหว่างบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท ALPLA TH RECYCLING BETEILIGUNGSGELLSCHAFT M.B.H ประเทศออสเตรีย ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่ม ALPLA ผู้ผลิต บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกรายใหญ่ของยุโรป บริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ากัด (มหาชน) โครงการผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลชนิด PET เม็ดพลาสติก PET รีไซเคิล (rPET) ส�าหรับการผลิตบรรจุภัณฑ์ ที่สัมผัสอาหาร และบริษัท เซอร์คูลาร์ พลาส จ�ากัด โครงการวิจัย และพัฒนาระดับโรงงานสาธิตเพือ่ ผลิต PYROLYSIS NAPHTHA หรือ CIP-N โดยเป็นการวิจัยในขั้นทดลองในห้องปฏิบัติการ (Lab Scale) และการวิจัยพัฒนาระดับน�าร่อง (Pilot Scale) เพื่อสนับสนุนกิจการในกลุ่ม BCG ตามนโยบายของรัฐบาล อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ บี โ อไอร่ ว มกั บ ส� า นั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) (NIA) ส�านักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) และหน่วยงาน พันธมิตร เตรียมจัด “มหกรรม BCG Startup Investment Day” ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2565 เพื่อสนับสนุนให้ Startup ที่มีศักยภาพได้ มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนและมาตรการสนับสนุนต่างๆ ซึ่งจะช่วย เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ Startup ให้แข่งขันได้ ในระดับสากลต่อไป

GreenNetwork4.0 November-December

2021


Health กองบรรณาธิการ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และภาคเอกชน พัฒนา เครื่องแบ่งบรรจุวัคซีนอัตโนมัติ (Automate Vaccine) ช่วยดูดวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้าบรรจุลงเข็มฉีดยาได้อย่าง แม่นย�า รวดเร็ว 4 นาที ท�าได้ 12 เข็ม ท�าให้มวี คั ซีนเพิม่ ขึน้ 20% ช่วยลดภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์ เครื่ อ งแบ่ ง และบรรจุ วั ค ซี น ด้ ว ยระบบอั ต โนมั ติ (Automate Vaccine) ได้รบั การพัฒนาโดย ผศ. ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทีมวิจัย ร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และภาคเอกชน ท�าให้ การดูดวัคซีนและแบ่งบรรจุวัคซีนแต่ละโดสมีความแม่นย�า ตามที่ก�าหนด

ผศ. ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 34

ในการแบ่งบรรจุวัคซีนนั้น เจ้าหน้าที่จะเตรียมเข็มฉีดยาวางไว้บนแท่น จ�านวน 12 หลอด จากนั้นน�าขวดวัคซีนวางไว้ในจุดที่ก�าหนด เครื่องจะดูดวัคซีน ออกมาจนหมดขวดโดยใช้หวั ดูดสุญญากาศ ใช้หลักการดูดของเหลว โดยมี Air Cushion ท�าให้วัคซีนไม่สัมผัสกับหัวดูดโดยตรง แล้วจะเคลื่อนไปแบ่งบรรจุ ลงเข็มฉีดยาตามจ�านวนทีก่ า� หนด คือ 0.5 มิลลิลติ ร เท่ากันทัง้ 12 หลอด เครือ่ ง ท�างานแบบสายพานท�าให้แบ่งบรรจุวัคซีนลงหลอดฉีดยาอย่างต่อเนื่อง แม่นย�า และรวดเร็ว โดยใช้เวลาประมาณ 4 นาที จากนั้นปิดหลอดด้วยเข็มฉีดยาและ น�ามาเก็บใส่ถาดบรรจุวัคซีนเพื่อน�าไปใช้ฉีดต่อไป ส�าหรับภาคเอกชนที่สนใจสนับสนุนเครื่องแบ่งและบรรจุวัคซีนด้วย ระบบอัตโนมัติ สามารถติดต่อได้ที่ ผศ. ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ ประธาน หลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 08-9495-5941 และสามารถชมข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเี่ ฟซบุก๊ เพจ EngineLife

GreenNetwork4.0 November-December GreenNetwor

2021




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.