Green Network Issue 94

Page 1




Contents July-August 2019

8

10 20 24 28 11 12 17 39 40 14

15 16

Green Report

MG ชูนวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟา EV พรอมติดตั้งสถานีชารจ แบตเตอรี่ทั่วประเทศ by กองบรรณาธิการ

Green Focus

แนวโนมการใชงาน E-Axle สําหรับรถยนตไฟฟา by ชินวุฒิ ขวัญณัฐพร พลังงานทดแทน รอรัฐมนตรีใหมชุบชีวิต? กองทุนพลังงานปละกวา หมื่นลาน คนไทยไดอะไร? by พิชัย ถิ่นสันติสุข การสงเสริมใหมีการติดตั้งโซลารรูฟกับกาวตอไปของประเทศ by นรินพร มาลาศรี ถานอัดแทง LAMBOOCHAR เพือ่ สิง่ แวดลอมทีด่ แี ละสรางชุมชนเขมแข็ง by กองบรรณาธิการ

Green World

สถานการณรถยนตพลังงานไฟฟา (EV) ในยุโรป by กองบรรณาธิการ

Green Article

“ตุกตุก” รถเครื่องสามลอไทย พัฒนาสูรถตุกตุกไฟฟาดัดแปลงสําหรับ ธุรกิจไทย SME by ผศ. ดร.ชนะ เยี่ยงกมลสิงห Green Technology & Innovation Electric Vehicle Technology by ดร.บุญรอด สัจจกุลนุกิจ ขยะไมมีที่อยู by ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ดรามา เรื่อง PM 2.5 ตอน 3 : สถานการณของ กทม. by รศ. ดร.ศิริมา ปญญาเมธีกุล, ศ. กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์

30

18 22 23

27

Green Scoop

เชฟรอนฯ หนุนพลังงานสะอาด เปดปมนํ้ามันคาลเท็กซจําหนาย B20 ที่กระบี่ by กองบรรณาธิการ เสวนา “อนาคตพลังงานไทย ใครกําหนด” ผนึกกําลังทุกภาคสวนรวม รักษาทรัพยากรของชาติ by กองบรรณาธิการ

Green Factory

“ฮีโร” ถุงขยะรุนรักษโลก … สินคารักษโลกที่แม็คโคร by กองบรรณาธิการ

Green People

บริษัท เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด ยกระดับรถยนตไฟฟาปลัก๊ อินไฮบริดใชพลังงานจากแบตเตอรีผ่ ลิตในไทย by กองบรรณาธิการ สวทช. มุงพัฒนาตั้งศูนยทดสอบแบตเตอรี่รองรับการผลิตรถยนต พลังงานไฟฟา by กองบรรณาธิการ

Green Industry

การวางแผนดานสิ่งแวดลอม by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี

Smart City

29 กระทรวงดิจทิ ลั ฯ หนุน Asia IoT Business Platform พัฒนาสูโ ครงการ Smart City by กองบรรณาธิการ

32 Auto Challenge

รถยนต BMW เดินหนาโครงการพัฒนาบุคลากรดานยานยนต ปูรากฐานทักษะวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส by กองบรรณาธิการ

33 Green Biz

by กองบรรณาธิการ

Special Scoop

“ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019” ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนตรองรับ การผลิตรถยนตไฟฟา EV by กองบรรณาธิการ

นักวิจยั เพาะปะการังโตะแบบพุม จากสเปรม แชเยือกแข็งลดเสีย่ งปะการัง สูญพันธุ by กองบรรณาธิการ

35 36

Green Travel

อพท. ยกระดับทองเที่ยวเชียงคาน จังหวัดเลย เพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน by กองบรรณาธิการ

Green Building

ศิรพิ ร สิงหรัญ นายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน สาวแกรงแหงลีอารคเี ทค ชูนวัตกรรมบานประหยัดพลังงาน by กองบรรณาธิการ


ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศพิโรดม ประสงค ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ดํารงกิตติกลุ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ นริศรา ออนเรียน เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา ปลาทิพย ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ ศิรินทิพย โยธาพันธ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จํากัด โรงพิมพ หจก.รุงเรืองการพิมพ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด Ext. 230) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com

สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน Green Network ฉบับนีก้ ระแสรอนแรงจริงๆ กับวงการอุตสาหกรรมยานยนต พลังงานไฟฟา หรือ Electric Vehicle (EV) ทีผ่ บู ริโภคหันมาใหความสนใจนิยมใชรถยนต พลังงานไฟฟามากขึน้ ทําใหภาคอุตสาหกรรมยานยนตทวั่ โลกเกิดการตืน่ ตัวในการพัฒนา นวัตกรรมรถยนตเพื่อใหเกิดการพึ่งพารถยนตไฟฟามากขึ้น สวนปญหาสถานีชารจ ทีย่ งั มีไมเพียงพอกับความตองการนัน้ ขณะนีห้ นวยงานภาครัฐและภาคเอกชนไดผนึก แนวคิดรวมมือกันเพื่อทยอยติดตั้งสถานีชารจแบตเตอรี่ทั่วประเทศ ในคอลัมน Green World นําเสนอบทความเรือ่ ง สถานการณรถยนตพลังงาน ไฟฟา (EV) ในยุโรป ซึง่ ประเทศในยุโรปเปนทีน่ า จับตามองไปทัว่ โลก เพราะประเทศ ในกลุมนี้มีการใชรถยนตไฟฟาอยางแพรหลาย ปจจุบันประเทศนอรเวยไดชื่อวาเปน ประเทศที่มีอัตราการใชรถยนตไฟฟากับสัดสวนประชากรมากที่สุดในโลก Green Report เปนเรื่องเกี่ยวกับ บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด และ บริษทั เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูผ ลิตและผูจ าํ หนายรถยนตเอ็มจีในประเทศไทย ไดเปดตัวรถยนตพลังงานไฟฟา “NEW MG ZS EV” เปนรถยนตพลังงานไฟฟา 100% รุนแรกของเอ็มจีอยางเปนทางการในประเทศไทย MG รุนนี้มีความโดดเดนในดาน คุณภาพ สมรรถนะ ความอัจฉริยะ โดยมีกระบวนการผลิตออกแบบกระจังหนารถ ที่ทันสมัย พรอมการติดตั้งจุดชารจไฟไวบริเวณหลังกระจังหนาอีกดวย Green People จะเปนเรื่องของคายยักษใหญอยาง เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริง่ ฯ ทีย่ กระดับรถยนตไฟฟาปลัก๊ อินไฮบริดใชพลังงานจากแบตเตอรีผ่ ลิต ในไทย ไดลงนามความรวมมือกับ สวทช. มุง พัฒนาตัง้ ศูนยทดสอบแบตเตอรีร่ องรับ การผลิตรถยนตพลังงานไฟฟา เปนแล็บทดสอบแบตเตอรีย่ านยนตไฟฟาแหงแรกใน ประเทศไทยและในภูมภิ าคอาเซียนทีเ่ ทาเทียมระดับโลก และยังสามารถสงออกไปยัง นานาประเทศเพื่อรองรับการผลิตรถยนตไฟฟาประเภทปลั๊กอินไฮบริด หรือรถยนต ประเภท BEV ในอนาคต ปดทายดวยคอลัมน Green Building ทางกองบรรณาธิการนิตยสาร Green Network ของเราไดรวมพูดคุยกับ ศิริพร สิงหรัญ นายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน สาวแกรงแหงลีอารคเี ทค ชูนวัตกรรมบานประหยัดพลังงาน ซึง่ เปนผูน าํ การออกแบบ บานและอาคารประหยัดพลังงานโดยใสใจปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เลือกใชวัสดุ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอมเพือ่ การอยูอ าศัยทีจ่ ะชวยใหประหยัดพลังงานในแบบระยะยาว แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล


´¼ÈÔ¹° µÑĊķÉijÕÂij¦Â̲£ĊÊ ¦Ê²ÕÂij¦Â̲£ĊÊÕ¾ÈÔķ¼ķʱм Ìķ ijĊʲÅÐĴÂÊà ¼¼ºÔ°£Ö²Ö¾»ÍÂʼ²԰ĺÕ¾ÈijÌķ̰ɾ

Business Solutions

·½ĺķÌ Ê»² Åʣʼ Å̺շۣ ÔºÏŦ°Å¦±Ê²Í Data & Cloud

µÑĊÔ»ÍÜ»º§º¦Ê² ÀĉÊ 6000 ¼Ê» µÑĊķÉijÕÂij¦Â̲£ĊÊ ÀĉÊ 250 Õ³¼²ijč µÑĊ¨ÏÝÅ£²Âˣɩ ÀĉÊ 120 ¼Ê» Ö´¼Õ ¼ºķɳ£ÑĉÔķ¼ķʱм Ìķ ÀĉÊ 800 ²Éijúʻ

Smart Solution & IOT

ķŦ·Ïݲ°ÍÜ ĴŲ²ÍÝ

02-833-5126

Organizer

Show Hosts

Supporters

Startups

Cyber Security

Show Consultant

Strategic Partners

www.cebitasean.com



GREEN

Report กองบรรณาธิการ

MG ชูนวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟา EV พรอมติดตั้งสถานีชารจแบตเตอรี่ทั่วประเทศ

ปจจุบนั กระแสรถยนตพลังงานไฟฟา หรือ Electric Vehicle (EV) กําลังกลาย เปนทางเลือกที่ผูบริโภคใหความสนใจมากขึ้นในขณะนี้ ทําใหภาคอุตสาหกรรม ยานยนตทวั่ โลกเกิดการตืน่ ตัวในการพัฒนานวัตกรรมรถยนตเพือ่ ใหเกิดการพึง่ พา รถยนตไฮบริด ขณะทีห่ นวยงานภาครัฐและภาคเอกชนผนึกแนวคิดรวมมือผลักดัน ใหประชาชนหันมาใชรถยนตพลังงานไฟฟา พรอมกับทยอยติดตั้งสถานีชารจ แบตเตอรีร่ องรับทัว่ ประเทศ อาทิ การไฟฟาฝายผลิต การไฟฟานครหลวง การไฟฟา สวนภูมภิ าค ตลอดจนบริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) รวมถึงบริษทั พลังงานบริสทุ ธิ์ จํากัด (มหาชน) เมื่อชวงตนเดือนมิถุนายน 2562 ที่ผานมา บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด และ บริษทั เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูผ ลิตและผูจ าํ หนายรถยนต เอ็มจีในประเทศไทย สรางปรากฏการณเปดตัวรถยนตพลังงานไฟฟา “NEW MG ZS EV” เปนรถยนตพลังงานไฟฟา 100% รุนแรกของเอ็มจีอยางเปนทางการ ในประเทศไทย เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมยานยนตอีกขั้นหนึ่งของการพัฒนา เทคโนโลยีนวัตกรรมการขับขี่ที่จะชวยยกระดับคุณภาพชีวิตใหแกผูบริโภคและ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อใหสอดรับกับการสงเสริมใหคนไทยหันมาใชพลังงาน ทดแทนตามนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ของกระทรวงอุตสาหกรรม สําหรับคุณสมบัตกิ ารเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมมีความโดดเดนในดานคุณภาพ สมรรถนะ ความอัจฉริยะ โดยมีกระบวนการผลิตออกแบบกระจังหนารถทีท่ นั สมัย พรอมการติดตั้งจุดชารจไฟไวบริเวณหลังกระจังหนา อีกทั้งระบบปรับอากาศเปน แบบดิจทิ ลั ทีม่ าพรอมระบบกรองอากาศสามารถกรองฝุน ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ได นอกจากนี้ มอเตอรไฟฟาแบบ Permanent Magnet Synchronous Motor ไดรบั

8

การพัฒนาใหสงกําลังที่สามารถชวยในเรื่องของมลพิษทางเสียงรบกวนไดอยาง ดีเยีย่ ม และชวยระบายความรอนไดดยี งิ่ ขึน้ สวนแบตเตอรีเ่ ปนแบบลิเธียมไอออน ความจุ 44.5 kWh ที่ผานการรับรองและทดสอบตามมาตรฐานสากล สามารถขับ ผานระดับนํา้ ทวมสูงไดถงึ กวา 40 เซนติเมตร และระบบการจัดการอุณหภูมอิ จั ฉริยะ ซึ่งมีสวนชวยใหระบบการทํางานตางๆ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพภายใต สภาวะแวดลอมทีม่ อี ณ ุ หภูมติ าํ่ และสูงทีเ่ ปนไปตามมาตรฐาน NEDC หรือมาตรฐาน การทดสอบความประหยัดนํ้ามัน และมลพิษของยุโรป ในการชารจพลังงานไฟฟาระหวางการขับขีก่ ลับเขาทีแ่ บตเตอรีน่ นั้ สามารถ เลือกระดับการชารจพลังงานกลับไดถงึ 3 ระดับ และมีระบบควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส โดยมีพละกําลังสูงสุด 110 กิโลวัตต (150 แรงมา) แรงบิดสูงสุด 350 นิวตัน-เมตร จึงสามารถเรงจาก 0-50 กิโลเมตร/ชั่วโมง ไดดวยระยะเวลาเพียงแค 3.1 วินาที และใหระยะทางขับเคลื่อนสูงสุด 337 กิโลเมตรตอการชารจไฟฟาเต็ม 1 ครั้ง ซึ่งถือวารองรับการชารจไฟที่งายแกผูขับขี่ โดยมี 2 รูปแบบ คือการชารจไฟแบบ ธรรมดาผาน MG Home Charger หรือการชารจไฟที่บานนี้ จะใชเวลาชารจ แบตเตอรี่จาก 0-100% ในระยะเวลาเพียง 6.5% ชั่วโมง ซึ่งการสั่งการในรูปแบบ MG Home Charger นัน้ จะชวยใหผบู ริโภคประหยัดเงินคาพลังงานไดมากกวารถยนต ทีข่ บั เคลือ่ นดวยนํา้ มันเชือ้ เพลิง เพราะรถยนตพลังงานไฟฟา NEW MG ZS EV เปน ระบบขับเคลื่อนที่มาจากแบตเตอรี่และมอเตอรไฟฟาเปนหลัก จึงทําใหชิ้นสวน อะไหลนอ ยลง แตการดูแลรักษาเปนเรือ่ งทีง่ า ยขึน้ และประหยัดคาใชจา ยในการซอม บํารุงอีกดวย และรูปแบบที่ 2 คือ การชารจไฟแบบเร็วผานสถานีชารจไฟฟาสาธารณะ โดยจะใชเวลาในการชารจแบตเตอรี่จาก 0-80% ในระยะเวลาเพียง 30 นาที

GreenNetwork4.0 July-August 2019


จาง ไหโป

พงษศักดิ์ เลิศฤดีวัฒนวงศ

ศิริรุจ จุลกะรัตน

อมร ทรัพยทวีกุล

อดิศักดิ์ โรหิตะศุน

จาง ไหโป กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด และบริษทั เอ็มจี เซลล (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “ปจจุบันเอ็มจีเขามาดําเนินธุรกิจในประเทศไทยเปนเวลากวา 5 ป และไดรับการสนับสนุนเปนอยางดีจากภาครัฐและภาคเอกชน ไทย รวมไปถึงกลุม ลูกคาคนไทย ทําใหเอ็มจีเดินหนาพัฒนานวัตกรรมยานยนตเพือ่ สรางการเติบโตใหกบั ภาคอุตสาหกรรมยานยนต ในประเทศไทย โดยเอ็มจีเล็งเห็นความสําคัญดานสิง่ แวดลอม จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนารูปแบบรถยนตพลังงานไฟฟา 100% ใน แบบรถยนต SUV ซึง่ เปนระบบการเชือ่ มตออัจฉริยะ เพือ่ ใหเปนไปตามแนวนโยบายของบริษทั ฯ ทีม่ งุ การพัฒนารถยนตซงึ่ ขับเคลือ่ น ดวยพลังงานไฟฟาและเดินหนาพัฒนารถยนตสําหรับตลาดสากลตอไป” ดาน พงษศกั ดิ์ เลิศฤดีวฒ ั นวงศ รองกรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “รถยนตพลังงาน ไฟฟา 100% ของ MG คันนี้ รองรับระบบการชารจดวนในเวลา 30 นาที และสามารถเคลื่อนที่ไดเปนระยะทาง 280 กิโลเมตรตอ การชารจ 1 ครัง้ โดยเอ็มจีมคี วามพรอมทีจ่ ะผนึกกําลังกับทุกภาคสวนในเรือ่ งของการตัง้ เปาขยายสถานีชารจไฟฟาใหครอบคลุม ทุกโชวรูมทั่วประเทศ ซึ่งเปนอีกหนึ่งแนวทางในการสงเสริมใหคนไทยหันมาใชพลังงานทดแทนตามนโยบายภาครัฐเพื่อใหเกิด การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนตพลังงานทางเลือกที่จะชวยยกระดับคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมในทุกมิติ ใหเกิดการใช ทรัพยากรที่สามารถใชรวมกันไดในสังคม” ในสวนของหนวยงานภาครัฐอยางกระทรวงอุตสาหกรรมออกนโนบายกําหนดเปนมาตรการผลักดันดานการประหยัด พลังงานในประเทศเพือ่ สงเสริมการลงทุนสําหรับภาคอุตสาหกรรมยานยนต โดยมี ศิรริ จุ จุลกะรัตน รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ เปนตัวแทนจากภาครัฐ กลาววา “นโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรมไดสนับสนุนการผลิตรถยนตพลังงานไฟฟามาโดยตลอด เนื่องจากเปนสิ่งที่ภาครัฐกําหนดทิศทางและขับเคลื่อนปจจัยที่จะทําใหเกิดอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตไฟฟาในประเทศไทย เพื่อทําใหเกิดโครงขายเชื่อมโยงการใชทรัพยากรดานพลังงานใหนอยลง ซึ่งจะชวยในเรื่องของการมีสิ่งแวดลอมที่ดีในประเทศ รวมถึงการผลักดันทําใหเกิดการลงทุนอุตสาหกรรมผลิตชิน้ สวนหรือนวัตกรรมเทคโนโลยีในการรองรับการผลิตรถยนตพลังงาน ไฟฟาอีกทอดหนึ่งดวย ซึ่งจะกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนและเปนทางเลือกของประชาชนในฐานะเปนผูบริโภคมากขึ้น และ จะสงผลดีตอภาคเศรษฐกิจโดยรวมในประเทศอีกดวย” นอกจากนี้ เอ็มจียังไดลงนามความรวมมือกับ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จํากัด (มหาชน) หรือ EA เพื่อติดตั้งสถานีชารจ แบตเตอรี่ หรือ EA Anywhere ใหกับโชวรูมของเอ็มจี ซึ่งปจจุบันมีอยูถึง 107 แหงทั่วประเทศ และกําลังจะขยายเปน 130 แหง ภายในป พ.ศ. 2562 นี้ อีกทัง้ ยังไดลงนามความรวมมือกับการไฟฟานครหลวง (กฟน.) และอยูใ นระหวางการเจรจากับการไฟฟา สวนภูมิภาค (กฟภ.) ในการติดตัง้ สถานีชารจแบตเตอรีเ่ พือ่ ลดขอจํากัดและคลายความกังวลของผูบ ริโภคในการที่จะตัดสินใจใช รถยนตพลังงานไฟฟา อมร ทรัพยทวีกุล รองประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จํากัด (มหาชน) หนึ่งในตัวแทนจากภาคเอกชน กลาวถึงการเตรียมความพรอมสถานีชารจไฟฟาเพื่อรองรับรถยนตพลังงานไฟฟาวา “บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ฯ ของเราไดตั้ง เปาหมายในการติดตัง้ สถานีชารจไฟฟาใหได 500 สถานีทวั่ ประเทศ ซึง่ ขณะนีไ้ ดเริม่ ทยอยติดตัง้ สถานีชารจแบตเตอรีไ่ ปแลวกวา 200 สถานีชารจ โดยราคาคาชารจไฟฟารถยนตพลังงานไฟฟาจะเริ่มคิดคาใชจายในราคาเริ่มตน 50 บาท และขณะเดียวกันทาง บริษทั ฯ ยังไดพฒ ั นาแอพพลิเคชัน่ ขึน้ มาเพือ่ ใชเปนขอมูลใหแกผขู บั ขีส่ ามารถตรวจเช็คขอมูลวามีสถานีชารจแบตเตอรีอ่ ยูใ นพืน้ ที่ บริเวณใดบาง ซึ่งผูขับขี่จะไมมีความกังวลใจเลยหากแบตเตอรี่หมดกลางทาง นอกจากนี้ เรายังไดพัฒนาแอพพลิเคชั่นสําหรับ ผูบริโภคสามารถชําระเงินคาชารจไฟฟาผานบัญชีธนาคารไดอีกทางหนึ่งดวย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการใชบริการ” อดิศกั ดิ์ โรหิตะศุน ผูท าํ การแทนผูอ าํ นวยการสถาบันยานยนต กลาววา “ปจจุบนั สถานการณแนวโนมการใชรถยนตพลังงาน ไฟฟา หรือ EV ทัว่ โลกมีความตืน่ ตัวมากขึน้ และในภาคสวนอุตสาหกรรมยานยนตกเ็ กิดการเปลีย่ นแปลงไปทัว่ โลก ซึง่ แตละประเทศ ตางปรับตัวรับมือใหทนั กับการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีเ่ ขามามีอทิ ธิพลในการดํารงชีวติ ไมเวนแมแตการขับขีย่ วดยาน พาหนะดวยเชนกัน และเชือ่ วาสถานการณโครงสรางการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตจะเปลีย่ นแปลงไปในชวงป พ.ศ. 2563 ขณะที่ ในป พ.ศ. 2573 มองวาทิศทางของภาคอุตสาหกรรมการผลิตชิน้ สวนรถยนตมแี นวโนมทีผ่ ปู ระกอบการจะมุง เนนพัฒนาเทคโนโลยี ใหเปนดิจิทัลเกือบจะทั้งหมด เพื่อรองรับนวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟาในอนาคต” อยางไรก็ดี การเปดตัวรถยนตพลังงานไฟฟาของ MG (Morris Garages) เรียกไดวาเปนสวนหนึ่งของผูประกอบการดาน ยานยนตทนี่ บั วาเปนแบรนดสญ ั ชาติองั กฤษทีม่ เี อกลักษณโดดเดนตลอดระยะเวลา 90 ปทผี่ า นมา ซึง่ ใชเทคโนโลยีดา นวิศวกรรม เกีย่ วกับสวนประกอบของรถยนต ตลอดจนการจัดการดานการควบคุมคุณภาพเทคโนโลยีทางเลือกใหมๆ ทีเ่ ขามาแทนทีพ่ ลังงาน นํา้ มัน โดยมีศนู ยกลางทางดานการออกแบบฟงกชนั การใชงานและการออกแบบดานเทคนิคทีเ่ มืองเบอรมงิ แฮม ประเทศอังกฤษ ดังนั้น นวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟาจะเปลี่ยนแปลงโลกในแงของการรักษาสิ่งแวดลอมและการอนุรักษพลังงานโลกรวมกัน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภาคอุตสาหกรรมยานยนตไทยใหเปนผูนําอุตสาหกรรมดานยานยนตและในภูมิภาคเอเชียนี้ดวย 9

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Focus ชินวุฒิ ขวัญณัฐพร B.ENG (Mechanical), MS (CEM) นักวิชาการดาน วิศวกรรมยานยนต

ในป ค.ศ. 2023 จะมีการใชงาน E-Axle ซึ่งเปนชุด ขับเคลือ่ นทีส่ าํ หรับรถยนตไฮบริดหรือรถยนตไฟฟาแบตเตอรี่ เปนหนึง่ ในหลายๆ แบบทีม่ กี ารพัฒนาขึน้ มาและถูกเลือกใช ในรถยนตไฟฟาในทุกแพลตฟอรม ดวยจํานวนความตองการ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อยางมาก โดย 46% จะใชในระบบขับเคลือ่ นลอหลัง และ 35% ใชในระบบขับเคลือ่ นลอหนา เมือ่ เทียบเปนปริมาณ การผลิตตอปจะไดเปนตัวเลขทีส่ งู เลยทีเดียว คาดการณวา จะ เพิ่มขึ้นจาก 750,000 ชุด เปน 1.4 ลานชุด โดยนับจากปนี้ จนถึงป ค.ศ. 2023 ทําไมผูผ ลิตรถยนตหลายรายจึงเลือกใช E-Axle เรามาหาคําตอบกัน

แนวโนมการใชงาน E-Axle

สําหรับรถยนตไฟฟา การออกแบบ

จุดเดนของ E-Axle คือการรวมอุปกรณในระบบขับเคลือ่ นทัง้ ตัวชิน้ สวนทางกลและ เพาเวอรอเิ ล็กทรอนิกส (Power Electronics) เขาเปนชุดเดียว ทําใหนาํ้ หนักเบาขึน้ และ ใชพื้นที่นอย ตนทุนการผลิตตํ่าลง ยิ่งไปกวานั้นคือลดการใชสายไฟ High Voltage และ Connector ตางๆ ลงไปไดมากซึ่งทําใหการสูญเสียทางไฟฟาตํ่าลงเพราะใชสายไฟนอย รวมทั้งลดความยุงยากในการออกแบบระบบระบายความรอนอีกดวย

การประกอบ-ติดตั้งเขากับตัวถังรถยนต

ประเด็นสําคัญอีกอยางหนึ่งที่ทําให E-Axle ไดรับความนิยมคือ ความงายในการประกอบเขากับตัวรถในสายการผลิตรถยนตเพราะ E-Axle ประกอบดวยสวนขับเคลื่อนและชุดควบคุมครบทั้งหมดรวมกันในชุดเดียว ในรูปที่ 2 เปนตัวอยางของ E-Axle ที่ใชมอเตอรไฟฟา 2 ชุดเปนตัวขับเพียง แคประกอบเขากับโครงรถดวยโบลทไมกตี่ วั จากนัน้ ตอสายไฟ DC และขอตอ สารหลอเย็นเทานั้นก็พรอมใชงานไดทันที สามารถลดเวลาในการประกอบ ระบบสงกําลังในสายการผลิตรถยนตไปไดอยางมาก

รูปที่ 2 ชุด E-Axle ขนาดกะทัดรัดพรอมติดตั้ง จากขอดีตา งๆ ในการออกแบบและการประกอบเขากับตัวรถทีส่ ะดวก รวดเร็ว มาถึงการพิจารณาในสวนของการเซอรวสิ กันบาง ในมุมมองการของ เซอรวิสเครื่องยนตหรือชิ้นสวนรถยนตในแบบเดิมนั้นหากออกแบบไวโดย ใหชิ้นสวนหลายชิ้นประกอบรวมกันเปนชิ้นเดียวมักจะทําใหการซอมบํารุง ทําไดยาก แต E-Axle นัน้ มีชนิ้ สวนภายในทีม่ คี วามจําเปนตองเซอรวสิ นอยมาก เพียงแคการตรวจเช็คสภาพทั่วไปและเปลี่ยนนํ้ามันเกียรตามระยะเทานั้น ขอสังเกตเพิม่ เติมจากผูผ ลิตหลายรายในระยะหลังนีจ้ ะมีการเพิม่ สวน Power Electronics เขาไปใน E-Axle ดวย ปกติการรวมมอเตอรเขากับชุดเกียรนนั้ สามารถทําไดไมยากแตการทีจ่ ะตองเพิม่ Power Electronics เขาเปนชุดเดียวกัน อีกสวนหนึ่งดวยนั้นไมงายเลย เปนความทาทายสําหรับผูผลิตในขณะนี้

รูปที่ 1 ชุด E-Axle แบบตางๆ จากผูผลิตชิ้นสวนรถยนตชั้นนํา แตสาํ หรับการใช E-Axle ในโครงสรางตัวถังรถยนตในกรณีทผี่ ผู ลิตรถยนตตอ งการ วางชุด E-Axle แทนระบบขับเคลือ่ นเดิม ยังอาจจะเปนปญหาอยูบ า งในบางครัง้ ตัวอยาง เชน ตองลดขนาดของถังนํา้ มัน ตองปรับระดับพืน้ หองโดยสารบางจุดเพือ่ หลบชุด E-Axle ถึงจะติดตัง้ ได หรือการออกแบบการติดตัง้ บนโครงสรางตัวถังเดิมไดแตตอ งเปลีย่ นตําแหนง ชุดขับเคลื่อนลอหนาใหเปนขับเคลื่อนลอหลังแทน ซึ่งก็ไมสามารถที่จะทําแบบนั้นได ทุกกรณี บริษัทผูผลิตรถยนตตางๆ ไดรวมออกแบบกับผูผลิต E-Axle เพื่อหารูปแบบที่ เหมาะสมสําหรับรถยนตของตัวเองทั้งการใชงาน E-Axle บนแพลตฟอรมเดิมและการ ออกแบบโครงสรางตัวถังใหมทงั้ หมดเพือ่ รองรับการติดตัง้ E-Axle ในรถยนตรนุ ใหม ผูผ ลิต ชิน้ สวน OEM สวนมากประสบความสําเร็จในการออกแบบเพือ่ ใชงานแลวสําหรับกรณีตดิ ตัง้ บนแพลตฟอรมเดิม แตทเี่ พิม่ เติมขึน้ มาคือในอนาคตเราจะไดเห็น E-Axle สามารถรองรับ ชุดสงกําลังแบบใดก็ไดสาํ หรับรถยนตรนุ ใหมทกุ แบบ ตัง้ แตรถยนตไฮบริดทีย่ งั มีเครือ่ งยนต สันดาปภายในติดตัง้ อยู รถยนตไฮบริดขับเคลือ่ น 4 ลอแบบ All Wheel Drive หรือจะเปน รถยนตไฟฟาแบตเตอรี่ก็ตาม ในสวนระบบควบคุมนั้นตองควบคุมทั้งความเร็วรอบ และทอรคที่สงผานยังเพลา และลอ หาก E-Axle แบบที่ใชมอเตอรขับเคลื่อน 2 ชุด เราตองควบคุมทอรคทั้งสองขาง ใหกระจายออกไปอยางเหมาะสมเพือ่ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยดวย เพราะเราไม ตองการใหลอขับเคลื่อนขางหนึ่งขางใดเปนเหมือนเปนตัวถวงเสมือนวากําลังฉุดลอขับ อีกขางหนึ่งไปดวยในขณะรถวิ่งอยู และสวนที่สําคัญที่สุดในการออกแบบ E-Axle คือ การควบคุมชวงความเร็วที่รองรับไดของตัว E-Axle เอง นักพัฒนาผลิตภัณฑมีตัวเลือก ใหใชไดอยู 3 แบบคือ 1. การตัดกําลังออกจากมอเตอรกรณีที่ความเร็วสูงเกินไป 2. ใชชุดเกียรที่มีอัตราทดคงที่และใชมอเตอรขับตลอดการขับเคลื่อน 3. ใชชุดเกียรสงกําลังในแพ็กเปนแบบ Multi-Speed 10

รูปที่ 3 ภาพชิ้นสวนภายใน E-Axle จากผูผลิตรายหนึ่ง ซึ่งประกอบดวย สวนหลักๆ คือ มอเตอร ชุดเกียร และเพาเวอรอิเล็กทรอนิกส

รูปที่ 4 ตัวอยางระบบระบายความรอนใน E-Axle (Inlet คือชองทางเขาสารหลอเย็น) นวัตกรรมลาสุดผูผ ลิต E-Axle รายใหญจากเยอรมนีรายหนึง่ กําลังทํา ตนแบบ E-Axle ทีล่ าํ้ หนาไปอีกขัน้ หนึง่ โดยกําหนดใหมกี ารทํางาน 2 ความเร็ว และตัดตอกําลังโดยใชคลัตช สวนฝง ผูเ ชีย่ วชาญการผลิตมอเตอรจากญีป่ นุ รายหนึ่งก็เปดตัว E-Axle ที่ออกแบบใหมีกลไกของคลัตชตัดตอกําลังใน ตัวมอเตอรเพิ่มเขาไปจากเดิม ทัง้ หมดทีก่ ลาวมานีเ้ ห็นไดชดั เจน E-Axle เปนตัวเลือกทีส่ าํ คัญสําหรับ รถยนตไฮบริดและรถยนตไฟฟาแบตเตอรี่ ดวยรูปแบบที่ยืดหยุนดานขนาด และตําแหนงของการติดตัง้ รวมถึงความเหมาะสมในเรือ่ งราคาและเวลาใน การประกอบเขาตัวรถ ดังนั้นในอนาคตเราคงไดเห็น E-Axle ในรถยนตอีก หลายรุนอยางแนนอนครับ

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

สถานการณ์รถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) เป็นอีกหนึ่งของการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่น่าจับตามองไปทั่วโลก โดยเฉพาะกลุ่มประเทศยุโรปที่มีพัฒนาการผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้าขยายตัวมาอย่างต่อเนื่อง แม้ว่า ประเทศจีนจะเป็นตลาดรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าใหญ่ที่สุดในโลกก็ตาม

การสนับสนุนการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าในยุโรปมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยก๊าซพิษ ไอเสียรถยนต์สอู่ ากาศ ซึง่ รัฐบาลแต่ละประเทศมีนโยบายยุทธศาสตร์สนับสนุนให้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า และส่งเสริมพลเมืองให้หนั มาใช้รถยนต์ไฟฟ้ามากขึน้ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญด้านยานยนต์ได้วเิ คราะห์ สถานการณ์การใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในยุโรป คือ ประเทศนอร์เวย์ ว่าเป็นตลาด รถยนต์ไฟฟ้าทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในยุโรป จากข้อมูลหน่วยงานทีด่ แู ลเรือ่ งการจราจรในประเทศนอร์เวย์ เปิดเผยยอดจ�ำหน่ายรถยนต์ในปี พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมาว่า ยอดขายรถยนต์ไฟฟ้าแบบไร้มลพิษ มีผู้ซื้อเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 46,143 คัน รวม 31.2% จากยอดขายทั้งหมดในยุโรป แซงหน้าประเทศ เยอรมนีที่สถิติการใช้รถยนต์ไฟฟ้า 36,216 คัน และประเทศฝรั่งเศสสถิติ 31,095 คัน นอร์เวย์ จึงได้รบั สมญานามว่าเป็นเมืองรถยนต์ไฟฟ้าอันดับ 1 ของโลก อีกทัง้ การติดตัง้ ระบบชาร์จไฟอย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพทีเ่ ป็นไปตามเป้าหมายปลอดมลพิษ นับว่าเป็นผลมาจากการส่งเสริม อย่างจริงจังทีไ่ ด้ตงั้ เป้าหมายเอาไว้วา่ รถทุกคันจะต้องเป็นรถยนต์พลังงานไฟฟ้าภายในปี พ.ศ. 2568 ขณะที่ ประเทศเยอรมนี ผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมยานยนต์ระดับโลก รถยนต์ทกุ ประเภทของ เยอรมนีได้รับความนิยมไปทั่วโลกเพราะคุณภาพและเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์ขั้นสูงกว่า รถยนต์จากประเทศอืน่ ๆ เดิมทีนนั้ เยอรมนีเป็นประเทศผูน้ ำ� ด้านการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้ามาก ทีส่ ดุ และทิศทางด้านยานยนต์ของเยอรมนีจะยังคงเดินหน้าออกประกาศตัง้ เป้าผลิตรถยนต์พลังงาน ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเป็น 1 ล้านคันในปี พ.ศ. 2563 โดยรัฐบาลเยอรมนีจะมีมาตรการด้านภาษีส�ำหรับ รถยนต์ส่วนบุคคลเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งการตั้งเป้าหมายส�ำคัญด้านสิ่งแวดล้อมว่าต้องท�ำให้รถ ทีว่ างจ�ำหน่ายในประเทศเป็นรถทีไ่ ม่มกี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกทัง้ หมดภายในปี พ.ศ. 2573 และ แน่นอนเยอรมนีจะกลับมาเป็นประเทศผูน้ ำ� ด้านรถยนต์พลังงานไฟฟ้ารายใหญ่อนั ดับ 1 ของโลก อีกครั้ง ทางด้าน ประเทศฝรัง่ เศส ถือเป็นอีกหนึง่ ประเทศทีม่ งุ่ เน้นให้ความส�ำคัญด้านสิง่ แวดล้อม โดยรัฐบาลฝรั่งเศสมีการประกาศห้ามขายรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงน�้ำมันเบนซินหรือดีเซลภายใน ปี พ.ศ. 2583 ซึ่งรัฐบาลฝรั่งเศสได้ส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีรถยนต์พลังงานไฟฟ้าของภาค อุตสาหกรรมยานยนต์ และสนับสนุนให้ประชาชนซือ้ รถยนต์พลังงานไฟฟ้ามากขึน้ ภายใต้โครงการ “กฎหมายว่าด้วยการเปลีย่ นผ่านพลังงานไปสูพ่ ลังงานสีเขียว” ได้สะท้อนถึงการเป็นประเทศผูผ้ ลิต รถยนต์ไฟฟ้ารายใหญ่อีกประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป ส�ำหรับ ประเทศอังกฤษ นั้น แนวโนมการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้า (Electric Car) เพิ่ม สูงขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากมาตรการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เข้มงวดขึ้น และราคาน�ำ้ มันทีป่ รับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตามราคาตลาดโลกนัน่ เอง จึงท�ำให้บริษทั ผูน้ ำ� ทาง 11

World กองบรรณาธิการ

ด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของอังกฤษมีการประกาศแผนการ ลงทุนและแผนรุกตลาดรถยนต์ไฟฟ้า และแบตเตอรีส่ ำ� หรับรถยนต์ พลังงานไฟฟ้าเช่นกัน ส่วน ประเทศเนเธอร์แลนด์ รัฐบาลก็ได้มนี โยบายเพิม่ จ�ำนวน รถยนต์ไฟฟ้าให้ได้ 200,000 คัน ภายในปี พ.ศ. 2563 แม้สถิตกิ ารใช้ รถยนต์พลังงานไฟฟ้าจะยังมีไม่มากนัก แต่การปลุกกระแสด้าน สิง่ แวดล้อม และลดปริมาณมลพิษคาร์บอนไดออกไซด์ จึงมีการออก เป็ น กฎหมายโดยก� ำ หนดให้ ร ถยนต์ ทุ ก คั น ทุ ก รุ ่ น ที่ จ� ำ หน่ า ยใน ประเทศเนเธอร์แลนด์น้ันจะต้องเป็นรถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า 1,000,000 คัน ภายในปี พ.ศ. 2568 เรียกได้ว่าเป็นนโยบายและ มาตรการที่คาดว่ารถยนต์ไฟฟ้าก�ำลังได้รับความนิยมส�ำหรับชาว เนเธอร์แลนด์ค่อนข้างสูงขึ้นในอนาคต

นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายประเทศในยุโรปที่ก�ำหนดนโยบาย การลดมลพิษจากรถยนต์ โดยส่วนใหญ่มแี ผนส�ำหรับการปรับเปลีย่ น พฤติกรรมของพลเมืองให้หันไปใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น อาทิ ประเทศไอซ์แลนด์ ออสเตรีย ลิกเต็นสไตน์ สวิตเซอร์แลนด์ ฯลฯ ต่างตืน่ ตัว และให้ความส�ำคัญกับเทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Article ผศ. ดร.ชนะ เยี่ยงกมลสิงห์ อาจารย์ประจ�ำสาขา วิศวกรรมธุรกิจยานยนต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

“ตุ๊กตุ๊ก” รถเครื่องสามล้อไทย

พัฒนาสู่รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงส�ำหรับธุรกิจไทย SME ในปัจจุบนั รัฐบาลไทยมีแนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (S-curve) โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ในประเภทกลุ่มรถยนต์ ไฟฟ้า (EV) รถตุก๊ ตุก๊ เป็นพาหนะโดยสารสาธารณะทีน่ ำ� มาใช้ในประเทศไทยกว่า 50-60 ปี โดยรถตุก๊ ตุก๊ ผลิตจากอุตสาหกรรมขนาด SME ในประเทศไทยทัง้ อะไหล่ กระจังหน้า แชสซี กระบะ และตัวถังทัง้ หมด แต่เครือ่ งยนต์เกียร์และเฟืองท้าย ส่วนใหญ่ใช้ชิ้นส่วนมือสองขนาดเล็กของญี่ปุ่น ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ และเสียง ซึง่ อุตสาหกรรมนีด้ ำ� เนินธุรกิจโดยคนไทยและมีกำ� ลังการผลิต 1-5 คัน ต่อเดือน ขึ้นอยู่กับปริมาณคนงาน ความต้องการทางการตลาด โดยศักยภาพ ด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์รถตุ๊กตุ๊กมีการใช้งานทั้งในประเทศและส่งออก ไปยังต่างประเทศ การดัดแปลงรถตุก๊ ตุก๊ ทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์ให้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าในโครงการ ของสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย เพื่อเป็นการพัฒนาต่อยอดเชิงธุรกิจส�ำหรับ ผลิตภัณฑ์รถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าเพือ่ จ�ำหน่ายในประเทศและต่างประเทศต่อไป รถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าดัดแปลงต้นแบบใช้งบประมาณ 350,000 บาท ระยะเวลาพัฒนา 1 ปี อุปสรรค ของการผลิตรถตุก๊ ตุก๊ ใหม่คอื ปริมาณการผลิตยังน้อยมาก เนือ่ งจากข้อจ�ำกัดด้าน กฎหมายยังไม่อนุญาตให้จดทะเบียนเป็นรถตุ๊กตุ๊กส่วนบุคคล และไม่สามารถ จดทะเบียนรถตุก๊ ตุก๊ สาธารณะใหม่เพิม่ และต้นทุนสูงเนือ่ งจากเป็นชิน้ ส่วนน�ำเข้า ส่งผลให้ภาษีสูง ผู้ขับขี่รถตุ๊กตุ๊กส่วนใหญ่รายได้ต�่ำขาดก�ำลังในการซื้อ ผศ. ดร.ชนะ เยีย่ งกมลสิงห์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิศวกรรมธุรกิจยานยนต์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงความเป็นมาและ ความส�ำคัญของปัญหา การดั ด แปลงรถตุ ๊ ก ตุ ๊ ก ที่ ใ ช้ เ ครื่ อ งยนต์ ใ ห้ เ ป็ น ตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าว่า ทางสมาคม ยานยนต์ไฟฟ้าไทยพร้อม ด้ ว ยสมาชิ ก ที่ อ ยู ่ ทั้ ง ใน ภาคอุ ต สาหกรรมและ ไฟฟ้า ได้จัดท�ำต้นแบบ รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าเพื่อเป็นแนวทางในการดัดแปลงรถตุ๊กตุ๊กเครื่องยนต์ให้เป็น

12

รถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า รวมไปถึงแผนธุรกิจทีส่ ามารถต่อยอดไปเชิงพาณิชย์และการสร้าง อาชีพ สนับสนุนเผยแพร่การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย และเพื่อ ประชาสัมพันธ์การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าที่ผลิตในประเทศไทย รถตุ๊กตุ๊กเป็นพาหนะโดยสารสาธารณะที่น�ำมาใช้ในประเทศไทยกว่า 50-60 ปี ในช่วงเริ่มต้นรถตุ๊กตุ๊กถูกน�ำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อมีการใช้งาน ยาวนานเกินกว่า 10 ปี จ�ำเป็นต้องมีการซ่อมเปลีย่ นใหม่ จึงท�ำให้มอี ตุ สาหกรรม ไทยขนาด SME สร้างอะไหล่และสร้างตัวถังทัง้ หมดเพือ่ น�ำไปทดแทนรถตุก๊ ตุก๊ น�ำเข้าทีเ่ ลิกผลิตไป และไม่มอี ะไหล่ในประเทศจนได้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ ของไทยในปัจจุบัน ปัจจุบันชิ้นส่วนเครื่องยนต์เกียร์และเฟืองท้ายส่วนใหญ่ใช้ ชิน้ ส่วนมือสองขนาดเล็กของญีป่ นุ่ โดยเฉพาะ Daihatsu และ Suzuki ส่วนแชสซี และส่วนประกอบอืน่ ๆ ผลิตในประเทศ รถตุก๊ ตุก๊ เดิมใช้เครือ่ งยนต์เบนซินมือสอง จากญี่ปุ่น 2 กระบอกสูบ 2 จังหวะ ขนาด 350 CC และในปัจจุบันพัฒนามาเป็น เครื่องยนต์เบนซินระบบหัวฉีด 3 กระบอกสูบ 4 จังหวะ ขนาด 650 CC

GreenNetwork4.0 July-August 2019

“โดยส่ ว นใหญ่ ใ ช้ เชื้อเพลิง LPG และในบางรุ่น จะใช้เชื้อเพลิง NGV การใช้ เครื่องยนต์มือสองท�ำให้ขาด มาตรฐานทางด้านการควบคุม สิ่งแวดล้อม ในอุตสาหกรรม รถตุ๊กตุ๊กมักจะขาดมาตรฐาน ชิ้ น ส่ ว น การประกอบและ การผลิต เนื่องจากแชสซีจะ เปลี่ยนแปลงตามเครื่องยนต์ เสมอ และอะไหล่ของเครือ่ งยนต์ ส่วนใหญ่เป็นอะไหล่มือสอง รถญี่ปุ่นที่น�ำเข้า และมักจะมี จ�ำนวนและประเภททีแ่ ตกต่าง กัน” ผศ. ดร.ชนะ กล่าว


ผศ. ดร.ชนะ กล่าวต่อไปว่า รถตุก๊ ตุก๊ ไทยเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย ในด้านการท่องเที่ยวในมุมมองของชาวต่างชาติ ส�ำหรับคนไทยส่วนใหญ่ยัง มองว่ารถตุ๊กตุ๊กเป็นพาหนะรับจ้างที่มีราคาค่าโดยสารสูง และมีควันท่อไอเสีย เสียงดัง ผู้ขับขี่ขับอันตราย แต่ในมุมมองของชาวต่างชาติเป็นพาหนะที่ต้อง ลองนั่งเป็นประสบการณ์ ในปัจจุบันรถตุ๊กตุ๊กไทยมีการส่งออกไปต่างประเทศ จ�ำนวนหนึ่ง การพัฒนารถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงส�ำหรับธุรกิจ SME เป็นแนวทางให้ ผูป้ ระกอบการได้เรียนรูว้ ธิ กี ารดัดแปลงรถตุก๊ ตุก๊ ธรรมดาให้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า เพือ่ ต่อยอดทางด้านธุรกิจใหม่ เป็นพาหนะทีป่ ล่อยมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อมต�ำ่ ไม่มี ควันท่อไอเสีย สามารถน�ำไปใช้เป็นรถส่วนบุคคลในการใช้งานในเมืองได้อกี ด้วย แต่ก็ยังมีจุดด้อยในด้านสมรรถนะการทรงตัว และการใช้งาน รวมถึงการผลิต ยังมีความจ�ำเป็นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หากมีการส่งเสริมจากภาครัฐในเรือ่ ง การจดทะเบียนและมาตรฐานอุตสาหกรรม จะช่วยให้ SME พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เชิงพาณิชย์ต่อไป

ลดต้นทุน ลดภาวะเรือนกระจก ด้วยรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า

ปัจจุบันรถตุ๊กตุ๊กไทยส่วนใหญ่ใช้ LPG และ NGV เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับ เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน 2-3 สูบ ข้อเสียของเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน (Internal Combustion Engine : ICE) ได้แก่

13

• ประสิทธิภาพโดยรวมต�ำ่ โดยทั่วไปประสิทธิภาพ เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในประมาณ 30-50% • ประสิทธิภาพโดยรวมต�ำ่ และความสูญเสียทางสมรรถนะ เมือ่ เครือ่ งยนต์ ท�ำงานนอกช่วงก�ำลังจ�ำเพาะและความเร็วถูกจ�ำกัดในช่วงก�ำลัง • ความซับซ้อน โดยปกติมีชิ้นส่วนประมาณ 200 ชิ้น • ความจ�ำเป็นในการบ�ำรุงรักษา จ�ำเป็นต้องมีการบ�ำรุงรักษาตามระยะ เวลา • มีมลภาวะ ฝุน่ ขนาดเล็ก และก๊าซเรือนกระจกทีป่ ลดปล่อยมาจากเครือ่ ง สันดาปภายใน • ความปลอดภัย เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในจะร้อนมากระหว่างการท�ำงาน อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีการพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ดีเซล มาอย่างต่อเนือ่ ง แต่โลกเรายังประสบปัญหาภาวะโลกร้อน อันเนือ่ งมาจากก๊าซ เรือนกระจก และมีหลายประเทศพยายามยกเลิกการใช้เครื่องยนต์ดีเซล และ หันมาพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น เช่น เยอรมนี นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เป็นต้น “ยานยนต์ไฟฟ้า พลังงานแบตเตอรี่เป็น ยานยนต์ไฟฟ้าทีม่ เี ฉพาะ มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นต้น ก�ำลังเคลื่อนที่ และใช้ พลังงานไฟฟ้าที่อยู่ใน แบตเตอรี่เท่านั้น ไม่มี เครื่องยนต์อื่นในยานยนต์ ดังนั้น ระยะทางการวิ่งของยานยนต์ข้ึนอยู่กับการ ออกแบบขนาดชนิดของแบตเตอรี่ รวมถึงน�ำ้ หนักบรรทุก ข้อดีของยานยนต์ไฟฟ้า คือ มีคา่ ใช้จา่ ยทีป่ ระหยัดกว่า การบ�ำรุงรักษาทีถ่ กู กว่า ไม่มกี ารปล่อยมลภาวะ สู่ชนั้ บรรยากาศและไม่มเี สียงดัง ยานยนต์ไฟฟ้ามีมาแล้วกว่า 100 ปี ในปี ค.ศ. 1900-1911 เป็นยุคทองของยานยนต์ไฟฟ้า ทีเ่ ริม่ มีการเปลีย่ นแปลงการใช้งาน จากรถม้ามาเป็นรถไฟฟ้า และก็ไม่ได้รับความนิยมเนื่องจากมีการแข่งขันกับ ยานยนต์เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน จนในช่วงวิกฤตน�ำ้ มันของโลกช่วงปี ค.ศ. 1973 ก็ได้มบี ริษทั ทีน่ ำ� รถไฟฟ้ามาจ�ำหน่ายอีก แต่กไ็ ม่ประสบความส�ำเร็จในท้องตลาด เท่าไรนัก จน Toyota ได้เปิดตัวรุน่ Prius ทีเ่ ป็นเครือ่ งยนต์ไฮบริด และตามด้วย Nissan Leaf และอีกหลายรุ่น” ผศ. ดร.ชนะ กล่าวเพิ่มเติม (อ่านต่อฉบับหน้า เรื่อง เส้นทางกว่า...จะมาเป็นรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า)

GreenNetwork4.0 July-August 2019


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

กระแสเทคโนโลยีนวัตกรรมรถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) ก�ำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในอนาคต อันใกล้นี้ จากความก้าวหน้าการวิจยั พัฒนาอุตสาหกรรมกรรมด้านยานยนต์โดยเฉพาะต้นทุนของการผลิตแบตเตอรี่ และ ต้นทุนการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่ลดลงจนผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น ซึ่งประเทศไทยถือเป็นฐานการผลิตรถยนต์ และชิ้นส่วนรถยนต์ที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของโลก จึงเป็นสิ่งที่ควรเร่งเรียนรู้และปรับตัวที่ต้องก้าวให้ทันนวัตกรรมรถยนต์ พลังงานไฟฟ้า เนื่องจากประมาณการว่ารถยนต์ไฟฟ้าจะได้รับความนิยมไปทั่วโลกในปี พ.ศ. 2563

“ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019” ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ รองรับการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า EV

จึงท�ำให้ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยเกิดการตืน่ ตัวและเตรียม ขับเคลือ่ นแนวทางการผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์รองรับการผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า (EV) น�ำมาสูก่ ารจัดสัมมนา ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019 ในหัวข้อ Smart Mobility Driving ยานยนต์แห่งอนาคต ทีจ่ ดั ขึน้ โดย สถาบันยานยนต์ ร่วมกับ บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นเวทีในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และเป็นแนวทางให้กบั ผูป้ ระกอบการ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้น�ำไปพัฒนาสินค้าเพื่อสอดรับกับนโยบายของภาครัฐ ที่ต้องการรักษาสิ่งแวดล้อม และลดการใช้ทรัพยากรด้านพลังงานลง โดยมี สุทธิศกั ด์ วิลานันท์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด กล่าวต้อนรับและกล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการจัดงานในครัง้ นีว้ า่ “เป็นการร่วม ผลักดันยุทธศาสตร์ของรัฐบาล เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปสู่อนาคต เราได้รวม อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ อุตสาหกรรม หุน่ ยนต์ และอุตสาหกรรมดิจทิ ลั ไว้ดว้ ย ซึง่ อุตสาหกรรมเหล่านีล้ ว้ นเป็นอุตสาหกรรม ที่จะเชื่อมโยงจับคู่ธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการทั้งไทยและต่างประเทศ” ทัง้ นี้ การสัมมนาดังกล่าวได้รบั เกียรติจากวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒิ ประกอบด้วย ดร.พสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธเี ปิดพร้อมกล่าว ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “แนวทางการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ สู่การพัฒนา ระบบสัญจรอัจฉริยะเพือ่ อนาคต” พร้อมด้วย อดิศกั ดิ์ โรหิตะศุน กรรมการสถาบัน ยานยนต์ ผู้ท�ำการแทนผู้อ�ำนวยการสถาบันยานยนต์ ร่วมกล่าวปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อดังกล่าวด้วย ดร.พสุ กล่าวว่า “ทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคตนัน้ หน่วยงานภาค รัฐได้มุ่งเน้นให้ความส�ำคัญกับการขับขี่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งผู้ผลิต ชิ้นส่วนรถยนต์ต่างๆ ตอบรับนโยบายรัฐบาลที่ได้พัฒนาเทคโนโลยีหรือชิ้นส่วน ยานยนต์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมถึงระบบเซ็นเซอร์และระบบซอฟต์แวร์ทใี่ ช้ ส�ำหรับการผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) แม้ในประเทศไทย 14

จะเป็นช่วงเริม่ ต้นของการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้า แต่ภาครัฐจะสนับสนุนให้เกิดการ ขับเคลื่อนและเปลี่ยนแปลงด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ให้เติบโตเพื่อส่งเสริมการ ผลิตรถยนต์ EV โดยขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรมประสานงานร่วมกับกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม และกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม ร่วมมือกันผลักดันอุตสาหกรรมยานยนต์ และสนับสนุนให้ประชาชนหันมา ใส่ใจด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะช่วยท�ำให้เกิดผลดีในแง่เศรษฐกิจระดับชาติได้ทุกมิติ” อดิศกั ดิ์ กล่าวว่า “อุตสาหกรรมยานยนต์กำ� ลังอยูใ่ นยุคเปลีย่ นผ่านจากการใช้ เครื่องยนต์สันดาปไปสู่การใช้เครื่องยนต์ไฮบริดและเครื่องยนต์ไฟฟ้า ซึ่งขณะนี้ ผูป้ ระกอบการไทยต่างมีการปรับตัวด้านเครือ่ งจักรและเทคโนโลยีเพือ่ รองรับการผลิต รถยนต์พลังงานไฟฟ้า อีกทัง้ อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้ายังเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรม S-curve ที่รัฐบาลให้การสนับสนุน เพื่อสร้างอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุปกรณ์ ยานยนต์สมัยใหม่ให้มีมาตรฐานระดับโลก และภาครัฐได้ส่งเสริมให้มีการสร้าง ศูนย์ทดสอบแบตเตอรีย่ านยนต์ไฟฟ้าแห่งแรกของอาเซียนทีค่ าดว่าจะเปิดให้บริการ ในปี พ.ศ. 2563 ดังนั้น ในส่วนของสถาบันยานยนต์ เล็งเห็นถึงความส�ำคัญที่ต้อง ปรับตัวด้านเทคโนโลยี และการออกแบบนวัตกรรมชิน้ ส่วนยานยนต์เพือ่ รองรับการ ผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้าในอนาคต ที่ผู้บริโภคจะเลือกใช้รถยนต์ไฟฟ้ามากขึ้น” การจัดงานแมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซ์โป 2019 และ ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019 ดังกล่าวนี้ ยังได้มกี ารจัดแสดงสินค้าในส่วนของอุตสาหกรรมด้านการผลิตชิน้ ส่วน พลาสติกและบรรจุภณ ั ฑ์ รวมถึงอุตสาหกรรมด้านการผลิตแม่พมิ พ์และการขึน้ รูป อีกทัง้ ผูป้ ระกอบการด้านเทคโนโลยีระบบอัตโนมัตแิ ละการประกอบ และเทคโนโลยี การเตรียมพืน้ ผิว การชุบ และเคลือบผิวชิน้ ส่วนอุตสาหกรรมมากกว่า 46 ประเทศ ทั่วโลก นับเป็นสัญญาณที่ดีที่จะท�ำให้เกิดเงินสะพัดไม่ต�่ำกว่า 8,000 ล้านบาท ที่น่าจะท�ำให้เศรษฐกิจในประเทศขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ดีขึ้น

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Scoop

จากนโยบายภาครัฐที่ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและรักษา สิง่ แวดล้อม รวมถึงมาตรการให้สงั คมร่วมกันช่วยลดปัญหามลภาวะ ฝุน่ ละออง PM 2.5 ซึง่ ท�ำให้เกิดมลพิษทางอากาศได้สง่ ผลกระทบต่อ ความเป็นอยูข่ องผูค้ นอย่างเป็นวงกว้างในหลายพืน้ ทีข่ องประเทศไทย และรวมไปถึงนโยบายในการแก้ไขปัญหาน�้ำมันปาล์มดิบล้นตลาด ท�ำให้หน่วยงานภาคเอกชนขานรับพร้อมให้ความร่วมมือในทุกๆ ด้าน โดยเมือ่ เร็วๆ นี้ บริษทั เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด เป็นอีกหนึง่ ผูป้ ระกอบการ ทีส่ นับสนุนนโยบายภาครัฐในการจ�ำหน่ายน�ำ้ มันดีเซล B20 ซึง่ มีสว่ นผสม ของไบโอดีเซลจากน�ำ้ มันปาล์มบริสทุ ธิเ์ พือ่ ร่วมรักษาสิง่ แวดล้อมทีด่ ี

กองบรรณาธิการ

เชฟรอนฯ หนุน พลังงานสะอาด

เปิดปั๊มน�้ำมันคาลเท็กซ์ จ�ำหน่าย B20 ที่กระบี่

บริษัท เชฟรอนฯ ด�ำเนินการธุรกิจให้บริการสถานีบริการ น�ำ้ มันทีม่ คี ณ ุ ภาพระดับโลก ภายใต้ชอื่ “คาลเท็กซ์” เป็นหนึง่ ในบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับทุกๆ ด้านของอุตสาหกรรมพลังงานทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ไม่ว่าจะเป็นการส�ำรวจ ผลิต ขนส่งน�้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ รวมถึงการผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ผลิตกระแสไฟฟ้า ที่ให้บริการน�้ำมันคาลเท็กซ์แก่ผู้บริโภคทั้งชาวไทยและทั่วโลก ล่าสุดได้เปิดจ�ำหน่ายน�ำ้ มันดีเซล B20 ในสถานีบริการน�ำ้ มันคาลเท็กซ์ กระบี่ บี.พี. 1999 อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ซาลมาน ซาดัต ประธาน กรรมการและผู ้ จั ด การใหญ่ บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “บริษทั เชฟรอนฯ เดินหน้า พัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการระดับ คุณภาพเพื่อตอบโจทย์ทุกความ ต้องการของผูใ้ ช้รถอย่างครบวงจร ควบคูไ่ ปกับการช่วยเหลือพัฒนา สังคมไทยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการ เปิ ด จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ มั น คาลเท็ ก ซ์ ดีเซล B20 ทีส่ ถานีบริการในพืน้ ที่ จังหวัดกระบี่นี้ ก็เพื่อต้องการร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหา สถานการณ์นำ�้ มันปาล์มดิบของไทยล้นตลาดมากทีส่ ดุ และได้สง่ ผล กระทบต่อเกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มน�ำ้ มันอย่างมาก ทางบริษทั ฯ จึงตอบรับ นโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการใช้นำ�้ มันดีเซล B20 เพือ่ สร้าง สมดุลให้ราคาปาล์มน�้ำมันมีเสถียรภาพที่ดี ช่วยสร้างคุณภาพชีวิต เกษตรกรให้ดีขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ ยังเป็นการบรรเทาปัญหา ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 เกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ เนื่องจาก น�้ำมันดีเซล B20 เป็นน�้ำมันดีเซลที่มีส่วนผสมของไบโอดีเซล B100 ซึ่งเป็นพลังงานสะอาดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” 15

ทั้งนี้ คาลเท็กซ์ ได้ตั้งเป้าเปิดจ�ำหน่ายน�้ำมันคาลเท็กซ์ ดีเซล B20 ในสถานีบริการน�้ำมัน คาลเท็กซ์ ให้ได้ 20 แห่งในครึ่งปีแรก ซึ่งมีการประเมินติดตามผลการตอบรับเป็นอย่างดีจาก ผูบ้ ริโภค และผูใ้ ช้รถทีเ่ ข้ามาใช้บริการสถานีนำ�้ มันคาลเท็กซ์ และในอนาคตเชฟรอนฯ เตรียมขยาย พืน้ ทีส่ ถานีจำ� หน่ายน�ำ้ มันคาลเท็กซ์ดเี ซล B20 ตามหัวเมืองในภูมภิ าคอืน่ ๆ ทีม่ กี ารปลูกปาล์ม เช่น จังหวัดเพชรบุรี ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ขณะเดียวกัน หน่วยงาน กรมธุรกิจพลังงาน ได้มนี โยบายส่งเสริมด้านพลังงานธรรมชาติ และด�ำเนินการวิเคราะห์ประเภทของรถยนต์ทสี่ ามารถรองรับการใช้นำ�้ มันดีเซล B20 นี้ ประกอบ ไปด้วยรถบรรทุก หรือรถพ่วงขนาดใหญ่เกือบทุกยี่ห้อ รถยนต์ขนาดเล็ก และรถกระบะ ที่ผลิต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 จนถึงปัจจุบัน เป็นต้น ซึ่งจากการศึกษาวิจัยหากรถยนต์ประเภทดังกล่าวใช้ น�ำ้ มันดีเซล B20 จะไม่สง่ ผลกระทบต่อเครือ่ งยนต์ทที่ ำ� ให้เกิดความเสียหายแต่อย่างใด เนือ่ งจาก การใช้นำ�้ มันดีเซลทีม่ สี ว่ นผสมของไบโอดีเซลเพิม่ สัดส่วนผสมน�ำ้ มันปาล์มบริสทุ ธิ์ ซึง่ มีการศึกษา ทดลองพบว่า การใช้นำ�้ มันดีเซล B20 ท�ำให้ระบบการเผาไหม้ของเครือ่ งยนต์สะอาดยิง่ ขึน้ จึงเป็น การช่วยลดมลภาวะได้เป็นอย่างดี ส�ำหรับทางด้านผู้ประกอบการรถยนต์ประเภทดังกล่าวนั้น ก็ได้ให้ความร่วมมือในการใช้ น�ำ้ มันดีเซล B20 เพือ่ ร่วมกันเป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยกันรักษาสิง่ แวดล้อม และลดปัญหาฝุน่ ละอองมลพิษ PM 2.5 ทีส่ ง่ ผลกระทบเป็นวงกว้างต่อสุขภาพของคนไทยในหลายพืน้ ที่ โดยเฉพาะปัญหารถควันด�ำ ส่งผลต่อมลพิษทางอากาศ นอกจากนี้ ทางกระทรวงพลังงาน ยังได้ขยายเวลาในการส่งเสริมการใช้น�้ำมันดีเซล B20 ด้วยการปรับราคาจ�ำหน่ายให้ตำ�่ กว่าราคาน�ำ้ มันดีเซลปกติถงึ 5 บาทต่อลิตร เพือ่ ช่วยเหลือภาคส่วน ผูป้ ระกอบการและภาคประชาชนในฐานะผูบ้ ริโภค เรียกได้วา่ เป็นความร่วมมือทีต่ อบสนองความ ต้องการของประชาชนและยังเป็นการแก้ปัญหาเกือบทุกมิติทั้งในด้านพลังงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการเกษตร และด้านการพาณิชย์ สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในการใช้ทรัพยากรในประเทศได้ อย่างคุ้มค่า

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

“อนาคตพลังงานไทย ใครก�ำหนด” ผนึกก�ำลังทุกภาคส่วนร่วมรักษาทรัพยากรของชาติ

ทรัพยากรด้านพลังงานเป็นเรื่องส�ำคัญระดับชาติที่ทุกหน่วยงานต้อง ร่วมมือกันส่งเสริมการผลิตพลังงานไฟฟ้าให้มศี กั ยภาพและเพียงพอ ตลอดจน การใส่ใจต่อสิง่ แวดล้อม และไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อประชาชนโดยรวม จึงน�ำมาสู่ การสัมมนา เรือ่ ง “อนาคตพลังงานไทย ใครก�ำหนด” ซึง่ เป็นการรวมตัวครัง้ ใหญ่ ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ประกอบด้วย กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ร่วมกับ สภาสมาคมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และ สมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย การสัมมนาดังกล่าวได้รับเกียรติ จาก รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม เป็นประธานพิธเี ปิดงาน พร้อม กล่าวปาฐกถาว่า “การส่งเสริมและสนับสนุน ให้เกิดการสัมมนาขึ้นในครั้งนี้เพื่อให้ทุก ภาคส่วนได้แลกเปลี่ยนและเสนอความคิด เห็นหลากหลายเกีย่ วกับพลังงานไทย ซึง่ จะ รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ท�ำให้เกิดประโยชน์มากมายจากข้อมูลของ วิทยากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้าน พลังงานทั้งจากภาครัฐและเอกชนที่มาร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ผู้เข้าร่วม สัมมนาให้สามารถเก็บเกี่ยวความรู้ที่ได้รับฟังแล้วน�ำไปเป็นแนวทางก�ำหนด นโยบายให้กบั แต่ละองค์กรต่อไป เพือ่ ด�ำเนินการด้านพลังงานให้เกิดประโยชน์ ต่อประเทศชาติ ซึ่งในส่วนของกระทรวงฯ ได้ตั้งกองทุนขึ้นเพื่อส่งเสริมทั้งใน และนอกมหาวิทยาลัยส�ำหรับสนับสนุนการท�ำวิจัยระดมสมองในการร่วม ก�ำหนดพลังงานของไทยให้มีทิศทางที่ชัดเจน” ทัง้ นี้ การเสวนาดังกล่าวแบ่งออกเป็น 2 ช่วง โดยในช่วงเช้ามีผเู้ ข้าร่วม เสวนาจากหลากหลายหน่วยงาน ประกอบด้วย ดร.วันทนีย์ จองค�ำ สมาคม นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย บรรยายหัวข้อ “การจัดเสวนา 4 ภาค ในปี 2561” ขณะที่ ธวัชชัย ส�ำราญวานิช ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายแผนการผลิตไฟฟ้าและระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ บรรยายหัวข้อ “พลังงานฐาน” รวมถึง ดร.นุวงศ์ ชลคุป ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ, MTEC ร่วมเสวนาหัวข้อ “พลังงาน ทางเลือก” นอกจากนี้ ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู ผู้อ�ำนวยการกองนโยบาย ไฟฟ้า กระทรวงพลังงาน กล่าวเสวนาในหัวข้อ “นโยบายด้านพลังงาน” และ มนูญ ศิรวิ รรณ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านพลังงาน ได้รว่ มบรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์ ปัจจุบันด้านพลังงานของไทย”

16

ส�ำหรับการเสวนาในช่วงบ่ายได้รับเกียรติ จากผู้ทรงคุณวุฒิ น�ำโดย เจน น�ำชัยศิริ สมาชิก วุฒิสภา และในฐานะกรรมการและผู้จัดการใหญ่ บริษทั เอเชียไฟเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) เสวนาเรือ่ ง “อนาคตพลังงานไทย ใครก�ำหนด” พร้อมกล่าวว่า “สถานการณ์และบทบาทพลังงานของไทยในปัจจุบนั แต่ละชนิดล้วนมีข้อดี-ข้อเสียที่ส่งผลกระทบต่อ ส่วนรวม แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งแก้ไขและด�ำเนินการต่อไป คือ เจน น�ำชัยศิริ หน่ ว ยงานหรื อ สถาบั น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ า นพลั ง งาน จะต้องน�ำข้อมูลที่ท�ำให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม เข้าถึงได้ และมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของพลังงาน จึงจะสามารถร่วมมือกันด้าน การใช้พลังงานในอนาคตให้เป็นไปในทิศทางที่จะเกิดประโยชน์ต่อประเทศโดยรวม ได้อย่างแท้จริง” ขณะที่ มนูญ ศิรวิ รรณ กล่าวบรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์ปจั จุบนั ด้านพลังงาน ของไทย” ว่า “สถานการณ์ด้านพลังงานไทยต้องได้รับการปฏิรูปอย่างเป็นระบบเพื่อ การเสริมสร้างความมัน่ คงทางพลังงานให้กบั ประเทศ รวมไปถึงการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพภายใต้ความรับผิดชอบและการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับ ประเทศ” ดร.วี ร พั ฒ น์ เกี ย รติ เ ฟื ่ อ งฟู กล่ า วว่ า “กระทรวงพลังงานได้ปรับแผนพัฒนาก�ำลังผลิต ไฟฟ้าของประเทศแบบระยะยาว รวมถึงได้ประเมิน วัดค่าพยากรณ์หรือความต้องการการใช้ไฟฟ้าของ ประชาชนในแต่ละภูมิภาคเพื่อการจัดสรรพลังงาน หมุนเวียน ตลอดจนการจัดการตามแผนอนุรักษ์ พลั ง งานที่ ส ามารถท� ำ ให้ ล ดการใช้ ไ ฟฟ้ า ลงได้ โดยค�ำนึงแนวโน้มเทคโนโลยีสกู่ ารพัฒนา การสร้าง ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู ความสมดุลความมั่นคงของระบบไฟฟ้าเพื่อรองรับ การผลิตพลังงานทดแทน และการรักษาระดับไฟฟ้า ขายปลีกไม่ให้สูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียน เป็นต้น” ทัง้ นี้ ในการเสวนาดังกล่าวผูร้ ว่ มบรรยายต่างมีความเห็นสอดคล้องกัน ด้วยการ เสนอให้ทุกภาคส่วนร่วมมือกันก�ำหนดทิศทางอนาคตพลังงานไทยให้เกิดความชัดเจน และส่งเสริมการใช้พลังงานบริสทุ ธิ์ พลังงานจากแสงอาทิตย์ พลังงานจากชีวมวล และ พลังงานจากขยะรีไซเคิล เพือ่ ให้เป็นแหล่งพลังงานทางเลือกแก่ประชาชนทัง้ ประเทศ

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Article

วันนี้ ผมใคร่ขอน�ำเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยี ยานยนต์ไฟฟ้า และระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า ทีก่ ำ� ลังเป็นทีส่ นใจและเป็นประเด็นถกเถียงกันในสังคม ในหลายประเด็น เช่น จะต้องใช้เวลาอีกนานเพียงไร ยานยนต์ไฟฟ้าจึงมีการใช้กนั อย่างแพร่หลาย และจะมี ผลกระทบกับประเทศและประชาชนทั่วไปอย่างไร และเราควรมีการเตรียมการอย่างไรเพื่อรับมือกับ แนวโน้มดังกล่าว เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบ และก่อให้เกิดผลดีต่อประเทศมากที่สุดในด้านต่างๆ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ ช่วย ในการท�ำความเข้าใจและพิจารณาประเด็นต่างๆ ข้างต้นได้ดขี นึ้ ผมขอน�ำข้อมูลสถานการณ์การพัฒนา ยานยนต์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในโลก และตัวอย่างที่เกิดใน บางประเทศ มาน�ำเสนอเพือ่ ประกอบความเข้าใจและ สรุปผลกระทบและความเห็นต่อการเตรียมการใน อนาคต

ดร.บุญรอด สัจจกุลนุกิจ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้าน พลังงานและสิ่งแวดล้อม

Green Technology & Innovation

Electric Vehicle Technology

ข้อมูลจากองค์การพลังงานระหว่างประเทศ รายงานว่า สิน้ ปี ค.ศ. 2018 ทัว่ โลกมีการใช้ยานยนต์ ไฟฟ้าประเภท 2 ล้อแล้ว 260 ล้านคัน และรถบัส 460,000 คัน ในขณะทีร่ ถบรรทุกขนาดเล็กและขนาด กลางยังมีการใช้ไม่มาก ทีน่ า่ สนใจมากกว่าคือ รถยนต์ ที่เราใช้ในการเดินทางไปท�ำงานและประกอบธุรกิจ ต่างๆ ทัว่ ไป เริม่ มีรถยนต์ไฟฟ้าเข้ามาแทนทีบ่ า้ งแล้ว ทัง้ ทีใ่ ช้ มอเตอร์ในการขับเคลือ่ นอย่างเดียว ทีเ่ รียกว่า BEV (Battery Electric Vehicle) และที่ใช้ระบบ ขับเคลือ่ นผสม ทัง้ จากเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในและ มอเตอร์รวมกัน ที่เรียกว่า PHEV (Plug-in Hybrid Electric Vehicle) รวมทั้งรถยนต์ไฟฟ้าที่ใช้เซลล์ เชือ้ เพลิงทีเ่ รียกว่า FCEV (Fuel Cell Electric Vehicle) ซึ่งถึงแม้จะมีการใช้น้อยมาก แต่ก็นับรวมอยู่ด้วย โดยสิน้ ปี ค.ศ. 2018 ทัว่ โลกมีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 5.1 ล้านคัน ถึงแม้จะยังไม่มากและมีผลกระทบน้อย เมือ่ เทียบกับปริมาณการใช้รถยนต์รวมทัว่ โลกระดับ พันล้านคัน แต่เมื่อพิจารณาอัตราการเจริญเติบโต จะเห็นได้ว่ารถยนต์ไฟฟ้ามีอัตราการเจริญเติบโตที่ รวดเร็ว โดยปี ค.ศ. 2018 ปริมาณรวมเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 63 จากปีกอ่ นหน้า และเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 57 และร้อยละ 60 ในปี ค.ศ. 2017 และ 2016 ตามล�ำดับ เฉพาะปี ค.ศ. 2018 ปีเดียว มีการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าจ�ำหน่ายถึง 2 ล้านคัน จีนเป็นประเทศทีม่ กี ารใช้รถยนต์ไฟฟ้ามาก ที่สุด ร้อยละ 45 ของปริมาณการใช้ทั่วโลก หรือ 2.3 ล้านคัน รองลงมาเป็นประเทศกลุม่ ประชาคมยุโรป และ ประเทศสหรัฐอเมริกา ร้อยละ 24 หรือ 1.2 ล้านคัน และร้อยละ 22 หรือ 1.1 ล้านคัน ตามล�ำดับ ดังแสดง ตามภาพประกอบ ส�ำหรับประเทศที่มีร้อยละของ การใช้รถยนต์ไฟฟ้าเทียบกับปริมาณการใช้รถยนต์ รวมในแต่ละประเทศ ประเทศนอร์เวย์เป็นผู้น�ำ โดยมีปริมาณการใช้รถยนต์ไฟฟ้าถึงร้อยละ 10 เมื่อ เทียบกับปริมาณการใช้รถยนต์ทงั้ ประเทศ รองลงมา เป็นประเทศไอซ์แลนด์ (ร้อยละ 3.3) และประเทศ เนเธอร์แลนด์ (ร้อยละ 1.9)

Passenger Electric Car Stock in Main Markets and the Top-Ten EVI Countries

ที่มา : IEA, Global EV Outlook 2019 ปัญหาอุปสรรคทีม่ ผี ลกระทบกับการขยายตัวของรถยนต์ไฟฟ้าคือ ต้นทุนการผลิตสูง ท�ำให้ราคาขายของ รถยนต์ไฟฟ้าเมือ่ ไม่รวมมาตรการสนับสนุนต่างๆ จากภาครัฐจะสูงกว่ารถยนต์สนั ดาปภายในในประเภทและขนาด เดียวกัน ประมาณร้อยละ 40 ทัง้ นี้ มีสาเหตุหลักมาจากราคาแบตเตอรีย่ งั สูงอยู่ (ต้นทุนการผลิต US$ 215/KWh ในสหรัฐฯ และราคาขาย US$ 260/KWh) แต่หากรวมค่าใช้จ่ายในการใช้รถด้วย ผลตอบแทนในการลงทุนของ รถยนต์ไฟฟ้าจะดีขนึ้ เนือ่ งจากค่าใช้จา่ ยด้านเชือ้ เพลิงจะลดลง แต่จะมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ราคาเชือ้ เพลิง (น�ำ้ มัน) และราคาไฟฟ้าในประเทศนัน้ ๆ รวมทัง้ สภาพการใช้งานรถด้วย ส�ำหรับค่าแบตเตอรีค่ ดิ เป็นประมาณร้อยละ 40 ของต้นทุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า ดังนัน้ การขยายตัวของการใช้รถยนต์ไฟฟ้าจะขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยหลักๆ 2 ประการ คือ การสนับสนุนจากภาครัฐ และราคาแบตเตอรี่ที่ลดลง ส�ำหรับประเทศไทย มีการก�ำหนดเป้าหมายว่าจะมีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า 1.2 ล้านคัน ในปี ค.ศ. 2036 แต่ไม่ชัดเจนว่า เป้าหมายดังกล่าวนับรวมยานยนต์ไฟฟ้าประเภทใดบ้าง และจะไปถึงเป้าหมายได้อย่างไร ด้วย มาตรการสนับสนุนอะไรจากรัฐ ส่วนภาคเอกชนก็มคี วามตืน่ ตัวพอสมควร โดยมีการลงทุนผลิตลิเธียมแบตเตอรี่ ในประเทศไทย การน�ำเข้า BEV จากประเทศจีนมาทดลองจ�ำหน่าย การทดลองตลาดของ Nissan การน�ำ PHEV มาจ�ำหน่ายของแบรนด์ใหญ่ๆ เช่น BMW และ Benz และการตัง้ เป้าหมายการสร้างสถานีประจุแบตเตอรีจ่ ากหลาย หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมทัง้ การสาธิตการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าประเภทต่างๆ ในภาคการศึกษาหลายแห่ง ค่อนข้างชัดเจนว่า การใช้ยานยนต์ไฟฟ้าช่วยประหยัดการใช้พลังงาน ลดมลพิษที่ปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม ทั้งปริมาณฝุ่น ก๊าซไฮโดรคาร์บอน และก๊าซเรือนกระจก และการเพิ่มขึ้นของการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าย่อมส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สันดาปภายใน ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในประเทศไทย ซึง่ หากไม่มกี ารเตรียมการทีด่ พี อในการสร้างความต้องการ การพัฒนาเปลีย่ นผ่านไปสูอ่ ตุ สาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า อย่างมียทุ ธศาสตร์และขัน้ ตอนทีเ่ หมาะสม ก็อาจส่งผลกระทบทีจ่ ากการสูญเสียตลาดของอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่มีฐานรากจากเครื่องยนต์สันดาปภายในที่มีมูลค่ามหาศาล 17

GreenNetwork4.0 July-August 2019


“ฮี โ ร่ ” ถุงขยะรุ่นรักษ์โลก

GREEN

Factory กองบรรณาธิการ

สินค้ารักษ์โลก

ที่แม็คโคร

บริษัท สยามแม็คโคร จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับ บริษัท คิงส์เอ็นเนอร์จี แอนด์ เวซท์ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด ผูผ้ ลิตถุงขยะจากขยะพลาสติกรีไซเคิล 100% เจ้าแรกและเจ้าเดียวในประเทศไทย น�ำผลิตภัณฑ์ ถุงขยะรุน่ รักษ์โลก ที่ผลิตจากเศษขยะพลาสติกรีไซเคิลที่ได้มาจากบ่อขยะในประเทศ ภายใต้แบรนด์ฮีโร่ มาจ�ำหน่ายและเปิดตัว ที่แม็คโครเป็นแห่งแรก เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้ผู้ประกอบการ ทั้งในกลุ่มร้านค้า โรงแรม ร้านอาหาร ธุรกิจ จัดเลี้ยง ตลอดจนลูกค้าสมาชิกได้หันมาใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นในราคาที่ผู้บริโภคเอื้อมถึง ซึ่งเริ่ม จ�ำหน่ายทีแ่ ม็คโคร ทุกสาขาทัว่ ประเทศ ตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายนเป็นต้นไป ลดราคาเหลือ 75 บาท มีให้เลือก 3 ขนาด สนมชนม์ จินานนท์ รองผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหารสินค้าอุปโภค บริษัท สยามแม็คโคร จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การน�ำถุงขยะรุ่นรักษ์โลกมาจ�ำหน่ายเป็นการต่อยอดโครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam ของสยามแม็คโคร เพื่อเดินหน้าสู่ธุรกิจค้าส่งเพื่อสิ่งแวดล้อมรับ วันสิ่งแวดล้อมโลก และวันทะเลโลก ถุงขยะรุ่นรักษ์โลกผลิตจากถุงขยะรีไซเคิลจาก เศษขยะพลาสติกจากบ่อขยะในไทย ลดปัญหาการจัดการขยะแบบครบวงจร ช่วยลด ปริมาณขยะพลาสติกในประเทศ หนุนส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน เพือ่ การบริโภคอย่าง สนม ์ ยัง่ ยืน (Circular Economy) ตอกย�ำ้ การเป็นแหล่งรวมผลิตภัณฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมในราคา ชนม์ จินานนท ขายส่ง “แม็คโครมีเจตนารมณ์อันแน่วแน่ในการเปิดโครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam ซึ่งเป็นโครงการ ทีป่ ระกาศนโยบายหยุดจ�ำหน่ายโฟมบรรจุอาหาร ใน 12 สาขาทีอ่ ยูใ่ นแหล่งท่องเทีย่ วชายทะเลเป็นโครงการน�ำร่อง เป็นรายแรกในประเทศไทย รวมถึงการสรรหาบรรจุภณ ั ฑ์ยอ่ ยสลายได้รปู แบบใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง จนกลายเป็น แหล่งรวมผลิตภัณฑ์บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศ ทัง้ นี้ การน�ำถุงขยะรุน่ รักษ์โลก แบรนด์ฮโี ร่ เข้ามาจ�ำหน่ายในครัง้ นีจ้ ะเป็นอีกทางเลือกหนึง่ ให้กบั ลูกค้าเนือ่ งในวันสิง่ แวดล้อมโลก 5 มิถนุ ายน และวันทะเลโลก 8 มิถนุ ายน ซึง่ จะเป็นการเพิม่ สัดส่วนบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมของแม็คโครจาก 20% เป็น 40% ภายในปี พ.ศ. 2562 นี้” สนมชนม์ กล่าว ด้าน ไพบูลย์ จุลศักดิ์ศรีสกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท คิงส์เอ็นเนอร์จี แอนด์ เวซท์ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทเริ่มสนใจผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมมานาน ได้ศึกษาเทคโนโลยี การผลิตจากประเทศต่างๆ จนได้ข้อสรุปว่า ด้วยปัญหาขยะพลาสติกที่ในประเทศไทย มีจำ� นวนเพิม่ มากขึน้ จนกลายเป็นปัญหาระดับนานาชาติทที่ กุ ประเทศต่างพากันตืน่ ตัว และพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงเริม่ ผลิตถุงขยะรุน่ รักษ์โลกจากเศษขยะพลาสติก ทีไ่ ด้มาจากบ่อขยะ โดยผ่านกระบวนการคัดแยกทีห่ น้าบ่อขยะ จากนัน้ น�ำมาเข้าโรงงาน พบ ลู ย์ จุล ดศิ์ รีสกุ เพือ่ เข้าสูก่ ระบวนการรีไซเคิล ตัง้ แต่ลา้ งท�ำความสะอาดโดยเครือ่ งจักรทีท่ นั สมัยเพือ่ ให้ ศัก ขยะสะอาด และเข้าสูก่ ระบวนการหลอมเป็นเม็ดพลาสติก ก่อนเข้าสูก่ ารขึน้ รูปเป็นถุงขยะ ที่ปราศจากกลิ่น บาง เหนียว ซึ่งจะช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกจากบ่อขยะในประเทศได้ถึง 20,000 ตันต่อปี “ทีผ่ า่ นมาบริษทั ส่งถุงขยะรักษ์โลกไปจ�ำหน่ายยังต่างประเทศเท่านัน้ เพราะราคาค่อนข้างสูง แต่ผมก็เชือ่ มาตลอดว่าคนไทยเรามีจิตส�ำนึกด้านสิ่งแวดล้อม อยากใช้ผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่ด้วยราคาท�ำให้หลายคนเข้าไม่ถึง แต่เมื่อแม็คโครมีเจตนารมณ์อันแน่วแน่ในการลดผลกระทบทางด้าน สิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับบริษัทของเรา จึงได้น�ำสินค้าตัวนี้จ�ำหน่ายในประเทศเพื่อเป็นอีกทางเลือกของผู้บริโภค ที่จะได้ใช้สินค้าในราคาที่ถูกลงและได้รักษ์โลกเราไปพร้อมกัน” ไพบูลย์ กล่าว สุดท้าย ไพบูลย์ กล่าวว่า โรงงานผลิตถุงขยะของบริษัท คิงส์เอ็นเนอร์จี แอนด์ เวซท์ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ขั้นตอนการผลิตถุงขยะรักษ์โลกจะเพิ่มจากการผลิตถุงทั่วไป ท�ำให้ต้นทุน สูงขึน้ แต่เพือ่ ช่วยลดมลภาวะทางสิง่ แวดล้อม ในอนาคตบริษทั มีนโยบายจะไปเปิดโรงงานเช่นนีต้ ามจังหวัดใหญ่ๆ ในภูมิภาคต่างๆ ที่มีปัญหาขยะล้นเมือง โดยหวังว่าจะช่วยบรรเทาปัญหาขยะได้อีกทางหนึ่ง แต่การด�ำเนินการ ต้องได้รับความเห็นชอบจากท้องถิ่นด้วย คาดว่าจะมีความคืบหน้าอีกไม่นานจากนี้ 18

GreenNetwork4.0 July-August 2019

• แม็คโครตั้งมั่นอยู่บนพันธกิจในการเป็น “คู่คิด ธุรกิจคุณ” โดยด�ำเนินธุรกิจควบคู่ไปกับการให้ ความส�ำคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม รวมถึงการปลูกฝังจิตส�ำนึกเรือ่ ง การรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับลูกค้า พนักงานและ ชุมชน • 1 ใน 6 เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่ส�ำคัญของ แม็คโคร คือ การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Sustainability) ตระหนักถึงคุณค่าความส�ำคัญ ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงมุ่ง ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทัง้ ด�ำเนินการให้ทกุ ระบบเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม

โครงการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา

1. นโยบายการไม่ให้บริการถุงพลาสติก เป็นสิง่ ทีย่ ดึ ปฏิบตั มิ าตัง้ แต่เริม่ ด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ ลดผลกระทบ จากการทิง้ ขยะพลาสติกสูส่ งิ่ แวดล้อม โดยแม็คโคร ลดการสร้างขยะที่เกิดจากถุงพลาสติกไปได้ถึง 16.5 ล้านถุง/เดือน หรือประมาณ 198 ล้านถุง/ปี 2. การประกาศนโยบายหยุดจ�ำหน่ายโฟมบรรจุ อาหารเป็นรายแรก โดยมีเป้าหมายด�ำเนินการหยุด จ�ำหน่ายในทุกสาขาภายในปี พ.ศ. 2564 ผ่านโครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam 3. ด้ ว ยเจตนารมณ์ อั น แน่ ว แน่ ใ นการเปิ ด โครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam ท�ำให้ ปัจจุบันแม็คโครสรรหาและเพิ่มสัดส่วนผลิตภัณฑ์ เพือ่ สิง่ แวดล้อมมากขึน้ จนกลายเป็นแหล่งจ�ำหน่าย บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ในราคาค้าส่งแหล่งใหญ่ ที่สุดในประเทศ


27–28th 11, 2019

THAILAND’S MOST EXCITING ENERGY EVENT

27–28 ǑǗǝƵ˫ƮǦǕnj 2562

˚ Ǧ nj˫NJǖǖǝƮǦǖLJ˝ǦnjǑǙ˘ƴƴǦnjNJ˭nj˚ ˚ LJƯǣƴǎǖǥǨNJǝǬNJǕ Lj˱˚njǨLj˝njNJ˭ǟ˺

IMPACT Convention Center, Bangkok Ǩǔ˱ǣƴNJǣƴNjǦnj˭

ǙǙƴNJǥǨǍ˭ǕnjǨƯ˝Ǧǖ˚ǜǔƴǦnjǬLJ˝ǒǖ˭Ljǣnjnj˭˝

REGISTER FOR FREE NOW: www.terrapinn.com/visitfreeexpo-TH-GNT

Ʈǜ˚Ǧ Ƕǯ Ǐ˼ǟ ˝ nj˘Ǎǟnj˺njǩǙǥǏ˼Ƶ ˝ ˘LJǩǟLJƴƴǦnj | Ʈǜ˚Ǧ ǰDZǯ Ǡ˘ǜƯ˝ǣƮǦǖǟ˘ǔǔnjǦǟ˳ǦǠǖ˘ǍǨƯ˝Ǧǖ˚ǜǔǒǖ˭ | Ʈǜ˚Ǧ DZǯǯǯ Ǐ˼Ǩ˝ Ư˝Ǧǖ˚ǜǔƴǦnj

70+ SPONSORS & EXHIBITORS | 120+ FREE CONFERENCE SESSIONS | 2000+ ATTENDEES

ǩǏƴǪƸǙ˚ǦǨƸǙǙ˥ Ȳ ŃĮÒŠ ŝÒĹúĮŧȳȢ ǣ˺ǎƮǖdž˥ǕLJ ˯ Lj˫LJ ȲķŃŸĹŰĚĹĎ ʒ ŠÒîīĚĹĎȳ ʒ ǨƱǖ˱˚ǣƴǩǎǙƴƮǖǥǩǟ Ǭǒǒ̋Ǧ ȲĚĹƐúŠŰúŠŧȳ ǣ˺ǎƮǖdž˥NJ˭˚

ǫƷ˝ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ Ȳ ŃĮÒŠ ÒŝŝĮĚÒĹîúŧȳ ȼ ǬǒȢ ǨƱǖ˱˚ǣƴNJ˳ǦƱǜǦǔ ǖ˝ǣnjȢ ǨƱǖ˱˚ǣƴǟ˼Ǎnj˝˳Ǧ ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ǍnjƷ˘˝njLJǦLJǒ̋Ǧ Ȳ ŃĮÒŠ ŃŃčŰŃŝŧȳ

ǖǥǍǍǟ˚ƴǩǙǥƵ˳ǦǠnj˚ǦǕǬǒǒ̋Ǧ Ȳ ʒ% ŧŃĮŸŰĚŃĹŧȳ ʒ ǖǥǍǍǬǒǒ̋ǦǫnjƷnjǍNJ Ȳ ŸŠÒĮ úĮúîŰŠĚîĚƥîÒŰĚŃĹȳ ǑǙ˘ƴƴǦnjLjǦǔǩǍǍ Ȳ ŃĹƐúĹŰĚŃĹÒĮ ŝŃƑúŠȳ ʒ ǖǥǍǍǨƱǖ˱˚ǣƴǟ˳ǦǖǣƴǬǒǒ̋Ǧ Ȳ¥ ŧƗŧŰúķŧȳ ǪƱǖƴƮǦǖLJ˝ǦnjƮǦǖǨƴ˫njǩǙǥƮǦǖǙƴNJ˺nj ȲJĹƐúŧŰĚĹĎ ʒ =ĚĹÒĹîĚĹĎ ŝŠŃĨúîŰŧȳ

ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ǩǙǥƮǦǖƮ˘Ʈ ǨƮ˨ǍǑǙ˘ƴƴǦnj Ȳ ŃĮÒŠ ɪ ŰŃŠÒĎúȳ ʒ ǖǥǍǍǬǤǍǖ˫LJ ȲEƗíŠĚô ŧƗŧŰúķŧȳ ǩǍLjǨLjǣǖ˭˚ Ȳ ÒŰŰúŠĚúŧȳ

ǓǦǕǫnjǩǠǙ˚ƴǑ˘ƮǣǦǝ˘Ǖ Ȳ úŧĚôúĹŰĚÒĮ ȳȮ ǨƷ˫ƴǑǦdž˫ƷǕ˥ Ȳ ŃķķúŠîĚÒĮȳ Ȯ ǖǥǍǍ ǟǦNjǦǖdž˼ǎǪǓƱ Ȳ ¥ŰĚĮĚŰƗȺŧîÒĮú ŧƗŧŰúķŧȳ

ǖǥǍǍǪƱǖƴƯ˚ǦǕǬǒǒ̋Ǧǣ˘Ƶƶǖ˫Ǖǥ Ȳ ķÒŠŰ ĎŠĚôȳ ʒ ǩǙǥ ǨƱǖ˱ǣƯ˚ǦǕ ǖǥǍǍǬǒǒ̋ǦǕ˚ǣǕ ȲeĚîŠŃĎŠĚôŧȳ

Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔȢ Ʈǖǥǎ˺ƮǨǒ˱ ǣƴǨƮ˭Ǖǖ˥Ȣ ǠǣƱǣǕ Ȳ¾ĚĹô ŰŸŠíĚĹúŧȢ ĎúÒŠíŃƖúŧ ʒ ŰŃƑúŠŧȳ

Jp Ȣ íĮŃîīîĕÒĚĹȢ ôŠŃĹúŧ

Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔǫnjNJǥǨǙ ȲpččŧĕŃŠú ¾ĚĹôȳ

ǨƱǖ˱˚ǣƴǫƷ˝Ǭǒǒ̋ǦǎǖǥǠǕ˘LJǑǙ˘ƴƴǦnj Ȳ+ĹúŠĎƗ účƥîĚúĹŰ ÒŝŝĮĚÒĹîúŧȳ

Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔǟ˳ǦǠǖ˘ǍNJ˭˚ǣǕ˼˚ǣǦǝ˘Ǖ Ȳ úŧĚôúĹŰĚÒĮ ƑĚĹôȳ

REGISTER FOR FREE NOW: www.terrapinn.com/visitfreeexpo-TH-GNT


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

พลังงานทดแทน รอรัฐมนตรีใหมชุบชีวิต?

กองทุนพลังงานปละกวาหมื่นลาน

คนไทยไดอะไร?

หากมีใครถามวาพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) เมืองไทยมีอะไร ใหลงทุนไหม? คงมีคําตอบมากมายหลายคําตอบ รวมทั้งคําตอบวา “รอนโยบาย รัฐมนตรีใหม” และหากมีใครถามวา กองทุนมากมายปละนับหมืน่ ลานของกระทรวงพลังงาน ทําไมเขาถึงยาก ประเทศไทยไดประโยชนอะไร เปนเบีย้ หัวแตก หรือ ตํานํา้ พริกละลาย แมนํ้าหรือเปลา คําตอบเดิมคือ “รอนโยบายรัฐมนตรีใหม” ขอเริ่มตนดวยแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน/ทดแทน ที่ทางสองกรมใหญ สนพ. และ พพ. ชวยกันบรรจงรางใหตรงเปาหมายทีท่ า นนายกรัฐมนตรีไดประกาศไว คือ 30% ฟงดูคอนขางมาก แตทําไมธุรกิจพลังงานทดแทนรูสึกวา ถดถอย ไมมี การรับซื้อไฟฟาเพิ่มเทาที่ควร จึงอยากใหทานผูอานลองศึกษาวา 30% ของการใช พลังงานขัน้ สุดทายทีป่ ระกาศไวนนั้ เปนการรับซือ้ ไฟฟาเพียง 7.05% เชือ้ เพลิงชีวภาพ (เอทานอลและไบโอดีเซล) 4.24% และอีก 18.86% เปนเรือ่ งของการผลิตความรอน ซึง่ ตรวจวัดไดยาก แตมกี ารใชอยูแ ลวในภาคอุตสาหกรรมโดยไมตอ งมีการอุดหนุน ใดๆ จากภาครัฐ

đðŜćĀöć÷×ĂÜĒñî “öĊÿĆéÿŠüîÖćøĔßšóúĆÜÜćîìéĒìî đðŨîøšĂ÷úą ×ĂÜÖćøĔßšóúĆÜÜćî×ĆĚîÿčéìšć÷ĔîðŘ 2580” ÿĆéÿŠüîÖćøĔßšóúĆÜÜćîìéĒìîêŠĂÖćøĔßšóúĆÜÜćî×ĆĚîÿčéìšć÷ øć÷Öćø ñúĉêĕôôŜć ñúĉêÙüćöøšĂî đßČĚĂđóúĉÜßĊüõćó øüö

đðŜć AEDP2015

đðŜć AEDP2018

4.27% 19.15% 6.65% 30.07%

7.05% 18.86% 4.24% 30.15%

20

30

Ēñî AEDP2015 đðŜć ñĎÖóĆîĒúšü ÙÜđĀúČĂ óúĆÜÜćîĒÿÜĂćìĉê÷Ť 6,000.00 3,250.00 2,750.00 ßĊüöüú 5,570.00 4,001.00 1,569.00 óúĆÜÜćîúö 3,002.00 1,517.00 1,485.00 óúĆÜîĚĞć×îćéĔĀ⊠(Öôñ.) 2,906.40 2,918.00 ÖŢćàßĊüõćó 1,280.00 500.00 780.00 ×÷ąßčößî 500.00 500.00 óúĆÜîĚĞć×îćéđúĘÖ 376.00 188.00 188.00 ×÷ąĂčêÿćĀÖøøö 50.00 37.00 13.00 ÙüćöøšĂîĔêšóĉõó ĒúąĂČęîė 0.30 øüö (MW) 19,684.40 12,911.30 6,785.00 ñúĉêĕôôŜćĕéš (GWh) 65,581.97 45,170.50 22,533.26 ÙüćöêšĂÜÖćøĕôôŜć (GWh) 326,119.00 326,119.00 326,119.00 ñúĉêĕôôŜćÝćÖóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î : AE (%) 20.11% 13.85% 6.91% AE/FEC õćÙÖćøñúĉêĕôôŜć (%) 4.27% 2.94% 1.47% óúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îđóČęĂñúĉêĕôôŜć

óúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îđóČęĂñúĉêÙüćöøšĂî ßĊüöüú ÖŢćàßĊüõćó ×÷ą óúĆÜÜćîĒÿÜĂćìĉê÷Ť ĒúąóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î ĂČęîė øüö (ktoe) ÙüćöêšĂÜÖćøĔßšÙüćöøšĂî (ktoe) ñúĉêÙüćöøšĂîÝćÖóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î : AE (%) AE/FEC õćÙÖćøñúĉêÙüćöøšĂî (%) đßČĚĂđóúĉÜßĊüõćóĔîõćÙ×îÿŠÜ đĂìćîĂú (úšćîúĉêø/üĆî) ĕïēĂéĊđàú (úšćîúĉêø/üĆî) ĕïēĂöĊđìîĂĆé (êĆî/üĆî) đßČĚĂđóúĉÜìéĒìî ĂČęîė (ktoe) øüö ÙüćöêšĂÜÖćøđßČĚĂđóúĉÜìĆĚÜĀöé (ktoe) ĔßšđßČĚĂđóúĉÜÝćÖóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î (%) AE/FEC ÖćøĔßšđßČĚĂđóúĉÜĔîõćÙ×îÿŠÜ (%)

GreenNetwork4.0 July-August 2019

Ēñî AEDP2018 PDP2018 Ēñî óó. øüö 12,725.00 336.10 13,061.10 4,370.00 4,370.00 1,485.00 1,485.00 780.00 780.00 570.00 570.00 142.00 142.00 63.00 63.00 19.70 19.70 19,993.00 497.80 20,490.80 58,778.29 981.80 59,760.09 301,484.92 301,484.92 301,484.92 19.50% 0.33% 19.82% 3.95% 0.07% 4.01%

Ѱяь AEDP2015

AEDP2015 ðŘ 2018 22,100.00 6,958.00 1,283.00 634.00 495.00 110.00 1,210.00 10.00 25,088.00 7,712.00 68,413.51 68,413.51 36.67% 11.27% 19.15% 5.89%

Ѱяь AEDP2018

ÙÜđĀúČĂ 15,142.00 649.00 385.00 1,200.00 17,376.00 68,413.51 25.40% 13.26%

đðŜć øüö (ÿąÿö) 15,142.00 22,100.00 649.00 1,283.00 385.00 495.00 40.00 50.00 16,216.00 23,928.00 66,456.51 66,456.51 24.40% 36.01% 12.78% 18.86%

ÙÜđĀúČĂ 7.16 9.78 4,785.00 10.04 6,608.60 34,797.89 18.99% 5.04%

đðŜć øüö (ÿąÿö) 2.86 7.00 2.28 6.50 4,785.00 4,800.00 10.00 10.00 3,276.79 5,381.92 34,720.52 34,720.52 9.44% 15.50% 2.58% 4.24%

Ѱяь AEDP2015

AEDP2015 ðŘ 2018 11.30 4.14 14.00 4.22 4,800.00 15.00 10.04 8,713.74 2,105.14 34,797.89 34,797.89 25.04% 6.05% 6.65% 1.61%

øüö (ÿąÿö) 16,311.10 8,371.00 3,002.00 2,918.00 1,280.00 1,070.00 330.00 100.00 20.00 33,402.10 104,930.59 301,484.92 34.80% 7.05%

Ѱяь AEDP2018


ในขณะนีม้ กี ารขายไฟไมถงึ 7% ของโรงไฟฟาจากพลังงานทดแทน ยังสราง ความรํา่ รวยจนเกิดมหาเศรษฐีในเมืองไทยขึน้ หลายราย คงตองมีการศึกษาวิจยั วา พลังงานทดแทนมีผลในการกระจายรายไดสชู มุ ชนมากนอยเพียงใด เมืองไทยจะได พนจากคําวา “รวยกระจุกจนกระจาย” เสียที เรื่องของพลังงาน มีความหมายสมบูรณในตัว ไมใชแคปจจัยที่ 5 พลังงาน เปนทัง้ สาธารณูปโภค โครงสรางพืน้ ฐาน เปนธุรกิจ เปนการลงทุน เปนเทคโนโลยี เปนสัมปทาน เปนชนวนใหเกิดสงคราม และเปนพลังอํานาจในตัวเอง ประเทศไทย ก็เชนกัน กระทรวงพลังงานกวาจะไดเสนาบดี ก็ตองเสียเวลากันเปนเดือนทีเดียว คนสวนใหญถาพูดถึงพลังงานหมุนเวียน พลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือก มักจะคิดวาคือไฟฟา แททจี่ ริงแลวแผนพลังงานทดแทน มีสดั สวนทีเ่ ปนพลังงานไฟฟา เพียง 7.05% จากเปาหมายพลังงานทดแทนรวมของประเทศ 30% โดยใหความสําคัญ ดานการผลิตความรอนมากทีส่ ดุ ถึง 18.86% และดานเชือ้ เพลิงชีวภาพ เอทานอลไบโอดีเซลอีก 4.24% จะเหมาะสมหรือไมประการใด คงตองฟงความรอบดาน แตทแี่ นๆ ปจจุบนั นีป้ ริมาณไฟฟาสํารองของประเทศไทย เกินกวาความจําเปนมาก แลว และที่แปลกแตจริงก็คือ รัฐบาลยังคงรับซื้อไฟฟาจากฟอสซิลที่ราคาแพงกวา ชีวมวลอยางตอเนือ่ ง ทัง้ ๆ ทีโ่ รงไฟฟาชีวมวลปจจุบนั ก็ขายไฟแบบ Firm เชนเดียว กับโรงไฟฟาฟอสซิล อะไรจะถูก อะไรจะผิด คงตองเก็บไวเปนการบานทานรัฐมนตรี ยุคมี ประชาธิปไตย (อาจถูกวิพากษวจิ ารณได) ขอเพิม่ เติมเรือ่ งทีน่ า สนใจทีช่ าวพลังงาน และชาวบานถูกเก็บภาษี อันเนือ่ งมาจากขายไฟฟา ผลิตไฟฟา และใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิง นั่นก็คืองบประมาณของกองทุนอนุรักษพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟา สําหรับ กองทุนพัฒนาไฟฟา ทั้งที่จัดเก็บจากผูผลิตไฟฟาและผูจําหนายไฟฟา ไดถูกใช ประโยชนอยางมีประสิทธิภาพตามสมควร เจาหนาทีส่ ว นใหญของกองทุนพัฒนาไฟฟา มีจติ สํานึกวา นีเ่ งินประชาชน ไมใชของ กกพ. อํานวยความสะดวกอยางดี เขาถึงงาย แมจะเขมงวด ความครบถวนและความสมบูรณของเอกสารมากเกินไป โดยขาด การคํานึงถึง Output – Outcome ตามแนวทางของสํานักงบประมาณ แตถา มอง ภาพรวมก็สอบผาน สําหรับกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ปละกวาหมื่นลานบาท คงตองหาผูบริหารมืออาชีพมาชวย เนื่องจากผูเสียภาษีเขากองทุนบนกันมาก (จากองคกรภาครัฐ) เริม่ ตัง้ แตการลงทะเบียนทีแ่ สนยาก หลายๆ องคกรตองวาจาง ทีป่ รึกษามาชวย แตกย็ งั ไมไดงานโดยไมทราบเหตุผล การติดตอก็แสนยากลําบาก นอกจากนีก้ ย็ งั มีขา ววา 3 จังหวัดภาคใต หลอดไฟลนแลว ขอเปนอุปกรณอนื่ ๆ บาง เรือ่ งดีๆ ของกองทุนหมืน่ ลานก็มี เชน โครงการสูบนํา้ ดวยพลังงานเซลลแสงอาทิตย ชาวบานฝากขอบคุณกระทรวงพลังงานมา ณ ที่นี้ดวย

21

เรียนทานรัฐมนตรีฯ พลังงานจากฟอสซิล อาจสรางความรํ่ารวยใหภาค เอกชนไมกี่กลุม และสรางความเขมแข็งใหกับองคกรที่ภาครัฐถือหุนเพื่อชวย เสริมความมั่นคงดานพลังงานของชาติ แตสําหรับพลังงานทดแทนหรือพลังงาน หมุนเวียนแลว ควรมีนโยบายกระจายผูล งทุนไปสูท อ งถิน่ ชุมชนหรือผูน าํ ในแตละ จังหวัด เพือ่ เสริมแกรงใหกบั ชุมชน ไมกระจุกตัวอยูแ คบริษทั ใหญ ๆ อีกทัง้ ควรมี นโยบายไมใหภาครัฐเขามาแขงขันกับภาคเอกชนดานพลังงานทดแทน ... วันนีภ้ าค เอกชน เทคโนโลยีพรอม เงินทุนพรอม รัฐจึงควรมีหนาทีส่ ง เสริม สนับสนุนและกํากับ ในบางกรณี ... เทานั้น พลังงานไทยจะกาวไกล ... มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

People กองบรรณาธิการ

ยกระดับรถยนตไฟฟาปลั๊กอินไฮบริด ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ผลิตในไทย

กระแสการใช ร ถยนต พ ลั ง งานไฟฟ า ประเภทรถไฮบริด หรือรถยนตพลังงานไฟฟาปลัก๊ อินไฮบริด (Plug-In Hybrid) ซึง่ เปนประเภทหนึง่ ของรถไฟฟาที่ผสานเครื่องยนตเบนซิน/ดีเซล กับแบตเตอรี่ขนาดใหญที่ชารจไดโดยการเสียบ ปลัก๊ ไฟฟา หรือสถานีชารจไฟ ถือเปนนวัตกรรม เพื่อสิ่งแวดลอม สงผลใหผูประกอบการผลิต รถยนตทั่วโลกเกิดความตื่นตัวและปรับเปลี่ยน การผลิตรถยนตใหเปนรถยนตพลังงานไฟฟา แทนรถยนตที่ใชนํ้ามันในการขับขี่ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่นิยม เพิ่มมากขึ้น จึงทําให บริษัท เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด มุงเดินหนาผลิตรถยนตปลั๊กอินไฮบริดที่ใชพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่เพียงอยาง เดียว (Battery Electric Vehicle : BEV) เปนการพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมเพื่อ สิง่ แวดลอมตัง้ แตการปรับเปลีย่ นการใชเครือ่ งยนตสนั ดาปภายในมาเปนมอเตอรไฟฟา รวมถึงเทคโนโลยีอนื่ ๆ มาอยางตอเนือ่ ง และสําหรับในประเทศไทย เมอรเซเดส-เบนซ ไดมกี ารเดินสายการผลิตรถยนตปลัก๊ อินไฮบริด (EQ Power) มาตัง้ แตป พ.ศ. 2558 โดยปจจุบนั การผลิตรถยนตปลัก๊ อินไฮบริดรวม 6 รุน ทัง้ C-Class E-Class และ S-Class เปนการตอบรับตอการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยใหกาวไปสู การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตทใี่ ชพลังงานไฟฟา ซึง่ เมอรเซเดส-เบนซจากประเทศ เยอรมนี จึงไดเล็งเห็นความสําคัญของประเทศไทยในการเปนฐานการผลิตทีส่ าํ คัญ ในภูมิภาค อันเดรอัส เลทเนอร ประธานบริหาร บริษทั เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “เมอรเซเดสเบนซตอ งการยกระดับการผลิตรถยนตทไี่ มปลอยไอเสีย เลย เพื่อตอบสนองนโยบายภาครัฐที่สงเสริมดาน ยานยนตไฟฟาในประเทศไทย และเปนการเตรียม ความพรอมสูรูปแบบการสัญจรที่เปนมิตรตอ สิง่ แวดลอมในอนาคต เพือ่ รองรับความตองการ รถยนตไฟฟาที่กําลังเพิ่มสูงขึ้นในภูมิภาคนี้ อีกทั้งเล็งเห็นวาโรงงานอุตสาหกรรมใน ประเทศไทยจะมี เ ทคโนโลยี ร ถยนต ที่ มี ระบบขับเคลือ่ นดวยไฟฟา และรถยนตทใี่ ช พลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่เพียงอยางเดียว อันเดรอัส เลทเนอร ขณะเดียวกันในป พ.ศ. 2565 บริษัทฯ จะผสาน ระบบขับเคลื่อนดวยไฟฟาเขากับรถยนตของ เมอรเซเดส-เบนซอยางทั่วถึง เพื่อใหผูบริโภคมี 22

ทางเลือกทีเ่ ปนรถยนตขบั เคลือ่ นดวยไฟฟาอยางนอย 1 รุน ในทุกกลุม ผลิตภัณฑ ตั้งแตรถยนตจากแบรนดสมารทไปจนถึงรถยนตอเนกประสงคขนาดใหญ นอกจากนี้ยังเปนโอกาสสําคัญสําหรับพนักงานของเราที่จะไดรับการฝกอบรม เกีย่ วกับหนาทีค่ วามรับผิดชอบใหมๆ ทีต่ อ งใชทกั ษะความรูข นั้ สูง และมุง มัน่ ทีจ่ ะ เพิม่ บทบาทสานตอความรวมมือกับพันธมิตรของเราในประเทศไทยใหแข็งแกรง ยิ่งขึ้นตอไปใหประสบความสําเร็จ” การเดินหนากาวเขาสูก ารเปนแบรนดรถยนตเพือ่ สิง่ แวดลอมของเมอรเซเดสเบนซ เปนอีกขัน้ สําหรับการตอกยํา้ ถึงแนวทางการดําเนินงานทีช่ ดั เจนของบริษทั ฯ แตอยางไรก็ดี นอกเหนือจากการผลิตรถยนตปลัก๊ อินไฮบริดแลว เมอรเซเดส-เบนซ ยังไดรวมมือกับธนบุรีประกอบรถยนตลงทุนสรางโรงงานแบตเตอรี่ในจังหวัด สมุทรปราการ ซึง่ นับเปนแหงที่ 6 ของโลก โดยลาสุดไดรว มลงนามความรวมมือ กับสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เพื่อการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยียานยนตไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส พรอมการทดสอบแบตเตอรี่ ลิเธียมเปนแหงแรกในประเทศไทยและในภูมภิ าคอาเซียน เปนการยกระดับความ สามารถของคนไทย และสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชนิ้ สวนรถยนตใน ประเทศไทยใหกาวหนายิ่งขึ้นตอไปในอนาคต

GreenNetwork4.0 July-August 2019


สวทช. มุงพัฒนา

ตั้งศูนยทดสอบแบตเตอรี่ รองรับการผลิตรถยนตพลังงานไฟฟา สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เปนหนวยงาน ราชการสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม มุงสราง เสริมการวิจยั พัฒนา ออกแบบ พรอมสงเสริมดานการพัฒนากําลังคนและโครงสราง พื้นฐาน เพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขัน และพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และสนับสนุนการดําเนินงานทุกสวนสูสังคมฐานความรูดวยวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ปจจุบนั ผูอ าํ นวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ คือ ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ซึง่ เปนผูน าํ ระบบบริหารคุณภาพ อีกทัง้ ยังมีความรูแ ละ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบคุณภาพอื่นๆ นอกจากนี้ยังเปนหนึ่งในคณะทํางาน จัดตัง้ รางวัลคุณภาพแหงชาติ เปนอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการเทคนิครางวัล คุณภาพแหงชาติ และผูตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแหงชาติ ตั้งแตป พ.ศ. 2547 จนถึงปจจุบนั ไดขบั เคลือ่ นการดําเนินงานของ สวทช.ใหเดินหนาพัฒนาเพือ่ ประโยชน แกประเทศชาติ ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ (เกียรตินยิ มอันดับ 1) จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ไดรบั รางวัลเหรียญทอง เรียนดีจากวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย และทุนรัฐบาลไทยเพือ่ ศึกษาตอจนจบ ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมการผลิต จากมหาวิทยาลัยเบอรมงิ แฮม ประเทศอังกฤษ โดยไดเริม่ งานครัง้ แรกป พ.ศ. 2536 ในตําแหนงนักวิจยั ของศูนยเทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ตอมาในป พ.ศ. 2540 ไดรบั การแตงตัง้ ใหเปนผูอ าํ นวยการ โครงการระบบคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนต ซึง่ รับผิดชอบใหคาํ ปรึกษาใน การพัฒนาระบบคุณภาพแกผปู ระกอบการผลิตชิน้ สวนยานยนต และในป พ.ศ. 2543 ยายมาปฏิบัติงานดานบริหารในตําแหนงผูชวยผูอํานวยการสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยดูแลงานในสายสนับสนุนตางๆ ตั้งแตงานบริหารบุคลากร งานพัฒนาองคกร งานการเงินและบัญชี และงานพัสดุ เปนตน หลังจากนัน้ ป พ.ศ. 2547 ไดรบั การแตงตัง้ ใหเปนรองผูอ าํ นวยการ สวทช. และตอมาป พ.ศ. 2559 ดํารงตําแหนงผูอํานวยการ สวทช. จนถึงปจจุบัน ดร.ณรงค ไดรเิ ริม่ โครงการตางๆ ใน สวทช. อีกมากมายพรอมปรับภาพลักษณ องคกร สวทช. โดยลาสุดเมื่อเร็วๆ นี้ไดผลักดัน สวทช. ลงนามความรวมมือกับ บริษทั เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยมอบใหศนู ย ทดสอบผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (PTEC) เปนแล็บทดสอบแบตเตอรีย่ านยนต ไฟฟาแหงแรกในประเทศไทยและในภูมิภาคอาเซียน เปนหองปฏิบัติการทดสอบ แบตเตอรี่ และหองปฏิบตั กิ ารทดสอบยานยนตอตั โนมัติ โดยตัง้ เปาใหเกิดการใชงาน หองปฏิบตั กิ ารทดสอบแบตเตอรีใ่ นประเทศไทย และพัฒนาทักษะองคความรูข อง สอบแบตเตอรยานยนตไฟฟา ผูป ฏิบตั งิ านทดสอบในประเทศ ซึง่ จะเปนศูนยทดสอบแบตเตอรี ย่ านยนตไฟฟา ฮบริด และรถยนตประเภท ทีผ่ ลิตในประเทศไทยสําหรับรถยนตปลัก๊ อินไฮบริ BEV เพื่อใหเกิดการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี และสนับสนุนการทดสอบ แบตเตอรีใ่ นยานยนตไฟฟาทีค่ รอบคลุม รองรับอุ บอุตสาหกรรมยานยนตทใี่ ช

People กองบรรณาธิการ

พลังงานไฟฟาในอนาคต เพื่อรองรับการมาถึงของรถยนตกลุมนี้ในอนาคต ดร.ณรงค กลาวถึงแนวคิดการจุดประกายสําหรับความรวมมือดังกลาววา “จุดเริม่ ตนเนือ่ งมาจากทางเมอรเซเดส-เบนซ มีความตัง้ ใจจะผลิตแบตเตอรีร่ ถยนต ไฟฟาในประเทศไทย ซึง่ สวทช.ในฐานะเปนหนวยงานภาครัฐ เราไดศกึ ษาคนควา วิจัย และแลกเปลี่ยนองคความรูรวมกัน จึงเล็งเห็นวานาจะทําใหเกิดการลงทุนใน ภาคอุตสาหกรรมชิน้ สวนยานยนตในไทยขึน้ ได จึงตัดสินใจรวมกันจัดตัง้ ศูนยทดสอบ แบตเตอรี่สําหรับชารจไฟเพื่อใหเปนการผลิตแบตเตอรี่และปฏิบัติการทดสอบ เทาเทียมระดับโลก และยังสามารถสงออกไปยังนานาประเทศไดอกี ดวย ซึง่ จะเปน ประโยชนตอประเทศชาติในทุกๆ ดาน” สําหรับคุณสมบัติของแบตเตอรี่ลิเธียมนี้ เปนนวัตกรรมที่สามารถเก็บกัก พลังงานไดดี นํ้าหนักเบา และสามารถชารจซํ้าๆ ไดหลายครั้ง ซึ่งจากการทดสอบ แบตเตอรี่รถยนตไฟฟาไฮบริดสําหรับรถเบนซสามารถวิ่งไดระยะทางไกล 500 กิโลเมตร หรือวิง่ ระยะทางไกลทีส่ ดุ ตอการชารจไฟ 1 ครัง้ และกรณีหากผูข บั ขีต่ อ ง ขับอยูในถนนที่มีนํ้าทวมสูง การทํางานของแบตเตอรี่ลิเธียมที่มีมาตรฐานความ ปลอดภัยสูงที่สุดจึงสรางความปลอดภัยใหกับผูขับขี่ไดตลอดการเดินทาง ทั้งนี้ เนื่องจากลิเธียมเปนสวนประกอบหลักของแบตเตอรี่ เปนสารที่ทําปฏิกิริยากับ ออกซิเจนงายและอาจเกิดการติดไฟขึ้นได จึงตองมีการควบคุมกระบวนการผลิต การใชงานอยางมีประสิทธิภาพ การดูแลรักษาและการซอมบํารุงที่ถูกตอง “PTEC จัดตัง้ หองปฏิบตั กิ ารทดสอบแบตเตอรีท่ งั้ ในระดับเซลล โมดูล และ แบตเตอรีแ่ พ็ก และการจัดตัง้ หองปฏิบตั กิ ารทดสอบยานยนตไรคนขับแหงอนาคต แบบครบวงจรแหงแรกในประเทศไทย เชน การทดสอบประสิทธิภาพการชารจดิสชารจเพื่อประมาณอายุการใชงาน และการรับประกันอายุแบตเตอรี่ที่ยาวนาน การทดสอบความปลอดภัยของแบตเตอรีเ่ มือ่ เกิดการจมนํา้ จากสถานการณนาํ้ ทวม ถนนและการตกลงในนํ้า การทดสอบความปลอดภัยของแบตเตอรี่เมื่อขับบน ถนนทางลูกรัง ถนนดิน ซึง่ มีฝนุ มากของประเทศไทย รวมทัง้ การทดสอบสภาวะการ ทํางานของแบตเตอรีภ่ ายใตการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมแิ บบทันทีทนั ใดจากรอนสูเ ย็น เพือ่ สงแบตเตอรีไ่ ปจําหนายตางประเทศ และการทดสอบการทํางานของแบตเตอรี่ ดวยการจําลองสภาวะการสัน่ สะเทือนการกระแทก เมือ่ ขับบนถนนขรุขระ การตกหลุม บอบนถนน ตกไหลทาง และกระแทกคอสะพาน เปนตน” ดร.ณรงค กลาว ดังนั้น PTEC สวทช. จึงเปนหองแล็บสําหรับปฏิบัติการทดสอบแบตเตอรี่ที่ จะชวยผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรมพลังงานใหมในประเทศไทย โดยหองปฏิบตั กิ าร ที่ ไ ด ม าตรฐานสากลจะทํ า ให อุ ต สาหกรรมในประเทศประหยั ด ค า ทดสอบ คคาขนสง าขนสง สามารถแกไขปญหาผลิตภัณฑแบตเตอรีท่ ไี่ มเปนไปตามทีอ่ อกแบบ และเพื่อสนองนโยบายการสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม และ พัฒนาฐ นาฐานการผลิตแบตเตอรี่ใหเกิดในประเทศไทยอยางมีคุณภาพตาม มาตรฐ มาตรฐานสากล

ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล 23

GREEN

GreenNetwork4.0 JJuly GreenNetwork4.0 July-August uly-Au 2019


GREEN

Focus นรินพร มาลาศรี ผูชํานาญการพิเศษ ฝายแผนและกํากับ การจัดหาพลังงาน สํานักงาน กกพ.

การสงเสริมใหมี

การติดตั้งโซลารรูฟ กับกาวตอไปของประเทศ

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561-2580 (เออีดพี ี 2018) ภายใตแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (พีดพี ี 2018) มีการสงเสริมพลังงาน ทดแทน โดยสัดสวนการใชพลังงานทดแทนตอการใชพลังงานขั้นสุดทาย ในปลายแผน พ.ศ. 2580 ไมนอ ยกวารอยละ 30 ตามแผนพีดพี ี 2018 ซึง่ เปนการปรับเพิม่ สัดสวนการใช พลังงานทดแทนในภาคการผลิตไฟฟา และภาคการผลิตความรอน โดยมีโรงไฟฟาตาม แผนเออีดพี ี 2018 สําหรับพลังงานแสงอาทิตย (On-Grid) กําลังผลิตตามสัญญา 10,000 เมกะวัตต และโรงไฟฟาแสงอาทิตยแบบทุน ลอย 2,725 เมกะวัตต ทําใหแผนการผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยทจี่ ะดําเนินการระหวางป พ.ศ. 2560-2580 ทีก่ าํ ลังผลิตตามสัญญา (Contract Capacity) 12,725 เมกะวัตต

1.

ภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย ในประเทศไทย

ซึ่งขอมูลที่มิเตอรไฟฟาจัดเก็บจะใชในการติดตาม ตรวจสอบ บันทึกขอมูล ไฟฟาทีไ่ หลเขาและออก เพือ่ การจัดการบัญชีการจายเงินระหวางการไฟฟา และลูกคา นอกจากนี้ ขอมูลที่บันทึกไวยังสามารถนํามาวิเคราะหและใชในการ บริหารจัดการพลังงานไดอกี ดวย จากรูปแบบมาตรการสนับสนุนทีแ่ ตกตาง กัน อาทิ Net Metering, Net Billing, Self-Consumption Support Schemes มาตรการสนับสนุนการผลิตเองใชเอง เปนตน จึงมีรปู แบบการติดตัง้ มิเตอร ไฟฟากับระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยทแี่ ตกตางกันตามลักษณะ รูปแบบมาตรการสนับสนุน รายละเอียดสามารถสรุปได ดังนี้ Single Phase Grid-Tied PV System - 2 Meters (1)

การสงเสริมผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย (โซลารเซลล) ในสัดสวนมากทีส่ ดุ หรือเพิม่ ขึน้ อยูท ี่ 12,725 เมกะวัตต แบงเปนโครงการโซลารรฟู ท็อปภาคประชาชนทีเ่ ปด รับซื้อปละ 100 เมกะวัตต ตอเนื่อง 10 ป รวม 1,000 เมกะวัตต โครงการโซลารฟารม แบบทุน ลอยนํา้ รวมกับพลังนํา้ ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) อยูท ี่ 2,725 เมกะวัตต สวนทีเ่ หลืออีก 9,000 เมกะวัตต ภายใตโครงการโซลาร (On Grid) จะเปดกวาง สําหรับโซลารเซลลในหลายรูปแบบ ซึ่งขึ้นอยูกับนโยบายและพัฒนาการของเทคโนโลยี ในอนาคตดวย

2.

ตัวแปรสําคัญที่นํามาใชกับโครงการการผลิตไฟฟา ดวยพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทยในระยะเวลา 10 ป

วันนี้ หากจะพูดถึงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยสําหรับบานอยูอาศัย ก็หนีไมพน ทีต่ อ งคุยกันเรือ่ งของมิเตอรไฟฟาหรือเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาทีจ่ ะทําหนาทีบ่ นั ทึก ขอมูลไฟฟาที่เครื่องแปลงกระแสไฟฟาจายกําลังไฟฟาที่ผลิตไดออกมาเปน kWh ซึ่งจะ ทําใหเราทราบวาใน 1 วัน หรือ 1 เดือน สามารถผลิตไฟฟารวมไดเทาไร มิเตอรไฟฟานี้ จะติดตั้งไวที่กลองแสดงสภาวะของระบบ มิเตอรไฟฟาจะทําหนาที่บันทึกขอมูลที่ไดจาก ปริมาณการใชไฟฟาทีเ่ หลือใชภายในบาน และทีส่ ง ขายผานระบบจําหนายของการไฟฟา

24 24

รูปแบบที่ 1 มิเตอรหมายเลข 1 จะบันทึกหนวยไฟฟา (kWh) ที่รับ จากกริดหรือระบบการไฟฟา และมิเตอรหมายเลข 2 จะบันทึกหนวยไฟฟาที่ จายเขาสูร ะบบการไฟฟา ซึง่ ปริมาณไฟฟาทีส่ ามารถผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยทั้งหมดจะจายเขาสูระบบการไฟฟา โดยนําไปใชกับอัตรารับซื้อ ไฟฟา (Feed-in-Tariff : FiT)

GreenNetwork4.0 JJuly-August GreenNetwork4.0 uly-August 2019 220 019 1


Single Phase Grid-Tied PV System - Single Meter

3.

ปจจัยสูความสําเร็จ

รูปแบบที่ 2 เปนลักษณะของ Net Metering โดยมิเตอรสามารถเก็บ ขอมูลหนวยไฟฟาที่จายเขาสูระบบการไฟฟา และรับจากระบบการไฟฟา (Import-Export (Bi-Directional) Meter) โดยหักลบกลบหนวยไฟฟาภายใน หรือขามรอบบิล Single Phase Grid-Tied PV System - 2 Meters (2)

รูปแบบที่ 3 คลายกับรูปแบบที่ 2 เปนลักษณะของ Net Metering โดยมิเตอรหมายเลข 2 สามารถเก็บขอมูลหนวยไฟฟาที่ผลิตจากพลังงาน แสงอาทิตย และมิเตอรหมายเลข 1 เก็บขอมูลหนวยไฟฟาที่จายเขาสูระบบ การไฟฟาและรับจากระบบการไฟฟา (Import-Export Meter) Single Phase Grid-Tied PV Configuration for Large Systems

ดวยนโยบายรัฐบาลสนับสนุนใหประชาชนเขามามีบทบาทและรวมใน การผลิตไฟฟาใชเองและหากมีสว นเกินสามารถจําหนายใหกบั การไฟฟา ในรูปแบบ ของการผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ซึง่ เชือ่ มตอกับระบบไฟฟาของการไฟฟาฝายจําหนาย ในระบบจําหนายดานแรงตํา่ 380/220 โวลต ผลจากการเชือ่ มตอระบบไฟฟาดวยเซลลพลังงานแสงอาทิตยเขา กับระบบจําหนายของการไฟฟาฝายจําหนายมีสวนทําใหอุปกรณในระบบจําหนาย และคุณภาพไฟฟากําลัง (Power Quality) ในระบบมีแนวโนมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงไป ทั้งในทิศทางที่ดีขึ้นหรือแยลงกวาเดิม หากการไฟฟามีการปรับปรุง พัฒนา หรือ นําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชรวมกับการวางแผนพัฒนาระบบไฟฟาของตนเอง เพือ่ ลดผลกระทบทางเทคนิคตอระบบไฟฟาและทางการเงิน (รายได) ของการไฟฟา อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนสิ่งที่ภาคนโยบายควรนําไปบริหาร จัดการทัง้ ทางเทคนิคและการกําหนดโครงสรางคาไฟฟาทีเ่ หมาะสม ตามบริบทของ การเปลีย่ นแปลงอุตสาหกรรมพลังงานทีป่ ระเทศตางๆ ทัว่ โลกก็ตอ งรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงนี้เชนกัน ดังนัน้ ระบบขอมูล Data Monitoring System จากมิเตอรไฟฟาหรือเครือ่ งวัด หนวยไฟฟาจะเปนกลไกสําคัญที่จะชวยเก็บขอมูลการผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยจากทุกระบบทีเ่ ชือ่ มตอกับการไฟฟา ควบคูไ ปกับการออกนโยบายสงเสริม เพือ่ ให กฟน. และ กฟภ. สามารถวางแผนปรับปรุงระบบจําหนาย และเพือ่ ให สนพ. และ กฟผ. สามารถคาดการณความตองการใชไฟฟาและบริหารจัดการ System Load Curve ซึ่งจะนําไปสูการวางแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (Power Development Plan) ของประเทศไทย และการพัฒนาระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ทีเ่ หมาะสมตอไปในอนาคตได โดยสามารถบูรณาการระหวางการสงเสริมพลังงาน หมุนเวียนและการลงทุนปรับปรุงระบบไฟฟา จะทําใหการเพิม่ ขึน้ ของโซลารรฟู ท็อป ไมเปนภาระตอระบบไฟฟาทัง้ ในดานทรัพยากรบุคคลและเงินลงทุน และเปนโครงขาย ไฟฟาที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารมาบริหารจัดการควบคุม การผลิต สง และจายพลังงานไฟฟา สามารถรองรับการเชื่อมตอระบบผลิตไฟฟาจากแหลง พลังงานทางเลือกสะอาด ที่กระจายอยูทั่วไปและระบบบริหารการใชสินทรัพยให เกิดประโยชนสูงสุด

รูปแบบที่ 4 เปนลักษณะของ Metering สําหรับ 3 เฟส มิเตอร หมายเลข 1 จะบันทึกหนวยไฟฟา (kWh) ทีร่ บั จากกริดหรือระบบการไฟฟา และมิเตอรหมายเลข 2 จะบันทึกหนวยไฟฟาทีจ่ า ยเขาสูร ะบบการไฟฟา โดย นําไปใชกับอัตรารับซื้อไฟฟา (Feed-in-Tariff : FiT) 25 25

GreeenNettwork4 GreenNetwork4.0 4.0 0 JJuly-August uly-A August 2019 2 19 20



เรือ่ งของการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย “อย่างได้ผลนัน้ ” นอกจากจะต้องมี “นโยบาย” ทีช่ ดั เจนเป็น ลายลักษณ์อักษรแล้วเรายังจะต้องมีการวางแผนเพื่อจะได้น�ำไปสู่การปฏิบัติให้ได้ผลด้วย การวางแผนส�ำหรับระบบการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อม (และความปลอดภัย) เพือ่ แก้ไขปัญหาด้านมลพิษ และเพือ่ การอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จึงควรมุ่งเน้นใน “หลักการป้องกัน” มากกว่าการแก้ไขที่ปลายเหตุ

GREEN

Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี

การวางแผน

ด้านสิ่งแวดล้อม

การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหามลพิษ จึงต้องเริม่ ต้นทีต่ น้ เหตุทจี่ ะท�ำให้ เกิดมลพิษด้านต่างๆ มีขั้นตอนในการระบุหรือชี้บ่งประเด็นด้านมลพิษ สิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากกิจกรรมต่างๆ กระบวนการผลิต รวมทัง้ ตัวผลิตภัณฑ์ และบริการและประเมินหาประเด็นทีท่ ำ� ให้เกิดผลกระทบต่างๆ เช่น วัตถุดบิ ที่ใช้ กระบวนการผลิตสินค้า ปริมาณน�้ำที่ใช้ จ�ำนวนสารเคมีที่ใช้ จ�ำนวน เศษซากที่เหลือ ขยะ น�้ำเสีย กลิ่น เป็นต้น เราจะต้องจัดท�ำขั้นตอนในการท�ำความเข้าใจกับกฎหมายและ ข้อก�ำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมทัง้ หมด โดยควรจัดท�ำ ทะเบียนกฎหมายและข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง และมีการสือ่ สารให้หน่วยงานที่ เกีย่ วข้องสามารถน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ นอกจากนีย้ งั ต้องมีวธิ กี ารติดตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดอืน่ ๆ ทีอ่ อกใหม่ หรือมีการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็น ด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กรเรา

27

ในการก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎหมาย และ ประเด็นด้านสิง่ แวดล้อม ทีม่ นี ยั ส�ำคัญก็ตอ้ งจัดท�ำเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยวัตถุประสงค์ ดังกล่าวควรมีความเฉพาะเจาะจงและชัดเจนทีส่ ดุ ส่วนเป้าหมายควรจัดท�ำเป็นเป้าหมาย รวม และมีการกระจายเป็นเป้าหมายย่อยในแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป้าหมายทีด่ คี วรจะยึดหลัก “SMART” ซึง่ จะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ เป้าหมาย นัน้ จะต้องมีความ เฉพาะเจาะจง (Specific) วัดผลได้ (Measurable) บรรลุได้ (Achievable) สัมพันธ์กับนโยบาย (Relevant) และมีก�ำหนดเวลาแล้วเสร็จ (Time) เมื่อมีการวางแผนและท�ำการก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจนแล้ว ก็จะต้องมีการน�ำแผนงานด้านสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติให้เกิดประสิทธิผลตามเป้าหมาย โดยมีการกระจายเป้าหมายและชี้แจงท�ำความเข้าใจให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคนรับทราบและ มีความเข้าใจตรงกัน เพื่อจะได้ร่วมกันด�ำเนินการตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ เราต้องก�ำหนดวิธกี ารเฝ้าติดตามผลการด�ำเนินงาน และการบันทึกผลการด�ำเนินงาน ตามแผนงานด้านสิง่ แวดล้อม โดยก�ำหนดการตรวจติดตามความคืบหน้าแผนงาน และสรุป ความคืบหน้าของผลการด�ำเนินงานเทียบกับแผนงาน ผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องท�ำการทบทวนและปรับปรุงวัตถุประสงค์ เป้าหมายและแผนงานด้านสิง่ แวดล้อมอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้เหมาะสม กับสภาพสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงด้วย หากปรากฏว่าผลการด�ำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนงาน เช่น ล่าช้า ผลทีไ่ ด้ไม่เป็นไปตามทีก่ ำ� หนด ไม่มกี ารด�ำเนินงานตาม แผน ก็จะต้องมีการวิเคราะห์หาสาเหตุแล้วก�ำหนดมาตรการ หรือวิธีการแก้ไข น�ำมาทบทวนและปรับปรุงแผนงาน เพือ่ จะได้ดำ� เนินการอย่างได้ผลและบรรลุเป้าหมายต่อไป ในอนาคตหากมีการพัฒนา หรือเปลีย่ นแปลงกิจกรรม กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการใหม่ เราก็จะต้องทบทวนแผนงานด้าน สิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องตามเหตุการณ์ที่เปลี่ยนไปอยู่เสมอ ทัง้ หมดทัง้ ปวงนี้ ก็หนี “วงจรแห่งการปรับปรุงของเดมมิง่ ” (Deming Circle) ไม่พน้ ก็คอื วางแผน (Plan) ลงมือท�ำ (Do) ตรวจสอบผล (Check) และปรับปรุงให้ได้ตามแผน (Action) หรือ “วงจร” PDCA ครับผม!

GreenNetwork4.0 July-August 2019


ถ่านอัดแท่ง

GREEN

LAMBOOCHAR

Focus กองบรรณาธิการ

เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีและ สร้างชุมชนเข้มแข็ง

“ไผ่” พืชทีใ่ ห้ประโยชน์ในทุกๆ ส่วน และเป็นพืชทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมให้ปลูก เพือ่ แก้ไขปัญหาการบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ ของชาวบ้าน รวมทัง้ คืนผืนป่าให้แก่ธรรมชาติดว้ ย วิโรจน์ ธีรวัฒน์วาที กรรมการผู้จัดการ บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า จากการทีบ่ ริษทั ให้การสนับสนุน “โครงการประชารัฐ ปลูกไผ่ คืนผืนป่า สร้างอาชีพ” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 สืบเนื่องจากพื้นที่ป่าทั่วประเทศ ถูกบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ ลดลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือจังหวัดล�ำปางและ น่าน แต่การจะน�ำประชาชนออกจากพื้นที่ป่าก็จะประสบปัญหามากมาย ดังนั้น การด�ำเนินโครงการจึงต้องรักษาสมดุลระหว่างการน�ำประชาชนออกจากพื้นที่ป่า และสร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่ออกจากพื้นที่ป่า โดยการสนับสนุนให้ปลูกไผ่ซึ่งเป็นพืช ที่โตได้เร็วและสามารถน�ำมาท�ำประโยชน์ได้ “ชาวบ้านได้นำ� ไผ่ไปท�ำประโยชน์หลายอย่าง แต่ปญ ั หาคือข้อไผ่ซงึ่ เป็นส่วน ที่ไม่สามารถน�ำไปท�ำประโยชน์ได้ ต้องเผาทิ้ง หากเผามากๆ ก็สร้างมลพิษให้กับ สิง่ แวดล้อม ชาวบ้านมาปรึกษากับบริษทั ว่าจะท�ำอย่างไร ผมจึงน�ำโจทย์นไี้ ปปรึกษากับ ทางศูนย์เชือ้ เพลิงและพลังงานจากชีวมวล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทางอาจารย์ก็ท�ำการทดลองทดสอบจนได้ถ่านอัดแท่ง LAMBOOCHAR เป็นถ่าน เชือ้ เพลิงคุณภาพสูง ปลอดภัยต่อสุขภาพ และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม มีคณ ุ สมบัติ ทีเ่ ผาไหม้ได้นานกว่า 2 ชัว่ โมง ให้ความร้อนสม�ำ่ เสมอด้วยปลอดควันและมีเถ้าน้อย” จากคุณสมบัติดังกล่าว ถ่านอัดแท่ง LAMBOOCHAR จึงเหมาะส�ำหรับ การประกอบอาหารในครัวเรือน ร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม และการเผาไหม้ เพือ่ ให้ความร้อนทัว่ ไป นอกจากนัน้ เพือ่ ต่อยอดถ่านอัดแท่งให้เกิดประโยชน์สงู สุด และสร้างอาชีพให้แก่เกษตรอย่างยัง่ ยืน ได้มกี ารน�ำถ่านไปแปรรูปเป็นผงบ้าง เป็น แท่งในขนาดพอเหมาะบ้าง แล้วบรรจุลงในบรรจุภณ ั ฑ์ทสี่ วยงามให้เป็นของทีร่ ะลึก หรือของฝากได้ และสามารถดูดซับกลิ่นได้ดี การ ต่อยอดเช่นนี้นอกจากสร้าง มูลค่าเพิ่มให้ข้อไผ่แล้ว ยังเป็นการสร้างงาน ให้แก่ชุมชนอีกด้วย

“เวลานี้บริษัทได้ร่วมกับทางคณะวิทยาศาสตร์จุฬาฯ วิจัยค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อสร้างมูลค่าโดยท�ำเป็นถ่านกัมมันต์ที่สามารถน�ำไปใช้กับภาคอุตสาหกรรม ได้ด้วย รวมทั้งมีการปรับปรุงประสิทธิภาพเตาเผาให้เป็นเตาประสิทธิภาพสูง เผาได้คราวละมากๆ และต้องไม่มคี วันส่วนเกินทีเ่ กิดจากการเผา เพือ่ ให้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง” วิโรจน์ กล่าวเพิ่มเติม อนึ่ง ถ่านอัดแท่ง LAMBOOCHAR ได้รับรางวัลรองชนะเลิศการประกวด ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ประจ�ำปี 2562 (Thailand Green Design Award 2019) ประเภทการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ กลุม่ ผูป้ ระกอบการ และบริษทั เอกชน จัดโดยสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตร และอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิโรจน์ ธีรวัฒน์วาที ส่วนบรรจุภณ ั ฑ์ถา่ นข้อไม้ไผ่ดดู กลิน่ (LAMBOO CHAR) ทีอ่ อกแบบโดยเลียนแบบต้นไผ่ทงั้ แบบและสี ได้รบั รางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 จากการประกวด ThaiStar Award 2019 ประเภท ต้นแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจ�ำหน่าย ส�ำหรับสินค้าทั่วไป 28

GreenNetwork4.0 July-August 2019


กระทรวงดิจิทัลฯ หนุน

Asia IoT Business Platform พัฒนาสู่โครงการ

SMART

City

กองบรรณาธิการ

Smart City

การพัฒนาโครงการเมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City ของไทย ภายใต้โครงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้รบั การรับรองจากกระทรวงเศรษฐกิจ ดิจทิ ลั และสังคมแห่งประเทศไทย และส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั สนับสนุน การจัดงาน Asia IoT Business Platform ครั้งที่ 25 โดยมุ่งเน้นด้าน Smart City ตามนโยบาย Thailand 4.0 Initiatives ที่เกี่ยวกับ Internet of Things (IoT) ของ องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงานบริการสาธารณะ เมือ่ เร็วๆ นี้ ได้มพี ธิ เี ปิดงาน Asia IoT Business Platform โดยมี อัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชยั ปลัดกระทรวง ดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม กล่าวปาฐกถาว่า “ภาครัฐ ประเทศไทยมีความพร้อมส�ำหรับยุคใหม่ของดิจิทัล และให้ความส�ำคัญกับการสร้างรากฐานดิจิทัลใน อุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท ซึง่ ทางส�ำนักงานส่งเสริม อัจฉรินทร์ เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA ได้มีโครงการต่างๆ เพื่อ พัฒนพันธ์ชัย สนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมน�ำกลยุทธ์ดิจิทัลมาใช้ โดยเดินหน้าในจังหวัดเมืองท่องเทีย่ วทัง้ 4 ภาค เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี และ ภูเก็ต เพือ่ เป็นแพลตฟอร์มการศึกษาทีส่ ร้างขึน้ โดยอุตสาหกรรมเพือ่ อุตสาหกรรม ทีจ่ ะช่วยให้องค์กรต่างๆ เข้าใจ และเรียนรูเ้ กีย่ วกับการน�ำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้กบั ธุรกิจของตน และเพือ่ น�ำเทคโนโลยี IoT มาใช้ในการแก้ไขปัญหาสังคมเมืองให้เป็น เมืองอัจฉริยะด้วยโปรแกรมดิจิทัลด้วย” ทั้งนี้ งาน Asia IoT Business Platform เป็นการรวมตัวที่ใหญ่ที่สุดใน อุตสาหกรรมดิจิทัล ซึ่งได้จัดแสดงเทคโนโลยีนวัตกรรมดิจิทัลจากบริษัทชั้นน�ำ ทัว่ โลก รวมไปถึงหน่วยงานราชการ บริษทั โทรคมนาคม และผูใ้ ห้บริการเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) เพื่อให้องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ในประเทศไทย น�ำเทคโนโลยีดิจิทัลใช้เป็นข้อมูลที่สามารถตอบโจทย์แบบวิเคราะห์ระดับเชิงลึก และการใช้อปุ กรณ์ดจิ ทิ ลั เพือ่ การพัฒนากระบวนการท�ำงาน/การผลิต และการน�ำ เครือ่ งจักรมาใช้ ซึง่ ข้อมูลเหล่านีจ้ ะช่วยให้หน่วยงานในประเทศไทยอยูใ่ นการตลาด การแข่งขัน และด�ำเนินการให้สอดคล้องเป็นไปตามการขับเคลื่อนเศรษฐกิจกับ ยุทธศาสตร์ชาติ Thailand 4.0 ดร.ศุภกร สิทธิไชย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ ส�ำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั กล่าวว่า “หนึง่ ในภารกิจของเราคือการส่งเสริมและสนับสนุน 29

องค์ ก รท้ อ งถิ่ น ใน อุตสาหกรรมต่างๆ เพือ่ ช่วย ให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ซึง่ ทีผ่ า่ นมา ผูป้ ระกอบการไทยในท้องถิน่ ได้รบั โอกาสในการแบ่งปัน โครงการที่ด�ำเนินการอยู่ และเปิดตัวเองให้รู้จักกับ กลยุทธ์ดจิ ทิ ลั เป็นการเพิม่ การมีสว่ นร่วมกับระบบดิจทิ ลั ดร.ศุภกร สิทธิไชย ของเศรษฐกิจในประเทศไทย โดย DEPA ของเราจะเป็น ศูนย์กลางในการบริการดิจิทัลเพื่อการเชื่อมโยงพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมจาก EEC รวมถึงการเชือ่ มโยงส่งเสริมพัฒนาคน พันธมิตร ร่วมกับมหาวิทยาลัย ไม่วา่ จะเป็น กลุม่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา ทีต่ อ้ งเกิดความร่วมมือ กันพัฒนาเมืองให้เป็น Smart City ซึง่ จะเป็นข้อมูลแบบอัจฉริยะ และรวมถึงบริหาร จัดการขยะของเมืองเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมของเมืองให้น่าอยู่” อิลซ่า สุพบั โต ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร Asia IoT Business Platform ซึ่งเป็นผู้น�ำด้านการพัฒนา โปรแกรมธุรกิจชัน้ น�ำของเอเชีย กล่าวว่า “ผลการส�ำรวจ จากผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจและเทคโนโลยีของคน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เชื่อว่า ในอุตสาหกรรมการ ผลิตได้ใช้เครื่องมือดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ 80% อิลซ่า สุพับโต ในขณะที่อุตสาหกรรมค้าปลีกมีการน�ำเทคโนโลยี มาใช้เพียง 68.2% ดังนัน้ การจัดงานในครัง้ นีจ้ ะท�ำให้ องค์กรต่างๆ เชือ่ มต่อกันด้วยระบบอัตโนมัติ การวิเคราะห์ขอ้ มูลขัน้ สูง และเครือ่ งมือ ดิจทิ ลั อืน่ ๆ เป็นการน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพือ่ ความแตกต่างกันไปตามแต่ละอุตสาหกรรม ซึง่ เล็งเห็นว่าประชากรคนไทยเป็นหนึง่ ในประเทศภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีความก้าวหน้าที่สุดในด้านการเข้าถึงและความเร็วของอินเทอร์เน็ต โดยอยู่ใน อันดับสองรองจากประเทศสิงคโปร์” อย่างไรก็ดี Big Data และ AI ถือว่าเป็นสุดยอดเทคโนโลยีที่จะเป็นตัวช่วย ด�ำเนินธุรกิจ และน�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ของการปฏิรปู ระบบดิจทิ ลั ภายใน องค์กร และในส่วนของภาครัฐยังได้ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทั้งโปรแกรมและ เครือ่ งมือให้ความส�ำคัญกับการสร้างรากฐานดิจทิ ลั ในอุตสาหกรรม ซึง่ ทัง้ เป้าหมาย ระยะสัน้ ด้วยการส่งเสริมการรวมระบบดิจทิ ลั ในระดับชาติ และให้โอกาสทีเ่ ท่าเทียม กันส�ำหรับคนไทยตามแผนการพัฒนาระยะยาว 20 ปีอีกด้วย

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ศูนย์บริการวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ โครงการ อนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ หน่วยบัญชาการ สงครามพิเศษทางเรือ กองทัพเรือ ได้รว่ มมือกันด�ำเนินโครงการ โครงการการเพาะขยายพันธุป์ ะการังแบบอาศัยเพศแบบผสมเทียม และการเก็บสเปิร์มโดยการแช่เยือกแข็ง ซึ่งการด�ำเนินการได้ประสบผลส�ำเร็จอย่างดียิ่ง เมื่อเร็ว ๆ นี้ทางคณะท�ำงานได้แถลงข่าว เรือ่ ง “ครัง้ แรกของโลก...นักวิทย์ไทยเพาะปะการังชนิดโต๊ะแบบพุม่ ด้วยสเปิรม์ แช่เยือกแข็ง” โดยมี รศ.ผุสตี ปริยานนท์ ทีป่ รึกษา จากโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ รองผูบ้ ญ ั ชาการหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือ ยุทธการ กองทัพเรือ ศ. ดร.พลกฤษณ์ แสงวณิช คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ รศ. ดร.ทวีวงศ์ ศรีบรุ ี กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาฯ รศ. ดร.วรณพ วิยกาญจน์ หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ และ รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาฯ และอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ เข้าร่วมแถลงข่าวในครั้งนี้ด้วย

นักวิจัยเพาะปะการังโต๊ะแบบพุ่ม จากสเปิร์มแช่เยือกแข็ง ลดเสี่ยงปะการังสูญพันธุ์ โครงการการเพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศแบบผสมเทียมและ การเก็บสเปิร์มโดยการแช่เยือกแข็ง ของกลุ่มการวิจัยชีววิทยาแนวปะการัง มี รศ. ดร.วรณพ วิยกาญจน์ หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ และ รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ เป็นผูร้ บั ผิดชอบและด�ำเนินการโครงการ โดย ได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจาก หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ กองทัพเรือ ภายใต้โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริกรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชด�ำริ โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึงปัจจุบัน โครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินการ จากหลายฝ่าย ทัง้ ภาคเอกชน ภาครัฐ รวมถึงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทีส่ ำ� คัญ โครงการสามารถประสบความส�ำเร็จด้วยความร่วมมือร่วมใจของนิสิตและผู้ช่วย วิจยั ทุกคนจากกลุม่ การวิจยั ชีววิทยาแนวปะการัง ทัง้ ทีส่ ำ� เร็จการศึกษาแล้ว รวมถึง ผูท้ อี่ ยูร่ ะหว่างการศึกษาทุกระดับ ทัง้ ปริญญาตรี โท เอก ร่วม 50 ชีวติ และปัจจุบนั กลุม่ การวิจยั ฯ ได้ให้ความร่วมมือกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ในการน�ำ วิธีการเพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศเป็นอีกวิธีการหนึ่งในการฟื้นฟู แนวปะการังในประเทศไทย

30

การวิจยั ชีววิทยาแนวปะการัง ประสบความส�ำเร็จเป็นครัง้ แรกของประเทศ ในปี พ.ศ. 2549 ในการเพาะขยายพันธุป์ ะการังทีม่ าจากการสืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศ โดยน�ำไข่และสเปิร์มของปะการังมาผสมในระบบเพาะฟัก (การผสมเทียม) กลุ่ม การวิจยั ฯ ได้เฝ้าติดตามผลการน�ำตัวอ่อนปะการังทีผ่ ลิตได้จากการเพาะขยายพันธุ์ ด้วยวิธีดังกล่าวในแต่ละปี มาศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการอนุบาล ตัวอ่อนปะการังภายในระบบเลี้ยงก่อนที่จะน�ำกลับคืนถิ่นสู่ทะเล โดยมุ่งหวังให้ ตัวอ่อนปะการังเหล่านัน้ มีการเติบโตและอัตรารอดสูงสุด และได้มกี ารท�ำวิจยั อย่าง ต่อเนื่องเพื่อพัฒนาเทคนิคการเพาะพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศ เพื่อหาแนวทาง ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูปะการังที่เสื่อมโทรมภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะ แวดล้อมของโลก ซึง่ ในปีทแี่ ล้วกลุม่ การวิจยั ฯ ประสบความส�ำเร็จในการน�ำสเปิรม์ ของปะการังโต๊ะแบบพุ่ม Acropora Humilis มาผ่านกรรมวิธีการแช่เยือกแข็งใน ไนโตรเจนเหลว และน�ำกลับมาผสมใหม่กบั ไข่ปะการัง ซึง่ เป็นการท�ำส�ำเร็จครัง้ แรก ของโลกของปะการังโต๊ะชนิดนี้ และได้มกี ารตีพมิ พ์ลงในวารสารวิจยั ระดับนานาชาติ แล้ว ทัง้ นีง้ านวิจยั ดังกล่าวเป็นการท�ำวิจยั ร่วมกับนักวิจยั ชาวไต้หวันด้วย ความส�ำเร็จ ของการน�ำสเปิร์มของปะการังมาผ่านกรรมวิธีการแช่เยือกแข็งนั้น จะช่วยท�ำให้ สามารถเก็บรักษาสเปิร์มได้นานขึ้น และสามารถน�ำมาผสมกับไข่ปะการังได้ใน ช่วงเวลาและฤดูกาลที่ต้องการและเหมาะสมต่อไป

GreenNetwork4.0 July-August 2019


รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ รองกรรมการ ผู ้ อ� ำ นวยการ ศู น ย์ บ ริ ก ารวิ ช าการแห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์ ประจ� ำ ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ท างทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ปะการังโดยทั่วไปมีการผสมพันธุ์ แบบอาศัยเพศเพียงปีละครั้ง โดยส่วนใหญ่ เป็นการปล่อยเซลล์สบื พันธุ์ (ไข่และสเปิรม์ ) รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ ออกมาผสมกันในมวลน�้ำ ซึ่งกลุ่มการวิจัยฯ ได้น�ำหลักการดังกล่าวมาใช้ในการเพาะ ขยายพันธุป์ ะการังแบบอาศัยเพศ โดยเก็บเซลล์สบื พันธุป์ ะการังทีถ่ กู ปล่อยออกมา ตามธรรมชาติ แล้วน�ำไปปฏิสนธิโดยการผสมเทียมเพื่อเพาะฟักในระบบเพาะฟัก ปะการัง ซึ่งการน�ำเทคนิคใหม่มาใช้โดยการเก็บสเปิร์มโดยการแช่เยือกแข็งนั้น จะท�ำให้สามารถผสมพันธุป์ ะการังได้ปลี ะหลายครัง้ เพิม่ ขึน้ รวมทัง้ เป็นการป้องกัน การสูญพันธุข์ องปะการังอีกด้วย เนือ่ งจากในปัจจุบนั อุณหภูมขิ องโลกได้สงู ขึน้ ท�ำให้ ปะการังหลายชนิดไม่สามารถปล่อยเซลล์สบื พันธุแ์ ละผสมกันตามธรรมชาติเองได้ ดังนัน้ การผสมเทียม รวมทัง้ การน�ำเทคนิคการเก็บสเปิรม์ โดยการแช่เยือกแข็งมา ใช้จะสามารถแก้ไขปัญหานีไ้ ด้ โดยปกติอตั รารอดของปะการังทีม่ าจากการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศตามธรรมชาติมคี า่ ประมาณร้อยละ 0.01 หรือต�ำ่ กว่า ขณะทีใ่ นการ เพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศด้วยวิธีการผสมเทียมดังกล่าว มีอัตราการ ปฏิสนธิของปะการังสูงกว่าร้อยละ 98 และมีอตั รารอดขณะท�ำการอนุบาลในระบบ เลี้ยงจนมีอายุประมาณ 2 ปี ที่ร้อยละ 40-50 ด้าน ดร.วิรัลดา ภูตะคาม นักวิจัย อาวุโส ศูนย์โอมิกส์แห่งชาติ ส�ำนักงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้รว่ มกับ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่งทะเล กรมทรัพยากรทาง ดร.วิรัลดา ภูตะคาม ทะเลและชายฝั่ง ศึกษาวิจัย “กระบวนการ ตอบสนองของปะการังต่อการเพิ่มอุณหภูมิ ของน�้ำทะเลและการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของปะการังใน น่านน�้ำไทยเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศใต้ท้องทะเลลอย่างยั่งยืน” ดร.วิรัลดา และคณะวิจัย มุ่งเน้นการน�ำเทคโนโลยีทางจีโนมิกส์และ ทรานสคิปโตมิกส์เข้ามาช่วยตอบโจทย์แนวปะการังฟอกขาวในอ่าวไทยและ ท้องทะเลอันดามัน อันเนือ่ งมาจากการเพิม่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ ทะเล โดยใช้เทคโนโลยี Pacific Biosciences (PacBio) Sequencing ซึ่งอ่านล�ำดับเบสได้ยาวและถูกต้อง แม่นย�ำ ในการค้นหาข้อมูลล�ำดับเบส 16S rRNA และ Internal Transcribed Spacer Sequence (Bacteria) วิธนี ดี้ กี ว่าการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมแบบ ดั้งเดิม ซึ่งเป็นวิธีที่ช้า ให้ผลไม่ค่อยแม่นย�ำ และซ�้ำได้ยากอีกด้วย โดยเป็นกลุม่ นักวิจยั แรกๆ ของโลกทีเ่ ริม่ ศึกษาบทบาทของจุลนิ ทรียท์ อี่ าศัย ร่วมกับปะการังต่อการอยู่รอดของปะการังในช่วงที่อุณหภูมิของน�้ำทะเลสูงขึ้น ข้อมูลความหลากหลายทางพันธุกรรมของปะการังและสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ าศัยอยูก่ บั ปะการัง สามารถใช้ประเมินโอกาสการอยูร่ อดของปะการังแต่ละสปีชสี ไ์ ด้เมือ่ สภาวะแวดล้อม เกิดการแปรปรวนในอนาคต นอกจากนีย้ งั ได้ศกึ ษาการเปลีย่ นแปลงการแสดงออก ของยีนในปะการังเมื่ออุณหภูมิน�้ำทะเลสูงขึ้น เฟ้นค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลแบบ สนิปส�ำหรับใช้ในการคัดเลือกปะการังโคโลนีทที่ นต่อการเพิม่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ ทะเล ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งสามารถน�ำไปใช้คัดเลือกปะการังโคโลนีที่ ทนร้อน (ไม่แสดงอาการฟอกขาวหรือฟอกขาวน้อย) เพือ่ ท�ำการขยายกิง่ พันธุป์ ะการัง ก่อนท�ำการย้ายปลูกกลับทะเล ภายใต้โครงการอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูแนวปะการังของ กรมทรัพยากรและทะเลชายฝั่ง 31

ดร.ซี มาร์ก เอกิน ศูนย์วิจัยการ ประยุกต์ใช้ดาวเทียมในการส�ำรวจสถานภาพ แนวปะการัง องค์การบริหารมหาสมุทรและ ชัน้ บรรยากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration : NOAA) ได้กล่าวถึงสถานการณ์ปะการังว่า แนวปะการัง เป็นพื้นที่ท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพ สูงมาก ถึงแม้ปะการังจะครอบคลุมพื้นที่ ดร.ซี มาร์ก เอกิน ใต้ทะเลแค่ประมาณ 1% ของพื้นที่ใต้ทะเล ทั้งหมด แต่สิ่งมีชีวิตในทะเลมากกว่า 25% ใช้ประโยชน์จากปะการัง จากการศึกษาระหว่างปี พ.ศ. 2557-2558 พบว่า เกิดปะการังฟอกขาวเป็นจ�ำนวนมาก สาเหตุเกิดจากอุณหภูมิของน�้ำทะเลที่สูงขึ้น อันเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน อีกทั้งอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นยังเป็นสาเหตุของการ เกิดโรคระบาดในปะการัง มีผลท�ำให้มปี ะการังตายเพิม่ ขึน้ และท�ำให้เกิดปะการัง ฟอกขาวถี่ขึ้นด้วย

ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว คือภาวะทีป่ ะการังมีสซี ดี ขาวจางจนมองเห็น เป็นสีขาว ซึ่งเป็นผลมาจากการสูญเสียสาหร่าย Symbiodinium ซึ่งปะการังกับ สาหร่ายจะอยูร่ ว่ มแบบพึง่ พากัน ปะการังจะเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยทีป่ ลอดภัยของสาหร่าย ขณะเดียวกันสาหร่ายจะช่วยสังเคราะห์แสงสร้างอาหารและคาร์บอนให้แก่ปะการัง รวมทั้งสร้างสีสันที่สวยงามให้ปะการังด้วย เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สาหร่ายจะผลิต ออกซิเจนในปริมาณมาก ซึง่ เป็นพิษต่อเนือ้ เยือ่ ของปะการัง ปะการังจึงขับสาหร่าย ออกจากเนือ้ เยือ่ เพือ่ ลดปริมาณออกซิเจน ปะการังจึงเหลือเพียงสีขาวของโครงสร้าง หินปูนที่อยู่ภายใน จึงเป็นที่มาของ “ปะการังฟอกขาว” นั่นเอง จากการก�ำกับดูแลโปรแกรม Coral Reef Watch ซึ่งเป็นโปรแกรมการ ติดตามระบบนิเวศของแนวปะการังผ่านดาวเทียม NOAA และการสังเกตการณ์ อุณหภูมนิ ำ�้ ทะเล พบว่า ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวมีแนวโน้มรุนแรงขึน้ เกิดถี่ มากขึน้ โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2559 เกิดปะการังฟอกขาวครัง้ ใหญ่ที่ Great Barrier Reef แนวปะการังที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีปะการังตายถึง 29% “ส�ำหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2562 พบว่า มีปะการังฟอกขาวที่เกาะเต่า แต่โดยรวมอาจจะไม่รุนแรงเท่าปี พ.ศ. 2559 กอปรกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ความใส่ใจเรื่องเฝ้าระวังและการรักษ์สิ่งแวดล้อมในระดับดี เมื่อมีแนวโน้มจะเกิด ปะการังฟอกขาว หน่วยงานที่รับผิดชอบจะสั่งปิดอ่าวทันที ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกต้อง” ดร.เอกิน กล่าวเสริม อย่างไรก็ตาม การป้องกันเพือ่ ลดการฟอกขาวและคุม้ ครองแนวปะการังอย่าง จริงจังคือ 1. ลดภาวะโลกร้อน ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ 2. ลดกิจกรรม ทีไ่ ปรบกวนแนวปะการัง เช่น การเปิดพืน้ ทีด่ ำ� น�ำ้ ดูปะการังเพือ่ ช่วยให้ปะการังฟืน้ ฟู ตัวเอง 3. กระตุ้นจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์อย่างเข้มแข็งและจริงจัง

GreenNetwork4.0 July-August 2019


Challenge กองบรรณาธิการ

รถยนต์ BMW เดินหน้าโครงการ

พัฒนาบุคลากรด้านยานยนต์

ปูรากฐานทักษะวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์

32

(Automated Guided Vehicle : AGV) กับนักศึกษาวิชาชีพชาวเยอรมัน รวมถึง ได้ร่วมทัวร์โรงงานของบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ในเมืองเบอร์ลินอีกด้วย ถือเป็นการ สนับสนุนให้นักศึกษาได้เรียนรู้เชิงลึกทางเทคนิคผ่านประสบการณ์ในการสัมผัส นวัตกรรมระดับโลก ทางด้าน รศ. ดร.คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ รักษาการอธิการบดี สถาบัน เทคโนโลยีจติ รลดา กล่าวว่า “สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดามุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาบุคลากร ทีม่ คี ณ ุ ภาพออกสูส่ งั คม และเล็งเห็นว่าการให้การอบรมแก่ นักศึกษาผ่านศูนย์ฝึกอบรมและโอกาสร่วมปฏิบัติงาน จริงกับช่างเทคนิคผู้เชี่ยวชาญจากบริษัทยานยนต์ ชั้นน�ำระดับโลกเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยให้นักศึกษา ทีจ่ บหลักสูตรด้านยานยนต์สามารถประกอบอาชีพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสริมด้วยประสบการณ์ ร.ค ห ร ภาคปฏิบัติที่น�ำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างรอบด้าน ต้อง ุ หญ ณ ฑา พ ง ิ ณ สุ ม ขอขอบคุณบีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย ที่เห็นความส�ำคัญและให้การสนับสนุนการศึกษาที่เน้นการพัฒนาความสามารถ ของอาชีวศึกษาไทยอย่างยั่งยืน” ทัง้ นี้ โรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดา เปิดสอนในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาต่างๆ เช่น สาขาวิชาไฟฟ้าก�ำลัง อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือกล ยานยนต์ เมคคาทรอนิกส์ เทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว โดยเน้นฝึกฝนทักษะและความ สามารถที่สอดคล้องกับภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรม ในวิชาชีพ เพื่อปูทางส�ำหรับการท�ำงานต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ ส�ำหรับโครงการการศึกษาระบบทวิภาคีทมี่ งุ่ เน้นการสร้างเสริม ความรู้ความสามารถในด้านวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ภายใต้ความร่วมมือกับ สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดานัน้ ริเริม่ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2558 มีนกั ศึกษาจากโรงเรียน จิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดาเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 24 คน ซึง่ ได้รบั ประสบการณ์จากการฝึกปฏิบตั งิ านจริงกับช่างเทคนิคผูเ้ ชีย่ วชาญ เมือ่ ผ่าน การทดลองปฏิบตั งิ านในระหว่างทีร่ ว่ มโครงการ พวกเขาจะได้รบั โอกาสในการเข้า ท�ำงานกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย รวมถึงผู้จ�ำหน่าย บีเอ็มดับเบิลยูอย่างเป็นทางการ โครงการนี้จึงเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทีส่ ำ� คัญต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย และเสริมศักยภาพของประเทศในฐานะ ศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ของภูมิภาคอาเซียนต่อไป

รศ.

นับเป็นความร่วมมือของการยกระดับความสามารถบุคลากรด้านยานยนต์ ไปสู่ระดับสากล โดยเมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีพิธีร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ภายใต้ “โครงการพัฒนาบุคลากรด้านยานยนต์ BMW Dual Excellence Program” ระหว่าง บริษทั บีเอ็มดับเบิลยูแมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมกับ สถาบัน เทคโนโลยีจิตรลดา การเดินหน้าโครงการ BMW Dual Excellence Program นี้ จะน�ำไปสู่การ ปูรากฐานทักษะทางด้านวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (Mechatronics) ซึ่งเป็น สหวิทยาการเชิงประยุกต์ เป็นบูรณาการวิชาพืน้ ฐานหลักอย่างวิศวกรรมเครือ่ งกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกัน มุง่ สานต่อการพัฒนาศักยภาพอาชีวศึกษาไทย ทัง้ เชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบตั ใิ ห้แข็งแกร่ง ด้วยระบบการศึกษาทวิภาคีเยอรมัน-ไทย มุ่งพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับอาชีวศึกษาไทยสู่ระดับสากล อูเว่ ควาส กรรมการผู้จัดการ บริษัท บีเอ็มดับเบิลยูแมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้สานต่อความร่วมมือกับสถาบัน เทคโนโลยีจติ รลดา เพือ่ พัฒนาการศึกษาด้านยานยนต์ ในระบบทวิ ภ าคี ภ ายใต้ โ ครงการ BMW Dual Excellence Program ด้วยเจตนารมณ์ร่วมกันใน การมุ่งส่งเสริมศักยภาพของนักศึกษาให้มีความรู้ และทักษะด้านวิชาชีพทีจ่ ำ� เป็นในสาขาเมคคาทรอนิกส์ พร้อมเปิดโอกาสให้เรียนรูจ้ ริง ณ โรงงานบีเอ็มดับเบิลยู อูเว่ ควาส กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย จังหวัดระยอง โดยภายใน ปี พ.ศ. 2562 นี้ เราจะมีนักศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยี จิตรลดา ทีจ่ บหลักสูตรระบบทวิภาคี (จิตรลดา-บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย) และเข้าท�ำงานในโรงงานของบีเอ็มดับเบิลยู 6 คน ถือเป็นอีกหนึ่ง ความส�ำเร็จที่เป็นรูปธรรม และจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับ อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยในอนาคต” ขณะที่โครงการ BMW Dual Excellence Program ก่อนหน้านี้ได้คัดเลือก ตัวแทนนักศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดา และวิทยาลัย เทคนิคสัตหีบ รวม 2 คน เข้าร่วมทัศนศึกษายังถิน่ ก�ำเนิดของรถยนต์บเี อ็มดับเบิลยู ในประเทศเยอรมนี โดยตลอดระยะเวลาหนึง่ สัปดาห์ นักศึกษาทุกคนได้รว่ มพูดคุย และแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการขนส่ง เช่น รถล�ำเลียงสินค้าอัตโนมัติ

มบญ ุ

AUTO

GreenNetwork4.0 July-August 2019


Magazine to Save The World

เต็ดตรา แพ้ค ลงนามความร่วมมือขยายโครงการ “หลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก”

บริษทั เต็ดตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นบริษทั ผูน้ ำ� ของโลกในด้านกระบวนการผลิตและบรรจุอาหารด้วยนวัตกรรมทีท่ นั สมัยในการผลิตสินค้า ที่ปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม น�ำโดย เบิร์ท ยาน โพสท์ กรรมการผู้จัดการ ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับองค์กรพันธมิตรขยายโครงการ “หลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก” ต่อเนื่องอีก 3 ปี โดยโครงการนี้ก่อตั้งขึ้นเพื่อรณรงค์ให้เกิดการจัดเก็บ และรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่ม ทีใ่ ช้แล้วด้วยการน�ำไปรีไซเคิลเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น แผ่นหลังคาเพือ่ น�ำไปใช้ในการสร้างบ้าน และทีพ่ กั อาศัยให้กบั ผูป้ ระสบภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ และชุมชน ที่ขาดแคลนอื่นๆ ทั่วประเทศ ซึ่งแนวความคิดริเริ่มดังกล่าวตอกย�้ำความมุ่งมั่นของบริษัทเต็ดตราฯ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น และความส�ำคัญของการรีไซเคิลในประเทศไทย

กระทรวงการท่องเที่ยวฯ ผนึก สวทช. ยกระดับนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงสิ่งแวดล้อม

วว. จัดเสวนา “สิ่งแวดล้อมวิกฤต ทุกชีวิตต้องช่วยกัน” เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก

เมื่อเร็ว ๆ นี้ โชติ ตราชู ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เปิ ด งานพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว ระหว่างกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา และส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยมี ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ สวทช. ซึ่งบันทึกข้อตกลงฯ ดังกล่าวเป็นการแสดงถึงความร่วมมือทั้งในการ ประยุกต์ใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพือ่ การผลักดันและ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วด้านสิง่ แวดล้อมในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญ และมีการจัดท�ำกรอบการวิจัยด้านทรัพยากรชีวภาพและการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืนในเรือ่ งขีดความสามารถรองรับแหล่งท่องเทีย่ ว 3 แบบ ได้แก่ ภูเขา ทะเล และวัฒนธรรม รวมทั้งน�ำร่องระบบรับรองมาตรฐานท่องเที่ยวที่ ต่อยอดการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสิ่งแวดล้อม

33

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาค เอกชน จัดเสวนาเรื่อง Environment Crisis : สิ่งแวดล้อมวิกฤต ทุกชีวิตต้องช่วยกัน เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลกประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ซึ่งการเสวนาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอข้อแนะน�ำเพื่อเป็นแนวทางเตรียมรับมือการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของโลก โดยจะเดินหน้าผลักดันวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ให้เกิดการกระตุ้นสังคมร่วมกันปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างจิตส�ำนึก คนไทยในการแก้วกิ ฤตสิง่ แวดล้อม และปัญหาขยะพลาสติกในมหาสมุทร เพือ่ ช่วยกัน ลดโลกร้อน

GreenNetwork4.0 July-August 2019


Magazine to Save The World

AEC จดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์ รองรับการเติบโต ธุรกิจพลังงานสะอาดในอนาคต

บริษัท อัลเทอร์เนทีฟ เอ็นเนอร์จี้ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด หรือ AEC กลุ่มบริษัท ผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจพลังงานสะอาด น�ำโดย ดร.จิตราภรณ์ เตชาชาญ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร AEC ได้ท�ำพิธีร่วมลงนามสัญญาเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์ (SGX) เพื่อขยายการระดมทุน และสร้างโอกาสในการจัดหาพันธมิตรระดับ นานาชาติทางธุรกิจด้านพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดหลายประเภททีค่ รอบคลุม ตั้งแต่พลังงานไฟฟ้าจากขยะชุมชน พลังงานไฟฟ้าจากเขื่อนกักเก็บน�้ำ พลังงานไฟฟ้า จากแสงอาทิตย์ ซึง่ นอกจากจะเป็นพลังงานทีส่ ะอาดแล้ว ยังช่วยด้านสิง่ แวดล้อมท�ำให้ คุณภาพชีวิตของคนไทยดีขึ้นในระดับสากลต่อไป

หอการค้าฝรั่งเศส-ไทย จับมือหอการค้านานาประเทศ จัดสัมมนา “พลังงานยั่งยืน สีเขียว”

หอการค้าฝรั่งเศส-ไทย น�ำโดย อองรี เดอเรอบุล ประธานคณะท�ำงานร่วม ระหว่างหอการค้าต่างประเทศด้านความ ยัง่ ยืน เป็นเจ้าภาพในการผนึกก�ำลังจับมือร่วมกับหอการค้านานาประเทศ ซึง่ ประกอบด้วย หอการค้าเนเธอร์แลนด์-ไทย รวมทัง้ หอการค้าต่างประเทศในประเทศไทย โดย ได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. จัดสัมมนาเรื่อง “พลังงานยั่งยืนสีเขียว” หรือ Multi-Chamber Sustainability for Business Forum 2019 เป็นปีที่ 3 ทัง้ นี้ อองรี เดอเรอบุล กล่าวว่า การจัดสัมมนาในครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ รับรูแ้ ละแลกเปลีย่ นข้อมูลด้านนวัตกรรม กลยุทธ์ทางธุรกิจ ได้แก่ พลังงานสีเขียว มลพิษ และของเสีย การศึกษาในที่ท�ำงาน สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี และการท�ำการตลาดจากการจัดงานอย่างยั่งยืน ซึ่งภายในงานมีผู้สนใจเข้าร่วมงานกว่า 200 คนจากภาค ธุรกิจ บริษัทต่างชาติ และบริษัทในประเทศ ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม และนักปฏิบัติด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนเข้าร่วมงานอย่างคับคั่ง

“โครงการพีที รวมพลัง รวมใจ สร้างสุขแก่ชุมชน” จัดการขยะทะเลป่าชายเลนสมุทรสงคราม

บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTG น�ำโดย พิทกั ษ์ รัชกิจประการ ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ จัดกิจกรรม CSR “โครงการพีที รวมพลัง รวมใจ สร้างสุขแก่ชุมชน ครั้งที่ 1” ณ โรงเรียนบ้านฉู่ฉี่ ต.บางจะเกร็ง อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม โดยกิจกรรมในครัง้ นีร้ ว่ มกับหน่วยงานจังหวัด ซึง่ มี ยงยุทธ สิงห์ธวัช รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด สมุทรสงคราม เป็นประธานเปิดงาน พร้อมด้วย พรเทพ ทองดี ผู้อ�ำนวยการส่วนส่งเสริม การมีสว่ นร่วม ส�ำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ที่ 3 (สบทช.ที่ 3) และ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลบางจะเกร็ง ส�ำหรับวัตถุประสงค์ของกิจกรรมเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนให้ตระหนักถึง การอนุรกั ษ์ทรัพยากรทางทะเล และขยะทางทะเลในพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนให้มสี งิ่ แวดล้อมทีด่ ี และ เพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ให้ชุมชนเติบโตอย่างยั่งยืน

คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค ชวนคู่ค้าธุรกิจปลุกจิตส�ำนึกรักษ์โลก รักสิ่งแวดล้อม

บริษัท คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค ประเทศไทย จ�ำกัด ผู้น�ำผลิตภัณฑ์กระดาษทิชชู่ รายแรกของประเทศไทยที่ได้การรับรองมาตรฐานระดับสากลจากสภาพิทักษ์ป่า Forest Stewardship Council หรือมาตรฐาน FSC น�ำโดย ชมัยพร เอื้อไพโรจน์กิจ ผู้อ�ำนวยการประจ�ำประเทศไทยและผู้จัดการทั่วไป ภูมิภาคอาเซียน กลุ่มธุรกิจ คิมเบอร์ลยี่ -์ คล๊าค โปรเฟสชันแนล (ที่ 3 จากซ้าย) แถลงข่าวเดินหน้าโครงการภายใต้ แนวคิด “โลกยัง่ ยืน ธุรกิจยัง่ ยืน” ซึง่ เป็นการจับมือชวนคูค่ า้ ธุรกิจทุกภาคส่วนร่วมแสดง ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมด้วยการจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยัง่ ยืน โดยสนับสนุน เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ ตี รามาตรฐาน FSC พร้อมกัน กอบรัตน์ สวัสดิวร ผูป้ ระสานงาน โครงการ FSC ในลุ่มน�้ำโขง (ที่ 3 จากขวา) ได้เข้าร่วมการแถลงข่าวในครั้งนี้ด้วย 34

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Travel กองบรรณาธิการ

องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) หรือ อพท. เปนองคการมหาชนที่สังกัดกระทรวงการ ทองเทีย่ วและกีฬา จัดตัง้ ขึน้ ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ องคการบริหารการ พัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพือ่ การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) พ.ศ. 2546 เปนอีกหนึ่งหนวยงานรัฐบาลที่มีบทบาทในการประสานงานการบริหาร จัดการการทองเทีย่ วระหวางสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครอง หรือ หนวยงานอืน่ ๆ ไมวา ในระดับชาติ ระดับภูมภิ าคหรือระดับทองถิน่ ซึง่ มีอาํ นาจ หนาทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน ผังเมือง และรักษาสิง่ แวดลอม เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน เมือ่ เร็วๆ นี้ ธรรมนูญ ภาคธูป ผูจ ดั การสํานักงานพืน้ ทีพ่ เิ ศษเลย หรือ อพท. 5 ไดจดั กิจกรรมนํารองยกระดับทองเทีย่ วเชียงคาน จังหวัดเลย ใหเปน แหลงทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม และเชิงนิเวศทีค่ าํ นึงถึงสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนและชุมชนเขามามี สวนรวมในการอนุรักษ และพัฒนาแหลงทองเที่ยวในพื้นที่ชุมชนทองถิ่น ของตนเพือ่ ใหเกิดการจางงานและยกระดับคุณภาพชีวติ และความเปนอยูใ น ทองถิ่นใหดีขึ้น ทัง้ นี้ อพท. มุง เนนการพัฒนาทองเทีย่ วใหเปนไปตามเกณฑการพัฒนา ทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนโลก หรือ Global Sustainable Tourism Council (GSTC) โดยกําหนดทิศทางใน 4 มิตคิ อื การบริหารจัดการ การกระจายรายไดลดความ เหลือ่ มลํา้ การสงเสริมวัฒนธรรมใหคงอยู และการรักษาสิง่ แวดลอม ดังนัน้ จึงพัฒนาพื้นที่ดวยการเปดใหประชาชนในพื้นที่มีสวนรวม สงผลใหปจจุบัน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ไดพฒ ั นาสถานทีท่ อ งเทีย่ วโดยชุมชนใน 14-15 ชุมชนเปนตนแบบ รวมถึงการบริหารจัดการพืน้ ทีใ่ นการมุง เนนความปลอดภัย ทั้งดานการจราจรและสุขภาพ และยังมองการเชื่อมโยงการทองเที่ยวกับ สปป.ลาว ทีจ่ ะเจาะกลุม นักทองเทีย่ วเขามาเทีย่ วในประเทศไทยโดยทางรถยนต ทีเ่ ชือ่ มโยง 4 จังหวัดไทย กับ 4 แขวง สปป.ลาว ดวยการจัดทํา “แอพพลิเคชัน่ ลานชาง” เพือ่ แนะนําแหลงทองเทีย่ ว โรงแรม อาหาร ฯลฯ ซึง่ คาดวาจะพัฒนา แลวเสร็จในป พ.ศ. 2563

35

าคธ ปู นอกจากนี้ อพท. ยังไดพฒ ั นากิจกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ ชือ่ มโยงการทองเทีย่ ว ในเชียงคาน อาทิ กิจกรรมถนนศิลปะ (Street Art) ริมแมนํ้าโขง กิจกรรม การเก็บวัสดุเหลือใชในทองถิ่นนํากลับมารีไซเคิลใหมใหเปนวัสดุธรรมชาติ แบบยอยสลายได เพือ่ ลดปญหาขยะ เชน ลอจักรยานเกา เครือ่ งมือทางการ เกษตรที่เสื่อมสภาพ และกิจกรรมดึงดูดนักทองเที่ยวที่มีความเชื่อในเรื่อง การปลดปลอยความทุกขโดยใชพิธี “ลอยผาสาดลอยเคราะห” ที่ชาวบาน จะเลือกใชอปุ กรณเครือ่ งมือวัสดุจากธรรมชาติเพือ่ รวมกันรักษาสิง่ แวดลอม และใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศอีกแหงที่มีการเชื่อมโยงการทองเที่ยว กับชุมชนคือ “ศูนยเรียนรูประมงพื้นบานเชียงคาน” ซึ่งเปนชุมชนดั้งเดิม ที่ประกอบอาชีพประมงเปนอาชีพหลักและยังคงรักษาวิถีของชุมชนไวและ การอนุรกั ษพนั ธุป ลานํา้ จืด รวมถึงการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมริมแมนาํ้ โขงอีกดวย ธรรมนูญ กลาววา “ป พ.ศ. 2562 นี้ ในสวนของพืน้ ทีท่ อ งเทีย่ วจังหวัด เลย ตัง้ เปาคาดการณตวั เลขนักทองเทีย่ วสูงถึง 3 ลานคน แตหลังจากประเมิน ยอดนักทองเที่ยวที่เขามามีจํานวนวันพักเฉลี่ยอยูที่เพียง 1.5 วัน ดังนั้น ทาง อพท. จึงรวมบูรณาการกับทุกภาคสวนทีเ่ กีย่ วของในชุมชนทีต่ อ งจัดกิจกรรม ใหมๆ เพือ่ กระตุน การทองเทีย่ วใหเกิดขึน้ ในทุกชวงฤดูกาล โดยยึดแนวทาง การพัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมและแหลงทองเทีย่ วเชิงนิเวศ ที่คํานึงถึงความยั่งยืนที่มุงกระจายรายไดทองเที่ยวสูชุมชนใหมากที่สุด เพื่อ ยกระดับการเขาพักของนักทองเที่ยวใหเปน 3.5 วันในป พ.ศ. 2565 ใหได” อยางไรก็ดี แผนการพัฒนาทองเทีย่ วไทยในระยะยาวของ อพท. ทีไ่ ด อาศัยโครงสรางระบบพืน้ ฐานทีร่ ฐั บาลไดลงทุนในโครงการรถไฟฟาความเร็ว สูงเชื่อม 3 สนามบินของไทยใหสามารถรองรับนักทองเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งใน สปป.ลาว จีน และยุโรป รวมทั้งไดรวมดําเนินการกับการทองเที่ยว ทาง สปป.ลาว ในการสรางเสนทางทองเที่ยวเชื่อมโยงสี่เหลี่ยมวัฒนธรรม ลานชาง ซึง่ ครอบคลุมพืน้ ทีป่ ระกอบดวย ไซยะบุรี เวียงจันทร หลวงพระบาง เปนตน เพือ่ ทําใหเกิดศักยภาพเชือ่ มโยงระหวางพืน้ ทีข่ องไทย และสปป.ลาว ไปยังประเทศจีนซึ่งเปนจุดดึงดูดนักทองเที่ยวมากขึ้น จึงถือวาเปนอีกหนึ่ง ความพรอมเพือ่ สรางการตลาดทองเทีย่ วไทยเพือ่ ความยัง่ ยืนใหกบั ประเทศ อยางแทจริง

GreenNetwork4.0 July-August 2019

เพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน

ธรรมนูญ

ทองเที่ยวเชียงคาน จังหวัดเลย


GREEN

Building กองบรรณาธิการ

ศิริพร สิงหรัญ

นายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน สาวแกรงแหงลีอารคีเทค ชูนวัตกรรมบานประหยัดพลังงาน

สภาพแวดลอมในปจจุบันทําใหโลกรอนขึ้นทุกป อาคารหรือบานอยูอาศัยสวนใหญ ยังคงถูกสรางโดยไมไดคํานึงถึงสภาพอากาศ การกอสรางมีการเลือกใชวัสดุที่ไมเหมาะสม ทําใหตัวบานเกิดการสะสมความรอน อากาศภายในบานไมถายเท ทําใหผูอยูอาศัยรูสึก รอนอบอาว ดังนั้น บานประหยัดพลังงานซึ่งเปนนวัตกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จึงเปน ทางเลือกใหมสําหรับผูบริโภคในปจจุบันที่ตางหาวิธีทําใหบานอยูอาศัยมีความเย็นสบายขึ้น เพือ่ แกปญ  หาการสิน้ เปลืองพลังงานในบาน และชวยลดคาใชจา ย เพือ่ ใหสามารถอยูอ าศัยได โดยมีการใชพลังงานนอยที่สุด ดวยแนวคิดดังกลาว บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด ซึ่งประกอบธุรกิจรับสรางบานและ เปนผูนําการออกแบบบาน และอาคารประหยัดพลังงาน แตขณะเดียวกันก็ใสใจปญหาดาน สิ่งแวดลอม จึงไดนําแนวคิดการสรางบานประหยัดพลังงาน ตั้งแตเริ่มการออกแบบ และ การเลือกใชวสั ดุทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ภายใตการบริหารงานของสาวแกรงสาวเกงทีย่ งั คง สวมหมวกอีกหนึง่ ใบในฐานะเปนนายกสมาคมธุรกิจรับสรางบานดวย นัน่ คือ ศิรพิ ร สิงหรัญ กรรมการผูจัดการ บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด

36

ศิรพิ ร จบการศึกษาจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ปการศึกษา 2526 จากนัน้ เขาทํางานในสายงานการออกแบบ และกอสรางเรื่อยมา จนสั่งสมประสบการณในสายวิชาชีพ มากกวา 10 ป จึงตัดสินใจกอตั้ง บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด ขึน้ เมือ่ ป พ.ศ. 2538 เพือ่ ดําเนินธุรกิจดานงานออกแบบและ งานกอสรางอาคารทัว่ ไป ตอมาในป พ.ศ. 2540 เพือ่ ใหการ ทํางานมีความสมบูรณและตอเนื่อง จึงไดเพิ่มบริการงาน ออกแบบและตกแตงภายในพรอมจัดทํา และติดตั้งดวย ชางเฟอรนเิ จอรฝม อื ดีจากทางบริษทั ฯ เพือ่ ความสะดวกของ ลูกคา และถือเปนการบริการที่ครบวงจร เมื่อมีความพรอมในทุกๆ ดาน บริษัทฯ จึงกาวเขาสู ธุรกิจรับสรางบานอยางเต็มตัวในป พ.ศ. 2551 และไดเขารวม เปนสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสรางบานดวยการทํางานทีจ่ ริงจัง ทุม เท และซือ่ ตรงตอลูกคา สรางความพึงพอใจใหกบั ผูบ ริโภค ทัง้ ในผลงานการออกแบบ การกอสราง งานตกแตงภายใน และสวนสําคัญที่ขาดไมไดคือ การเปนผูนําการสรางบาน คุณภาพดวยรูปแบบบานทีท่ นั สมัย โดดเดน และการบริการ ที่สรางความประทับใจภายใตความพึงพอใจของลูกคามาก ที่สุด ด ว ยกระแสที่ ผู  บ ริ โ ภคให ค วามสนใจด า นการ ประหยัดพลังงานมากขึน้ โดยเฉพาะในบานพักอาศัย บริษทั ฯ จึงมุง เนนโครงการรักษโลก โดย ศิรพิ ร ถือไดวา เปนผูผ ลักดัน สําคัญดานนโยบายและมาตรการดานการประหยัดพลังงาน ในป พ.ศ. 2558 จึงไดรบั รางวัลบานอนุรกั ษพลังงานดีเดน โดย อาคารสํานักงานของบริษทั ลีอารคเี ทค จํากัด “LEE HOUSE” ไดรบั รางวัลบานจัดสรรอนุรกั ษพลังงานดีเดน จากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ขณะเดียวกัน ศิริพร ยังไดรับเกียรติเปนหนึ่งในคณะกรรมการประกวด การออกแบบบานเหล็กดวยนวัตกรรมเขียว ประจําป 2555 หรือรางวัล Thailand Steel House Contest 2012 และ ในวาระป พ.ศ. 2557-2558 ศิรพิ ร ไดทาํ หนาทีด่ าํ รงตําแหนง เปนอุปนายกฝายกิจกรรมพิเศษในสมาคมธุรกิจรับสรางบาน เปนผูมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนและใหความรวมมือ กับวิทยาลัยเทคนิคดุสติ ในการจัดการอาชีวศึกษา ศึกษาระบบ ทวิภาคีดวย สําหรับแนวความคิดในการออกแบบบาน และอาคาร ประหยัดพลังงานของบริษัท ลีอารคีเทค จํากัด นั้น ศิริพร กลาววา “ดวยวิชาชีพในการสรางที่อยูอาศัยใหกับผูบริโภค จํานวนมาก บริษัท ลีอารคีเทคฯ ดําเนินธุรกิจกอสรางบาน ทีย่ ดึ แนวคิดการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมและรับผิดชอบตอสังคม ใหยงั่ ยืน อีกทัง้ มองวาอากาศโลกของเรารอนรุนแรงขึน้ ทุกป จึงควรหาวิธกี ารออกแบบบานและอาคารทีไ่ มเพียงแคความ สวยงามของโครงสรางเพียงอยางเดียว แตเราคํานึงการอยู อาศัยที่มีความสุข และประหยัดคาใชจาย จึงเริ่มสรางบาน

GreenNetwork4.0 July-August 2019


ประหยัดพลังงาน โดยจะใหความสําคัญตั้งแตการเริ่มออกแบบ การดูทิศทางลม แสงแดด ทีจ่ ะเขามากระทบภายในอาคารใหนอ ยทีส่ ดุ ขณะเดียวกันเราเลือกใชวสั ดุกอ สรางทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมและสามารถปองกันความรอนสูตัวอาคาร เพราะสภาพแวดลอมการอยูอาศัย ในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ จะแตกตางกับพืน้ ทีต่ า งจังหวัด ซึง่ บานของลูกคาสวนใหญของเราจะตัง้ อยู ในเมืองหลวงทีม่ บี า นเกา และเปนอาคารทรุดโทรม ตองทุบทิง้ แลวสรางใหม ดังนัน้ การวางผัง โครงสรางอาคารจะคํานึงถึงการกอสรางโดยไมใหสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและมลภาวะ ภายนอกดวย” จากแนวคิดทีด่ าํ เนินธุรกิจรับสรางบานบนทีด่ นิ ของผูบ ริโภค บริษทั ลีอารคเี ทค จํากัด ถือวามีสว นรวมในการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม และรับผิดชอบตอสังคมเพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ อยางยัง่ ยืนใหสอดคลองกับนโยบายภาครัฐ ตามยุทธศาสตรขอ ที่ 5 คือ “การเติบโตบนคุณภาพ ชีวติ ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม” เพือ่ การปองกันและลดมลภาวะตางๆ ในระหวางการกอสราง อาคาร ปองกันฝุน ละอองกระจายไปรอบๆ พืน้ ทีข่ า งเคียง รวมไปถึงการทําความสะอาดลอรถ ทีอ่ อกจากหนวยงานเพือ่ ลดดิน ทราย เศษปูนติดลอรถไปนอกพืน้ ที่ และการคัดแยกขยะสวน ที่ทิ้งกับสวนที่นําไปใชรีไซเคิลได เพื่อลดปญหาปริมาณขยะ สําหรับคุณสมบัติอาคารและบานประหยัดพลังงานที่มีความโดดเดนและความพิเศษ ตัง้ แตงานออกแบบอาคารและตกแตงภายใน อาทิ การออกแบบผนังอาคารใหทบึ เปนบางสวน เพือ่ ปองกันแดดและความรอนเขาสูต วั อาคาร ขณะทีท่ าํ ชองระบายอากาศรอนใตหลังคาและ ฉีดฉนวนโฟมเสริม รวมถึงออกแบบอุโมงคลมเพื่อดึงลมเขาสูอาคารบริเวณสวนชั้นบนสุด นอกจากนี้ เลือกใชวสั ดุแผงระแนงโปรง-เลือ่ นเปดบังสายตาเพือ่ กรองแสงและออกแบบทําสวน ของอาคารชั้นบนยื่นบังแดดใหสวนชั้นลาง ในสวนของวัสดุกระจกแบบประหยัดพลังงานนั้น จะเลือกใชกระจก 2 ชัน้ (Insulated Glass) ใหเปนหนาตางชองแสงดานทีร่ บั แดด และจัดสวน ไมดอกไมประดับเปนแนวตนไมใหญเพือ่ ชวยบังแสงแดด และเพิม่ ทัศนียภาพภายนอก เปนตน นอกจากนั้น บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด ยังมีผลงานประเภทงานออกแบบอาคารและ ตกแตงภายใน (Design & Interior) ตางๆ มากมาย เชน งานบานพักอาศัย บานเดีย่ ว โฮมออฟฟศ สํานักงาน อพารทเมนต โรงแรม โครงการจัดสรร อาคารพาณิชย ทาวนเฮาส อาคารโรงงาน โกดังและคลังสินคา ขณะที่ประเภทของงานกอสราง (Type of Building) เปนทั้งในสวนของ อาคารทั่วไป โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสรางเหล็กความสูงไมเกิน 5 ชั้น ซึ่งการ ออกแบบบานและอาคารจะเปนไปตามนโยบายของบริษัทที่มุงเนนการออกแบบประหยัด พลังงาน และใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ “หัวใจสําคัญของการสรางบานประหยัดพลังงานเปนปจจัยพื้นฐานที่ตองควบคูกับ การดําเนินธุรกิจ การใชวสั ดุประหยัดพลังงานอาจทําใหบา นมีราคาแพงกวา และเปนหนาทีใ่ น ดานการบริการของเราที่จะตองทําความเขาใจและใหคําแนะนําแกผูบริโภควาการเลือกซื้อ 37

บานหรืออาคารประหยัดพลังงานนี้ จะสามารถชวยประหยัดคาใชจาย ไดในระยะยาวตลอดอายุในการอยูอ าศัย ซึง่ งานบริการถือเปนมาตรฐาน เบื้ อ งต น ในการแข ง ขั น การใส ใ จให ค วามสํ า คั ญ กั บ คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพในการทํางานเปนเรือ่ งทีท่ างบริษทั ฯ มุง มัน่ พัฒนาใหเกิดขึน้ เพือ่ สรางความพึงพอใจใหกบั ทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ ทัง้ ในดานของลูกคาและ ของพนักงาน ทําใหดฉิ นั เองในฐานะผูบ ริหารองคกรจะใหความสําคัญใน การจัดการองคกรใหมรี ะเบียบวินยั เพือ่ มุง มัน่ พัฒนาบุคลากรใหมแี นวคิด แบบ Positive Thinking เพือ่ ทําใหพนักงานตระหนักถึงความสําคัญของ การพัฒนาศักยภาพของตน ใหทีมงานทุกคนของเรามีความสุขในการ ทํางาน ทํางานกันดวยใจทีม่ คี วามฝน และชวยกันรวมมือสานฝนทีจ่ ะนํา ธุรกิจกาวไปสูอ นาคตไดอยางยัง่ ยืนดวยกัน ทีมงานเราจะทําหนาทีอ่ อกแบบ รางฝนตามโจทยทไี่ ดรบั และสรางบานใหสาํ เร็จ งดงามบนรอยยิม้ อันเปน ความสุขทั้งของลูกคาและของเรา” ศิริพร กลาว ขณะเดียวกันในฐานะเปนนายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน ศิรพิ ร พยายามผลักดันและรณรงคใหสมาชิกสมาคมฯ ไดตระหนัก รวมมือ และ เขาใจปญหาของมลภาวะสิง่ แวดลอม ฝุน ละออง และปญหาขยะทีเ่ กิดขึน้ จากการกอสราง ซึง่ สามารถแกไขไดถา มีการดําเนินการอยางจริงจัง และ ไดรบั ความรวมมือจากทุกหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ซึง่ ทีผ่ า นมาผูป ระกอบการ หรือสมาชิกสมาคมฯ เองตางตระหนักและใหความสําคัญ รวมมือในการ ออกแบบการสรางบานหรืออาคารประหยัดพลังงานทีไ่ มทาํ ลายทรัพยากร ธรรมชาติมากขึ้น สนับสนุนการสรางแนวความคิด “สรางบาน สราง สิง่ แวดลอม” รวมกันอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม และรับผิดชอบตอสังคมรวมกัน

ศิรพิ ร สิงหรัญ ถือเปนอีกหญิงแกรงแหงวงการธุรกิจรับสรางบาน การประสบผลสําเร็จที่ผานมานั้นก็เพราะการวางแผนการทํางานที่ดี การปรับตัวใหเทาทันการเปลีย่ นแปลงของสถานการณตา งๆ และมีกลยุทธ สําคัญ คือมีความสามารถในการรองรับงานออกแบบไดหลายประเภท และหลากสไตล สรางสรรคงานออกแบบทุกชิ้นใหมีความแตกตางเปน เอกลักษณ เนนการทํางานที่รวดเร็วทั้งในการนําเสนองานออกแบบ รางฝน และกอสรางใหผูบริโภคไดรับสิ่งที่ดีและคุมคาที่สุด ซึ่งกลยุทธ ตางๆ ก็ไดนาํ มาปรับใชเปนแนวทางใหกบั สมาคมธุรกิจรับสรางบานดวย เพื่อใหสมาชิกสมาคมฯ เติบโตกาวหนาไปพรอมๆ กันนั่นเอง

GreenNetwork4.0 July-August 2019



การขนสงขยะเพื่อกําจัดในตางประเทศ

ขยะไมมีที่อยู

GREEN

Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.กริชชาติ วองไวลิขิต

ในทุกวันนี้ที่เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี พัฒนาไปเปนอยางมาก ปฏิเสธไมไดเลยวาชีวิต ความเปนอยูข องมนุษยมพี ฒ ั นาการอยางกาวกระโดด โดยจะเห็นไดจากจํานวนประชากรทีม่ ากยิง่ ขึน้ รวมไปถึง คุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ในแตละพื้นที่รอบโลก แตอยางไรก็ตาม การกาวกระโดดอยางรวดเร็วนีก้ ลับ ทิง้ หลายสิง่ หลายอยางไวในรูปของ “ขยะ” โดยเฉพาะ อยางยิ่งในประเทศที่พัฒนาแลวอยางสหรัฐอเมริกา ทีม่ คี า เฉลีย่ การผลิตขยะตอคนสูงทีส่ ดุ ในโลก ซึง่ สราง ปริมาณขยะเปน 12% ของปริมาณขยะทัว่ โลก ทัง้ ๆ ที่ อเมริกามีประชากรเพียง 4% ของจํานวนประชากรโลก ทัง้ หมด โดยนอกจากอเมริกาแลวยังมีประเทศพัฒนา

แลวอื่นๆ เชน เนเธอรแลนด แคนาดา และออสเตรีย ที่สรางปริมาณขยะมากไมแพกัน ซึ่งถึงแมวาประเทศไทย จะอยูอันดับที่ 61 ของโลก แตประเทศไทยกลับเปนประเทศหนึ่งที่มีปริมาณขยะทะเลมากที่สุดเปนอันดับที่ 6 ของโลก โดยมีปริมาณมากถึง 1.55 ลานตันในป พ.ศ. 2560 และยังมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในทุกๆ ป ในชวงเวลาทีผ่ า นมา วิธกี ารกําจัดขยะรูปแบบหนึง่ ของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลว คือการขนสงขยะไปสูป ระเทศ แถบเอเชีย โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศจีน เวียดนาม อินเดีย ปากีสถาน ฟลิปปนส หรือแมแตประเทศไทย ซึ่งการขนสงขยะระหวางประเทศนี้กอใหเกิดปญหาระหวางประเทศหลายครั้ง ทั้งปญหาการสงขยะผิดประเภท การสงขยะทีไ่ มใชขยะทีส่ ามารถนํามา Recycle ได และการขนสงขยะเกินปริมาณ โดยในชวงเวลา 5-6 ปทผี่ า น มานี้ มีความขัดแยงและเกิดการสงขยะจากประเทศแถบเอเชียกลับสูป ระเทศตัง้ ตนอยางตอเนือ่ ง ซึง่ ทําใหหลาย ประเทศในเอเชียมีนโยบายทีห่ า มการนําเขาขยะจากตางประเทศ โดยประเทศไทยเองก็มแี ผนทีจ่ ะหามการนําเขา ขยะพลาสติกจากตางประเทศอยางสมบูรณภายในป พ.ศ. 2564

เมือ่ การขนสงขยะไปตางประเทศเปนเรือ่ งทีย่ ากขึน้ ประเทศทีพ่ ฒ ั นา แลวหลายประเทศจึงตองมีมาตรการในการจัดการขยะทีเ่ ขมงวด โดยเฉพาะ อยางยิ่งในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ปจจุบันเริ่มหันมาพัฒนาการจัดการขยะ ทัง้ ในดานของนโยบายและเทคโนโลยีมากขึน้ เพราะปญหาเรือ่ งการจัดการ ขยะเริม่ สงผลโดยตรงและรุนแรงมากยิง่ ขึน้ กับหลากหลายธุรกิจโดยเฉพาะ อยางยิง่ บริษทั ทีเ่ กีย่ วของกับการผลิตและสินคาอุปโภค-บริโภคทีจ่ าํ เปนตอง จัดการกับขยะที่ตนเองสรางขึ้นดวยตัวเอง ดวยสาเหตุนเี้ อง จึงทําใหหลากหลายบริษทั เริม่ มีการลงทุนในการพัฒนา ระบบการ Recycle ขยะมากยิง่ ขึน้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ทัง้ ผูป ระกอบการ ที่เปนผูจัดการขยะโดยตรงอยางบริษัท Alpine Waste & Recycling ที่ได ลงทุนกวา 2.5 ลานเหรียญสหรัฐ ในการขยายและพัฒนาระบบการจัดการ ขยะใหดียิ่งขึ้น รวมไปถึงธุรกิจคาปลีกอื่นๆ เชน Amazon ที่กําลังลงทุนใน การทําระบบการจัดการขยะเชนเดียวกัน โดยการลงทุนดังกลาวสงผลให ในชวงเวลานีม้ กี ารขยายตัวของตลาดการจัดการขยะเปนอยางมาก โดยมีสนิ คา หลากหลายประเภทซึง่ ผลิตจากขยะจากทะเลทีเ่ ขาสูท อ งตลาด ทัง้ แกวนํา้ และ ภาชนะรูปแบบตางๆ ซึ่งเมื่อประกอบกับเทคโนโลยีการคนหาขยะทะเลจาก ระบบดาวเทียมทีก่ าํ ลังถูกพัฒนาขึน้ ตลาดของการจัดการขยะจึงมีแนวโนม ในการเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว

ปญหาการขนสงขยะขามประเทศในฟลิปปนส

ผลิตภัณฑจากการแปรรูปขยะทะเล

จังหวะนี้จึงนับเปนจังหวะหนึ่งที่ดีของประเทศไทยในการหันมาจัดการกับขยะ อยางเปนระบบมากยิง่ ขึน้ โดยในปจจุบนั เริม่ เห็นหลากหลายบริษทั เกีย่ วกับการคาปลีก เริม่ ทําการลดปริมาณขยะพลาสติกโดยการลดการแจกถุงพลาสติก ซึง่ นับเปนกาวของ การจัดการขยะที่และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป ในการพัฒนาระบบจัดการ ขยะมูลฝอย การจัดระเบียบการนําเขาขยะ การจัดการกับขยะทะเล รวมไปถึงการอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนที่ 14 (SGD14) ทีเ่ ปน เปาหมายของสหประชาชาติ (UN) ในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเล

ระบบคนหาขยะทะเลจากดาวเทียม 39

GreenNetwork4.0 July-August 2019


GREEN

Working Group : Environmental Management Using Geospatial Information Technology (EnvGIT) FB Page : Thailand Network Center on Air Quality Management (TAQM) E-mail : Sirima.P@Chula.ac.th, www.taqm.org

Article รศ. ดร.ศิริมา ปญญาเมธีกุล, ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ดรามา เรื่อง PM 2.5

สถานการณของ กทม.

โดยปกติแลวฝุนโดยเฉพาะฝุนขนาดใหญ เดิมไมคอยไดรับความสนใจจากนักวิทยาศาสตรและ เจาหนาทีร่ ฐั เทากับสารมลพิษอากาศตัวอืน่ ๆ แตเมือ่ เวลาผานไปวิทยาการกาวหนามากขึน้ ทําใหเราเริม่ มี ความเขาใจมากขึน้ วาฝุน หากมีขนาดเล็กมากๆ ก็สามารถมีอันตรายไมนอ ยกวาสารมลพิษอากาศตัวอืน่ ๆ จนถึงขนาดองคการอนามัยโลกตองเขามามีบทบาทชี้นําในระดับนานาชาติ เรือ่ ง PM 2.5 นีอ้ งคการอนามัยโลก หรือ WHO ใหความสนใจมากมาตลอด เพราะ มันเกี่ยวกับสุขภาพของคนและสัตวโดยตรงและอยางมาก เพราะปญหามันไมใชเพียงแคฝุนจิ๋วนี้ที่เขาไป ในปอดได แตเปนเพราะมันสามารถทําตัวเปนศูนยกลางใหสารพิษอืน่ ๆ เชน สารกอมะเร็ง สารโลหะหนัก ฯลฯ มาเคลือบหรือเกาะอยูบ นผิวของมัน และจากนัน้ มันก็จะเปนตัวพาเอาสารพิษตางๆ เหลานัน้ ทีป่ กติจะ ลองลอยอยูในอากาศ เขาไปในสวนลึกของรางกายของเราได อันตัวฝุนนั้นถาจะวาไปไมมีอันตรายรุนแรงเปนแบบเฉียบพลัน เราตองรับฝุนเขาไปสะสมใน รางกายนับเปนสิบๆ ป จึงจะมีอาการเจ็บปวยเกิดขึน้ แตมสี ารมลพิษอากาศอืน่ ๆ อีก เชน โอโซน (O3) หรือ คารบอนมอนอกไซด (CO) ทีเ่ ปนอันตรายแบบเฉียบพลันไดทนั ที และอันตรายกวาฝุน หลายสิบหลายรอยเทา และเนื่องจากฝุนสามารถเปนตัวพาเอาสารพิษอื่นๆ พวกนั้นติดตัวมันเขามาในรางกายเราได ฝุน PM 2.5 จึงเปนสารมลพิษอากาศที่กลาวไดวาจะเฉียบพลันก็ไมใช จะเรื้อรังก็ไมเชิง คามาตรฐานของ PM 2.5 ใน อากาศจึงเปนคาทีอ่ ยูก ลางๆ คือ ไมใชคา เฉลีย่ รายชัว่ โมง (ทีเ่ ปนตัวชีว้ ดั ของอันตรายแบบเฉียบพลัน) แต เปนคาเฉลี่ยรายวันหรือคาเฉลี่ย 24 ชั่วโมง โดยมีคาเฉลี่ยรายป (ซึ่งเปนผลกระทบแบบเรื้อรังนานมาก) เพิ่มแถมขึ้นมาอีกในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย สาเหตุทอี่ งคการอนามัยโลกสนใจตัวฝุน จิว๋ PM 2.5 นีเ้ ปนพิเศษ เพราะเอกสารทางการแพทยบง ชีว้ า มันสามารถทําใหเสนเลือดหดตัว ความดันโลหิตสูงขึ้น ชีพจรเตนเร็วขึ้น ไปจนถึงปญหาดานหลอดเลือด หัวใจ และหัวใจขาดเลือด ซึ่งทําใหกลุมเสี่ยงหรือคนที่เปนโรคหัวใจอยูแลวถึงกับเสียชีวิตได (ดังรูปที่ 1) ตรงนี้จึงไมใชดรามา แตเปนเรื่องจริง

สัมผัสฝุน เฉียบพลัน

เรื้อรัง

ผิวหนัง ทางเดินหายใจ เยื่อบุตา

หัวใจ มะเร็ง ขาดเลือด (เชน PAH)

ตนกําเนิดของ PM 2.5 ในกรุงเทพ มหานครมาจากไหน ตนเหตุหลักๆ ของ PM 2.5 คือ (1) ไอเสีย จากรถยนตหรือจากการจราจร (2) อากาศพิษจากปลอง โรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟาทีม่ กี ารเผาไหมเชือ้ เพลิง ฟอสซิลโดยเฉพาะถานหิน หรือเชื้อเพลิงที่ไมเปนมิตรตอ สิง่ แวดลอม และ (3) การเผาในทีโ่ ลงและในทีไ่ มโลง ซึง่ มา ไดจากทัง้ ในเขตกรุงเทพมหานครเองและจากพืน้ ทีโ่ ดยรอบ หากทิศทางลมมันพัดพามาสูเมือง และจากงานวิจัยลาสุด เราเชือ่ วาสาเหตุทสี่ าํ คัญทีส่ ดุ ของฝุน จิว๋ PM 2.5 ในกรุงเทพ มหานครมาจากนํ้ามันดีเซล ซึ่งมาจากการจราจรที่ติดขัด นั่นเอง ปญหาฝุนจิ๋ว PM 2.5 ไมใชเพิ่งมี และไมใชเพิง่ จะมาเกินมาตรฐานเอาในชวงป พ.ศ. 2561 นี้ แตเคยมีมากอนหนานี้แลวทุกป เชนในป พ.ศ. 2556 พื้นที่ ริมถนนดินแดง มีคา PM 2.5 สูงถึง 112 ไมโครกรัมตอ ลูกบาศกเมตร (โปรดสังเกตวามีหนวยวัดเปนไมโครกรัม ตอลูกบาศกเมตรดวย ไวจะกลับมาอธิบายในตอนที่ 6 ตอไปวาทําไมตองสังเกตเรือ่ งหนวยวัดตรงจุดนีไ้ ว) ดูรปู ที่ 2 (http://www.pcd.go.th/public/publications/print_ report.cfm?task=report2556) ในขณะที่ในเหตุการณ ดรามาเมื่อเร็วๆ นี้หรือตนป พ.ศ. 2561 มีคา PM 2.5 อยูที่ 69-94 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ซึ่งทั้งสองเหตุการณ เกินมาตรฐาน (เฉลีย่ รายวัน) ของบานเราทีอ่ ยูท ี่ 50 ไมโครกรัม ตอลูกบาศกเมตรทั้งคู แตจะดวยเหตุใดก็ไมรูที่เมื่อป พ.ศ. 2556 และปอนื่ ๆ ทีม่ คี า เกินมาตรฐานนัน้ ไมมเี หตุการณ ดรามาขึ้นในโซเชียลไทย แตที่สังเกตไดชัดเจน คือในป พ.ศ. 2561 นีม้ อี ากาศหนาวในเดือนมกราคมเกิดขึน้ หลายครัง้ และยาวนาน ทําใหอากาศนิ่งอยูเปนสัปดาห ผลกระทบจึง มองเห็นดวยตาไดชัดกวาปที่ผานๆ มา

รูปที่ 1 ผลกระทบจากการสัมผัสฝุนจิ๋ว PM 2.5 ทีม่ า : ขจรศักดิ์ แกวขจร “การพิทกั ษสขุ ภาพประชาชนจากฝุน PM 2.5 : ความรวมมือของเครือขาย” ทางออก รวมกันในการลดฝุนละออง PM 2.5 ใน กทม. กรมควบคุมมลพิษ, 23 มีนาคม 2561

40

GreenNetwork4.0 July-August 2019


รูปที่ 2 ความเขมขนของฝุนละออง PM 2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ป 2554-2561 ที่มา : สุพัฒน หวังวงศวัฒนา “ฝุน PM 2.5 แกอยางไรใหตรงจุด” ทางออกรวมกันในการลดฝุนละออง PM 2.5 ใน กทม. กรมควบคุมมลพิษ, 23 มีนาคม 2561 การวัด PM 2.5 ในอากาศในไทย โดยเฉพาะใน กรุงเทพมหานคร เพิง่ ทํากันเมือ่ ประมาณ 6-7 ป ทีผ่ า นมานีเ้ อง ถามวาทําไม กอนหนานีไ้ มวดั ทีไ่ มวดั ก็เพราะไมมเี ครือ่ งมืออุปกรณในการวัด ถามวาทําไม ไมซอื้ มาวัดกอนหนานีน้ านๆ ละ ติดปญหาอะไร…ก็ตดิ ปญหาทีไ่ มมงี บประมาณ จัดซือ้ ถามรุกตอวา ทําไมไมตงั้ งบประมาณ อันนีไ้ มขอตอบก็แลวกัน เพราะ บางคนหากคุนชินกับระบบราชการที่อุยอายอยูบาง ก็คงรูคําตอบนี้ไดดวย ตนเอง และขอปลอยใหกรมควบคุมมลพิษมาตอบคําถามนีเ้ องนาจะชัดเจนกวา ถาไมไดวัดมากอนหนานี้ แลวจะรูไดอยางไรวาแต กอนนี้มีหรือไมมีปญหา PM 2.5 คําตอบนี้ดูไดจากเรื่องที่ 3 และรูปที่ 2 คือ แมจะไมไดวดั มากอนหนานีก้ ต็ าม แตในระยะเวลา 5-6 ปนกี้ ม็ คี า เกินอยูท กุ ป อยูแ ลว และหากมองสภาพปญหาจราจรซึง่ เปนสาเหตุหลักทีก่ อ ใหเกิดปญหา PM 2.5 ทีไ่ มไดดขี นึ้ เลยใน 10 ปทผี่ า นมาก็คงอนุมานไดวา ปญหานีม้ มี านาน แลว เพียงแตเราไมรู ไมมีขอมูล จึงไมมีเรื่องรองเรียน และไมมีดรามา

41

อันนี้ก็ยังเปนเรื่องของความเขาใจผิด คือเมื่อเราพูดถึงพื้นที่ กรุงเทพมหานคร มันกวางใหญไพศาลถึง 1,569 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 40x40 กิโลเมตร แตเรามีสถานีตรวจวัดฝุน จิว๋ PM 2.5 ทีเ่ ปนทางการของกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) อยูเพียง 6 สถานี คือ พญาไท บางนา วังทองหลาง ริมถนนพระราม 4 ริมถนนลาดพราว และริมถนนอินทรพิทกั ษ ดังนัน้ การทีบ่ อกวาคุณภาพอากาศใน 6 สถานีนนั้ ไดมาตรฐาน ไมไดหมายความวาคุณภาพอากาศของทัว่ กรุงเทพมหานครไดมาตรฐาน ในทางตรงขาม การที่บอกวาตัวเลขสารมลพิษอากาศใน 6 พื้นที่เกินมาตรฐาน ก็ไมไดหมายความวา คุณภาพอากาศเลวไปทัว่ กรุงเทพมหานคร และดรามาอาจเกิดขึน้ ไดจากความเขาใจผิดนี้ ในทั้งสองกรณี แลวทําไมไมติดตั้งเครื่องมือวัดคุณภาพอากาศใหทั่วๆ คําตอบคือราคามันไมถูก คพ.จึงเลือกที่จะติดตั้งเครื่องมือไวในจุดที่เสี่ยงอันตรายกวาที่อื่น โดยมีสมมุติฐานวา ถาพืน้ ทีน่ โี้ อเค พืน้ ทีอ่ นื่ ก็จะโอเคไปดวย แตหากเราตองการไดขอ มูลทีเ่ ปนตัวแทนจริงของ ทัง้ กรุงเทพมหานคร พวกเราคงตองชวยกันเรียกรองภาครัฐและรัฐบาลดวยเสียงทีด่ งั กวานี้ เพื่อใหรัฐบาลจัดหางบประมาณให คพ.และ กทม.ใหมากพอ และเมือ่ นัน้ เราจึงจะไดขอ มูลทีเ่ ปนจริงและจํานวนมากพอทีจ่ ะมาสรุปเพือ่ หาทาง ทําใหอากาศที่เราหายใจกันอยูทุกวันนี้สะอาดขึ้น

GreenNetwork4.0 July-August 2019





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.