Engineering Today No.172 (Issue Jul-Aug 2019)

Page 1

วัดพระมหาธาตุฯ




´¼ÈÔ¹°

Business Solutions

Data & Cloud

6000 ¼Ê» µÑĊķÉijÕÂij¦Â̲£ĊÊ ÀĉÊ 250 Õ³¼²ijč µÑĊ¨ÏÝÅ£²Âˣɩ ÀĉÊ 120 ¼Ê» Ö´¼Õ ¼ºķɳ£ÑĉÔķ¼ķʱм Ìķ ÀĉÊ 800 ²Éijúʻ

Smart Solution & IOT

ķŦ·Ïݲ°ÍÜ ĴŲ²ÍÝ

02-833-5126

Organizer

Show Hosts

Supporters

Startups

Cyber Security

Show Consultant

Strategic Partners

www.cebitasean.com



Smart City Solutions Week 2019 28 - 31 October 2019 @ BITEC, Bangkok Thailand

Harnessing the smart cities opportunity in ASEAN

ASEAN Connectivity

City + loT - A sustainable and livable future

% OC[G_@VgC_7VC

a9E 02 664 6488 7 O 402, 406

www.thailandlightingfair.com www.thailandbuildingfair.com www.secutechthailand.com

Security + AI - Empowers sustainable city development



EDITOR TALK

สภาวิศวกร จับมือหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน เร่งปฏิรูปวิศวกรไทย รับยุค Disruption แก้ปัญหาวิศวกรขาดแคลน

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท

คณะที่ปรึกษา

ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพิมพผูโฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา ปลาทิพย ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย, กัลยา ทรัพยภิรมย, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก ศิรินทิพย โยธาพันธ โรงพิมพ หจก. รุงเรืองการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

ในยุค Disruption ที่ทุกองคกรตองปรับตัวใหทันกับโลกดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงไป วิชาชีพดาน “วิศวกรรม” ก็เชนกัน ลาสุด สภาวิศวกร จับมือกับ สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย สมาคมการคากลุม อสังหาริมทรัพยออกเเบบเเละกอสราง สภาหอการคา เเหงประเทศไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง และสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร แหงประเทศไทย จัดเวที “การปฏิรูปวิศวกรไทย” เพื่อรวมกันกําหนดทิศทางการปฏิรูป วิศวกรไทย ภายใตแนวคิด “ยกระดับวิศวกรไทยสูสากลเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน” ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร กลาววา ปจจุบันวิศวกรยังคงเปน อาชีพที่มีความสําคัญตอประเทศไทย ทั้งนี้มีวิศวกรที่ขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรประมาณ 150,000-200,000 คน อยางไรก็ตาม ประเทศไทยมีคนรุนใหมที่สําเร็จการศึกษา ดานวิศวกรรมศาสตรนอ ยลงอยูท ี่ 33,000 คนตอป ในจํานวนนีม้ ผี ขู อใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพประมาณ 7,000 คนตอป ซึ่งอาจมีเพียงบางสวนที่ประกอบอาชีพวิศวกร และ คาดวาในอนาคตอันใกล ไทยจะมีสดั สวนของวิศวกรเพียง 5% ของประชากรทัง้ ประเทศ ดวยเหตุนี้สภาวิศวกรจึงตองเรงปฏิรูปดานวิศวกรรมใหเกิดความเปลี่ยนแปลงเร็วที่สุด เพื่อปองกันไมใหกลายเปนวิชาชีพที่ขาดแคลนในอนาคต พรอมกันนี้สภาวิศวกรไดยกรางแผนแมบทกาวตอไปของวิศวกรไทยในป 2020 ซึง่ มีสว นสําคัญในการกําหนดมาตรฐานวิชาชีพวิศวกร โดยมุง เนนกลุม ไปยังเปาหมายของ คนรุน ใหมตงั้ แตในสถาบันการศึกษา ตลอดจนผูท สี่ าํ เร็จการศึกษาและกาวสูว ชิ าชีพวิศวกร ทีม่ ที กั ษะความรูเ ทาทันตอความเปลีย่ นแปลง ควบคูก บั การใหความสําคัญดานจริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งจะเปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพการประกอบ วิชาชีพวิศวกรไทย และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ สําหรับวารสาร Engineering Today ฉบับนี้ พรั่งพรอมดวยเนื้อหาสาระกาวทัน ยุคดิจทิ ลั เริม่ จาก “สภาวิศวกร จับมือสถาบันการศึกษา ภาครัฐ-เอกชน เรงปฏิรปู วิศวกร ไทย ทันยุค Disruption เตรียมดันแผนแมบทป 2020 รับมือวิศวกรขาดแคลน”, “วสท. เดินหนายกระดับมาตรฐานอาคารตานแผนดินไหว ลดภัยพิบัติ-ประชาชนปลอดภัย”, นักวิจัย สกสว.นําหลักวิศวกรรมอนุรักษโครงสรางวัดพระมหาธาตุฯ หนุนขึ้นทะเบียน เปนมรดกโลก, “ม.อ. วางใจใชโซลูชั่นซิสโก ปนโมเดลตนแบบ Smart City ในทุกมิติ พัฒนาสูเมืองแหงอนาคต”, “รพ.ศิริราช เดินหนาขยายบริการรถ Mobile Unit รักษา ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันปที่ 2”, “World Robot Games Thailand Championship 2019 สรางประสบการณใหมดานนวัตกรรมหุนยนตสูสังคมไทย” และคอลัมนอนื่ ๆ ทีน่ า สนใจ ติดตามไดทงั้ ออฟไลนและออนไลน ในรูปแบบของ E-book ที่ www.engineeringtoday.net



CONTENTS 28 Cover Story

COLUMNS 8

VEGAPULS 64 / VEGAPULS 69-80 GHz radar level technology • VEGA

บทบรรณาธิการ

สภาวิศวกร จับมือหนวยงานภาครัฐ-เอกชน เรงปฏิรูปวิศวกรไทย รับยุค Disruption แกปญหาวิศวกรขาดแคลน

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

DIGITAL ECONOMY 32 Robotic

Report

15 นักวิจัย สกสว.นําหลักวิศวกรรมอนุรักษโครงสรางวัดพระมหาธาตุฯ จ.นครศรีธรรมราช หนุนขึ้นทะเบียนมรดกโลก

• สุรียพร วงศศรีตระกูล

อนันดา เออรเบินเทค สนับสนุนงาน “World Robot Games Thailand Championship 2019” สรางประสบการณใหม ดานนวัตกรรมหุนยนตสูสังคมไทย • กองบรรณาธิการ

Smart City

35 ม.อ.วางใจใชโซลูชนั่ ซิสโก ปน โมเดลตนแบบ Smart City ในทุกมิติ พัฒนาสูเมืองอนาคต • กองบรรณาธิการ

15 21 สวทช. จับมือ สมาคมสงเสริมธุรกิจบริการผูสูงอายุไทย ใชเทคโนโลยี ยกระดับการดูแลผูสูงอายุ ตั้งเปาขยายผล 200 แหงทั่วประเทศ

35

• กองบรรณาธิการ

23 Innovation

NIA จับมือ มช.-ยนตผลดี ติดตั้งเครื่องกําจัดมอดและไขมอดดวย คลื่นความถี่วิทยุ ฝมือคนไทย ที่โรงสีขาวมูลนิธิชัยพัฒนา

• สุรียพร วงศศรีตระกูล

40 ดีอีจับมือคมนาคม และพลังงาน

จัด ASEAN Smart Cities Network (ASCN) Roundtable Meeting • กองบรรณาธิการ

43 Smart Health

รพ.ศิริราชเดินหนาขยายบริการรถ Mobile Stroke Unit รักษาผูปวยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันปที่ 2

• กองบรรณาธิการ

23

43



CONTENTS DIGITAL ECONOMY 45 Digital

แนวทางสูความสําเร็จใน Digital Transformation

56

• ดรัฟ ดูมัทการ

47 Energy Today

อธิบดี พพ.ลงพื้นที่ศึกษาโซลารลอยนํ้าและโซลารรูฟท็อปตนแบบ ที่นิคมฯ หนองแค ผลิตนํ้าประปา 236,512 หนวยตอป

• กองบรรณาธิการ

58 วสท. เดินหนายกระดับมาตรฐานอาคารตานแผนดินไหว ลดภัยพิบัติ-ประชาชนปลอดภัย • กองบรรณาธิการ

50 Research & Development

บริติช เคานซิล จับมือ Food Innopolis ปนโครงการ University-Industry Links ยกระดับสถาบันการศึกษา-อุตสาหกรรมไทยสูเวทีระดับโลก

• กองบรรณาธิการ

IT Update

52 เอ็นทีทีชูนวัตกรรม IoT และปญญาประดิษฐ

58

เพิ่มศักยภาพการผลิตในภาคอุตสาหกรรมแบบครบวงจร

• กองบรรณาธิการ

53 DGA ชี้ พ.ร.บ.รัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2562 เชื่อมโยงขอมูลการทํางาน ระหวางภาครัฐ-เอกชนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

• กองบรรณาธิการ

CONSTRUCTION THAILAND 56 Construction

สภาวิศวกรจับมือสถาบันการศึกษา ภาครัฐ-เอกชน เรงปฏิรูปวิศวกรไทย ทันยุค Disruption เตรียมดันแผนแมบทป 2020 รับมือวิศวกรขาดแคลน

• กองบรรณาธิการ

61 Property

ฮาบิแทท กรุป ประกาศรวมทุน ลิสต กรุป จากญี่ปุน พัฒนาคอนโดฯ ลักชัวรียานทองหลอ 2 โครงการ มูลคารวมกวา 2.8 พันลานบาท

• กองบรรณาธิการ

63 Preview

สภาสถาปนิก จับมือ อารยะ เอ็กซโป เตรียมความพรอมจัดงาน “สภาสถาปนิก’19” ครั้งแรกในไทย

• กองบรรณาธิการ

65 Project Management

คูมือของผูประกอบการในการสตารทอัพ

• ดร.พรชัย องควงศสกุล

14

Spotlight



Spotlight

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ าฯ

เสด็จฯ ทรงเป ดหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา จ.สงขลา สถาบันวิจยั ดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สดร. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม จัดพิธีเปด “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา” ปลาย เดือนกรกฎาคม 2562 โดยไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา ตําบลเขารูปชาง อําเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มี รองผูวาราชการจังหวัดสงขลา ปลัดกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ประธานกรรมการ สถาบันวิจยั ดาราศาสตรแหงชาติ ดร.ศรัณย โปษยะจินดา ผูอ าํ นวยการ สถาบันวิจยั ดาราศาสตรแหงชาติ รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม ทีป่ รึกษาฯ อ.เฉลิมชนม วรรณทอง ผูอ าํ นวยการหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา และคณะกรรมการจัดงาน เฝาฯ รับเสด็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปยังแทนกดปุมไฟฟา ทรง กดปุ  ม เป ด แพรคลุ ม ป า ยชื่ อ หอดู ด าวเฉลิ ม พระเกี ย รติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา และเสด็จฯ เขาอาคาร ฉายดาว ซึ่งเปนโดม

ขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 เมตร ติดตั้งเครื่องฉายดาวระบบฟูลโดม ดิจิทัล ที่ สดร. ไดพัฒนาระบบการฉายภาพที่คมชัดและสมจริงมาก ยิ่ ง ขึ้ น ทอดพระเนตรวิ ดี ทั ศ น ห อดู ด าวเฉลิ ม พระเกี ย รติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา และโครงสรางพื้นฐานดาราศาสตรของไทย ตอมา เสด็จฯ ออกจากอาคารฉายดาว ไปยังอาคารนิทรรศการ ทอดพระเนตรนิทรรศการทางดาราศาสตรแบบมีปฏิสัมพันธ จํานวน 14 โซน อาทิ ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย การเกิด เฟสดวงจันทร หลุมดวงจันทร แบบจําลองการเกิดนํา้ ขึน้ นํา้ ลง นํา้ หนัก บนดาวเคราะหในระบบสุรยิ ะ การหมุนรอบตัวเองของดาวเคราะหแกส และภาพถายทางดาราศาสตร จากนัน้ เสด็จฯ เขาอาคารหอดูดาว และ เสด็จฯ ขึ้นหอดูดาว ทอดพระเนตร ดาวเสาร ดาวพฤหัสบดี ผาน กล อ งโทรทรรศน ข นาดเล็ ก แล ว ทรงบั น ทึ ก ภาพดาวเสาร ด ว ย กลองโทรทรรศนขนาดเสนผานศูนยกลางขนาด 0.7 เมตร ของหอดูดาว เฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา และทรงบันทึกภาพเนบิวลาสามแฉก ผาน กลองโทรทรรศนควบคุมระยะไกลอัตโนมัติ ขนาดเสน ผานศูนยกลาง 0.43 เมตร ของ สดร. ซึง่ ตัง้ อยู ณ หอดูดาวสปริงบรูค ประเทศออสเตรเลีย

หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา จ.สงขลา

ภาพถ ายฝ พระหัตถ เนบิวลาสามแฉก ในกลุ มดาวคนยิงธนู

Engineering Eng ngine ineeeri ering ngg Tod Today odayy JJu July ulyy - Aug AAu August ug ugust ust us st

2019 20 2 019 19

14 14

ภาพถ ายฝ พระหัตถ ดาวเสาร ด วยกล องโทรทรรศน ขนาด เส นผ านศูนย กลางขนาด 0.7 เมตร


Report • สุรียพร วงศศรีตระกูล

ใน

ระหว างป พ.ศ. 2534-2535 สถานทีส่ าํ คัญของไทย ได รบั การขึน้ ทะเบียนมรดกโลกทัง้ หมด 5 แห ง เป นแหล งธรรมชาติ 2 แห ง ได แก อุทยานแห งชาติห วย ขาแข ง และดงพญาเย็น ส วนอีก 3 แห ง เป นแหล งมรดก ทางวัฒนธรรม ได แก อุทยานประวัติศาสตร สุโขทัย อุทยานประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา และ วัดพระมหาธาตุฯ จ.นครศรีธรรมราช แหล งโบราณคดีบ านเชียง จ.อุดรธานี ทั้งนี้ แหล งท องเทีย่ วและแหล งมรดกทางวัฒนธรรม อีกหลายแห ง ทีร่ อเสนอขึน้ ทะเบียนมรดกโลก ได แ ก อุ ท ยานแห ง ชาติ แ ก ง กระจาน ผศ.ฉั ต รชั ย ศุ ก ระกาญจน จ.เพชรบุ รี รวมถึ ง วั ด พระมหาธาตุ ประธานกรรมการฝายวิชาการฯ มรดก วรมหาวิหาร จ.นครศรีธรรมราช

นั ก วิ จ ย ั สกสว. นําหลักวิศวกรรมอนุรักษ โครงสร าง

หนุนขึ้นทะเบียนมรดกโลก

โลกจังหวัด ในคณะกรรมการนําเสนอวัด พระมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.นครศรีธรรมราช เพื่อขึ้นบัญชีเปนมรดกโลก กลาววา ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2552 ภาณุ อุทัยรัตน ผูวาราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราชไดยนื่ ขอเสนอตอนักวิชาการ ให ขึ้ น ทะเบี ย นวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารเป น มรดกโลก จากนัน้ กรมศิลปากรไดเสนอในป พ.ศ. 2555 ซึง่ ไดรบั การบรรจุในบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตน (Tentative List) ในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556 จนถึงปจจุบัน ใชเวลา กวา 6 ปในการยืน่ ขอขึน้ ทะเบียนเปนมรดกโลก ซึ่งจะตองนํา เสนอเอกสารตอองคการ UNESCO เพือ่ ใหทนั การพิจารณาใน เดือนธันวาคม 2562 เพื่อใหวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารเปน มรดกโลกที่สมบูรณ เปนความภูมิใจของชาวนครศรีธรรมราชและ ชาวพุทธทั่วโลกเปนมรดกโลกที่มีชีวิต โดยคณะทํางานไดตั้งคําขวัญ วา “วัดพระมหาธาตุ มรดกไทย มรดกโลก”

15

รศ. ดร.นคร ภู วโรดม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หัวหน า ชุดโครงการ “อนุรักษ โครงสร าง โบราณสถานด วยหลักวิศวกรรม”

Engineering Today July - August

2019


UNESCO วาง 3 เกณฑ สําคัญ ในการขึ้นทะเบียนมรดกโลก สําหรับเกณฑที่องคการ UNESCO ไดกําหนดไวคือ 1) ใหกระบวนการรักษามรดกที่มีคุณคา 2) รักษาขอเท็จ จริงอยางซื่อตรง และ 3) มีการสืบทอดมรดกสูลูกหลาน ในอนาคต มีจารึกพุกาม เอกสารทัง้ ในไทยและตางประเทศ พูดถึงนครศรีธรรมราช เชน หอจดหมายเหตุ 100 ป โดย ตํานานบอกสรางป พ.ศ. 1719 ทัง้ นีพ้ บวาใตฐานองคพระ ธาตุเจดียนาจะมีอายุป พ.ศ. 1400 โดยใหมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ใชเครื่องมือสแกนจากฐานถึงองคระฆัง พบ อิฐมีอายุเกากวาองคนอก เชื่อวาองคพระธาตุสรางในป พ.ศ. 1400 แตครอบดวยศิลปะลังกาป พ.ศ. 1719 ผศ.ฉัตรชัย กลาววา มีหนวยงานทั้งหมด 12 แหงที่ รวมแรงรวมใจผลักดันใหวดั พระมหาธาตุวรมหาวิหารไดขนึ้ ทะเบี ย นเป น มรดกโลก ได แ ก กรมศิ ล ปากร สถาบั น เทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) กรมทรัพยากรนํ้าและบาดาล มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยคณะวิศวกรรมศาสตร สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม (สผ.) และสํานักงานคณะกรรมการสงเสริม วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) เปนตน

Engineering Today July - August

2019

ใช เครื่องมือตามหลักวิศวกรรม อนุรักษ วัดพระมหาธาตุ หนุนขึ้นทะเบียนมรดกโลก สําหรับหนึ่งในขอกําหนดของ UNESCO ในการพิจารณาขึ้น ทะเบียนโบราณสถานเปนมรดกโลก คือ การอนุรักษและดูแลโบราณ สถานจนสืบทอดมรดกชั่วลูกหลาน จึงเปนที่มาของงานวิจัยศึกษาเชิง วิศวกรรมเพื่อระบุและประเมินสภาพปจจุบันของโครงสรางในบริเวณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใชเครื่องมือ ตามหลักวิศวกรรม ภายใตการทํางานของคณะวิจยั ชุดโครงการ “อนุรกั ษ โครงสร า งโบราณสถานตามหลั ก วิ ศ วกรรม” จากมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) มี รศ. ดร.นคร ภู  ว โรดม คณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร รับหนาที่หัวหนาชุดโครงการฯ ซึ่งไดทุนสนับสนุนจาก สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) เมื่อครั้งยังเปนสํานักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.) รวมดวย ที ม วิ จั ย ประกอบด ว ย ผศ. ดร.นเรศ ลิ ม สั ม พั น ธ เ จริ ญ คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ผศ. ดร.กฤษฎา ไชยสาร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ. ดร.ชัยณรงค อธิสกุล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี (มจธ. ) ลาสุดชุดโครงการดังกลาวเพิง่ ไดรบั รางวัลผลงานวิจยั เดน ประจําป 2561 ของ สกว. โดยเปน 1 ใน 13 ผลงานทั้งหมดที่ ไดรับรางวัล

16


ทีมวิจัยรวบรวมข้อมูลปัจจุบัน โครงสร้างทางวิศวกรรม วิเคราะห์ความมั่นคงขององค์พระธาตุ รศ. ดร.นคร ภู ่ ว โรดม คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าชุดโครงการ “อนุรักษ์ โครงสร้างโบราณสถานด้วยหลักวิศวกรรม” กล่าวว่า โครงการวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนี้ ทางทีมวิจัยได้น�ำ เทคนิ ค จากการศึ ก ษาที่ อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา และกรุงเทพมหานคร มาประยุกต์ใช้ ท�ำให้ทีมงานมั่นใจในการท�ำงานมากขึ้น จากการเข้าท�ำงาน ปัญหาทีพ่ บคือ ขาดข้อมูลสภาพ ปั จ จุ บั น ของซาก รู ป ทรง ความเอี ย ง คุ ณ สมบั ติ ท าง วิศวกรรม แรงลม การสั่นสะเทือน และสมรรถนะ จึงต้อง ท�ำการเก็บข้อมูล อีกทั้งยังขาดการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ทีท่ นั สมัย แต่ไม่ได้ประยุกต์ใช้กบั โบราณสถาน วัตถุประสงค์ ของโครงการฯ จึงต้องการรวบรวมข้อมูล ณ สภาพปัจจุบนั รวมทั้งโครงสร้างทางวิศวกรรม โดยใช้เทคนิค Pre Scan และ Image Base การศึกษาการสั่นสะเทือน ซึ่งเรียกว่า การสัน่ ไหวตามธรรมชาติ เพือ่ วิเคราะห์ความมัน่ คงขององค์ พระธาตุ ตามหลัก Finite Element เอียง 4-5 องศา มีการน�ำหัววัด Vibration ไปวัดในระดับต่างๆ ขององค์ พระธาตุ เช่น ระดับ 7-8 เมตรวัดจากฐานพื้นดิน

เก็บข้อมูลดิจิทัลจากภาพถ่ายด้วย กล้องธรรมดา รวมทั้งภาพมุมสูงจากโดรน สร้างแบบจ�ำลอง 3 มิติ ผศ. ดร.กฤษฎา ไชยสาร จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งรับผิดชอบสร้างแบบจ�ำลอง 3 มิติจากภาพถ่าย กล่าวว่า ได้ใช้ภาพถ่ายจากกล้อง ธรรมดา รวมทั้งภาพมุมสูงจากโดรน ซึ่งเป็นการเก็บแบบ Map-Overview ของทั้ง Site และเก็บแบบรอบจุดสนใจ เป็นวงกลม Set เจดีย์ให้เป็นศูนย์กลาง นอกจากจะได้ แบบจ�ำลองแล้ว ยังประมวลผลได้ค่อนข้างมาก ท�ำให้ ทราบว่าพื้นผิวองค์เจดีย์หลักมีความสมบูรณ์มาก ถ้าเห็น รอยร้ า วระดั บ 0.5 มิ ล ลิ เ มตร สามารถแปลงข้ อ มู ล แบบจ�ำลอง 3 มิติจากภาพถ่ายในอนาคต ถ้ามีรอยร้าว หรือมีวัชพืชสามารถใช้โดรนตรวจสอบ ช่วยให้สามารถ ตรวจสอบโดยอัตโนมัติ พร้อมกันนี้ ผศ. ดร.กฤษฎา ได้สาธิตการใช้โดรนถ่าย ภาพแบบจ�ำลอง 3 มิติ องค์พระธาตุวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จ.นครศรีธรรมราช ซึ่งการใช้โดรนเหมาะ ส� ำ หรั บ ส� ำ รวจพื้ น ที่ บ ริ เ วณกว้ า งจึ ง สามารถเก็ บ ข้ อ มู ล

ผศ. ดร.กฤษฎา ไชยสาร (ซ้าย) จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และทีมงานใช้โดรนเก็บภาพมุมสูง

พระธาตุองค์ใหญ่ และยอดเจดีย์ ซึ่งอยู่ในที่สูงและบริเวณโล่งได้ดี โดยน�ำข้อมูลมาประมวลผลเป็น Digital File และท�ำ VR แบบจ�ำลอง 3 มิติ พร้อมกันนี้ได้น�ำประสบการณ์การใช้โดรนที่วัดไชยวัฒนาราม จ.พระนครศรีอยุธยา มาต่อยอดในโครงการฯ นอกจากนี้ยังสามารถ ตรวจสอบรอยร้าว โดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ด้วย ส�ำหรับความยากของโครงการฯ ผศ. ดร.กฤษฎา กล่าวว่า อยู่ที่ ข้อจ�ำกัดของโดรน ซึ่งจะต้องบินในที่สูง ท�ำให้ไม่สามารถเก็บข้อมูล รอบๆ องค์พระธาตุและข้อมูลบน Ground Level ได้ จึงท�ำงานร่วมกับ ผศ. ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ซึ่งใช้กล้องสแกน 3 มิติในการ วิเคราะห์จ�ำลอง 3 มิติอีกหน่วยวิเคราะห์ตั้งแต่รูปทรงถึงฐาน รวมทั้ง เจดีย์รายที่ล้อมรอบ

17

Engineering Today July - August

2019


ใช้เครื่องสแกน 3 มิติ พบเจดีย์เอียงไปทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผศ. ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี (มจธ.) กล่าวว่า ได้ใช้เครื่องสแกน 3 มิติ ท�ำการเก็บข้อมูลองค์ พระธาตุเจดีย์รายเก็บข้อมูลให้ครบ ครั้งแรกเก็บได้ 71 จุด ซึ่ง Data Base ที่ได้เป็นข้อมูลพิกัดเม็ดสี เรียกว่า Point Cloud หรือกลุ่มข้อมูลแล้วน�ำภาพมาเรียงต่อกัน โดยใช้ Matching Computer ระดับ Workstation มีการน�ำภาพ ที่ถ่ายจากโดรนมาประกอบ แล้วประมวลผลในรูปของ Digital Documentation จากนั้นต่อยอดด้วยเทคโนโลยี VR (Virtual Reality) หรือภาพเสมือน ซึ่งสามารถใช้ใน การศึกษาอย่างต่อเนื่องทั้งด้านวิศวกรรมและโบราณคดี รวมถึงมิติการท่องเที่ยว สรุปการเก็บข้อมูลโครงสร้าง ด้วยวิธีการสร้างแบบ จ�ำลอง 3 มิติจากภาพถ่าย ถูกน�ำมาใช้ในการประมาณ ค่าความเอียงของเจดีย์ ซึง่ จากการศึกษาพบว่าเจดียเ์ กิดการ เอี ย งจริ ง ไปทางทิศ ตะวัน ออกเฉีย งใต้ นอกจากนี้แ บบ จ�ำลอง 3 มิติ ยังสามารถใช้ในการประเมินสภาพความเสีย หายของโครงสร้ า งจากพื้ น ผิ ว ภายนอกและใช้ ใ นการ วิเคราะห์ด้วยแบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ “ทีมวิจัยได้น�ำความรู้จากการส�ำรวจโบราณสถานที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยามาต่อยอด เนื่องจากองค์ความรู้ คนโบราณ ซึ่งอาจจะไม่มีความรู้ในเรื่องต่างๆ ยกตัวอย่าง การใช้วสั ดุสมัยใหม่ทดแทนวัสดุโบราณทัง้ ในด้านมิติ ขนาด ซึ่ ง จะต้ อ งมี ค วามใกล้ เ คี ย งของเดิ ม มากที่ สุ ด ในขณะ เดียวกัน ต้องเหมาะสมและตอบโจทย์กับการท�ำงานใน ปัจจุบันด้วย เช่น การ Set ตัวเร็วภัยพิบัติ แรงลมมี ผลกระทบต่ อ โบราณสถานโดยเฉพาะที่ อ ยู ่ ติ ด ทะเล เป็นต้น” ผศ. ดร.ชัยณรงค์ กล่าว

Engineering Today July - August

2019

ตรวจวัดการสั่นไหวจากสภาพแวดล้อม วิเคราะห์หาความถี่ธรรมชาติเจดีย์พระมหาธาตุ เจดีย์ราย 22 เจดีย์ รศ. ดร.นคร กล่าวว่า ได้ท�ำการตรวจวัดการสั่นไหวเนื่องจาก สภาพแวดล้อม เพือ่ วิเคราะห์หาความถีธ่ รรมชาติของเจดียพ์ ระมหาธาตุ และเจดียร์ ายอีกจ�ำนวน 22 เจดีย์ จากการศึกษาพบว่า ความถีธ่ รรมชาติ ของรูปแบบการสั่นไหวที่ 1 ของเจดีย์พระมหาธาตุมีค่าเท่ากับ 1.96 Hz ในการสั่นไหวในแนวเหนือ-ใต้และมีค่าเท่ากับ 1.84 Hz ในการสั่นไหว ในแนวตะวันออก-ตะวันตก เจดีย์ทิศทั้ง 4 มีความถี่ธรรมชาติของการ สั่นไหวในรูปแบบที่ 1 ประมาณ 10.5 Hz ผลการศึกษาคาบธรรมชาติ ของรูปแบบการสั่นไหวพื้นฐานของเจดีย์รายพบว่า คาบธรรมชาติมี ค่าเพิ่มขึ้นตามความสูงของเจดีย์

18


ศึกษาสถานะความมั่นคงขององค์เจดีย์และดินฐานราก ด้วยวิธี Finite Element

ผศ. ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล (ซ้าย) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มจธ. และทีมงานเก็บข้อมูลด้วยเครื่องเลเซอร์สแกน

ผศ. ดร.ภาสกร ปนานนท์ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้านแผ่นดินไหว และธรณีแปรสัณฐานโลก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผศ. ดร.นเรศ ลิ ม สั ม พั น ธ์ เ จริ ญ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ได้ท�ำการวิเคราะห์เจดีย์พระ มหาธาตุด้วยวิธี Finite Element เพื่อศึกษาถึงสถานะความมั่นคงของ องค์เจดีย์และดินฐานราก ในกรณีนำ�้ หนักบรรทุกที่เกิดจากน�้ำหนักของ องค์เจดีย์เอง การศึกษาได้ใช้ข้อมูลเรขาคณิตที่ได้จากแบบจ�ำลอง 3 มิติ จากภาพถ่ายและจากเครือ่ งเลเซอร์สแกน ในการสร้างแบบจ�ำลอง Finite Element จากการวิเคราะห์พบว่าโมดูลัสยืดหยุ่นของวัสดุมีค่าประมาณ 2200 MPa เพือ่ ท�ำให้ความถีธ่ รรมชาติของแบบจ�ำลองมีคา่ ใกล้เคียงกับ ความถี่ธรรมชาติที่ตรวจวัดได้จริงที่ประมาณ 1.90 Hz การศึกษาพบว่า องค์เจดียม์ กี ารเอียงตัวเล็กน้อย และอยูใ่ นสถานะปลอดภัยเพียงพอ โดย มีอตั ราส่วนความปลอดภัยเกินกว่า 2.0 ในทุกบริเวณและหน่วยแรงแบก ทานใต้ฐานองค์เจดีย์มีค่าต�่ำกว่าก�ำลังแบกทานของดินฐานราก โดยมี อัตราส่วนความปลอดภัยเกินกว่า 2.0 เช่นกัน “ถ้าศึกษาถึงอัตราส่วนความปลอดภัย โดยทั่วไปองค์เจดีย์อยู่ใน สถานะที่ปลอดภัย หากบริเวณไหนมีคา่ 5 แสดงว่าหน่วย 1 ใน 5 ของ ก�ำลังทีร่ บั ได้ ส่วนไหนอันตราย ความปลอดภัยน้อยกว่า 1 แต่องค์เจดีย์ เกิน 2 อย่างน้อยมีก�ำลัง 50% ในการสู้กับน�้ำหนักตัวเอง” ผศ. ดร.นเรศ กล่าว นอกจากนั้นยังได้แสดงคุณสมบัติเชิงพลศาสตร์ของแบบจ�ำลอง ส�ำหรับการสั่นไหวใน 30 โหมดแรก และได้ศึกษาสถานะความมั่นคงใน กรณีสมมติที่องค์เจดีย์เกิดการเอียงตัวเพิ่มเติมอีกด้วย ไปทางทิศตะวัน ออกเฉียงใต้ในคอมพิวเตอร์ โดยจับให้เจดีย์ค่อยๆ เอียงเพิ่มขึ้น ซึ่งพบ ว่าบริเวณที่น่าเป็นห่วงคือ หางเสาที่ถูกอัด จากสมมติฐานที่เจดีย์เอียง 5 องศา พบว่าเสาหางจะเริ่มเปลี่ยนเป็นแรงดึง ซึ่งไม่เป็นผลดี ขณะที่ แรงอัดยังทนได้ ถ้าเอียงที่ 7 องศา เสาหางฝั่งตรงข้ามจะปลอดภัย มีค่า Factor น้อยกว่า 1

19

Engineering Today July - August

2019


ตรวจวัดการสั่นไหวของพื้นดินจากการจราจร ประเมินผลกระทบต่อความมั่นคงโบราณสถาน รศ. ดร.นคร กล่าวว่า ในส่วนของการตรวจวัดการ สัน่ ไหวของพืน้ ดินเนือ่ งจากผลของการจราจร เพือ่ ประเมิน ถึงผลกระทบต่อความมัน่ คงโบราณสถาน ได้ปล่อยให้รถวิง่ แล้วท�ำการวัดความสั่นสะเทือนในแนวราบ คือ X Y และ แนวดิง่ Z พบการสัน่ ในแนวดิง่ ส่วนการตรวจวัดคลืน่ ขนาด เล็กของผิวดิน ได้ค่าความเร็วคลื่นเสียงมาก 272 เมตร/ วินาที ขณะที่กรุงเทพฯ 140 เมตร/วินาที แสดงว่าชั้นดิน มีสภาพค่อนข้างแข็งมากกว่าบริเวณภาคกลางท�ำให้คลื่น การสัน่ สะเทือนมีอตั ราการลดทอนทีร่ วดเร็วและค่าการสัน่ สะเทือนสูงสุดมีค่าต�่ำกว่าเกณฑ์แนะน�ำตามมาตรฐาน สากลส�ำหรับโครงสร้างโบราณสถาน

ส�ำรวจด้านธรณีฟิสิกส์ พบองค์พระธาตุชั้นในและชั้นนอก นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารส� ำ รวจด้ า นธรณี ฟ ิ สิ ก ส์ ซึ่ ง ผศ. ดร.ภาสกร ปนานนท์ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐานโลก จากคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับส�ำนัก ศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช เพื่อศึกษาชั้นใต้พื้นดิน

Engineering Today July - August

2019

บริเวณวัดพระมหาธาตุ จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเก็บเป็นข้อมูลในการ อนุรักษ์ต่อไป ผศ. ดร.ภาสกร กล่าวว่า ได้ใช้เครื่องส�ำรวจใต้พื้นดิน บริเวณ วัดพระมหาธาตุมหาวรวิหาร จ.นครศรีธรรมราช เพื่อตรวจสอบหา สิ่งแปลกปลอมใต้พื้นดิน สามารถขุดลึกลงไป 3 เมตร ท�ำให้ทราบว่ามี องค์ พ ระธาตุ ชั้ น ในและชั้ น นอก โดยร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก ศิ ล ปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช เพื่อเป็นข้อมูลในการบูรณะในโอกาสต่อไป นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าวยังสามารถใช้ตรวจหารอยเลื่อนที่มีพลัง โดยร่วมมือกับ กรมทรัพยากรธรณี ซึ่งจะต้องขุดลึกไป 5 เมตรจึงจะตรวจสอบได้

องค์พระธาตุมีสัดส่วนความปลอดภัยสูง แรงสั่นสะเทือนไม่มีผลต่อองค์พระธาตุ รศ. ดร.นคร สรุปผลการวิจัยว่า ได้รูปทรงดิจิทัล 3 มิติ การ เอียงตัว รอยร้าว ซึ่งเป็นข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2562 พบองค์พระธาตุมี ความมั่นคง มีสัดส่วนความปลอดภัยสูง ความสั่นสะเทือนไม่มีผลต่อ ความมัน่ คงขององค์พระธาตุ ท�ำให้เกิดหลักวิศวกรรมการอนุรกั ษ์โบราณ สถานวัดพระมหาธาตุมหาวรวิหาร เพือ่ เป็นข้อมูลในการน�ำเสนอต่อคณะ กรรมการมรดกโลก “แม้วา่ องค์พระธาตุจะไม่มปี ญ ั หาใด อยากให้ชมุ ชนร่วมกันอนุรกั ษ์ โดยมีข้อเสนอทางเทคนิคคือ ระดับความรุนแรงของการสั่นสะเทือน แม้ ว ่ า ระดั บ ความสั่ น สะเทื อ นอยู ่ ใ นเกณฑ์ ต�่ ำ แต่ ยั ง สู ง กว่ า ที่ จ.พระนครศรีอยุธยา อาจเป็นเพราะถนนทรุดตัว ซึง่ เป็นแผนในอนาคต” รศ. ดร.นคร กล่าว

20


Report • กองบรรณาธิการ

สวทช. จับมือ สมาคมส่งเสริม

ธุรกิจบริการผู้สูงอายุไทย

ใช้เทคโนโลยียกระดับการดูแลผู้สูงอายุ ตั้งเป้าขยายผล 200 แห่งทั่วประเทศ

ดร.กัลยา อุดมวิทิต รองผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช.

นพ.ฆนัท ครุธกุล นายกสมาคมส่งเสริมธุรกิจบริการผู้สูงอายุไทย

ดร.นพัฐกานต์ เกิดแสง ฝ่ายวิชาการสมาคมฯ ในฐานะผู้บริหารบ้านทิพย์รดาเอลเดอรี่แคร์

บรรยากาศในสถานดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะพักฟื้น บ้านทิพย์รดาเอลเดอรี่แคร์

ดร.กั ล ยา อุ ด มวิ ทิ ต รองผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรม (อว.) และ นพ.ฆนั ท ครุ ธ กุ ล นายกสมาคมส่งเสริมธุรกิจบริการผู้สูงอายุไทย ร่วมลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือว่าด้วย “การพัฒนาและขยายผลการใช้ประโยชน์ ระบบบริหารสถานดูแลผู้สูงอายุ” เพื่อเป็นการยกระดับการดูแลและ การให้บริการผูส้ งู อายุในสถานดูแลผูส้ งู อายุ ทีเ่ ป็นสมาชิกของสมาคม ส่ ง เสริ ม ธุ ร กิ จ บริ ก ารผู ้ สู ง อายุ ไ ทย ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล รองรับสังคมสูงอายุคุณภาพในอนาคต โดยมี ดร.นพัฐ กานต์ เกิดแสง ฝ่ายวิชาการสมาคมฯ และผู้บริหารบ้านทิพย์รดาเอล เดอรี่ แ คร์ วั น ทนี ย ์ พั น ธชาติ ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยอาวุ โ สศู น ย์ วิ จั ย เทคโนโลยีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกและเครือ่ งมือแพทย์ (A-MED) สวทช. ดร.กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์ หัวหน้าทีมวิจัยนวัตกรรมและข้อมูลเพื่อ สุขภาพ A-MED สวทช. ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ เวทีกลาง ฮอลล์ 99 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ดร.กั ล ยา อุ ด มวิ ทิ ต รองผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. กล่าวว่า การลงนามความร่วมมือ การพัฒนาและขยายผลการใช้ประโยชน์ระบบ บริหารสถานดูแลผู้สูงอายุในครั้งนี้ เพื่อยกระดับการบริหารจัดการ สถานดูแลผูส้ งู อายุ และเพิม่ ประสิทธิภาพในการให้บริการและการปฏิบตั ิ งานของผู้ดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ให้ได้รับการดูแลที่ดี ด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อผู้สูงอายุ ที่เหมาะสม อีกทั้งยังเป็นการยกระดับขีดความสามารถด้านการวิจัย พั ฒ นาทางด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี เ พื่ อ ผู ้ สู ง อายุ เพื่ อ สร้ า ง อุตสาหกรรมการบริการและดูแลผู้สูงอายุของประเทศให้มีศักยภาพใน การรองรับสังคมผู้สูงวัยในอนาคต เป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดย สมบูรณ์ (Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 ซึ่งจะมีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปถึงร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด จากนั้นจะเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุระดับสูงสุด (Super Aged Society) ในปี พ.ศ. 2574 จะมี ประชากรสูงอายุถึงร้อยละ 28 ท�ำให้หลายฝ่ายตระหนักและให้ความ ส�ำคัญกับการเตรียมการรองรับสังคมผูส้ งู อายุทกี่ ำ� ลังจะมาถึงในระยะเวลา อันใกล้นี้ รัฐบาลได้เล็งเห็นความส�ำคัญต่อการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับสังคมสูงวัยและมีแผนงานบูรณาการซึง่ ด�ำเนินงานมาอย่างต่อเนือ่ ง และมีความก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ ผ่านโครงการพัฒนานวัตกรรมและ

21

Engineering Today July - August

2019


ระบบสัญญาณชีพทางไกลส�ำหรับผู้ป่วยในโรงพยาบาล

เทคโนโลยีเพื่ออนาคตสังคมสูงวัย ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ เข้า ถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริการทีเ่ หมาะสมและเอือ้ ต่อการด�ำรงชีวิต ดร.กัลยา กล่าวว่า สวทช. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย ศูนย์บริหาร จัดการเทคโนโลยี ร่วมกับ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกและเครื่ อ งมื อ แพทย์ ด� ำ เนิ น การพั ฒ นา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อผู้สูงอายุ ร่วมมือกับ สมาคม ส่งเสริมธุรกิจบริการผูส้ งู อายุไทย ซึง่ มีบทบาทส�ำคัญในการ ส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานธุรกิจบริการผูส้ งู อายุไทยของ ผู้ประกอบการกิจการผู้สูงอายุในประเทศ เพื่อน�ำระบบ บริหารสถานดูแลผู้สูงอายุไปใช้งาน มุ่งหวังให้เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่พัฒนาโดยนักนวัตกร และนักวิจัยไทย สามารถน� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ การพั ฒนาธุ ร กิ จ การให้ บริการและดูแลผู้สูงอายุ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับผู้ดูแล ผู้สูงอายุ (ผู้ใช้งาน) และผู้สูงอายุ (ผู้รับบริการ) ได้อย่าง แท้จริง สวทช. โดยทีมนักวิจัยศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) และ สมาคม ส่งเสริมธุรกิจบริการผูส้ งู อายุไทย ได้นำ� ระบบบริหารสถาน ดูแลผู้สูงอายุ ไปใช้ในระยะน�ำร่องปี พ.ศ. 2562 ที่บ้าน ทิพย์รดาเอลเดอรีแ่ คร์ ซึง่ มีความพร้อมในการร่วมพัฒนาและ ขยายผลการใช้งานระบบบริหารสถานดูแลผูส้ งู อายุ ร่วมกับ ทีมวิจัยนวัตกรรมและข้อมูลเพื่อสุขภาพ เสริมสร้างการให้ บริการดูแลผูส้ งู อายุให้มปี ระสิทธิภาพและคุณภาพทีด่ ยี งิ่ ขึน้ “จากการที่ ไ ด้ ส� ำ รวจพื้ น ที่ แ ละความต้ อ งการใน เบื้องต้น จึงมีแผนพัฒนาระบบ เช่น ระบบบริหารจัดการ ข้อมูลสุขภาพของผู้สูงอายุ ข้อมูลทางสุขภาพของผู้สูงอายุ จะได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด โดยจะมีการพัฒนา เครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสุขภาพในรายบุคคล และจะแจ้งเตือน หรือแนะน�ำผู้ดูแลให้ด�ำเนินการแก้ไขได้ อย่างเหมาะสม ระบบบริหารการดูแลผูส้ งู อายุ (Care Plan Management) เป็นเครื่องมือในการช่วยการวางแผน

Engineering Today July - August

2019

ติดตาม ควบคุมคุณภาพ การดูแลผู้สูงอายุ สร้างความมั่นใจในบริการ ส� ำ หรั บ ญาติ ห รื อ ผู ้ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ ผู ้ สู ง อายุ ระบบบริ ห ารจั ด การด้ า น โภชนาการของผูส้ งู อายุ เพือ่ ค�ำนวณอาหารทีเ่ หมาะสมกับผูส้ งู อายุ ทีไ่ ด้ รับสารอาหารที่เป็นประโยชน์และครบถ้วน และระบบแจ้งเหตุฉุกเฉิน ในกรณีทมี่ เี หตุฉกุ เฉินเกิดขึน้ ผูด้ แู ลสถานดูแลสามารถแจ้งไปทีส่ ายด่วน 1669 ซึ่งจะมีการส่งข้อมูลพิกัดสถานดูแลผู้สูงอายุ พร้อมกับข้อมูล พื้นฐานทางสุขภาพของผู้สูงอายุไปพร้อมกันด้วย ท�ำให้การตอบสนอง ให้การช่วยเหลือเป็นไปด้วยความรวดเร็วยิ่งขึ้น” ดร.กัลยา กล่าว การร่วมมือครัง้ นี้ จะเป็นอีกก้าวหนึง่ ทีส่ ำ� คัญในการน�ำงานวิจยั ไป พัฒนาต่อยอดและร่วมแก้ปญ ั หาทีส่ อดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้งาน อีกทัง้ ยังสามารถขยายผลให้ครอบคลุมไปยังผูป้ ระกอบการกิจการผูส้ งู อายุ รายอืน่ ซึง่ เป็นสมาชิกของสมาคมส่งเสริมธุรกิจบริการผูส้ งู อายุไทย อีกกว่า 200 แห่งทั่วประเทศ อันจะเป็นการยกระดับและพัฒนาอุตสาหกรรม การให้บริการและดูแลผูส้ งู อายุไทยได้อย่างครอบคลุมทัง้ มิตทิ างเศรษฐกิจ และสังคมเพือ่ คุณภาพของผูส้ งู อายุทดี่ ขี นึ้ สร้างโอกาสในการแข่งขันทาง ธุรกิจยุคเศรษฐกิจสูงวัยให้เติบโตได้อย่างยั่งยืนต่อไป นพ.ฆนั ท ครุ ธ กุ ล นายกสมาคมส่ ง เสริ ม ธุ ร กิ จ บริ ก ารผู ้ สู ง อายุไทย กล่าวว่า สมาคมฯ มีผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกประมาณ 300 คน โดยสมาคมฯ ท�ำหน้าที่ในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการ ของสมาชิก เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณภาพที่เป็นมาตรฐานในการบริการ ที่ดี ซึ่งจะส่งต่อการดูแลผู้สูงอายุที่ดีขึ้นด้วย ทั้งนี้สมาคมฯ ได้หารือร่วม กับกระทรวงสาธารณสุขในการจัดท�ำมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุอย่าง ต่อเนื่อง เพราะผู้สูงอายุจ�ำเป็นต้องรับทราบว่าสถานบริการไหนมี มาตรฐาน ทัง้ ในเรือ่ งคุณภาพบริการและการไม่เอารัดเอาเปรียบผูบ้ ริโภค นอกจากนั้นแล้ว สมาคมฯ เตรียมที่จะท�ำป้ายสัญลักษณ์ให้ทราบว่า สถานบริการดังกล่าวเป็นสมาชิกของสมาคมฯ ซึ่งในกรณีที่มีปัญหา สามารถประสานมาทีส่ มาคมฯ เพือ่ เป็นตัวกลางในการประสานงานเรือ่ ง ต่างๆ ได้ รวมทั้งเรื่องของเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ จาก สวทช. เพื่อน�ำงานวิจัยมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งสมาคมฯ จะ หารือร่วมกับสมาชิกเพื่อมีการถ่ายทอดองค์ความรู้และใช้ประโยชน์จาก นวัตกรรมเพื่อดูแลผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ด้าน ดร.นพัฐกานต์ เกิดแสง ฝ่ายวิชาการสมาคมฯ ในฐานะ ผู้บริหารบ้านทิพย์รดาเอลเดอรี่แคร์ กล่าวว่า งานวิจัยต่างๆ เป็น ประโยชน์อย่างมาก เพราะโดยปกติในสถานดูแลผู้สูงอายุมีสหสาขา วิชาชีพมาดูแลผูส้ งู อายุรว่ มกันอยูก่ จ็ ริง แต่การเช็คเอกสารผูป้ ว่ ยผูส้ งู อายุ แต่ละท่านระบบเอกสารเยอะและใช้เวลานาน หรือการจะพาผูส้ งู อายุไป พบแพทย์ ต้องมีการเขียนบันทึกใบส่งตัวเพื่อจะบอกอาการให้แพทย์ ทราบ หากมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมจาก สวทช. ในการบันทึกข้อมูล อย่างเป็นระบบและดึงข้อมูลออกมา น่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และแพทย์ได้ นอกจากนั้นแล้วระบบฉุกเฉินในการดูแลผู้สูงอายุ ที่ สวทช. จะเชื่อมกับ 1669 ที่สามารถรู้ต�ำแหน่งของสถานบริการ ผู้สูงอายุได้ทันที ก็คิดว่าจะเกิดประโยชน์กับผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่อยู่ ประจ�ำในสถานดูแลผู้สูงอายุได้อย่างทันท่วงที

22


Innovation • สุรียพร วงศศรีตระกูล

NIA จับมือ มช.-ยนต ผลดี

ติดตั้งเครื่องกําจัดมอดและไข มอดด วยคลื่นความถี่วิทยุ ฝ มือคนไทย ที่โรงสีข าวมูลนิธิชัยพัฒนา พร อมจัดประกวดนวัตกรรมข าวไทยป 2562

ข าวที่ผ านการกําจัดมอดและไข มอด ด วยคลื่นความถี่วิทยุ UTD RF

เครื่อง BIO-Q กําจัดมอดและไข มอดด วยคลื่นความถี่วิทยุ ฝ มือคนไทย ที่โรงสีข าวมูลนิธิชัยพัฒนา

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ NIA ชี้ปจจัยทาทายในอุตสาหกรรมขาวตองกาวสู การยกระดั บดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เดินหนา สนับสนุนความสามารถทางนวัตกรรมใหกบั กลุม เกษตรกร นักวิจยั ผูป ระกอบการ ผานศูนยสรางสรรคธรุ กิจนวัตกรรม การเกษตร โดยตั้งเปาพลิกโฉมการเกษตรของประเทศ จากเกษตรดัง้ เดิมไปสูเ กษตรนวัตกรรม และเพิม่ Startup ด า นการเกษตรให เ พิ่ ม มากขึ้ น ล า สุ ด ร ว มกั บ มู ล นิ ธิ ชัยพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม และบริษัท ยนตผลดี จํากัด ติดตัง้ เครือ่ งกําจัดมอดและไขมอดดวยคลืน่ ความถี่ วิทยุ ฝมือคนไทย ณ โรงสีขาวมูลนิธิชัยพัฒนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ชี้เปน UTD RF แหงแรกของโลก ซึ่ง ไม ต  อ งใช ส ารเคมี ตอบโจทย สุ ข ภาพและเพิ่ ม มู ล ค า ขาวไทย พรอมกันนี้ไดจับมือกับมูลนิธิขาวไทย จัดการ ประกวดนวัตกรรมขาวไทยประจําป 2562 เพื่อคัดเลือก ผลงานนวัตกรรมที่มีศักยภาพสูงสูเชิงพาณิชย

สร างนวัตกรรมจากข าวให ตอบโจทย ไลฟ สไตล ผู บริโภค พร อมสร างแบรนด ให เป นที่รู จัก

รศ. ดร.วีระพงษ แพสุวรรณ ประธานกรรมการนวัตกรรม แหงชาติ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ NIA กลาววา การประกอบอาชีพของประชากรสวนใหญใน ประเทศยังคงเปนภาคการเกษตร ซึ่งมีจํานวนประมาณ 6.6 ลาน ครัวเรือน โดยในจํานวนนี้เปนเกษตรกรผูปลูกขาวจํานวนมากสุด ประมาณ 3.7 ลานครัวเรือน อยางไรก็ตาม พบวากลุมดังกลาว ส ว นใหญ ยั ง คงมี ฐ านะยากจน และมี ห นี้ สิ น จํ า นวนมาก เนื่องจากมีตนทุนการผลิตที่สูง และกระบวนการเพาะปลูกขาว ยังไมมี ประสิทธิภาพ สิ่ งที่ จ ะช วยแกไขปญหาเหลานี้ได ก็คือ การสนับสนุนใหเกิดธุรกิจนวัตกรรมสําหรับชาวนา ซึ่งควรเริ่ม ตั้งแตลดจุดออนของการปลูกขาว การสรางตลาด การลดตนทุน รวมทั้งการสรางสรรคผลิตภัณฑและบริการใหมๆ ที่เกิดจาก Startup และ SME สําหรับอุตสาหกรรมขาวไทยก็มีปญหาที่สําคัญไมแพกัน ในเรื่องคูแขงสงออก โดยเฉพาะอินเดีย เวียดนาม และปากีสถาน ซึง่ ประเทศเหลานีม้ รี าคาการจําหนายขาวทีถ่ กู กวา อีกหนึง่ ปญหา ที่พบก็คือเกษตรกรและผูประกอบการยังติดอยูกับการพัฒนา สินคาแปรรูปเพียงแคขนั้ กลางกันเปนจํานวนมาก แตในความเปน

23

Engineering Today July - August

2019


รศ. ดร.วีระพงษ แพสุวรรณ ประธานกรรมการนวัตกรรมแห งชาติ สํานักงานนวัตกรรมแห งชาติ (องค การมหาชน) หรือ NIA

ศ.คลินิก นพ.นิเวศน นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม

จริง แล ว ป จ จุ บั น ตลาดและกลุม ผูบริโภคมี การมองหาและให ความสําคัญกับสินคาที่เปนนวัตกรรมกันอยางแพรหลาย และ “ขาว” ถือเปนสินคาเกษตรประเภทหนึ่งที่มีโอกาสที่จะเติบโต โดยเฉพาะประเภทขาวสี ขาวกลอง เนื่องจากอุดมไปดวยคุณคา ทางโภชนาการและเป น ที่ ต  อ งการของผู  บ ริ โ ภคชาวไทยและ ตางประเทศ ดังนั้น อุตสาหกรรมขาวไทยควรมีการพัฒนาเรื่อง เทคโนโลยีและนวัตกรรมในขาวอยางจริงจัง เพื่อใหเกิดความ กาวลํ้าเหนือคูแขงพรอมสรางมิติใหมใหกับวงการการคาขาวใน ตลาดโลก “ปจจัยทาทายในการพัฒนาอุตสาหกรรมขาวอาจไมใชเปน เรื่องคูแขงอีกตอไป แตแนวทางที่สําคัญคือ ตองทําอยางไรให ผูบริโภครูจักสินคาขาวที่เปนนวัตกรรม ตอเนื่องถึงการสราง แบรนดสินคาใหเปนที่รูจัก พรอมสรางสินคาใหตอบโจทยไลฟ สไตล ของผูบริโภคในชีวิตประจําวันได อยางลงตัว เนื่องจาก พฤติกรรมผูบริโภคมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทั้งนี้ ในการ พัฒนานวัตกรรมขาวนั้น ผูประกอบการ นักวิจัย และเกษตรกร ตองมองใหนอกเหนือจากสินคาเพื่อการบริโภคเพียงอยางเดียว และจะตองขยายสินคาหรือผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับการดําเนิน ชีวติ ทีค่ รบทุกมิติ เชน อาหารฟงกชนั เครือ่ งสําอาง การแพทยและ ความงาม ยารักษาโรค และยังตองสรางผลิตภัณฑแปรรูปจากขาว ที่มีมูลคาสูง โดยเนนใน 4 ดาน ไดแก เกษตรดิจิทัล เทคโนโลยี ชี ว ภาพทางการเกษตร การจั ด การหลั ง การเก็ บ เกี่ ย ว และ เกษตรกรรมยั่งยืน”

NIA มุ งเพิ่ม AgTech Startup ในไทยให มากขึ้น สร างมูลค าและโมเดลธุรกิจใหม ๆ

เพือ่ ใหอตุ สาหกรรมขาวและการเกษตรมีทศิ ทางการเติบโต ทีด่ มี ากขึน้ NIA จึงมุง สนับสนุนความสามารถทางนวัตกรรมใหกบั กลุมเกษตรกร นักวิจัย ผูประกอบการ หนวยงานภาครัฐ-เอกชน ผานศูนยสรางสรรคธุรกิจนวัตกรรมการเกษตร (Agro Business Creative Center : ABC Center) ซึ่งมุงใหเกิดการไตระดับ

Engineering Today July - August

2019

24

ผศ. ดร.ธัญญานุภาพ อานันทนะ ผู อํานวยการอุทยานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม

วิสูตร จิตสุทธิภากร (ที่ 2 จากซ าย) ประธานบริษัท ยนต ผลดี จํากัด

พัฒนาการทางนวัตกรรมดวยเครือ่ งมือหลากหลายรูปแบบทีไ่ ดรบั การออกแบบอยางเปนระบบ โดยตั้งเปาที่จะพลิกโฉมการเกษตร ของประเทศจากเกษตรดั้ ง เดิ ม ไปสู  เ กษตรนวั ต กรรม พร อ ม ยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและอุตสาหกรรมการเกษตร ใหมีประสิทธิภาพที่ดีกวาเดิม นอกจากนี้ ยังเปนแนวทางในการ เพิ่ม AgTech Startup (Startup ดานการเกษตร) ในประเทศไทย ใหมากขึ้น ซึ่งการเพิ่มขึ้นของ Startup ดานการเกษตร ถือเปน จุดเปลี่ยนที่สําคัญที่จะชวยสรางทั้งมูลคาและโมเดลธุรกิจใหมๆ ทั้งยังเปรียบเสมือนการเชื่อมโยงตั้งแตการดูแลตนพืชที่เริ่มปลูก ในไรใหมีคุณภาพที่ดีไปจนถึงมือผูบริโภค


เผยนวัตกรรมข้าวไทยมีมากกว่า 500 ผลงาน ได้รับรางวัลทั้งหมด 64 ผลงาน

ด้วยเหตุนี้ NIA จึงได้ร่วมกับ มูลนิธิข้าวไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ จัดการประกวดนวัตกรรมข้าวไทย ปี 2562 (Rice Innovation Awards 2019) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อ คั ด เลื อ กนวั ต กรรมข้ า วไทย รวมทั้ ง กระบวนการผลิ ต ที่ เ ป็ น นวั ต กรรมเกี่ ยวข้ อ งกั บ ข้ า วไทย ที่ มี ศั ก ยภาพในการพั ฒนาสู ่ เชิงพาณิชย์ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ท้ังในด้านเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ ดร.ขวัญใจ โกเมศ เลขาธิการ มูลนิธิข้าวไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ กล่าวว่า ทีผ่ า่ นมามูลนิธขิ า้ วไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ NIA ได้ร่วมกันจัดการประกวดรางวัลนวัตกรรมข้าวไทยเป็น ประจ�ำทุกปีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน จัดขึ้นเป็นปี ที่ 13 เพือ่ คัดเลือกผลงานนวัตกรรมข้าวไทยทีม่ คี วามโดดเด่นและ มีศกั ยภาพสูงในการพัฒนาสูเ่ ชิงพาณิชย์อนั จะก่อให้เกิดประโยชน์ ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทัง้ ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ และกระบวนการผลิต ในปัจจุบนั คนไทยเริม่ ตืน่ ตัวมากขึน้ กับการ คิดค้นและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยเฉพาะจากข้าว ซึง่ ถือว่า เป็นสิ่งที่ดีมากและควรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้เพิ่มขึ้น เพื่อสร้างเศรษฐกิจของประเทศให้เข้มแข็งและยั่งยืน ที่ผ่านมามีผลงานมากกว่า 500 ผลงาน ซึ่งมีผลงานที่ได้ รับรางวัลทั้งหมด 64 ผลงาน แบ่งเป็นอาหาร 35 ผลงาน และ ไม่ใช่อาหาร 29 ผลงาน ส�ำหรับรางวัลนวัตกรรมข้าวไทย ประจ�ำ ปี พ.ศ. 2562 นี้ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรม และกลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน โดยใช้ เ กณฑ์ ก ารตั ด สิ น ความเป็ น นวัตกรรมของผลงาน การสร้างมูลค่าเพิ่มของข้าวไทย และ ศักยภาพในการพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ ผู้ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ จะได้รับโล่พระราชทานจากกรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี พร้อมเงินรางวัล 80,000 บาท รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับหนึ่ง และอันดับสองได้เงินรางวัล 40,000 บาท และ 20,000 บาท ตามล�ำดับ และรางวัลชมเชยจ�ำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 10,000 บาท ซึ่งจะเริ่มเปิดรับสมัครตั้งแต่ 1 เมษายน31 กรกฎาคมศกนี้ โดยจะตัดสินผลงานในวันที่ 5 กันยายน และ มอบรางวัลในงานนวัตกรรมแห่งชาติ ในวันที่ 5 ตุลาคมศกนี้

ติดตัง้ เครือ่ งก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วยเทคโนโลยี UTD RF ที่โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา

สืบเนื่องจากวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา จากการหารือระหว่าง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานมูลนิธิชัย พัฒนา และคณะมูลนิธิฯ ร่วมกับตัวแทนส�ำนักงานนวัตกรรม แห่งชาติ (NIA) ผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ บริษทั ยนต์ผลดี จ�ำกัด เพือ่ หาแนวทางการติดตัง้ เครือ่ งก�ำจัดมอด และไข่มอดด้วยคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ (Uniform Thermal Distribution of Radio Frequency : UTD RF) ณ โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลจากการหารือ ทางบริษทั ยนต์ผลดี จ� ำ กั ด จะด� ำ เนิ น การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งก� ำ จั ด มอดและไข่ ม อดด้ ว ย คลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ พร้อมทัง้ โครงสร้างและวัสดุอปุ กรณ์เสริมทัง้ หมด ล่าสุดบริษัท ยนต์ผลดี จ�ำกัด ได้ติดตั้งเครื่องเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีก�ำลังการผลิตที่ 1 ตันข้าวสาร/ชั่วโมง ซึ่งนอกจากจะ ปลอดภัยต่อสุขภาพตอบโจทย์ผู้บริโภคแล้ว ยังเพิ่มมูลค่าข้าวได้ ถึงกิโลกรัมละ 15-20 บาท ปัจจุบันไทยมีผลผลิตข้าวเจ้าโดยเฉลี่ย 25 ล้านตัน/ปี มีปริมาณข้าวส่งออกกว่า 10 ล้านตัน/ปีหรือคิดเป็นร้อยละ 40 หากคิดเฉพาะข้าวคุณค่าซึ่งเป็นข้าวมูลค่าสูงคิดเป็นร้อยละ 10 ของปริมาณทั้งหมด (มากกว่า 2 ล้านตัน/ปี) สามารถสร้างมูลค่า เพิ่มให้กับข้าวไทยได้อย่างมหาศาล

25

Engineering Today July - August

2019


3 หน่วยงานชั้นน�ำหนุนติดตั้งเครื่อง UTD RF ก�ำลังการผลิต 1 ตันข้าวสาร/ชม. ที่โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา

ศ.คลินิก นพ.นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ กล่าวว่า การพัฒนาและติดตัง้ เครือ่ งก�ำจัดมอดและไข่มอด ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (UTD RF) ที่โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนานี้ เป็นการด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างมูลนิธิชัยพัฒนา ส�ำนักงาน นวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ และบริษัท ยนต์ผลดี จ�ำกัด โดยล่าสุดได้ท�ำการติดตั้ง เพื่อใช้งานจริง ณ โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา จังหวัดพระนคร ศรีอยุธยาแล้ว ภายใต้การสนับสนุนจากส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ในโครงการ “แปลงเทคโนโลยีเป็นทุน” ในวงเงิน 1.5 ล้านบาท และบริษัท ยนต์ผลดี จ�ำกัด สนับสนุน สมทบอีกจ�ำนวน 1.6 ล้านบาท พร้อมทั้งเป็นผู้ดำ� เนินการติดตั้ง เครื่ อ งก� ำ จั ด มอดและไข่ ม อดด้ ว ยเทคนิ ค คลื่ น ความถี่ วิ ท ยุ (UTD RF) พร้อมทั้งติดตั้งโครงสร้าง และวัสดุอุปกรณ์เสริม ทั้งหมดจนแล้วเสร็จ สามารถใช้งานได้จริง โดยมีก�ำลังการผลิต ที่ 1 ตันข้าวสาร/ชั่วโมง

มช.จดสิทธิบัตรเทคโนโลยีระบบให้ความร้อนกับวัสดุ ทางการเกษตรด้วยคลื่นวิทยุ ชี้เป็น UTD RF แห่งแรกของโลก

ผศ. ดร.ธัญญานุภาพ อานันทนะ ผู้อ�ำนวยการอุทยาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2555 ทางมหาวิทยาลัยฯ ได้พบ รศ. ดร.สุชาดา เวียรศิลป์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นับเป็น ก้าวแรกในการน�ำงานวิจัยและพัฒนามาสู่ภาคอุตสาหกรรม ซึ่ง ที่ผ่านมาคณะนักวิจัยได้รับเงินทุนสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ 4-5 หน่วยงาน และใช้เวลาผลักดันงานวิจัยเป็นระยะเวลา 15 ปีกว่าจะออกมาเป็นนวัตกรรมเครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วย เทคนิคคลื่นความถี่วิทยุ (UTD RF) ดังกล่าว ส�ำหรับปัจจัยที่ท�ำให้เกิดมอด อุณหภูมิจะต้องร้อนพอ สมควร การใช้เครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ เป็นการก�ำจัดตัง้ แต่เป็นไข่มอด ท�ำให้ไม่มมี อดแต่อย่างใด โดยหลัก การท�ำงานของเครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ จะประยุกต์ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงคลื่นความถี่วิทยุ (Radio Frequency : RF) ที่ 27.12 MHz สร้างการสั่นสะเทือนเป็น จ�ำนวนล้านๆ ครั้งในเวลาหนึ่งวินาที ท�ำให้เกิดความร้อนสูงที่ อุณหภูมิ 55-600C ในระยะเวลาอันสั้น ประมาณ 2-3 นาที สามารถก�ำจัดแมลงและไข่แมลงที่ปนเปื้อนอยู่ภายในข้าวสารได้ และเรียกกระบวนการของเทคโนโลยีนี้ว่า “UTD RF (Uniform Thermal Distribution of Radio Frequency) ซึ่งการประยุกต์

Engineering Today July - August

2019

26

ใช้กระบวนการดังกล่าวในโรงสีขา้ วนัน้ ควรติดตัง้ ก่อนกระบวนการ บรรจุข้าวสาร และควรเลือกใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกปิดสนิท เพื่อ ป้องกันการปนเปื้อนจากแมลงภายนอก ทั้งนี้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้น�ำเทคโนโลยีให้ Chamber กระจายความร้อนทัว่ ทุกจุดภายใน 2 นาที มาท�ำการจดสิทธิบตั ร โดยได้เลขทีส่ ทิ ธิบตั ร 148233 เรือ่ ง “ระบบให้ความร้อนกับวัสดุ ทางการเกษตรด้วยคลื่นวิทยุ” ออกเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2559 โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็น ผู้ให้บริการทางด้าน วิชาการ “ปกติเทคโนโลยี Radio Frequency มีการใช้อย่างแพร่ หลายทัว่ ไป แต่การน�ำเทคโนโลยี Radio Frequency มาประยุกต์ ใช้กับข้าว ถือว่าเราเป็น UTD RF แห่งแรกของโลก ที่ส�ำคัญเป็น เทคโนโลยีของคนไทย ในส่วนของการยืดอายุข้าว หากเป็นข้าว Organic ช่วยยืดอายุข้าวได้ 2 เท่า ที่ผ่านมามีการติดตั้งเครื่อง UTD RF แล้วในจังหวัดสุรินทร์ นครสวรรค์ ก�ำแพงเพชร ซึ่งเปิด ให้บริการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 และพระนครศรีอยุธยา โดยตั้ง เป้าติดตั้งทั้งหมด 150 เครื่อง ภายใน 5 ปี ทั้งนี้มีแผนที่จะขอรับ รองตรา UTD เป็นตราข้าวสีทอง เพื่อรับรองว่าข้าวถุงนี้ไม่ใช้ สารเคมี และประชาสัมพันธ์ให้ผบู้ ริโภคได้รบั ทราบว่าเป็นข้าวทีไ่ ม่ ใช้สารเคมี” ผศ. ดร.ธัญญานุภาพ กล่าว

ยนต์ผลดีรับถ่ายทอดเทคโนโลยี ติดตั้งเครื่อง “BIO-Q” ให้โรงสีข้าวแล้ว 5 แห่ง

วิสูตร จิตสุทธิภากร ประธานบริษัท ยนต์ผลดี จ�ำกัด ผู้ผลิตเครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ซึ่งรับ การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า บริษทั ฯ มีประสบการณ์ในการพัฒนาเครือ่ งสีขา้ วนับจนถึงปัจจุบนั เป็นเวลามากกว่า 70 ปี โดยได้รับความไว้วางใจจากโรงสีข้าวทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2558 ได้พูดคุยกับ รศ.ดร.สุชาดา เวียรศิลป์ นักวิจยั คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ผู้พัฒนานวัตกรรมเครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วย คลื่นความถี่วิทยุ (UTD RF) บริษัทฯ จึงตระหนักถึงความส�ำคัญ ในการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ทดแทนการใช้สารเคมี หรือศัพท์ของ โรงสีที่เรียกว่ารมยา ซึ่งปัจจุบันยังใช้วิธีนี้ เนื่องจากผู้บริโภคให้ ความส�ำคัญต่อสุขภาพ และตอบโจทย์ความต้องการของผูบ้ ริโภค อีกทั้งที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้รับความน่าเชื่อถือเป็น 10 ปี และมี ง านวิ จั ย รั บ รองในวารสารชั้ น น� ำ ทั้ ง ภายในและ ต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ในเดือนตุลาคม 2559 บริษัทฯ จึงได้รับ การถ่ายทอดเทคโนโลยี Uniform Thermal Distribution of Radio Frequency : UTD RF จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็น ผู้สนับสนุนทางด้านวิชาการ และสนับสนุน ผู้เชี่ยวชาญในการ ตรวจสอบคุณภาพการติดตั้งให้ถูกต้องตามหลักการ เพื่อให้


เทคโนโลยี RF UTD ที่ท�ำการติดตั้งนั้นมีประสิทธิภาพ และเกิด ประโยชน์สูงสุด โดยใช้ชื่อเครื่องว่า “BIO-Q” ซึ่งบริษัทฯ ได้ติดตั้ง เครือ่ ง “BIO-Q” ให้โรงสีแล้วทัง้ หมด 4 แห่ง ล่าสุดทีโ่ รงสีขา้ วมูลนิธิ ชัยพัฒนา นับเป็นแห่งที่ 5 มูลค่า 2 ล้านบาท โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย

โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนาพร้อมเป็นโรงงานต้นแบบ ให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี

เตชพล ฐิตยารักษ์ รองเลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา กล่าวว่า พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ทรงก่อตั้งโรงสีข้าวมูลนิธิ ชัยพัฒนาขึ้น เพื่อลด และเลิกใช้สารเคมี การติดตั้งเครื่องก�ำจัด มอดและไข่มอดด้วยเทคนิค Uniform Thermal Distribution of Radio Frequency : UTD RF โดยไม่ใช้สารเคมีถือว่าตรงกับ วัตถุประสงค์ของพระองค์ท่าน ซึ่งเป็นการน�ำเอาองค์ความรู้มา ยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตข้าวทีไ่ ม่ตอ้ งใช้สารเคมีในการก�ำจัด มอดและไข่มอด ผูบ้ ริโภคข้าวก็จะมีความเชือ่ มัน่ ว่ารับประทานข้าว แล้วไม่มีสารเคมีตกค้าง ซึ่งไม่เฉพาะผู้บริโภคคนไทยเท่านั้นยัง สร้างความเชื่อมั่นให้กับชาวต่างชาติด้วย โดยโรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะเป็นโรงงานต้นแบบเพือ่ ให้กลุม่ วิสาหกิจชุมชน ทีม่ โี รงสีเป็นของ ตัวเอง หรือกลุ่มโรงสีพาณิชย์ สามารถเข้ามาขอรับการถ่ายทอด เทคโนโลยี ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของ ระบบการผลิตข้าวให้กับประเทศ

“การทีต่ น้ ทุนการผลิตถูกลง สามารถเพิม่ มูลค่าข้าวกิโลกรัมละ 15-20 บาท หากข้าวถุงละ 5 กิโลกรัม ราคาเพิ่มขึ้น 100 บาท ประโยชน์ทางอ้อม คือ สุขภาพ แต่อยากให้เน้นย�้ำว่าราคาเพิ่มขึ้น มา 100 บาท ผู้บริโภคจะซื้อหรือไม่ ในส่วนของพื้นที่ปลูกข้าว 100 ไร่ หรือน้อยกว่า 10 ไร่ จะต้องรวมกลุ่มเพื่อใช้เครื่องก�ำจัด มอดและไข่มอดด้วยคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุอย่างไร หากมีกำ� ลังการผลิต 800 ตัน/ปี จุดคุ้มทุนอยู่ตรงไหน สิ่งต่างๆ เหล่านี้จ�ำเป็นต้อง ถอดบทเรียน เพื่อให้ใช้งานได้จริงในอนาคต” เตชพล กล่าว

เดินหน้าต่อยอดเครื่อง UTD RF ในลักษณะของ Mobile Unit รศ. ดร.สุชาดา เวียรศิลป์ นั ก วิ จั ย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผูพ้ ฒ ั นา นวัตกรรมเครือ่ งก�ำจัดมอดและ ไข่ ม อดด้ ว ยคลื่ น ความถี่ วิ ท ยุ (UTD RF) กล่าวทิ้งท้ายว่า ทีม วิจัยมีแผนที่จะพัฒนาและต่อ ยอดเครือ่ ง UTD RF ในลักษณะ ของ Mobile Unit เพื่ อ ให้ สามารถเคลื่ อ นย้ า ยและให้ บริการชุมชนอย่างทั่วถึง ขณะนี้อยู่ในระหว่างการวิจัยและ พัฒนา และขอรับทุนสนับสนุนในโอกาสต่อไป

27

Engineering Today July - August

2019


Cover Story

VEGAPULS 64 / VEGAPULS 69-80 GHz radar level technology High-frequency radar level technology on the rise The introduction of VEGAPULS 64 begins a new age in radar measurement technology for liquids VEGAPULS 64, the world’s first radar level sensor for liquids, operating at a frequency of 80 GHz, has instigated a radical new era in radar level measurement technology. Eighteen months ago a new sensor for the continuous measurement of bulk solids, VEGAPULS 69, was introduced with great success. This sensor also operates with a transmission frequency 3 times higher than the widely used 26 GHz frequency. “The market has shown that this technology is the thing of the future – since the market launch, over 10,000 VEGAPULS 69 level sensors have already been installed,” says Jürgen Skowaisa, product manager of radar instrumentation at VEGA Grieshaber KG, describing the

Engineering Today July - August

2019

New radar level sensor VEGAPULS 64 for liquids: The smallest antenna is no bigger than a 1 Euro coin, so that the new measuring instrument is an ideal solution for installation in small containers.

28


success story of these increased frequency sensors. These instruments have proven their worth, especially on media with poor reflective properties, in production shafts up to 120 m deep, or in silos with numerous internal installations that generate strong false echoes. VEGAPULS 64 for liquid applications will follow this leap, also setting a milestone in measurement technology with its high dynamics and superior focusing. “Media with poor reflective properties, i.e. low dielectric constant, can now be measured significantly better than with previous radar sensors,” continues Skowaisa. Thanks to the vastly better focusing, the beam simply passes by internal tank installations or buildup. Interfering signals, which previously had to be filtered out with false signal suppression, now play hardly any role in the measurement process. “Moreover, it is now possible to use a much smaller antenna. Today we have process fittings with an antenna diameter of only ¾” – equivalent to the size of a 1-euro coin.” The new technology also allows

Radar level sensor VEGAPULS 69 for bulk solids: Reliable level measurement for an extremely wide application spectrum.

precise measurement of the level very close to the tank bottom. This opens up new perspectives in determining the level in small containers used in the pharmaceutical and biotech industries, as well as determining the amount of fuel left at the bottom of large fuel tanks. Measurement accuracy is +/-2 mm, even with a working range up to 30 m. The great success of bulk solids radar sensor VEGAPULS 69 and the

29

current market launch of VEGAPULS 64 for liquids are setting the agenda for the future technological development of radar level measurement. “Today, there is no way to surpass the performance of radar measurement based on an operating frequency of 80 GHz,” says Skowaisa with conviction. More information available at:

www.vega.com/radar

Engineering Today July - August

2019



Digital Economy @Engineering Today Vol. 4 No. 172

%›1›+6 D D Ä™C )= 5I 8.C Ä™ Ä?ÄĄ C%A ) Ä™ B Smart City D < %8 8 "5 6.=ĘA%;1 1 6 1 5 6 A11'ÄœA 8 A . 5 . < 6 “World Robot Games Thailand Championship 2019â€? .'Ä™6 '4. 6' Äœ D/%Ę Ä™6 +5 ''%/<Ę & Äœ.=Ę.5 %E & 919 5 %;1 % 6 % B)4")5

6 5 u‡yu‚ ‡¿³Ă„Æ wÆ¡Ă… ‚¡Ă†Ă‰Ă Ă„½ †à ÇÀœÆ³´ž¡  ¡¡Ă†ÂťĂ€š : ž¢ A%;1 5J 7 D üä '4A , %<Ę "5 6A%;1 15 'è&4 1&Ę6 &5I &; '"›,8'è'6 A 8 / Ä™6 &6& 'è 6'' Mobile Stroke Unit '5 -6 =Ä™ Ä“+& C' /)1 A);1 .%1 A 9& ")5 Ä? 9I ž B + 6 .=Ę +6%.7A'H D Digital Transformation


Robotic • กองบรรณาธิการ

อนันดา เออร เบินเทค สนับสนุนงาน “World Robot Games Thailand Championship 2019” สร างประสบการณ ใหม ด านนวัตกรรมหุ นยนต สู สังคมไทย

อนันดา เออรเบินเทค หนวยงานที่ชวยขับเคลื่อนวิสัยทัศนและ ความมุงมั่นของ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ประกาศเปนผูสนับสนุนหลักในการจัดการแขงขันหุนยนต “World Robot Games Thailand Championship 2019” จัดขึ้นโดย บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด (INEX) ผูผลิตสื่อการศึกษาดาน หุนยนตอัตโนมัติขนาดเล็ก รวมกับศูนยการคาเซียร รังสิต และศูนย การคาเดอะฮับ รังสิต ระหวางวันที่ 1-3 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ตอกยํ้า การสงเสริมดานการศึกษาและเสริมสรางประสบการณใหมแกสังคม ไทยในดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ลํ้าสมัย รวมทั้งสรางความ

ดร.จอห น เลสลี่ มิลลาร ประธานเจ าหน าที่ฝ ายพัฒนาเชิงกลยุทธ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม นท จํากัด (มหาชน)

Engineering Today July - August

2019

กระตือรือรนในการพัฒนาระดับความสามารถและทักษะ การเขียนโปรแกรมเชิงประยุกตของนักเรียน ครู อาจารย ตลอดจนบุคคลทัว่ ไปใหสงู ขึน้ ซึง่ เปนสิง่ สําคัญทีจ่ ะนําไป สูก ารพัฒนาทักษะในการสรางซอฟตแวรและฮารดแวรใน อุตสาหกรรมของประเทศในอนาคต ดร.จอหน เลสลี่ มิลลาร ประธานเจาหนาที่ฝาย พัฒนาเชิงกลยุทธ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) กล า วว า การสนั บ สนุ น การแขง ขั น หุ  น ยนต “World Robot Games Thailand Championship 2019”

ฉัตรชัย คุณป ติลักษณ รองผู อํานวยการสํานักงานส งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป า

32

ชัยวัฒน ลิ้มพรจิตรวิ ไล กรรมการผู จัดการ บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด (INEX)


เพื่อช่วยในการประชาสัมพันธ์ข่าวการแข่งขันในครั้งนี้ให้ เป็นทีร่ บั ทราบกันอย่างทัว่ ถึง โดยคาดหวังว่าจะช่วยกระตุน้ ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กบั หนุม่ สาวทัว่ ประเทศให้เกิด ความสนใจในการแข่งขันหุน่ ยนต์แบบ E-Sport เพราะสิง่ นี้ จะเป็นแรงบันดาลใจให้พวกเขาหันมาเก็บเกี่ยวความรู้ เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี อี ก หลากหลายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า งหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ มี ประสิทธิภาพสูงสุดในการแข่งขัน อาทิ วิทยาการหุ่นยนต์ วิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ รหั ส คอมพิ ว เตอร์ วิ ศ วกรรม เครื่องกล ปัญญาประดิษฐ์ เซ็นเซอร์ ซึ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็น กลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต “การสนับสนุนการแข่งขันหุ่นยนต์ ‘World Robot Games Thailand Championship 2019’ ในครั้งนี้ นับเป็นส่วนหนึ่งของพันธกิจที่บริษัทมุ่งเน้นด้านการส่ง เสริมด้านการศึกษาและเพื่อมอบโอกาสให้แก่สังคมไทย เพราะเรามั่นใจว่าจะเป็นปัจจัยหลักในการน�ำไปสู่การขับ เคลื่ อ นกลยุ ท ธ์ ด ้ า นนวั ต กรรม และเทคโนโลยี เพราะ ปัจจุบันเทคโนโลยีได้กลายเป็นส่วนส�ำคัญในการด�ำรงชีวิต ในทุกๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นด้านการอยูอ่ าศัย การศึกษา และ อุตสาหกรรม รวมทัง้ เป็นส่วนหนึง่ ในการพัฒนาอนาคตของ ประเทศไทย ซึ่ง อนันดา เออร์เบินเทค ได้เล็งเห็นถึงความ ส�ำคัญของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปทุกวัน จึงมีความ ภูมิใจอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อมอบ ความรูแ้ ละกระตุน้ ความสนใจในเทคโนโลยีใหม่ๆ เพือ่ การ พัฒนาของประเทศแบบก้าวกระโดด” ดร.จอห์น กล่าว ฉัตรชัย คุณปิติลักษณ์ รองผู้อำ� นวยการส�ำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า กล่าวว่า ส�ำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการพัฒนา และการขับเคลื่อนประเทศด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ ทันสมัย ส�ำหรับการแข่งขันหุน่ ยนต์ “World Robot Games Thailand Championship 2019” ในครัง้ นี้ ไม่ได้เป็นเพียง การแข่ ง ขั น เท่ า นั้ น แต่ ม องเห็ น ถึ ง อนาคตที่ เ ทคโนโลยี หุ่นยนต์เหล่านี้จะน�ำไปสู่การพัฒนาทักษะในการสร้าง ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ในอุตสาหกรรม ซึง่ จะช่วยสนับสนุน

และสร้างการเปลี่ยนแปลงในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย รวมทั้ง จะสามารถเข้าไปอยูใ่ นชีวติ ประจ�ำวันของผูค้ นในปัจจุบนั มากยิง่ ขึน้ โดย การแข่งขันหุน่ ยนต์ “World Robot Games Thailand Championship 2019” ในปีนี้ ได้เปิดโอกาสส�ำหรับผู้เข้าแข่งขันทุกระดับอายุ ตั้งแต่ 7-99 ปี ซึ่งแบ่งออกเป็นหลายรุ่นและหลายรายการ นับเป็นการแข่งขัน ทีท่ า้ ทายในการแสดงศักยภาพและความสามารถในความคิดสร้างสรรค์ และสุดยอดไอเดียการสร้างหุ่นยนต์ที่หลากหลายมากขึ้น ชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จ�ำกัด (INEX) ผู้ผลิตสื่อการเรียนรู้หุ่นยนต์อัตโนมัติ ขนาดเล็ก รวมทั้งเป็นผู้จัดการแข่งขันหุ่นยนต์ “World Robot Games Thailand Championship 2019” ซึ่งจัดติดต่อกันเป็นปีที่ 5 กล่าวว่า การแข่งขัน World Robot Games จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2558 นับเป็นรายการแข่งขันหุ่นยนต์รายการเดียวของประเทศไทยที่เปิดกว้าง ด้านคุณสมบัติของผู้แข่งขัน เนื่องจากมีรายการแข่งขันหลากหลาย ครอบคลุมอายุตั้งแต่ 7-99 ปี โดยไม่จำ� กัดระดับการศึกษา ในแต่ละปีมี จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นทุกปี โดยในปี พ.ศ. 2558 มีผู้เข้าร่วม แข่งขัน 500 คน ล่าสุดในปี พ.ศ. 2561 มีผเู้ ข้าร่วมแข่งขันถึง 1,300 คน ในปีนี้ คาดว่าจะมีผเู้ ข้าร่วมการแข่งขันมากถึง 2,500 คน ซึง่ ถือว่า เป็นจ�ำนวนมากที่สุดตั้งแต่มีการจัดการแข่งขันมา สามารถรองรับได้ 4,000 คน ซึ่งในปีนี้นอกจากจะได้รับการสนับสนุนจากศูนย์การค้า เซียร์ รังสิต และศูนย์การค้าเดอะฮับ รังสิตแล้ว ยังได้รับการสนับสนุน หลักจาก บริษทั อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) อีกด้วย ท�ำให้ นั ก เรี ย นจากโรงเรี ย นที่ สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จังหวัด สมัครฟรีโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด ส่วนโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร และโรงเรียนเอกชน เสียค่าสมัคร ไม่กี่ร้อยบาท ซึ่งถือว่าถูกมาก ส�ำหรับการแข่งขันหุ่นยนต์ “World Robot Games Thailand Championship 2019” ในปีนี้ ได้แบ่งการแข่งขันออกเป็น 4 รุ่นอายุ คือ 1. รุ่นมาสเตอร์ อายุ 7-10 ปี ซึ่งจัดประกวดในช่วงอายุนี้เป็น ครั้งแรก 2. รุ่นจูเนียร์ อายุ 11-14 ปี 3. รุ่นซีเนียร์ อายุ 15-19 ปี และ 4. รุ่นโอเพ่น อายุ 7-99 ปี โดยแบ่งการแข่งขันเป็น 8 ประเภท 27 รายการ คือ 1. หุ่นยนต์ซูโม่ (Sumo Robot) 6 รายการ 2. หุ่นยนต์ ปัญญาสัประยุทธ์ (Intelligent Robot) 3 รายการ 3. หุ่นยนต์รักบี้ (Rugby Robot) 4 ตัวแข่งกันเหมือนกีฬารักบี้ 3 รายการ 4. หุ่นยนต์ เคลื่อนที่ตามเส้น 6 รายการ 5. หุ่นยนต์เดิน 2 ขา (Biped Robot) 6. หุ่นยนต์กู้ภัยรุ่นเล็ก (mini-Search & Rescue Robot) 2 รายการ 7. หุ่นยนต์นวัตกรรม (Innovative Robot) ภายใต้หัวข้อ Robotics@ Home 3 รายการ และ 8. หุ่นยนต์ระบบเปิดแบบท้าทาย (Extreme Robot) 3 รายการ ซึง่ เป็นไฮไลท์ของการแข่งขันในปีนี้ ส�ำหรับการแข่งขัน โดยหลักๆ แล้วคือผูเ้ ข้าแข่งขันหุน่ ยนต์ทกุ รุน่ อายุตอ้ งใช้อปุ กรณ์หลักคือ แผงวงจรควบคุมที่พัฒนาโดยบริษัทของไทย คือ INEX เพื่อจะได้เป็น มาตรฐานเดียวกัน และแข่งขันเป็นไปอย่างยุตธิ รรม ทัง้ นีเ้ ชือ่ ว่าการแข่งขัน ในครัง้ นี้ จะช่วยต่อยอดหุน่ ยนต์ Humanoid สัญชาติไทยได้อย่างเต็มตัว

33

Engineering Today July - August

2019


“ผมมั่นใจว่าการแข่งขันในปีนี้จะต้องยิ่งใหญ่กว่าปีที่ผ่านๆ มา อย่างแน่นอน เนื่องจากมีผู้สนใจให้การสนับสนุนหลายราย โดยการ แข่ ง ขั น ในครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ โ รงเรี ย นต่ า งจั ง หวั ด ที่ สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ไม่ต้องเสียค่าสมัคร ซึ่งจะช่วย ผลักดันความรู้ความสามารถทางด้านหุ่นยนต์ให้เยาวชนไทย ทั้งนี้การ จะเปลีย่ นให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง เทคโนโลยี เป็นเรื่องส�ำคัญ หากสามารถสร้างนวัตกรรมได้ มีโรงงานผลิตชิ้นส่วน แผงวงจร PCB (Printed Circuit Board) ในไทย น้องๆ ที่ร่วมแข่งขัน เก่งสามารถหล่อยางได้เอง สามารถสร้างวิศวกรเก่งๆ ที่มีความรู้ความ สามารถด้านหุ่นยนต์ จะช่วยต่อยอดและพัฒนาทักษะในการสร้าง ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ในอุตสาหกรรมของประเทศในอนาคต” ชัยวัฒน์ กล่าว ส�ำหรับผู้ที่ได้รางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศอันดับ 1 ถึง 3 จะ ได้รบั บัตรก�ำนัล รวมทัง้ สิทธิเ์ ข้าร่วมการแข่งขันพร้อมเงินสนับสนุนค่าลง ทะเบียน World Robot Games 2019 (WRG 2019) ซึง่ ประเทศไทย จะได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 29-31 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ภายใต้แนวคิด “Robotics@Home” ณ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ ชั้น 5 ศู น ย์ ก ารค้ า เซี ย ร์ รั ง สิ ต โดยมี ป ระเทศที่ เ ข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ดั ง นี้ ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน เขตปกครองพิเศษฮ่องกง เวียดนาม พม่า ไทย และก�ำหนดให้ใช้บอร์ด ควบคุมหลักของผู้ผลิตคนไทย ซึ่งได้การยอมรับจากประเทศสมาชิกที่ เข้าร่วมแข่งขันตลอดมา

Engineering Today July - August

2019

34

ด้ า นหลั ก เกณฑ์ ใ นการแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ “World Robot Games Thailand Championship 2019” ใน ครั้งนี้ จะเชิญทีมงานและคณาจารย์ จากคณะวิศวกรรม ศาสตร์และครุศาสตร์อตุ สาหกรรมของมหาวิทยาลัยทัง้ ภาค รัฐและเอกชนร่วมตัดสินประมาณ 50 ท่าน ผู้ที่สนใจ สามารถสมัครเข้าร่วมการแข่งขันได้ระหว่างวันที่ 12-30 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ที่เว็บไซต์ www.wrgthailand.com นอกจาก อนันดา เออร์เบินเทค ซึ่งเป็นผู้สนับสนุน หลั ก ในการแข่ ง ขั น ฯ ครั้ ง นี้ แ ล้ ว ยั ง มี ห น่ ว ยงานที่ ร ่ ว ม สนั บ สนุ น กิ จ กรรมในครั้ ง นี้ ด ้ ว ย คื อ ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), สมาคม วิชาการหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย, สถาบันวิทยาการหุ่น ยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบั ง , วิ ท ยาลั ย นวั ต กรรมด้ า นเทคโนโลยี แ ละ วิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ , คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์, บริษทั อีเลคทรอนิคส์ ซอร์ซ จ�ำกัด, บริษัท ไออีทีโซลูชั่น จ�ำกัด, บริษัท คริสตัลไทม์ แทรเวล จ�ำกัด และบริษัท วี.ที.เค. อิมปอร์ตแอนด์เอ็กปอร์ต จ�ำกัด


Smart City • กองบรรณาธิการ

ม.อ.วางใจใช โซลูชั่นซิสโก ป นโมเดลต นแบบ Smart City ในทุกมิติ พัฒนาสู เมืองอนาคต ในโลกยุคดิจทิ ลั หลายๆ เมืองใหญทวั่ โลกพยายาม พัฒนาเมืองสูค วามเปนอัจฉริยะ หรือ สมารทซิตี้ (Smart City) โดยนําเทคโนโลยีลาํ้ สมัยมาผสานกับไลฟสไตลของ ประชาชน ทั้งดานโครงสรางพื้นฐาน การขนสง การใช พลังงาน ดานความปลอดภัย ดานสิง่ แวดลอม เพือ่ ทําให เมืองสะดวกสบาย ปลอดภัย นาอยู ตอบโจทยความ ต อ งการของประชากรในเมื อ งที่ ต  อ งการใช ชี วิ ต ติ ด เทคโนโลยีอยางมีความสุข มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ม.อ.) สถาบันการ ศึกษาชั้นนําของประเทศไทย รวมกับ ซิสโก ผูนําดาน เทคโนโลยีและเครือขายอินเทอรเน็ตระดับโลก พัฒนาเมือง อัจฉริยะ (Smart City) โดยนํารองพัฒนาพื้นที่ในเขต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ภายใต แนวคิด “PSU Smart and Green Campus 2022 เพื่อ สังคมแหงการเรียนรูต ลอดชีวติ และ Happy Workplace” เพื่อเปนโมเดลการพัฒนาสูเมืองยุคใหมที่พรอมขับเคลื่อน ดวยเทคโนโลยี รวมถึงพัฒนาบุคลากรดิจทิ ลั เพือ่ สรางสรรค เมืองอัจฉริยะใหสมบูรณแบบในทุกมิติ และเพิ่มโอกาสให คนในทองถิ่นไดพัฒนาชุมชนของตนเองอยางยั่งยืน โดย สรางรายไดกลับมาใหชุมชนจากทรัพยากรที่มีอยู

Smart Gate มีระบบตรวจสอบบุคลากรและประชาชน จากป ายทะเบียนและชนิดรถ รวมทั้งบัตรประชาชน

ซิสโก จับมือ ม.อ. นําสื่อมวลชนสัมผัสต นแบบ เมืองอัจฉริยะอย างแท จริง เมื่อเร็วๆ นี้ ซิสโก รวมกับ มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร (ม.อ.) วิ ท ยาเขตหาดใหญ จั ง หวั ด สงขลา จัดกิจกรรม Press Tour นําสือ่ มวลชนลงพืน้ ทีม่ หาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ เพื่อสัม ผัสความ เปนตนแบบของเมืองอัจฉริยะ ซึง่ ปจจุบนั มีการติดตัง้ และ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ม.อ.) วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา ต นแบบ Smart Campus

35

Engineering Today July - August

2019


ใชงานระบบ และจัดหมวดหมูใหสอดคลองกับแนวทาง การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ เริ่มจากการเดินทางเขา-ออก ภายในมหาวิทยาลัยฯ จะตองผาน Smart Living ซึ่งเปน ระบบรักษาความปลอดภัยใหกับบุคลากรและนักศึกษา ภายในวิทยาเขต ผานระบบไมกนั้ ทีต่ รวจสอบ RFID Long Range ที่ถูกใชเปนบัตรของบุคลากร เพื่อตรวจสอบการ เขา-ออกมหาวิทยาลัย รวมกับระบบกลองจับปายทะเบียน และการติดตามเฝาระวังรถตองสงสัยแบบ Real-time Analytic and Warning System

Smart Gate มีระบบตรวจสอบบุคลากร และประชาชน จากป ายทะเบียน-ชนิดรถ และบัตรประชาชน ผศ. ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต ผูชวยอธิการบดี ฝายยุทธศาสตรกายภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ กลาววา สําหรับ Smart Gate มีระบบ ตรวจสอบบุคลากรและประชาชนจากปายทะเบียนและ ชนิดรถ ซึ่งจะตอง Match กับรถและบุคลากรถึงจะเปดให เขามาได ปจจุบนั มีการเปดกระจก ใชกลองถายภาพ 2 ตัว ตัวแรกเพือ่ เก็บใบหนาและปายทะเบียนรถ กลองตัวทีส่ อง ใชอา นบัตรขอมูลในบัตรประจําตัวประชาชน ทัง้ นี้ หากพบ Blacklist ระบบจะคียขอมูลเขาไปกอน หากมีขอสงสัย ระบบจะ Alert พรอม Capture ภาพใหตํารวจดําเนินคดี ตอไป ซึง่ ม.อ.จะติดตัง้ กลองในจุดเสีย่ งทางเขา-ออกทีม่ คี น จํานวนมาก ในสวนของการสัญจรภายในมหาวิทยาลัยฯ เลือก ใช ร ถมิ นิ บั ส ไฟฟ า (PSU EV) ซึ่ ง มี ร ะบบ Smart Transportation ที่สามารถแสดงตําแหนงของรถโดยสาร EV ทําใหนกั ศึกษาสามารถทราบเวลาของรถทีจ่ ะมาถึงจุด จอดไดแบบเรียลไทม ถือเปน Smart Mobility ของ ม.อ.

Smart Pole เสาไฟอัจฉริยะ และ Smart Parking ภายใน ม.อ. จะมีถนน LRC ซึง่ เปนถนนเสนตัวอยาง ประกอบดวย Smart Pole เสาไฟอัจฉริยะที่มีสิ่งจําเปน สําหรับการเปนโครงสรางพื้นฐานบนทองถนนในอนาคต ไดแก WiFi, Signage, Camera, Weather Sensors, Dust Sensors, EV Charger and Emergency Button และ Smart Parking ติดตั้งเซ็นเซอรและระบบเพื่อแสดง จุดจอดรถที่ยังวางในพื้นที่วิทยาเขต ทําใหผูมาติดตอหรือ บุคลากรสะดวกในการหาที่จอดรถ ลดพลังงานเชื้อเพลิง ทีส่ นิ้ เปลืองจากการขับรถวนหาทีจ่ อด ระบบกระจายขอมูล สื่อสารผาน Digital Content ไปยังตู Digital Signage ที่

Engineering Today July - August

2019

36

สามารถควบคุมและสั่งการไดแบบเรียลไทม จัดแบงกลุม การบริหารจัดการ เชือ่ มโยงเขาสู IoT (Internet of Things) Platform

ศูนย ควบคุม Intelligent Operating Centre (IOC) เชื่อมระบบอัจฉริยะทั้งหมดเข าด วยกัน สําหรับหัวใจสําคัญ คือ Smart Utitlity ซึ่งประกอบ ดวย ศูนย Intelligent Operating Centre (IOC) ทําหนาที่ เป น ศู น ย บั ญ ชาการและควบคุ ม กลาง โดยเชื่ อ มระบบ อั จ ฉริ ย ะทั้ ง หมดเข า สู  ก ารติ ด ตาม สั่ ง การ โดยระบบ คอมพิวเตอรจะทํางานโดยอัตโนมัติ มีหองเพื่อใหผูดูแลได เห็นสภาพการทํางานโดยรวมของระบบทั้งหมด และ City Data Platform เปนการสราง Data Adapter เพื่อเชื่อมตอ ขอมูลจากหนวยงานและฝายตางๆ เขาสู City Data Platform ทําใหสามารถเชือ่ มขอมูลในระบบเดิมและระบบ ใหมเขาดวยกัน และรองรับการวิเคราะห ประมวลผล สําหรับเมืองในอนาคต ไดแก นําไปใชในการวางผังเมือง การวางแผนบริหารจัดการพืน้ ทีใ่ หเกิดประโยชนสงู สุด และ การวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรของเมือง เปนตน ซึ่งตั้งอยู บนชั้น 8

Smart Environment มอนิเตอร สิ่งแวดล อม คุณภาพนํ้า ฝุ น รวมทั้งนํ้าท วม อีกหนึ่งความเปน Smart City Model in Campus ของ ม.อ. วิทยาเขตหาดใหญ ไดแก Smart Environment เพื่อทําการมอนิเตอรสิ่งแวดลอม คุณภาพนํ้า ฝุน โดย ติดตั้งระบบเฝาระวังคุณภาพของอากาศ เชน PM 2.5 ตรวจวัดความชื้น ทิศทางลม และสภาพแวดลอมทางนํ้า รวมทัง้ ไดขยายพืน้ ทีด่ าํ เนินการ โดยรวมมือกับเทศบาลนคร หาดใหญติดตั้งระบบเฝาระวังลุมนํ้าและแกมลิงโดยรอบ เมือง และภายในเทศบาลนครหาดใหญ เพือ่ ใชเตือนภัยใน ฤดูฝน สามารถใชวอรรูมตรวจสอบปริมาณนํ้าวาอยูใน ระดับวิกฤตหรือไม เพือ่ ใชเปนขอมูลในการวางแผนบริหาร จัดการนํ้าตอไป พรอมกันนี้มีการจัดทํา Web Base เปด เผยขอมูลใหประชาชนทั่วไปสามารถเขามาดูได หากมีการ แจงเตือนจะประสานไปยังเทศบาล เพื่อใหชาวบานยกของ เก็บที่สูง นอกจากนีม้ กี ารเก็บขอมูลดานสิง่ แวดลอมยอนหลัง เชน PM 2.5 และ PM 10 เพื่อเก็บขอมูลวาอันตรายมาก นอยเพียงใด รวมทั้งดูคาออกซิเจนในนํ้า อุณหภูมิความชื้น อากาศ ปริมาณนํ้าฝน โดยเฉพาะที่จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเมื่อ ฝนตกจะมีปญหาระบายนํ้าไมทัน เนื่องจากโครงสรางการ


วางตึกขวางทางนํ้า สามารถมอนิเตอรไดรายนาที ซึ่งตาม ปกติจะทําเปนรายวัน สวน Smart Energy ประกอบดวย Smart Lighting หลอดไฟ LED ทีม่ าพรอมกับเซ็นเซอรตรวจจับการเคลือ่ นไหว ตรวจวัดระดับความเขมแสง และควบคุมอัตโนมัติ สามารถ Dim ไฟลงเมื่อไมมีการใชงาน ทําใหประหยัดไฟ รวมถึง ทราบการใชพลังงาน (Energy Usage Monitoring) การใชงานรถโดยสารสาธารณะ EV และใหบริการจุด จอดรถ พรอมที่ชารจแบบไฟฟา เพื่อกระตุนใหเกิดการใช งานรถพลังงานสะอาด

Smart Farm จัดทําเกษตรแบบประณีต เพิ่มมูลค าของผลผลิตทางการเกษตร โดยใช เทคโนโลยี IoT คณะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ม.อ. รวมกับ สถาบันวิจัยและนวัตกรรมดิจิทัล สํานักวิจัยและ พัฒนา และ คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อ. ไดจัดทํา Smart Farm ฟารมตนแบบ ทําการเกษตรแบบประณีต ในโครงการ ความรวมมือทางวิชาการเพือ่ พัฒนาระบบการเกษตรแมนยํา ซึ่งสามารถเพาะเลี้ยงผลไมและผลผลิตการเกษตรไดอยาง แมนยํา (Precision Agiculture) โดยเลือกปลูกผลไมที่มี ราคาสูง เพื่อเพิ่มมูลคาของผลผลิตทางการเกษตร เชน เมลอน สามารถรองรับการสั่งตัดความหวาน และขนาด ของผล ทราบระยะเวลาของการเลี้ยง การตัดผลผลิต และ ขนสงใหพอดีกับความอรอยที่ลูกคาตองการ ภายใตการ

ผศ. ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต ผู ช วยอธิการบดี ฝ ายยุทธศาสตร กายภาพ ม.อ. วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา

Smart Farm ทําการเกษตรแบบแม นยํา ใช เซ็นเซอร ตรวจวัดและควบคุมป จจัย การเจริญเติบโต และเทคโนโลยี IoT ผลิตเมลอนที่มีระดับความหวาน ตามที่ลูกค าต องการได

ทํ า งานที่ เ ป น ระบบอั ต โนมั ติ ใช เ ซ็ น เซอร ต รวจวั ด และ ควบคุมปจจัยการเจริญเติบโต รวมทั้งภูมิสภาพภายใน โรงเรือน ซึง่ ทํางานผานชุด Control แบบหนาจอสัมผัสหรือ คอมพิวเตอร และสามารถใชเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) เพื่อการติดตามและควบคุมจากระยะไกล โดย ผสานความรูปราชญชาวบานในการเพาะปลูก สภาพภูมิ อากาศ อุณหภูมิ ตลอดจนความชื้น ปจจุบันขยายผลไปยัง แปลงสาธิตของคณะทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ที่ คลองหอยโขง เพื่อเปนศูนยถายทอดเทคโนโลยีใหกับ ประชาชน และสามารถขยายผลปลูกผลไมตา งๆ ทีม่ มี ลู คาสูง เชนทุเรียนได

ถนน LRC ซึ่งเป นถนนเส นตัวอย าง ประกอบด วย Smart Pole และ Smart Parking

37

Engineering Today July - August

2019


ศูนย Intelligent Operating Centre (IoC) ฝ งชิปป ญญาประดิษฐ (AI) ทําให เห็นโครงกระดูกเดินได ตรวจสอบความปลอดภัยในแคมป ส

Smart People ชูเป นเมืองแห งการศึกษา แหล งสร างบุคลากรที่มีคุณภาพ ปดทายดวย Smart People ม.อ.พรอมเปนเมือง แหงการศึกษาและแหลงสรางบุคลากรที่มีคุณภาพ โดย ม.อ. กําลังดําเนินการจัดสราง Learning Space เพื่อ รวบรวมเครื่องมือเรียนรูที่ทันสมัย ไดแก 3D Printer, 3D Scanner, Robot และแหลงเรียนรูระดับโลกรวมกับผูนํา ดานเทคโนโลยีและเครือขายอินเทอรเน็ตระดับโลก เชน Cisco Academy, DevNet เปนตน ทั้งนี้โครงสรางพื้นฐานที่เปนขอมูล ทาง ม.อ.รวมกับ ซิสโกในการควบคุมระบบ Smart City ทั้งหมดในแคมปส ซึ่งใชเงินลงทุนกวา 30 ลานบาท โดยโซลูชั่นของซิสโก ไมวาจะเปน เน็ตเวิรกหลัก (Core Network) แพลตฟอรม IoT (Internet of Things) ที่ใชเทคโนโลยีซิสโกเปนฐาน ทําใหการเชือ่ มตอแบบ End-to-End มีความปลอดภัย และ ความสามารถในการบริหารจัดการทีด่ ขี นึ้ เปนรากฐานของ มหาวิทยาลัยในการทํา Digital Transformation เพือ่ สราง โมเดลเมืองอัจฉริยะที่เปนตนแบบการพัฒนาเมืองแหง อนาคตในทุกมิติ สําหรับเฟส 2 ในเดือนกันยายนนี้ ม.อ. จะรวมกับศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร แหงชาติ (เนคเทค) ขยาย Capacity ในเมืองปทุมธานี และขอนแกน

Engineering Today July - August

2019

38

กลุ ม Startup ม.อ.พัฒนาแพลตฟอร ม Research Market ตลาดงานวิจัย แห งแรกของไทย นอกจากนี้ ยังมี Research Market Platform รวมกับ Startup ในพื้นที่ในการสราง Platform Online ที่ สามารถชวยใหเกิดการ Matching ระหวางนักประดิษฐกบั เอกชนหรื อ ภาคอุ ต สาหกรรมที่ แ สวงหานวั ต กรรมใน ประเทศ โดยกลุม Startup ม.อ. ไดพัฒนาแพลตฟอรม Research Market หรือตลาดงานวิจัยแหงแรกของไทย เพื่อเปนสื่อกลางใหบริษัทที่สนใจงานวิจัย สามารถคนหา งานวิจัยที่ตองการได แพลตฟอรมดังกลาวยังมีระบบหลัง บาน โดยมีตัวกลางของหนวยงานคอยตรวจสอบวาผูซื้อ และผูขายพูดคุยซื้องานวิจัยชิ้นใดกัน โดยมหาวิทยาลัย ขอนแกนและมหาวิทยาลัยเชียงใหมจะนําแพลตฟอรม ไปใช ในอนาคตอาจหานักวิจยั จากตางประเทศมารวมดวย อาทิ นักวิจัยที่ ม.อ.มีเครือขายรวมมือกัน เชน ออสเตรเลีย และอังกฤษ สําหรับรายไดของผูพัฒนาแพลตฟอรม คือ สวนแบงเมื่อมีการซื้อขายงานวิจัยเกิดขึ้น ทั้งนี้ ผูพัฒนา แพลตฟอร ม จะเตรี ย มนํ า ข อ มู ล งานวิ จั ย ที่ ข ายได ม าลง เพื่อใหเกิดการซื้อขายมากยิ่งขึ้น “โจทยท่ี ม.อ. ตองการตอยอดแพลตฟอรมในแง บริการใหมๆ ในการสรางนวัตกรรม คือทําอยางไรใหเด็ก


รุน่ ใหม่และคนรุน่ เก่า สามารถใช้ประโยชน์จากเมืองอัจฉริยะ เพื่อท�ำให้เมืองน่าอยู่ ทั้งนี้ เมืองอัจฉริยะจะต้องมี Self Funding ด้วย เพื่อความยั่งยืน” ผศ. ดร.วรรณรัช กล่าว

ซิสโก้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จ Smart City ในหลายประเทศ มั่นใจตอบโจทย์ สร้าง Smart City ให้ ม.อ.ทุกมิติ วั ต สั น ถิ ร ภั ท รพงศ์ กรรมการผู ้ จั ด การประจ� ำ ประเทศไทย ซิสโก้ กล่าวว่า การขับเคลือ่ นด้วยเทคโนโลยี และ Digital Transformation ถือว่ามีบทบาทส�ำคัญอย่างมาก ในการยกระดับเมืองให้เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) บนแนวคิด Smart + Connected City อย่างไรก็ตาม ต้องมีการจัดล�ำดับว่าพื้นที่ส่วนไหนต้องเร่งพัฒนาด้านใด เพื่อสอดคล้องกับเอกลักษณ์ วิถีพื้นถิ่น และแผนกลยุทธ์ การพัฒนาของเมืองนั้นๆ ทั้งนี้ ซิสโก้อยู่เบื้องหลังความ ส�ำเร็จของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในหลายๆ ประเทศ เรามีความเชื่อมั่นในการน�ำเทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐาน หรือ Core Network และดาต้าเซ็นเตอร์ที่ออกแบบเพื่อ การใช้งานปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ซึง่ เป็นหัวใจหลักของการพัฒนาต่อยอด Smart Solution และ แอพพลิเคชั่นต่างๆ พร้อมระบบรักษาความปลอดภัยแบบ End-to-End มาช่วยในการตอบโจทย์การสร้าง Smart City อย่างสมบูรณ์ เช่น น�ำข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลมาประมวลผล เพือ่ คาดการณ์อนาคต ท�ำให้เมืองมีสภาพทีด่ แี ละน่าอยูข่ นึ้ ทั้งน�้ำ ไฟและสิ่งแวดล้อม ทีส่ ำ� คัญ Smart City จะขับเคลือ่ นอย่างรวดเร็วไม่ได้ ถ้าขาดบุคลากรที่เข้าใจเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซิสโก้มุ่ง มั่นที่จะสนับสนุนการเพิ่มพูนทักษะความเชี่ยวชาญให้แก่ บุคลากรของ ม.อ.อย่างต่อเนื่องภายใต้โครงการ Cisco Network Academy ทีใ่ ห้ความรูเ้ บือ้ งต้นทางด้าน IoT และ DevNet ซึ่งให้ความรู้เฉพาะทางด้าน Network จากนัก พัฒนาซอฟต์แวร์ทมี่ คี วามสามารถทางด้าน Network ด้วย เทคโนโลยีของซิสโก้ โดยซิสโก้ได้จดั การอบรม แบ่งปันความ รูแ้ ละทักษะให้กบั บุคลากรของ ม.อ.เพือ่ รองรับความต้องการ ของโลกดิจิทัลในอนาคต “ความร่วมมือครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ CoInnovation ของซิสโก้ในการร่วมพัฒนาโซลูชนั่ ทีม่ คี วามหมาย และสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ ร่วมกับภาครัฐและเอกชน และเราภูมใิ จทีไ่ ด้เป็นหนึง่ ใน Eco System ของนวัตกรรมและการพัฒนาในครัง้ นี”้ วัตสัน กล่าว

วัตสัน ถิรภัทรพงศ์ กรรมการผู้จัดการ ประจ�ำประเทศไทย ซิสโก้

ผศ. ดร.นิวัติ แก้วประดับ อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ (ม.อ.)

รัฐวางใจให้ ม.อ.เร่งพัฒนาเมืองอัจฉริยะทัว่ ประเทศ ทัง้ กลุม่ เมืองเดิม-กลุม่ เมืองใหม่ให้ทนั สมัย 7 ด้าน ผศ. ดร.นิวัติ แก้วประดับ อธิการบดี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ (ม.อ.) กล่าวว่า ม.อ.ได้เข้าไปมีบทบาท ส�ำคัญตั้งแต่แรกเมื่อครั้งภูเก็ตเป็น Smart City ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลเห็นถึงศักยภาพและฝีมือ จึงมอบหมายให้ ม.อ. เป็นต้นแบบการท�ำ Smart City โดยมีซิสโก้เป็นพันธมิตร ส� ำ คั ญ ในการช่ ว ยผลั ก ดั น และร่ ว มพั ฒ นาเทคโนโลยี โครงสร้างพืน้ ฐานทีเ่ ป็นรากฐานและเครือ่ งมือส�ำคัญในการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ เพื่อพัฒนาต่อยอดการสร้าง Smart Solution ต่างๆ โดยหนึ่งในวาระเร่งด่วนคือ การพัฒนา เมืองอัจฉริยะไปทัว่ ประเทศทัง้ กลุม่ เมืองเดิมทีต่ อ้ งปรับปรุง ให้น่าอยู่และอัจฉริยะมากขึ้น และกลุ่มเมืองใหม่ที่จะต้อง ออกแบบให้สมบูรณ์ ทันสมัย ด้วยเทคโนโลยีอัจฉริยะ ตามลักษณะของเมืองอัจฉริยะ 7 ด้าน ที่ประกอบด้วย 1) สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) 2) เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) 3) ขนส่งอัจฉริยะ (Smart Mobility) 4) พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) 5) พลเมืองอัจฉริยะ (Smart People) 6) การด�ำรงชีวิต อัจฉริยะ (Smart Living) และ 7) การบริหารภาครัฐ อัจฉริยะ (Smart Governance) จากการที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ (ม.อ.) รับหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้กับ 14 จังหวัดภาคใต้ครบวงจร ภายใต้งบประมาณ 130 ล้านบาท เพื่อให้แต่ละเมืองได้ เห็นโมเดลรูปแบบการน�ำเทคโนโลยีมาพัฒนาเมืองและน�ำ ไปปรับใช้กบั พืน้ ทีเ่ ขตความรับผิดชอบของตน ความร่วมมือ ระหว่างซิสโก้และ ม.อ. นับเป็นการตอบโจทย์การสร้าง โมเดล Smart City ให้เป็นต้นแบบการพัฒนาเมืองแห่ง อนาคตที่มีความสมดุลในทุกมิติ

39

Engineering Today July - August

2019


Smart City • กองบรรณาธิการ

ดีจัดอASEAN ีจับมืSmart อคมนาคม และพลั ง งาน Cities Network (ASCN) Roundtable Meeting

ดึง 26 เมืองชั้นน�ำใน 10 ประเทศ มุ่งพัฒนาเมืองอัจฉริยะ อย่างยั่งยืน

กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอ)ี ร่วมกับกระทรวงคมนาคม และกระทรวงพลังงาน จัดการ ประชุมเครือข่ายเมืองอัจฉริยะอาเซียน ASEAN Smart Cities Network (ASCN) Roundtable Meeting พร้อมดึง 26 เมืองชั้น น�ำใน 10 ประเทศในกลุ่มร่วมหารือสาระส�ำคัญร่าง ก�ำหนดการจัดตั้ง ASCN ข้อก�ำหนดการติดตามและ ประเมินผลการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอาเซียน รวมถึงหลักเกณฑ์ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ หวังเตรียมความพร้อมไปสูก่ ารให้สตั ยาบัน ต่อเอกสาร ดังกล่าวร่วมกันในการประชุม ASCN Annual Meeting ใน เดือนสิงหาคม 2562 และรายงานต่อที่ประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน หรือ ASEAN Summit ครั้งที่ 35 ซึ่งจะมีขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2562 และใช้ เป็นแนวทางการ ด�ำเนินงานของกรอบความร่วมมือ ASCN ต่อไป ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ อดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม (ดีอี) กล่าวว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้กลายมาเป็นหัวข้อหลักใน การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ทั่วโลกให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ซึ่ง ประเทศไทยได้เริ่มขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างจริงจัง และมีความ มุ่งมั่นที่จะเป็นผู้น�ำด้านดังกล่าวในภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2562 นี้ ประเทศไทยได้รับมอบต�ำแหน่งประธานอาเซียน และนายกรัฐมนตรีได้แสดง เจตนารมณ์ ข องไทยในการสานต่ อ เครื อ ข่ า ยเมื อ งอั จ ฉริ ย ะอาเซี ย นในการ ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ผ่านมา

Engineering Today July - August

2019

40

ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือดีป้า


ASEAN Smart Cities Network (ASCN) Roundtable Meeting

ดังนัน้ กระทรวงฯ ในฐานะผูข้ บั เคลือ่ นนโยบายการพัฒนา เมืองอัจฉริยะในประเทศไทย จึงได้จัดการประชุมเครือข่ายเมือง อัจฉริยะอาเซียน ASEAN Smart Cities Network (ASCN) Roundtable Meeting ให้สอดคล้องกับแนวคิดหลักของไทย คือ “ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน” (Advancing Partnership for Sustainability) โดยการประชุมครัง้ นีจ้ ะเป็นการหารือแลกเปลีย่ น ประสบการณ์และผลส�ำเร็จ จากการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของ แต่ละแห่งในอาเซียน ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ อย่างยัง่ ยืน และมุง่ ยกระดับความเป็นอยูข่ องประชากรในอาเซียน ด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการปรับ ตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัลและการเตรียมพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะ เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต ส�ำหรับเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมเครือข่ายเมือง อัจฉริยะอาเซียน ประกอบด้วย กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและ สังคม โดยส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ร่วมกับ กระทรวง พลังงาน โดยส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน และกระทรวง คมนาคม โดยส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ซึ่งการประชุมดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานสถานะการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะของเมืองต่างๆ ในกลุ่มประเทศอาเซียน หารือสาระส�ำคัญของร่างข้อก�ำหนดการจัดตั้ง ASCN ข้อก�ำหนด การติดตามและประเมิน ผลการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอาเซียน รวมถึงหลักเกณฑ์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ เพื่อเตรียมพร้อมไปสู่ การให้สัตยาบันต่อเอกสารดังกล่าวร่วมกันในการประชุม ASCN Annual Meeting การประชุมเครือข่ายเมืองอัจฉริยะประจ�ำปี ระหว่างวันที่ 22-24 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ หอประชุมจีเอ็ม เอ็ ม ไลฟ์ เ ฮาส์ ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ และรายงานต่ อ ที่ ประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน หรือ ASEAN Summit ครั้งที่ 35 ซึ่งจะมีขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2562 และใช้เป็นแนวทางการ ด�ำเนินงานของกรอบความร่วมมือ ASCN ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) กล่าวว่า เครือข่ายเมืองอัจฉริยะ อาเซียน หรือ ASCN เป็นข้อริเริ่มของประเทศสิงคโปร์ในช่วงที่

เป็นประธานอาเซียนเมื่อปี พ.ศ. 2561 ซึ่งมีเป้าหมายร่วมกันใน การพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างยั่งยืน และมีเป้าหมายหลักที่จะ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในอาเซียนด้วยเทคโนโลยีและ นวัตกรรม เพือ่ แก้ไขปัญหาการเติบโตของเมืองอย่างรวดเร็ว ไม่วา่ จะเป็น ความแออัดของเมือง คุณภาพของน�ำ้ และอากาศ ความยากจน ความไม่เท่าเทียมกันทีเ่ พิม่ ขึน้ ความเหลือ่ มล�ำ้ ระหว่างสังคมเมือง กับชนบท ตลอดจนความมั่นคงและความปลอดภัยของผู้คน ปัจจุบัน ASCN ประกอบด้วยเมืองจากประเทศสมาชิก อาเซี ย นทั้ ง หมด 26 เมื อ ง ได้ แ ก่ บั น ดาร์ เสรี เ บกาวั น กรุงเทพมหานคร บันยูวังงี พระตะบอง เซบู ชลบุรี ดานัง ดาเวา จาการ์ ต า ฮานอย โฮจิ มิ น ห์ ยะโฮร์ บ าห์ รู โกตากิ น ะบะบู กัวลาลัมเปอร์ กูซิง หลวงพระบาง มะกัสซาร์ มัณฑะเลย์ มะนิลา เนปิดอว์ พนมเปญ ภูเก็ต เสียมราฐ สิงคโปร์ เวียงจันทน์ และ ย่างกุง้ ซึง่ เครือข่ายทัง้ 26 เมืองนี้ ถือเป็นเมืองทีม่ ศี กั ยภาพในการ พัฒนาโดยเฉพาะในด้านโครงสร้างพื้นฐาน การเชื่อมต่อข้อมูล ระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และวัฒนธรรม โดยในอนาคตอันใกล้คาด ว่าจะเห็นความร่วมมือในด้านเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น

การใช้แพลตฟอร์มข้อมูลพัฒนาเมือง (City Data Platform) Ferry Chung, Vice President Digital Transformation & Global Digital Cities กล่าวว่า ด้วยขนาดของเมืองแต่ละเมือง ไม่เท่ากัน ข้อมูลของเมืองแต่ละเมืองก็ไม่เท่ากัน เช่น จ�ำนวน ประชาชน, อาชีพของประชากร, อายุของประชากร, พื้นที่สีเขียว, สิง่ ปลูกสร้าง, สาธารณูปโภคต่างๆ เป็นต้น จึงต้องมีการออกแบบ การจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อน�ำข้อมูล ที่ได้เข้ามาเก็บรวบรวมไว้ภายในศูนย์จัดเก็บข้อมูล หรือ Data Center โดยมีแอพพลิเคชั่นที่หลากหลายรองรับการใช้งานจริงให้ ใช้งานง่าย มีความปลอดภัย ผู้ใช้งานยอมรับในประสิทธิภาพ แต่ก็ยังมีอุปสรรคในการจัดเก็บข้อมูลของเมืองแต่ละเมือง เช่น คนทีร่ ว่ มท�ำงานขาดทักษะและความเชีย่ วชาญในการใช้เทคโนโลยี 37%, ไม่มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการท�ำงานเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างกัน 32%, กฎระเบียบในการท�ำงาน 30% และอื่นๆ 1% ทั้งนี้ การพัฒนาเมืองต้องใช้เวลาและมีการน�ำเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัยเข้ามาใช้รว่ มกับเทคโนโลยีเดิมทีม่ เี พือ่ ให้การท�ำงานเป็น ไปตามแผนการพัฒนาเมืองของแต่ละเมืองที่วางเอาไว้ อาจจะช้า หรือเร็วขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละเมืองด้วย Alice Lee, Director Product Security Office, Seagate Technology กล่าวว่า ข้อมูลที่ได้จาก Data Platform จะต้องน�ำไปเก็บในศูนย์ข้อมูล (Data Center) หรือน�ำไปเก็บไว้ ในคลาวด์ เพือ่ ให้ขอ้ มูลได้รบั การปกป้องโดยเฉพาะเรือ่ งความเป็น ส่วนตัวของแต่ละบุคคลควรมีระบบเข้าสืบค้นข้อมูลที่สร้างความ มั่นใจ คุ้มครองผู้ใช้งานไม่ให้ถูกเข้าถึงหรือถูกขโมยข้อมูลน�ำไปใช้

41

Engineering Today July - August

2019


Ferry Chung, Vice President Digital Transformation & Global Digital Cities

Alice Lee, Director Product Security Office, Seagate Technology

ในทุกๆ กรณี การน�ำข้อมูลไปใช้จะต้องมีการประมวลผล มีฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่ทันสมัยส�ำหรับดูแลข้อมูลโดยเฉพาะยิ่งถ้าเป็นเมือง เศรษฐกิจที่ส�ำคัญของแต่ละประเทศแล้วควรมีระบบป้องกันข้อมูลที่มี ศักยภาพขั้นสูงสุด ซึ่งต้องใช้เทคโนโลยีและงบประมาณจ�ำนวนมากใน การด�ำเนินการ แต่เมื่อมองถึงความปลอดภัยและสร้างความเชื่อมั่น ให้ผู้คนที่อยู่อาศัยใช้ชีวิต นักท่องเที่ยว ธุรกิจต่างๆ ที่อยู่ในเมืองนั้นๆ เชือ่ ว่าในอนาคตจะเห็นเมืองส�ำคัญๆ ต่างๆ ทัว่ โลกจะมีการจัดงบประมาณ ส�ำหรับสร้างเมืองให้มีความปลอดภัย ให้มีความน่าอยู่ มีการลงทุน ด้าน R&D (Research and development) ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่เหมาะสมของเมือง เพื่อให้เป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างแท้จริง Yoa Duoni, Huawei SEA CNBG Marketing กล่าวว่า หัวเว่ย ค�ำนึงถึงรูปแบบการน�ำเสนอแพลตฟอร์มส�ำหรับการบริหารจัดการเมือง วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในเมือง ความปลอดภัย และการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ต้องมีการเชื่อมโยงข้อมูลให้มีการท�ำงานร่วมกันได้อย่าง ลงตัว แต่เนื่องจากข้อมูลของแต่ละส่วนมีปริมาณที่มาก จึงจ�ำเป็นที่จะ ต้องสร้างศูนย์จัดเก็บข้อมูลและพัฒนาแอพพลิเคชั่นขึ้นมารองรับการใช้ งาน การปรับปรุงขีดความสามารถในการบริหารจัดการเมืองผ่านศูนย์ ข้อมูลหลาย ๆ ส่วนที่เชื่อมไว้ด้วยกัน การพัฒนาเมืองด้วยแพลตฟอร์ม ต่าง ๆ เพือ่ ให้เมืองเป็นเมืองอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เป็นโครงการ ที่มีความซับซ้อนสูงและต้องใช้เวลาในการพัฒนาตลอดเวลา โดยใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI ) ซึง่ ช่วยผสมผสานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพือ่ ให้มกี ารติดตาม ข้อมูลแบบเรียลไทม์ สามารถเรียกดูข้อมูลที่ต้องการได้ตลอดเวลา และ ควรมีการวางแผนรองรับเทคโนโลยีที่มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา

Smart City Solutions เพื่อการขนส่งและจราจร

Yoa Duoni, Huawei SEA CNBG Marketing

Dr.Erik Selberg, Head of Engineering, Big Data-Grab

Engineering Today July - August

2019

Dr.Erik Selberg, Head of Engineering, Big Data-Grab กล่าวว่า การขนส่งและจราจรถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญส�ำหรับ การพัฒนาเมืองไปสู่เมืองอัจฉริยะ โดยแต่ละเมืองมีการวางแผนน�ำ เทคโนโลยีรูปแบบต่างๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ในด้านการขนส่งและจราจร หาพืน้ ทีจ่ ดุ จอดรับ-ส่งทีเ่ หมาะสมเพือ่ รองรับเมืองทีก่ ารเติบโตไม่เท่ากัน ดูแลประชากรที่อยู่ในเมืองและประชากรที่เข้ามาอยู่ในเมืองซึ่งเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ ให้การเดินทาง การขนส่งต่างๆ ภายในเมืองมีความเชื่อมโยง สะดวก และปลอดภัย แน่นอนว่าเมืองจะพัฒนาเทคโนโลยีเพียงล�ำพังไม่ ได้เพราะภายในเมืองมีความหลากหลายทางเทคโนโลยีจากผู้ให้บริการ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนทีเ่ ข้ามาอยูอ่ าศัยและด�ำเนินธุรกิจภายในเมือง ทัง้ นี้ ภาครัฐและเอกชนควรร่วมมือและช่วยกันพัฒนาเทคโนโลยีการขนส่งและ จราจรทีจ่ ำ� เป็นทีจ่ ะต้องใช้งานระหว่างกันหรือสร้างศูนย์ขอ้ มูลเฉพาะแล้ว เปิดเป็นสาธารณะให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึง เรียกใช้ข้อมูลได้ อย่างรวดเร็วและปลอดภัย จะท�ำให้การพัฒนาเมืองด้านการขนส่งและ จราจรด้วยเทคโนโลยีมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น

42


Smart Health • กองบรรณาธิการ

รพ.ศิ ร ร ิ าช เดินหน าขยายบริการรถ

Mobile Stroke Unit

โฉมหน ารถ Siriraj Mobile Stroke Unit ช วยเหลือผู ป วยแข งกับเวลา

คณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล โดยศูนย โรคหลอดเลือดสมองศิรริ าช เผยความสําเร็จรักษา ผูป ว ยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันใน “โครงการ นํารองตนแบบรถพยาบาลเคลือ่ นทีร่ กั ษาผูป ว ยโรค หลอดเลือดสมองเฉียบพลัน โรงพยาบาลศิริราช” (Siriraj Mobile Stroke Unit) ครบ 1 ปสามารถ รักษาผูปวยได 125 ราย

ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล

ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล กลาววา โรคหลอด เลือดสมองเปนปญหาสําคัญทัว่ โลก และเปนสาเหตุ การตายอันดับ 1 ในประเทศที่มีรายไดนอย หรือ ประเทศรายไดปานกลาง สําหรับในประเทศไทยพบ ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองสูงถึง 1,800 ราย/ 100,000 ราย โดยผลจากการศึกษากลุมตัวอยาง กวา 1,000 ราย ในสถานพยาบาลทั่วประเทศ ผูที่ เปนโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลัน

รักษาผู ป วยโรคหลอดเลือด สมองเฉียบพลันป ที่ 2

หลังจากให บริการแล ว 125 ราย

มีอตั ราการเสียชีวติ รอยละ 5 และพิการถึงรอยละ 70 อีกทัง้ ยังพบวาภาวะจาก โรคหลอดเลือดสมองสูงเปนอันดับ 1 ในประชากรเพศหญิง และอันดับ 4 ใน ประชากรเพศชาย และยั ง มี แ นวโน ม ที่ จ ะสู ง ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจาก ประเทศไทยกําลังเขาสูยุคของการมีประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้น ดวยเหตุนี้เองจึง ทําใหโรงพยาบาลศิริราช เรงหาวิธีแกปญหาโรคดังกลาวโดยริเริ่ม “โครงการ นํ า ร อ งต น แบบรถพยาบาลเคลื่ อ นที่ รั ก ษาผู  ป  ว ยโรคหลอดเลื อ ดสมอง เฉียบพลัน โรงพยาบาลศิริราช” (Siriraj Mobile Stroke Unit) โดยหนวยรักษา อัมพาตเคลื่อนที่ ซึ่งเริ่มใหบริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ถือเปน 1 ใน 130 โครงการทํางานเพื่อแผนดิน จนถึงปจจุบันโครงการนี้ได ใหบริการผูปวยไปแลว 125 ราย สําหรับในปที่ 2 นี้จะขยายการรักษาผูปวย ใหครอบคลุมทั่วถึงมากขึ้น รศ. นพ.วิศิษฎ วามวาณิชย ผูอํานวยการโรงพยาบาลศิริราช กลาววา โครงการนํารองตนแบบรถพยาบาลเคลื่อนที่รักษาผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง เฉียบพลัน โรงพยาบาลศิริราช (Siriraj Mobile Stroke Unit) ไดรับความ ร ว มมื อ จากภาครั ฐ และเอกชน ประกอบด ว ย กระทรวงสาธารณสุ ข , กรุงเทพมหานคร, สถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ, สํานักการแพทย ศูนย บริ ก ารการแพทย ฉุ ก เฉิ น กรุ ง เทพมหานคร (ศู น ย เ อราวั ณ ), คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง, มูลนิธิรวมกตัญู, บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส (มหาชน) จํากัด, บริษัท ซิสโก ซีสเต็มส (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท ฟรีวิลล โซลูชั่นส จํากัด, บริษัท ปตท. นํ้ามัน และการคาปลีก จํากัด (มหาชน) และบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) สงผลให โครงการนี้สําเร็จตามเปาหมาย ถือเปนครั้งแรกที่มีความรวมมือขามหนวยงาน ภาครัฐและเอกชน

43

Engineering Today July - August

2019


รศ. นพ.วิศิษฎ วามวาณิชย (ที่ 3 จากซ าย) ผู อํานวยการโรงพยาบาลศิริราช

สําหรับขัน้ ตอนการทํางานในการรักษาผูป ว ย เริ่มตนเมื่อมีการแจงเหตุผูปวยมีอาการตาตก ปาก เบีย้ ว พูดไมชดั แขนขาออนแรง ผานสายดวน 1669 เขาศูนยเอราวัณ ทางศูนยเอราวัณจะทําการคัดกรอง แลวแจงตอไปยังหนวยบริการการแพทย ฉุกเฉิน (EMS) ในเขตที่ดูแลเพื่อใหเขาไปรับผูปวย ณ จุด เกิดเหตุ เพือ่ เรงเขาชวยเหลือ โดยจะทําการตรวจคัด กรองอาการและทําการรักษาเบือ้ งตนหากอาการไม รุนแรงมากนัก และนําผูปวยมาพักที่จุดนัดหมาย สถานีบริการนํ้ามัน ปตท.จํานวน 4 แหง ประกอบ ดวย ปมกาญจนาภิเษก, ปมเพชรพระเทพ, ปมบรม ราชชนนี และป  ม ราชพฤกษ หลั ง จากนั้ น ศู น ย เอราวัณจะทําการแจงหนวยรักษาอัมพาตเคลื่อนที่ โรงพยาบาลศิริราช (Siriraj Mobile Stroke Unit) ที่ มีผเู ชีย่ วชาญโรคหลอดเลือดสมองเปนผูร บั สายและ ซักถามอาการ และตามทีมแพทย พยาบาล นักรังสี การแพทย และพนักงานขับรถ ใหออกปฏิบตั กิ ารรับ ผูปวย เพื่อการรักษาในรถ Mobile Stroke Unit ที่สถานีบริการนํ้ามัน ปตท. ที่นําผูปวยมาพักไวเพื่อ ดูอาการและทําการรักษาเบื้องตน ในระหวางดูแลอาการและการรักษาเบื้องตน นั้นทางเจาหนาที่จะประสานการทํางานตลอดเวลา เพื่อชวยเหลือและรักษาผูปวยอยางดีที่สุดแขงกับ เวลา เนื่องจากโรคดังกลาวนั้นหากรักษาลาชาจะ ทําใหผูปวยเสียชีวิตอยางฉับพลันได ในกรณีที่มีขอ บงชีแ้ พทยจะใหยาสลายลิม่ เลือดทางหลอดเลือดดํา ในรถทันที เพือ่ เปดหลอดเลือดสมองทีอ่ ดุ ตันโดยเร็ว

Engineering Today July - August

2019

ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา (ที่ 4 จากซ าย) รับมอบ Mobile Stroke Unit คันที่ 2 จาก พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา (ที่ 5 จากซ าย) รองประธานมูลนิธิไทยคม

ที่สุด หากไดรับการวินิจฉัยวา เปนโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันทั้งแตกและ ตีบจะนําผูป ว ยสงหอผูป ว ย Acute Stroke Unit โรงพยาบาลศิรริ าช เพือ่ ทําการ รักษาและดูแลตอไป ลาสุดในป พ.ศ. 2562 นี้ไดเพิ่มปม ปตท.พระราม 2 เพื่อใหบริการคนไขจากจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดสมุทรสงครามเพิ่มเติม และในอนาคตมีแผนจะขยายจุดนัดหมายเพิ่มขึ้นดวย รศ. นพ. ยงชัย นิละนนท ประธานศูนยโรคหลอดเลือดสมองศิริราช กลาววา ใน 1 ปที่ผานมา ไดใหการรักษาผูปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองฟน กลับมาใชชีวิตใกลเคียงปกติถึงรอยละ 57 แบงเปนผูปวยเปนโรคหลอดเลือด สมองตีบเฉียบพลัน รอยละ 55.2, ผูปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองแตก เฉียบพลัน รอยละ 29.6, ผูปวยเปนโรคที่ไมใชหลอดเลือดสมอง รอยละ 10.4, ผูปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดชั่วคราว รอยละ 4.8 โดยผูปวยสวน ใหญจะรับจากเขตพื้นที่จังหวัดนนทบุรี รอยละ 59 เนื่องจากโรงพยาบาลไม สามารถบริการรักษาโรคหลอดเลือดสมองได ขณะที่ผูปวยรับจากเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ฝงธนบุรี จากศูนยเอราวัณ1669 รอยละ 20, ผูปวยรับจาก มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง มูลนิธิรวมกตัญู และสายตรง 0-2419-8888 รอยละ 20 จากขอมูลผูป ว ยทีไ่ ดรบั ความชวยเหลือจากรถ Mobile Stroke Unit โดยใชสทิ ธิ์ ประกันสุขภาพถวนหนา รอยละ 64 ถัดมาเปนสิทธิ์ประกันสังคม สิทธิ์รักษา พยาบาลขาราชการ และจายคารักษาเอง ตามลําดับ พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา รองประธานมูลนิธไิ ทยคม กลาววา มูลนิธิ ไทยคมเล็งเห็นความสําคัญของรถ Mobile Stroke Unit วามีความจําเปน อยา งยิ่ง ในการชวยชีวิตผูปวยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันไดอยางมี ประสิทธิภาพ เห็นไดจากรถคันแรกทีท่ างมูลนิธฯิ ไดรว มสนับสนุน สามารถชวย เหลือผูปวยใหรอดชีวิตมาแลวกวา 100 รายและในป พ.ศ. 2562 นี้ เพื่อเปน การเฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก มูลนิธิ ไทยคม ขอมอบรถ Mobile Stroke Unit คันที่ 2 เพื่อนําไปใชสรางประโยชน ใหกับประชาชนและสังคมตอไป

44


Digital • *ดรัฟ ดูมัทการ์

แนวทางสู่ความส�ำเร็จใน

Digital Transformation

ทุกวันนี้ สภาพตลาดและความต้องการของลูกค้ามีการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ด้วยเหตุนี้ “การ Transformation” จึงกลาย เป็นภารกิจส�ำคัญส�ำหรับผู้บริหารทุกๆ องค์กร อย่างไรก็ดี การปฏิรูปองค์กร ให้ส�ำเร็จไม่ใช่เรื่องง่าย ดังจะเห็นได้จากโครงการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล 9 ใน 10 โครงการในสหรัฐอเมริกาและยุโรปประสบความล้มเหลว จึงเกิดค�ำถามขึ้นว่า อะไรคือปัจจัยทีจ่ ะรับประกัน หรืออย่างน้อยก็เพิม่ โอกาสทีโ่ ครงการปฏิรปู ธุรกิจ จะประสบความส�ำเร็จ? ค�ำตอบของค�ำถามนีอ้ ยูท่ ขี่ อ้ มูล กล่าวคือ นอกเหนือจากการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลแล้ว ยังจะต้องสร้างวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องและสอดประสานเข้ากับ ข้อมูล ที่จริงแล้ว องค์กรธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลมีโอกาสที่จะประสบ ความส�ำเร็จมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการปรับเปลีย่ นกระบวนการท�ำงาน หรือรูปแบบขององค์กร เมื่อเทียบกับบริษัทที่พึ่งพาข้อมูลน้อยกว่า ทัศนคติ ที่จริงจัง อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับข้อมูลนอกจากจะเป็นก้าวแรกที่จะน�ำไปสู่ ความส�ำเร็จในการปฏิรูปธุรกิจแล้ว ยังเป็นตัวก�ำหนดทิศทางของการพัฒนา ในระยะยาวอีกด้วย

*ผู้อำ� นวยการฝ่ายวิศวกรรมโซลูชั่นประจ�ำออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์ของเน็ตแอพ

45

Engineering Today July - August

2019


วิเคราะห์ก่อนลงมือ

โดยส่วนใหญ่แล้ว ความพยายามในการปฏิรปู ธุรกิจมักจะล้มเหลว เพราะ ด�ำเนินการในทิศทางทีไ่ ม่ถกู ต้อง ผลการศึกษาชีว้ า่ โครงการเปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั 1 ใน 3 โครงการประสบปัญหา เนื่องจากขาดกลยุทธ์ที่ชัดเจนส�ำหรับการปรับ เปลี่ยนการด�ำเนินงาน หรือมีการลงทุนที่สูงเกินไปในส่วนงานที่ไม่ค่อยมีความ ส�ำคัญ หรือวิเคราะห์สถานการณ์ผิดพลาด ส่งผลให้มีการก�ำหนดกลยุทธ์ที่ไม่ ถูกต้องเหมาะสม องค์กรธุรกิจทีข่ บั เคลือ่ นด้วยข้อมูลไม่ได้อา้ งอิงสมมติฐานในการก�ำหนด กลยุทธ์การเปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั ทีจ่ ริงแล้ว ในองค์กรทีใ่ ช้ขอ้ มูลในการตัดสินใจ อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ผู้บริหารมีแนวโน้มที่จะสร้างโครงการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล โดยอ้างอิงข้อมูลเชิงลึกที่กลั่นกรองจากข้อมูลดิบที่มีอยู่ หรือใช้ข้อมูลเพื่อ ทดสอบสมมติฐานก่อนที่จะตัดสินใจด�ำเนินโครงการ บางครั้งข้อมูลดังกล่าว อาจมีแหล่งทีม่ าจากภายในองค์กร หรืออาจได้มาจากภายนอกองค์กร องค์กร ธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลจะประเมินข้อมูลที่มีอยู่อย่างเป็นกลาง ก่อนที่จะ เริ่มต้นด�ำเนินโครงการปฏิรูปที่ต้องใช้เวลาและงบประมาณจ�ำนวนมาก วิธีนี้ ช่วยให้ผู้บริหารหลีกเลี่ยงอคติในการเลือกหรือตีความข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

คาดการณ์สิ่งที่ไม่คาดคิด

องค์กรที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลไม่ได้ด�ำเนินการตรวจสอบข้อมูลอย่าง จริงจังเฉพาะตอนเริ่มต้นโครงการเท่านั้น หากแต่มีการวิเคราะห์ตรวจสอบ ข้อมูลอย่างต่อเนื่องในทุกขั้นตอน ซึ่งช่วยให้สามารถระบุผลลัพธ์ที่ไม่คาดคิด ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงกระบวนการหรือโครงสร้างบางอย่าง โดยส่วนใหญ่ แล้วองค์กรเหล่านีม้ กี ารปรับใช้ระบบตรวจสอบข้อมูลทางธุรกิจทีส่ ำ� คัญในแบบ เรียลไทม์ เพื่อค้นหาการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติหรือไม่คาดคิด ซึ่งอาจเป็นตัว บ่งชี้ว่าการด�ำเนินโครงการปฏิรูปเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ และองค์กรก็ สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น ด�ำเนินการ ต่อโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือท�ำการแก้ไขในบางจุด หรือระงับ โครงการทั้งหมด ซึ่งทั้งหมดนี้จ�ำเป็นต้องอาศัยการอ้างอิงข้อมูล สิ่งส�ำคัญ ส�ำหรับองค์กรเหล่านีอ้ าจไม่ใช่ขอ้ มูลเสมอไป หากแต่เป็นวิธคี ดิ หรือทัศนคติใน การตรวจสอบข้อมูลอย่างต่อเนื่องเพื่อใช้เป็นแนวทางการด�ำเนินงาน องค์กร ธุรกิจเหล่านี้ รวมถึงผูบ้ ริหารทีก่ ำ� กับดูแล ยอมรับว่าตนเองไม่สามารถคาดการณ์ ผลกระทบทัง้ หมดทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการปฏิรปู ธุรกิจอย่างกว้างขวาง และยอมรับ ว่า “ความคล่องตัว” “การตอบสนองอย่างฉับไว” และความสามารถในการ ปรับตัวไม่อาจเกิดขึน้ ได้ ถ้าหากไม่มกี ารตรวจสอบและเฝ้าระวังหนทางข้างหน้า องค์กรทีข่ บั เคลือ่ นด้วยข้อมูลสามารถลดความผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ จากการพึง่ พา สัญชาตญาณของผู้บริหารมากเกินไป เพราะองค์กรเหล่านี้ให้ความส�ำคัญกับ ข้อพิสูจน์หรือหลักฐานที่เป็นรูปธรรมและตรวจวัดได้เกี่ยวกับการด�ำเนินการ ที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ ดังนั้นองค์กรเหล่านี้จึงสามารถระบุผลลัพธ์ที่ไม่คาด คิดล่วงหน้า และด�ำเนินมาตรการที่เหมาะสม แทนที่จะตอบสนองในลักษณะ ที่มากหรือน้อยเกินไปต่อตัวแปรที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ในแผนการด�ำเนินงาน

Engineering Today July - August

2019

46

พัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป

ทีจ่ ริงแล้ว องค์กรทีข่ บั เคลือ่ นด้วยข้อมูลด�ำเนิน กระบวนการปฏิรูปธุรกิจในลักษณะที่แตกต่างจาก องค์กร ซึ่งไม่ค่อยให้ความส�ำคัญกับข้อมูล กล่าวคือ องค์กรเหล่านี้มักจะด�ำเนินการปฏิรูปอย่างค่อยเป็น ค่อยไป โดยท�ำการเปลี่ยนแปลงก้าวเล็กๆ ทีละก้าว แทนทีจ่ ะด�ำเนินการปรับเปลีย่ น “อย่างฉับพลัน” ใน คราวเดียว โครงการขนาดเล็กในลักษณะเช่นนีอ้ าจดู เป็นเรื่องเล็กน้อยและไม่ได้กลายเป็นข่าวคราวใหญ่ โตในแวดวงธุรกิจ นอกจากนี้ยังช่วยให้องค์กรลด ความเสีย่ งและความเสียหายต่อความล้มเหลวทีอ่ าจ เกิดขึ้น และก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ส�ำคัญต่อพนักงาน และลูกค้าภายในเวลาอันรวดเร็ว จึงท�ำให้ทุกภาค ส่วนพร้อมที่จะให้การสนับสนุนส�ำหรับการด�ำเนิน การเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยรวมแล้ว องค์กรธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วย ธุรกิจมีข้อได้เปรียบเหนือกว่าองค์กรอื่นๆ อย่าง ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเพิ่มโอกาสความ ส�ำเร็จส�ำหรับการเปลี่ยนผ่านธุรกิจ แล้วอะไรคือ ปัจจัยที่จ�ำเป็นส�ำหรับการสร้างวัฒนธรรมที่เหมาะ สม? แน่นอนว่าเทคโนโลยีมีบทบาทส�ำคัญในเรื่องนี้ ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลทั่วทั้งองค์กรใน แบบเรียลไทม์ชว่ ยเพิม่ ความสะดวกให้แก่ผบู้ ริหารใน การอ้างอิงข้อมูลเพื่อรองรับการตัดสินใจ ทั้งยังช่วย ให้สามารถทดสอบสมมติฐานต่างๆ รวมไปถึงข้อมูล เชิงปริมาณที่สะท้อนหลากหลายแง่มุมของธุรกิจ สิง่ ทีส่ ำ� คัญไปกว่านัน้ ก็คอื ทัศนคติขององค์กร ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับข้อมูลและการปรับเปลี่ยนธุรกิจ โดยรวม กล่าวคือ ยิง่ องค์กรให้ความส�ำคัญกับข้อมูล ในกระบวนการตัดสินใจมากเท่าใด ผู้บริหารก็จะยิ่ง ให้ความส�ำคัญกับข้อเท็จจริงเหนือกว่าความรูส้ กึ ของ ตนเองมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งในทางกลับกันก็จะช่วยลด ความเสี่ยงที่การปฏิรูปองค์กรอาจถูกขับเคลื่อนด้วย แรงจูงใจที่ไม่ถูกต้อง เช่น ความทะเยอทะยานของ บุคคล หรือวาระซ่อนเร้น ข้อมูลจะช่วยให้การเปลีย่ น ผ่านธุรกิจเริ่มต้น ด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และก่อให้ เกิ ด ผลเป็ น รู ป ธรรม เพราะข้ อ มู ล จะเป็ น เครื่ อ ง ชี้ น� ำ และท� ำ ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานรั บ ทราบถึ ง สถานการณ์ที่เกิดขึ้น และเข้าใจว่าอะไรคือสิ่งที่มี ความส�ำคัญมากทีส่ ดุ ส�ำหรับองค์กรธุรกิจนัน้ ๆ


Energy Today • กองบรรณาธิการ

อธิบดี พพ. ลงพื้นที่ศึกษาโซลาร์ลอยน�ำ้ และโซลาร์รูฟท็อปต้นแบบ

ที่นิคมฯ หนองแค ผลิตน�ำ้ ประปา 236,512 หน่วยต่อปี ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 134 ตันต่อปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) น�ำคณะผู้บริหารและสื่อมวลชนลงพื้นที่ศึกษาศักยภาพระบบ ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบบลอยน�ำ้ และบนหลังคา เพือ่ ใช้ในการผลิตน�ำ้ ประปา ของ บริษทั เอสซีจี เซรามิกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ภายในนิคมอุตสาหกรรมหนองแค จังหวัดสระบุรี ซึง่ เป็นโครงการต้นแบบในการช่วยลดต้นทุนการผลิต ไม่กอ่ ให้เกิด มลพิษกับสิ่งแวดล้อมและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตน�้ำ ประปา โดยโครงการฯ ดังกล่าวได้รับรางวัล Thailand Energy Awards 2019 ประเภทต้นแบบความส�ำเร็จด้านพลังงาน ทดแทน ประเภทโครงการที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) น�ำพืน้ ทีไ่ ร้ประโยชน์ผลิตไฟฟ้า เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน และเข้าชิงรางวัล ASEAN Energy Awards 2019 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดงานในช่วงปลาย ปี พ.ศ. 2562 นี้อีกด้วย

ยงยุทธ จันทรโรทัย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กล่าวว่า พพ.อยู่ระหว่างเตรียมที่จะ ยื่นของบสนับสนุนจากกองทุนอนุรักษ์พลังงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประมาณ 100 ล้านบาท เพื่อด�ำเนินโครงการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ติดตั้งบนดินแบบลอยน�้ำ (โซลาร์ ฟาร์มลอยน�ำ้ ) เพือ่ ต่อยอดการผลิตไฟฟ้าจากอ่างเก็บน�ำ้ หรือเขือ่ น ขนาดเล็กที่อยู่ในความดูแลของ พพ.ที่มีศักยภาพ 9 แห่งโดยจะ น�ำร่องที่โครงการพลังน�ำ้ คีรีธาน จังหวัดจันทบุรี ด้วยขนาดก�ำลัง ผลิตติดตั้ง 1.5 เมกะวัตต์ เนื่องจากศักยภาพของพลังน�้ำใน เขื่ อ นคี รี ธ านมี ค วามพร้ อ มที่ จ ะติ ด ตั้ ง โซลาร์ ล อยน�้ ำ เพื่ อ การ ผลิ ต ไฟฟ้ า และจะขยายโครงการไปสู ่ เ ขื่ อ นหรื อ อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ขนาดเล็กที่อยู่ในความดูแลของ พพ.ต่อไป นอกจากนี้ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็ก�ำลังเปิดประมูลให้มีการ ติดตั้งโซลาร์ฟาร์มลอยน�้ำที่เขื่อนสิรินธรอีกด้วย ส�ำหรับการพัฒนาโครงการพลังงานน�ำ้ ในอ่างขนาดเล็กนัน้ ที่ผ่านมา พพ.ได้พัฒนาและมีการจ�ำหน่ายไฟเข้าระบบการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (PEA) ที่มีจุดประสงค์การพัฒนาในการกระจาย ความเจริญไปสูภ่ มู ภิ าคทีเ่ น้นการพัฒนาแหล่งน�ำ้ ให้เกษตรกรเป็น หลัก ส่วนใหญ่ใช้ไฟฟ้าเป็นเพียงผลพลอยได้ โดยน�ำเงินงบ ประมาณมาลงทุนท�ำให้ค่าไฟฟ้าภายใต้โครงการดังกล่าวจะมี ราคาต�่ำเฉลี่ยส่วนใหญ่จ�ำหน่ายให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) อยู่ระดับ 1.09 บาทต่อหน่วย การติดตั้งโซลาร์ฟาร์มฯ ก็จะท�ำให้ ต้นทุนค่าไฟระยะยาวต�ำ่ ลง นอกจากนีภ้ าคเอกชนเริม่ หันมาใส่ใจ

ยงยุทธ จันทรโรทัย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

โซลาร์ฟาร์มลอยน�้ำ ใช้ผลิตน�้ำประปา ของ บริษัท เอสซีจี เซรามิกส์ จ�ำกัด (มหาชน)

47

Engineering Today July - August

2019


“โครงการระบบผลิตไฟฟ้าด้วย พลังงานแสงอาทิตย์แบบลอยน�้ำ และบนหลังคาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิตน�้ำประปา” ช่วยลดการระเหยน�ำ้ จากบ่อได้ถึง 7% รวมถึงลดการใช้ ไฟฟ้าจากระบบสายส่ง ได้ถึง 14% ด้วยก�ำลังการผลิตติดตั้งทั้งสิ้น 160 Kw สามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ในการผลิต น�ำ้ ประปาได้ประมาณ 236,512 หน่วยต่อปี รวมทั้งลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ได้ถึง 134 ตันต่อปี

ในการพัฒนาเทคโนโลยีและติดตั้งการผลิตไฟจากแสงอาทิตย์ทั้ง รู ป แบบติ ด ตั้ ง บนหลั ง คา (โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ป) และโซลาร์ ฟ าร์ ม ลอยน�้ำเพิ่มขึ้น จากการลงพืน้ ที่ พพ.ตรวจเยีย่ ม “โครงการระบบผลิตไฟฟ้า ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบบลอยน�้ำและบนหลังคาเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตน�้ำประปา” ซึ่งเป็นโครงการต้นแบบ ในการช่วยลดต้นทุนการผลิต ไม่ก่อให้เกิดมลพิษกับสิ่งแวดล้อม และช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตน�ำ้ ประปาของ บริษทั เอสซีจี เซรามิกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ภายในนิคมอุตสาหกรรมหนองแค จังหวัดสระบุรี ถือเป็นต้นแบบพลังงานทดแทนประเภทโครงการ ที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) โดยโครงการ ดังกล่าวได้น�ำพื้นที่ที่ไม่เกิดประโยชน์ เช่น พื้นที่บนหลังคา บ่อน�ำ้ มาใช้เพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดย ติดตั้งระบบไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งในโครงการระบบ ผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์บนหลังคา และแบบลอยน�ำ้ ทีส่ ามารถผลิต กระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น และยังช่วยลดการระเหยน�ำ้ จากบ่อได้ถึง 7% รวมถึงลดการใช้ไฟฟ้าจากระบบสายส่งได้ถงึ 14% ด้วยก�ำลัง การผลิตติดตั้งทั้งสิ้น 160 Kw สามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ในการ ผลิ ตน�้ ำ ประปาได้ ป ระมาณ 236,512 หน่ ว ยต่ อ ปี รวมทั้ ง ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 134 ตันต่อปี อย่างไรก็ตาม จากการลงทุนติดตั้งโซลาร์เซลล์มากขึ้น โดยเฉพาะการผลิตเองใช้เอง (Isolated Power Supply : IPS) ท�ำให้หลายฝ่ายมองว่าเมื่อแผงผลิตไฟหมดอายุจะกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมอย่างมากในการต้องหาวิธีก�ำจัดนั้น ส�ำหรับประเด็น ดังกล่าว พพ.ได้ว่าจ้าง บริษัท เพเนอร์จี จ�ำกัด ท�ำการศึกษาถึง

Engineering Today July - August

2019

48

วิธีการก�ำจัดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระยะ 6 เดือนซึ่งจะมีการ รายงานผลการศึกษาอย่างเป็นทางการภายในเดือนกรกฎาคมนี้ แต่เบื้องต้นรายงานอย่างไม่เป็นทางการพบว่าในส่วนของกระจก และกรอบอะลูมิเนียมสามารถรีไซเคิลได้และพบว่าสารพิษที่เกิด ขึน้ จริงค่อนข้างต�ำ่ ซึง่ รายละเอียดของจะต้องรอสรุปอย่างทางการ อีกครั้ง น�ำพล มลิชัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสซีจี เซรามิกส์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า โครงการฯ ดังกล่าวได้รับการออกแบบ โดยค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นส�ำคัญ ซึง่ เทคโนโลยีทนี่ ำ� มาใช้ดำ� เนินการนัน้ เป็นเทคโนโลยีทที่ นั สมัย จาก ประเทศเยอรมนี นอร์เวย์ ไทย และจีน มาประยุกต์ทำ� งานร่วม กันเพื่อให้การออกแบบโครงสร้างด้วยโปรแกรม PVsyst ซึ่งเป็น โปรแกรมที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในระดั บ สากลส� ำ หรั บ ออกแบบ พลังงานแสงอาทิตย์เพือ่ ใช้คำ� นวณปริมาณ Output และ Loss ใน โครงการทั้งหมด โดยใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบโพลีคริสตัล ซิลิคอน ที่จะน�ำไปติดตั้งโซลาร์ลอยน�้ำและโซลาร์บนหลังคามี ประสิทธิภาพในการเปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า สูงกว่าแผงแบบอื่นๆ ท�ำให้ประสิทธิภาพโซลาร์ลอยน�ำ้ สามารถ


ผลิ ต ไฟฟ้ า ได้ ม ากกว่ า โซลาร์ บ นหลั ง คา 9% แต่ ร าคาของ แผงโซลาร์เซลล์บนผิวน�้ำจะมีราคาสูงกว่าแผงโซลาร์บนหลังคา และการบ�ำรุงรักษาค่อนข้างสูง ส�ำหรับผลตอบแทนด้านการลงทุนสูง (IRR) 18% ตลอด ระยะเวลา 25 ปี สามารถลดต้นทุนได้สูงถึง 20.4 ล้านบาท ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 3,365 ตัน ระยะเวลาคืน ทุน 5-6 ปี ถือว่าโครงการนี้ เป็นโครงการที่มีประสิทธิภาพ และ เป็นต้นแบบทีส่ ามารถขยายผลไปใช้กบั โครงการอืน่ ๆ ของบริษทั ฯ ทัง้ ในและต่างประเทศถึง 5 โครงการ คิดเป็นมูลค่า 200 ล้านบาท สามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตได้ถึง 199 ล้าน หน่วยต่อปี ท�ำให้โรงงานทัง้ หมดสามารถลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน ได้ถึง 30 ล้านบาทต่อปี

โครงการฯ ดังกล่าวได้รับรางวัล Thailand Energy Awards 2019 ประเภทต้นแบบความส�ำเร็จ ด้านพลังงานทดแทน ประเภทโครงการ ที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) น�ำพื้นที่ไร้ประโยชน์ผลิตไฟฟ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และเข้าชิงรางวัล ASEAN Energy Awards 2019 ที่ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพในการจัดงาน ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 นี้อีกด้วย นอกจากนี้ โครงการฯ ดังกล่าวได้รับรางวัล Thailand Energy Awards 2019 ประเภทต้นแบบความส�ำเร็จด้านพลังงาน ทดแทน ประเภทโครงการที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) น�ำพื้นที่ไร้ประโยชน์ผลิตไฟฟ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน และเข้าชิงรางวัล ASEAN Energy Awards 2019 ทีป่ ระเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดงานในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 นี้อีกด้วย

โซลาร์รูฟท็อป น�ำพื้นที่หลังคา บ่อน�้ำมาใช้ผลิตไฟฟ้า

49

Engineering Today July - August

2019


Research & Development • กองบรรณาธิการ

บริติช เคานซิล

จับมือ Food Innopolis

ปั้นโครงการ University-Industry Links

ยกระดับสถาบันการศึกษา-อุตสาหกรรมไทยสู่เวทีระดับโลก ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า “คน” และ “นวัตกรรม” เป็นหัวใจหลักในการ สร้างประเทศให้มีความเข้มแข็งและสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ จึงเป็นเรื่องส�ำคัญในการพัฒนาศักยภาพคนทั้งด้านความรู้และทักษะ ด้วย การสอนทักษะใหม่ (Re-skill) การสอนทักษะเพิ่มเติม (up-skill) และการ สอนทักษะทีห่ ลากหลาย (Multi-skill) ผ่านการท�ำงานร่วมกันระหว่างสถาบัน อุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะเป็นแต้มต่อที่ผลักดันให้คนและ ประเทศพัฒนาอย่างยั่งยืน จากความส�ำคัญดังกล่าว บริตซิ เคานซิล ประเทศไทย จึงจัดท�ำโครงการ ความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรม (University– Industry Links) โดยท�ำงานร่วมกับ เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) ภายใต้ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อสร้าง ความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรมในไทยและ สหราชอาณาจักร ผ่านการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่าง 2 ประเทศ ซึง่ จะช่วยสร้าง แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมอาหารอย่างมีกลยุทธ์ให้กับ ประเทศไทย แล้วต่อยอดไปสู่การพัฒนาสินค้าที่มีนวัตกรรมที่ตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาดในปัจจุบัน

Engineering Today July - August

2019

50

แอนดรูว์ กลาส ผู้อ�ำนวยการ บริติช เคานซิล ประเทศไทย

ผศ.ดร.อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ ผู้ช่วยผู้อำ� นวยการ สวทช. และผู้อำ� นวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร


แอนดรูว์ กลาส ผูอ้ ำ� นวยการ บริตชิ เคานซิล ประเทศไทย กล่าวว่า University-Industry Links เป็นโครงการเพื่อสนับสนุน การพัฒนาอุดมศึกษาและวิทยาศาสตร์ของไทยสู่นานาชาติ และ ช่วยลดช่องว่างการท�ำงานร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและ ภาคอุตสาหกรรม ผ่านการร่วมกันแชร์ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญ แต่ละด้าน เพราะการยกระดับความสามารถทางการแข่งขันให้กบั ประเทศจะต้องอาศัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเกิดขึ้น ได้จากการสร้างความรู้และงานวิจัยด้านนวัตกรรม ผสมผสานไป กับการยกระดับทักษะให้กับภาคแรงงาน ซึ่งโมเดลการท�ำงาน ร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรมถือว่าเป็น รูปแบบที่ตอบโจทย์มากที่สุด ส�ำหรับโครงการ University–Industry Links มีการด�ำเนินงาน 2 กิจกรรม คือ โครงการการมองอนาคต (Foresight Project) มีเป้าหมายพัฒนาแผนยุทธศาสตร์เพือ่ ระบุแนวทางการด�ำเนินงาน ของภาคอุตสาหกรรมอาหาร ขยายฐานงานวิจยั และความร่วมมือ ในประเด็นเป้าหมายตามทีร่ ะบุไว้เป็นผลลัพธ์ของแผนยุทธศาสตร์ และโครงการการประเมินคุณภาพทางสัม ผัส และพฤติกรรม ผู้บริโภค (Sensory and Consumer Behaviors Project) เป็น การสร้างทรัพยากรบุคคลทีส่ ามารถวิเคราะห์ความรูส้ กึ และเข้าใจ พฤติกรรมของผู้บริโภค ซึ่งจะช่วยสร้างความสามารถทางการ แข่งขันในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารไทยในตลาดอาหารระหว่าง ต่างประเทศ “อุตสาหกรรมอาหารเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ใหม่ (S-curve) ทีข่ บั เคลือ่ นเศรษฐกิจเพือ่ อนาคตของประเทศไทย ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ขณะเดียวกัน อุตสาหกรรมอาหาร ก็มบี ทบาทส�ำคัญในสหราชอาณาจักรอีกด้วย เห็นได้จากรายจ่าย ด้านอาหารและเครื่องดื่มของประชากรในสหราชอาณาจักรมี มูลค่ารวมกว่า 203,000 ล้านปอนด์ หรือ 9.1 ล้านล้านบาท สหราชอาณาจักรจึงให้ความส�ำคัญกับอุตสาหกรรมนี้อย่างมาก ดังนัน้ กล่าวได้วา่ อุตสาหกรรมอาหารเป็นเรือ่ งส�ำคัญของไทยและ

สหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นโอกาสดีที่ บริติช เคานซิล ได้เข้ามาเป็น ส่วนหนึง่ ของการร่วมขับเคลือ่ นงานด้านนี้ ผ่านการพัฒนาสถาบัน อุดมศึกษาสู่ความเป็นนานาชาติ และต่อยอดการท�ำงานกับภาค อุตสาหกรรมให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น” แอนดรูว์ กล่าว ทั้งนี้ ประเด็นความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและ ภาคอุตสาหกรรมได้ถูกหยิบยกไปพูดถึงบนเวที Going Global 2019 ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศเยอรมนีเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา โดยเวทีดังกล่าวเป็นงานสัมมนาด้านการศึกษาระดับโลกที่ให้ ผู้น�ำด้านการศึกษาจากทั่วโลกได้มาน�ำเสนอและหารือเกี่ยวกับ นโยบาย และแนวคิดใหม่ๆ โดย ผศ. ดร.อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ สวทช. และ ผู้อ�ำนวยการเมืองนวัตกรรม อาหาร เป็นหนึง่ ในตัวแทนจากประเทศไทยทีไ่ ด้ไปน�ำเสนอแนวคิด และรู ป แบบการท� ำ งานระหว่ า งสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาและภาค อุตสาหกรรมของไทย ดร.อัครวิทย์ กล่าวว่า จากการเข้าร่วมงาน Going Global 2019 ได้รับฟังมุมมองด้านการศึกษาจากหลายประเทศก็พบว่า มีจุดร่วมคล้ายคลึงกับประเทศไทย โดยเฉพาะประเทศก�ำลัง พัฒนา หรือกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (emerging markets) ที่ มี ป ั ญ หาเหมื อ นกั น ในเรื่ อ งความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถาบั น อุดมศึกษากับภาคอุตสาหกรรม ซึ่งยังมีช่องว่างในการท�ำงาน ร่วมกัน ดังนั้น ถ้าหากต้องการเสริมศักยภาพให้กับคนเพื่อไป พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จะต้องมีแนวทางผลักดันให้สถาบัน อุดมศึกษากับภาคอุตสาหกรรมท�ำงานร่วมกันมากกว่าเดิม โดย มหาวิทยาลัยมีบทบาทในการท�ำงานร่วมกับภาคเอกชนมากขึ้น เพื่อสร้างงานวิจัยที่ตอบโจทย์ประเทศ และพัฒนาทักษะของ ผู้เรียนไปพร้อมกัน “การท�ำงานของเมืองนวัตกรรมอาหารกับ บริติช เคานซิล จะผลักดันให้สถาบันอุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรมมีความ ใกล้ชิดกันมากขึ้น ด้วยบทบาทของเมืองนวัตกรรมอาหารที่เป็น ตัวกลางระหว่างภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้ง สหราชอาณาจักรก็มีความเข้มแข็งและเชี่ยวชาญในด้านของการ ท�ำงานร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรม อยูแ่ ล้ว ดังนัน้ โครงการ University-Industry Links จะช่วยเชือ่ มโยง สถาบันอุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรมจากสหราชอาณาจักรกับ ประเทศไทยให้เกิดการแชร์องค์ความรู้และประสบการณ์ระหว่าง กัน เพือ่ สร้างความเป็นมืออาชีพ ซึง่ การน�ำโมเดลจากต่างประเทศ เข้ามาจะท�ำให้เห็นภาพทีช่ ดั เจน และสามารถน�ำไปปรับใช้กบั การ ท�ำงานจริงได้อย่างรวดเร็ว” ดร.อัครวิทย์ กล่าว ส�ำหรับแผนงานความร่วมมือของ Food Innopolis กับ บริติช เคานซิล ระยะถัดไป นอกจากจะต่อยอดโครงการเดิมที่ ท�ำอยู่แล้ว อาจเดินหน้าไปถึงเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development : HRD) และการแลก เปลีย่ นความรูแ้ ละเทคโนโลยีจากสหราชอาณาจักรอีกด้วย

51

Engineering Today July - August

2019


IT Update • กองบรรณาธิการ

เอ็นทีทีชูนวัตกรรม IoT

และปัญญาประดิษฐ์

เพิ่มศักยภาพการผลิตในภาคอุตสาหกรรมแบบครบวงจร บริษทั เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เอ็นทีที คอม) ผู้ด�ำเนินธุรกิจให้บริการด้านไอซีทีโซลูชั่นและการสื่อสารระหว่าง ประเทศ ซึ่งได้เพิ่งประกาศรวมกิจการภายใต้บริษัท NTT Ltd พร้อม น�ำเสนอนวัตกรรม IoT (Internet of Things) เจาะกลุ่มอุตสาหกรรม โรงงานการผลิตทัง้ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ด้วยบริการ Intelligence Process Optimization แบบครบวงจร เพิ่มศักยภาพในกระบวนการ ผลิต พร้อมผลักดันปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) เข้ามาวิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติ Intelligence Process Optimization เป็นบริการแบบครบวงจร เริม่ จากให้คำ� ปรึกษา ส�ำรวจพืน้ ทีแ่ ละระบบเพือ่ น�ำเสนอโซลูชนั่ ทีเ่ หมาะ สม ตั้งแต่การออกแบบระบบเครือข่าย การจัดหาอุปกรณ์ส�ำหรับจัดเก็บ ข้อมูล และแพลตฟอร์มในการท�ำงาน เพื่อจัดเก็บข้อมูลการผลิตแบบ รวมศูนย์ ให้มีความชัดเจน สามารถบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม รวมถึงความ สามารถในการน�ำไปวิเ คราะห์ส ถานะในการท�ำงานแต่ละวัน และ เชื่อมโยงข้อมูลให้สามารถตรวจสอบจากศูนย์ควบคุมทั้งภายในและ ภายนอกโรงงานได้ นอกจากนี้ยังมีระบบตรวจสอบการท�ำงานหากมี ความผิดพลาดหรือหยุดชะงักจะมีสัญญาณแจ้งเตือน เพื่อให้ผู้ควบคุม การผลิตในแต่ละส่วนสามารถแก้ไขจุดบกพร่องได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นย�ำ ศานิต เกษมสันต์ ณ อยุธยา รองประธานแผนกผลิตภัณฑ์และ บริการ บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ปัจจุบนั กลุม่ โรงงานอุตสาหกรรมภาคการผลิตได้มกี ารน�ำเทคโนโลยี IoT หรือ Internet of Things เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบ คิดเป็นประมาณ ร้อยละ 4 ของโรงงานทั้งหมดที่ตั้งอยู่ในไทย ทั้งนี้เอ็นทีที คอม มีความ พร้อมที่จะน�ำเสนอบริการ Intelligence Process Optimization เพื่อ เสริมสร้างศักยภาพให้กบั ภาคโรงงานผลิตในการผลักดันเทคโนโลยี IoT เข้าไปประยุกต์ใช้ในโรงงานได้อย่างเหมาะสม โดยจะเป็นการผสานการ ท� ำ งานระหว่ า งระบบ IoT เข้ า กั บ เทคโนโลยี ส ่ ว นปฏิ บั ติ ก าร หรื อ Operational Technology (OT) ให้สามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยในเบื้องต้นจะมุ่งเน้นไปที่กลุ่มโรงงานขนาดกลางไป จนถึงขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมรถยนต์ พลังงาน อาหาร และเคมีภัณฑ์ “จากการส�ำรวจกระบวนการท�ำงานในโรงงานถึงแม้จะเป็นโรงงาน ผลิตขนาดใหญ่พบว่า ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากข้อมูลในการผลิตไม่ถูก จัดเก็บไว้ที่จุดศูนย์กลาง มีความผิดพลาดที่เกิดจากการจัดเก็บข้อมูล รวมถึงความผิดพลาดจากการท�ำงานแบบแมนนวล ซึ่งบริการดังกล่าว

Engineering Today July - August

2019

52

ศานิต เกษมสันต์ ณ อยุธยา รองประธานแผนกผลิตภัณฑ์และ บริการ บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

จะเข้าไปช่วยในการบริหารจัดการข้อมูล ความเสี่ยง การ ตรวจสอบ การบันทึก และวิเคราะห์สถานะของระบบการ ท�ำงานของโรงงานแบบเรียลไทม์ตลอด 24 ชั่วโมง ลด ข้อผิดพลาดในกระบวนการผลิตให้มีความเสถียรมากขึ้น ย่นระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูล ลดระยะเวลาและขัน้ ตอน ในการท�ำงาน สามารถรวบรวมข้อมูลการจัดเก็บคลังสินค้า และอุปกรณ์การผลิต รวมถึงวิเคราะห์เพือ่ แสดงจุดบกพร่อง หาสาเหตุของความเสียหายจากกระบวนการผลิตได้อย่าง รวดเร็ ว และตรงจุ ด ซึ่ ง จะช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ ่ า ยและเพิ่ ม ศักยภาพในการแข่งขัน สอดรับกับการปรับตัวเข้าสู่ Digital Transformation ที่ในปัจจุบันต้องอาศัยความรวดเร็วและ แม่นย�ำ เพื่อรองรับความต้องการของตลาดได้ทันท่วงที” ศานิต กล่าว นอกจากนี้ เอ็ น ที ที คอม ยั ง ได้ น� ำ แนวทางการ วิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติจากการน�ำปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) เข้ามาเรียนรู้ข้อมูล ภายในแพลตฟอร์มด้วยรูปแบบของ Data Robot โดยการ สร้างแบบจ�ำลองรูปแบบของโครงการ หรือกระบวนการ ผลิต แล้วน�ำมาประเมินสถานการณ์เพื่อให้เห็นข้อมูล ชัดเจน และปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในกระบวนการผลิตให้มี ประสิทธิภาพและตอบโจทย์ตลาดได้มากที่สุดยิ่งขึ้น


IT Update • กองบรรณาธิการ

DGA ชี้ พ.ร.บ.

รัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2562

เชื่อมโยงข้อมูลการท�ำงานระหว่าง ภาครัฐ-เอกชนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ส�ำ

นักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) หรือ DGA จัดแถลงรายละเอียด พ.ร.บ. การบริหารงานและการ ให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจทิ ลั พ.ศ. 2562 หรือ พ.ร.บ.รัฐบาลดิจทิ ลั ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา เพื่อให้การบริการภาครัฐเบ็ดเสร็จในจุดเดียวพร้อมทั้งเชื่อมโยงข้อมูล การท�ำงานระหว่างภาครัฐด้วยกัน และเชือ่ มโยงกับภาคเอกชนสะดวก มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยไม่ซำ�้ ซ้อนกับกฎหมายดิจิทัลอื่น ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) หรือ DGA กล่าวว่า พ.ร.บ.ฉบับนี้มีที่มาจากข้อเสนอ การปฏิรปู ประเทศ และบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวดว่าด้วยการปฏิรูปประเทศ ที่มุ่งหวังให้เกิดการปฏิรูประบบข้อมูล ภาครั ฐ สู ่ ก ารเป็ น รั ฐ บาลที่ เ ปิ ด เผยและเชื่ อ มต่ อ กั น (Open and Connected Government) รวมทั้งเป็นกลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้ระบบการ ท�ำงานและข้อมูลของภาครัฐสามารถเชื่อมโยงระหว่างกันอย่างมั่นคง ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ สามารถเปิดเผยข้อมูลเพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ภายใต้ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ โดยมีกลไกตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดการท�ำงานที่สอดคล้องและไม่ซ�้ำซ้อนกับกฎหมายดิจิทัลอื่น กฎหมายนี้ยังนับเป็นครั้งแรกที่มีการระบุถึงเรื่องธรรมาภิบาลข้อมูล ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นี้ ยั ง ไม่ มี ก ฎหมายอื่ น ใดของไทยที่ เ คยบั ญ ญั ติ ว ่ า ให้ มี ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ เป็นกรอบในการจัดการบริหารข้อมูลของ หน่วยงานภาครัฐทีช่ ดั เจน เพือ่ ให้ขอ้ มูลในระบบมีความถูกต้อง ทันสมัย แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ด้วยปลายนิ้วค้นหาข้อมูลได้ทันที พร้อมที่จะน�ำไป ต่อยอดและพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของรัฐบาล ส�ำหรับสาระส�ำคัญของ พ.ร.บ.รัฐบาลดิจิทัลนี้ครอบคลุม 8 ด้าน ประกอบด้วย 1. ให้มกี ารจัดท�ำแผนพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (แผนระดับชาติ) 2. ให้มีคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็น ประธาน 3. ให้ ส� ำ นั ก งานพั ฒนารั ฐ บาลดิ จิ ทั ล (องค์ ก ารมหาชน) สนับสนุนการด�ำเนินการตามกฎหมายนี้ 4. ให้มธี รรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ เป็นกรอบในการจัดการบริหารข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ 5. ให้หน่วยงาน ภาครัฐจัดท�ำข้อมูลและบริการในรูปแบบดิจิทัล (Digitization) 6. ให้

53

หน่วยงานของรัฐเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบดิจทิ ลั (Open Government Data) 7. ให้หน่วยงานของรัฐ แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน (Integration) และมีศนู ย์แลกเปลีย่ นข้อมูลกลาง 8. สนับสนุนการเชือ่ มโยง บริการดิจิทัล ให้เกิดบริการสาธารณะแบบเบ็ดเสร็จ

ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ DGA

กฎหมายฉบับนีไ้ ด้ประกาศใช้แต่วนั ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา ท�ำให้การท�ำงานระหว่างหน่วยงาน ภาครั ฐ ด้ ว ยกั น ภาครั ฐ กั บ ภาคเอกชนมี ค วามสะดวก มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยไม่ซ้�ำซ้อนกับกฎหมาย ดิจิทัลอื่น ส�ำ หรับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการจะได้รับ ประโยชน์จาก พ.ร.บ.รัฐบาลดิจิทัล ประกอบด้วย จาก พ.ร.บ.รัฐบาลดิจทิ ลั นี้ ได้แก่ 1. ได้รบั การบริการจากภาครัฐ ที่สะดวกและรวดเร็วไม่สร้างภาระแก่ประชาชน ลดการใช้ ส�ำเนาเอกสารในการติดต่อราชการ 2. การติดต่อภาครัฐ ใช้ บั ต รประจ� ำ ตั ว ประชาชนเพี ย งใบเดี ยวท� ำ ได้ ทุ ก เรื่ อ ง

Engineering Today July - August

2019


หรือติดต่อออนไลน์ได้แบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) 3. ใช้ข้อมูลเปิดภาครัฐ ส�ำหรับการติดตามและตรวจสอบ การด�ำเนินการของรัฐ และ 4. สามารถน�ำข้อมูลเปิดของ หน่วยงานรัฐพัฒนานวัตกรรมทีส่ ร้างประโยชน์ตอ่ เศรษฐกิจ และสังคม “DGA ตั้งเป้าในการท�ำงานในปีแรกจะสามารถให้ บริการภาคธุรกิจราว 70-80 หน่วยงาน และหน่วยงานที่ ให้บริการประชาชน 120 หน่วยงาน สามารถเชือ่ มต่อข้อมูล และเข้าถึงข้อมูลระหว่างกันได้” ดร.ศักดิ์ กล่าว

>> บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการรัฐบาลดิจิทัล อภิ ณ ห์ พ ร อั ง คกมลเศรษฐ์ รองผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ DGA กล่าวว่า ตามมาตรา 6 ของกฎหมายฉบับนี้ก�ำหนด ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการรัฐบาลดิจิทัล ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิ ตามคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึง่ คณะกรรมการชุดนี้ เป็นการ รวมคณะกรรมการด้านดิจิทัลจากหลากหลายคณะท�ำให้ สามารถเชื่อมโยงการท�ำงานในภาพรวมเพื่อให้การพัฒนา ประเทศไปในทิศทางเดียวกัน ในส่วนงานราชการสามารถเตรียมการหรือเริ่มการ ด�ำเนินการตามกฎหมายฉบับนี้ได้ทันที เช่น การน�ำระบบ ดิจทิ ลั ทีเ่ หมาะสมมาประยุกต์ใช้กบั การบริหารงานและการ ให้บริการประชาชน ลดการใช้กระดาษหรือส�ำเนาเอกสาร ก�ำหนดให้ทกุ หน่วยต้องเปิดและแชร์ขอ้ มูลระหว่างกัน จัดให้ มีระบบการช�ำระเงินทางดิจิทัลอีกช่องทางหนึ่ง ตลอดจน มาตรฐาน หรือหลักเกณฑ์ และวิธกี ารตามกฎหมายนีก้ อ่ น จึงจะสามารถด�ำเนินการได้อย่างเต็มรูปแบบ “DGA ได้จัดการประชุมระดมสมอง ทั้ง ภาครัฐ ภาคธุรกิจและภาคประชาชนเพื่อน�ำความคิดเห็นมาจัดท�ำ ร่างกรอบแผนพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั ต่อไป โดย DGA จะเป็น ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานกลางในการอ� ำ นวยการเพื่ อ สนับสนุนและส่งเสริมการด�ำเนินงานเกี่ยวกับการเป็น รัฐบาลดิจิทัล” อภิณห์พร กล่าว

>> ตั้งเป้า 2 ปีแรกจัดตั้งศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูล ภาครัฐ GDX

ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) หรือ DGA กล่าวว่า เมือ่ กฎหมายฉบับประกาศใช้อย่างเป็นทางการแล้ว ภายใน 2 ปีแรก DGA จะต้องด�ำเนินการจัดตัง้ ศูนย์กลางแลกเปลีย่ น ข้อมูลภาครัฐ (Government Data Exchange Center:

Engineering Today July - August

2019

GDX) เพือ่ การบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทัง้ การเชือ่ มโยงข้อมูล และการดําเนินงาน ให้สามารถเห็นข้อมูลประชาชนเป็นภาพเดียว ที่สมบูรณ์ ให้เกิดบริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ ครบวงจร ณ จุดเดียวหรือ One Stop Service (OSS) โดยในระยะแรกจะเริ่มน�ำร่องกับบริการ ภาครัฐที่มีการเรียกขอส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน ส�ำเนาทะเบียน บ้าน ภายใต้โครงการยกเลิกส�ำเนาเอกสาร และขยายผลไปสู่บริการ ยกเลิกเรียกขอเอกสารทะเบียนดิจิทัล และใบอนุญาตอื่นๆ ต่อไป เนื่องจากที่ผ่านมาการด�ำเนินการนั้นจะกระท�ำในรูปแบบการขอความ อนุเคราะห์การท�ำงานระหว่างกันมากกว่าที่จะเป็นรูปแบบกึ่งบังคับ เหมือนอย่างในกฎหมายฉบับนี้

>> ต้องมีธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ เป็นกรอบการก�ำกับดูแล

วิบลู ย์ ภัทรพิบลู รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) หรือ DGA กล่าวว่า การให้ข้อมูลแลกเปลี่ยนในเรื่อง ข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Government Data) เพื่อให้หน่วยงานของรัฐ เปิดเผยข้อมูลตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการในรูปแบบ ดิจิทัลต่อสาธารณะ ผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ โดยประชาชน สามารถน�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนานวัตกรรมเพือ่ ต่อยอดธุรกิจ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ จะเห็นได้ว่าเนื้อหาส่วนใหญ่ของ พ.ร.บ.ฉบับนี้ เป็นเรื่องของข้อมูลทั้งสิ้น จึงต้องมีธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance) เป็นกรอบการก�ำกับดูแลข้อมูล ภายใต้กรอบการก�ำกับ ดูแลข้อมูล (Data Governance Framework) จะมีเพื่อก�ำหนดสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการ ข้อมูล เพื่อให้ได้มาและการน�ำไปใช้ข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน มั่นคงปลอดภัย รักษาความเป็นส่วนบุคคล และ สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมั่นคง ปลอดภัยได้จริง “เพราะฉะนั้นทุกส่วนราชการต้องให้ความส�ำคัญ ทั้งการออก นโยบาย แนวปฏิบัติ การรักษาข้อมูลส่วนบุคคล สิ่งเหล่านี้จะเป็นกลไก ที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้สามารถบริหารจัดการข้อมูลหน่วยงานของตนเองได้ เพื่อมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ” วิบูลย์ กล่าว

54


@Engineering Today Vol. 4 No. 172

.$6+è,+ ' 5 %;1

. 6 5 6',: -6 $6 '5 šA1

A'Ę 8'= +è,+ 'E & 5 &< xÅÄÇÂƝà Ă€

+. › A 8 / Ä™6& '4 5 %6 ' 6 16 6' Ä™6 B Ę 8 E/+ ) $5&"Ă´ 5 8› '4 6 )1 $5& .$6. 6 8 5 %;1 16'&4 A1H Äœ C A 'ĂŠ&% +6%"'Ä™1% 5 6 Ă—.$6. 6 8 Ăšä¤Ă˜ '5J B' D E & 26 8B '<Äš 'Ę+% < )8. Äœ '<Äš "5 6 1 C 3 )5 5+'ĂŠ&Ę6 1 /)Ę1 ž C ' 6' %=) Ę6'+% +Ę6 žœ¤ "5 )Ä™6 6


Construction • กองบรรณาธิการ

ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร

สมัย ลี้สกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรม แห งประเทศไทย (สอท.)

สภาวิศวกรจับมือสถาบันการศึกษา ภาครัฐ-เอกชน เร งปฏิรูปวิศวกรไทย ทันยุค Disruption เตรียมดันแผนแม บทป 2020 รับมือวิศวกรขาดแคลน

สภาวิศวกร จับมือ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สมาคมการคากลุม อสังหาริมทรัพยออกเเบบเเละกอสราง สภาหอการคาเเหงประเทศไทย กรมโยธาธิการ และผังเมือง และสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตรแหงประเทศไทย เปดเวทีปฏิรูป วิศวกรไทย เพือ่ รับฟงความคิดเห็นและรวมแลกเปลีย่ นแนวทางการยกระดับวิศวกรรม ไทยในการกําหนดเสนทางใหมที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญและกาวทันใน ยุคดิสรัปชั่น (Disruption) พรอมขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของไทยใหเติบโต อยางตอเนื่อง พรอมกันนี้ไดเปดยุทธศาสตรของสภาวิศวกรกับกาวตอไปของวิศวกร ไทยในป 2020 รองรับแนวโนมคนรุนใหมเรียนดานวิศวกรรมนอยลง เสี่ยงเปนอาชีพ ที่ขาดแคลนในอนาคต ซึ่งสวนทางกับความตองการของประเทศ

Engineering Today July - August

2019

56

ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายก สภาวิศวกร กลาววา สภาวิศวกร ไดให ความสํ า คั ญ กั บ การมี ส  ว นร ว มในการ กําหนดทิศทางการพัฒนาศักยภาพดาน วิศวกรรมของไทย จึงไดจัดการประชุม “การปฏิ รู ป วิ ศ วกรไทย” ขึ้ น ณ ห อ ง เจาพระยาบอลรูม ชัน้ 2 โรงแรมเจาพระยา ปารค ซึ่งจะเปนเวทีแลกเปลี่ยนแนวทาง การพลิกโฉมวิศวกรรมไทยในยุคดิสรัปชั่น กับ หน วยงานที่เกี่ยวของด า นวิศวกรรม ระดั บ ชั้ น นํ า ของประเทศ อาทิ สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สมาคมการ ค า กลุ  ม อสั ง หาริ ม ทรั พ ย อ อกเเบบเเละ กอสรางสภาหอการคาเเหงประเทศไทย กรมโยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ ง และสภา คณบดี ค ณะวิ ศ วกรร มศาสตร แ ห ง ประเทศไทย โดยมีเปาหมายเพื่อรวมกัน กํ า หนดทิ ศ ทางการปฏิ รู ป วิ ศ วกรไทย ภายใตแนวคิด ยกระดับวิศวกรไทยสูส ากล เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน


การเปิดเวทีแลกเปลี่ยนแนวทางการปฏิรูปวิศวกรไทย ร่วม กับหน่วยงานด้านวิศวกรรมระดับประเทศ จัดขึ้นเป็นครั้งแรกนับ ตัง้ แต่มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 7 โดยยึดหลัก สร้างความเปลี่ยนแปลงให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพในปัจจุบัน ซึ่งมี วิศวกรทีข่ นึ้ ทะเบียนกับสภาวิศวกรประมาณ 150,000-200,000 คน ให้มีความพร้อมส�ำหรับการพัฒนาในยุคแห่งความเปลี่ยนแปลง ตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงการยกระดับมาตรฐาน วิศวกรให้มคี วามรับผิดชอบ และมีบทบาทการเป็นทีพ่ งึ่ ของสังคม ในเวลาที่เหมาะสม คุ้มครองความปลอดภัยสาธารณะ ส่งเสริม การปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ไม่ให้เกิด ภยั น ตรายต่ อ ชี วิตและทรัพย์สิน ของประชาชน และคุ้ม ครอง ผู้บริโภค อีกทั้งยังเป็นแบบอย่างที่ดีของคนรุ่นใหม่ที่มีความสนใจ อาชีพวิศวกรในอนาคตอีกด้วย “ปั จ จุ บั น วิ ศ วกรยั ง คงเป็ น อาชี พ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ประเทศไทย จากปัจจัยด้านความเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว อาคารถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง เป็นต้น รวมถึงความ เปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมในยุคดิสรัปชั่น ในขณะที่ ปั จ จุ บั น ประเทศไทยมี ค นรุ ่ น ใหม่ ที่ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาด้ า น วิศวกรรมศาสตร์น้อยลงอยู่ที่ 33,000 คนต่อปี ในจ�ำนวนนี้มีผู้ ขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพประมาณ 7,000 คนต่อปี ซึ่งอาจ มีเพียงบางส่วนที่ประกอบอาชีพวิศวกร และคาดว่าในอนาคต อันใกล้ ไทยจะมีสดั ส่วนของวิศวกรเพียงร้อยละ 5 ของประชากร ทั้งประเทศ จากสถานการณ์ดังกล่าวท�ำให้สภาวิศวกรจึงต้องเร่ง ปฏิรปู ด้านวิศวกรรมให้เกิดความเปลีย่ นแปลงเร็วทีส่ ดุ เพือ่ ป้องกัน ไม่ให้กลายเป็นวิชาชีพที่ขาดแคลนในอนาคต การจัดการประชุม ปฏิรูปวิศวกรไทยในครั้งนี้จึงเป็นโอกาสในการปฏิรูปให้วิชาชีพ วิศวกร เป็นอาชีพทีเ่ ป็นเสาหลักของประเทศได้” นายกสภาวิศวกร กล่าว นอกจากนี้ สภาวิศวกรยังตระหนักถึงบทบาทและภารกิจ หลักในฐานะสภาวิชาชีพที่มีความส�ำคัญระดับประเทศ ซึ่งต้อง สามารถด� ำ เนิ น งานเพื่ อ ตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการของสั ง คม สนับสนุนการศึกษาและวิจยั การให้ความรูก้ ับประชาชนซึ่งมีส่วน ส�ำคัญในการยกระดับความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ รวมถึง ต้องเพิ่มบทบาทในการให้ค�ำปรึกษาและแนะน�ำกับรัฐบาล เพื่อ ร่วมกันออกแบบแผนการด�ำเนินงานทีจ่ ะส่งผลต่อการพัฒนาและ แก้ปัญหาส�ำคัญระดับประเทศ ตามเทรนด์ด้านวิศวกรรมของโลก อาทิ นวัตกรรมด้านการแพทย์สาธารณสุข พลังงานทดแทน ซึ่ง เป็นพลังงานสะอาด ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อการป้องกันประเทศ การเติบโตของอุตสาหกรรม อีสปอร์ต เทคโนโลยีด้านอากาศยาน การพัฒนาหุ่นยนต์และ ปัญญาประดิษฐ์ ยานยนต์พลังงานไฟฟ้า วิศวกรรมการเงินและ สมาร์ทฟาร์ม

ด้าน สมัย ลี้สกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (สอท.) กล่าวว่า ความคาดหวังของสังคมที่มีต่อผู้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรในปัจจุบนั คือ ต้องมีความสามารถในการ ประยุกต์ใช้พื้นฐานด้านวิศวกรรมเพื่อต่อยอดในการท�ำงานด้าน ต่าง ๆ ที่เป็นเทรนด์ตามความต้องการของโลกได้ สิ่งที่สำ� คัญคือ วิศวกรรุ่นใหม่ต้องเก่งรอบด้าน ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ขณะเดียวกันต้องผสมผสานองค์ความรู้ด้านศิลปศาสตร์ เพื่อให้ เกิดการประยุกต์ใช้และตอบโจทย์ความต้องการของสังคมในทีส่ ดุ “ดังนัน้ จึงเป็นหน้าทีข่ องหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการพัฒนา คนรุ ่ น ใหม่ ใ ห้ เ ก่ ง ทั้ ง วิ ท ย์ แ ละศิ ล ป์ อี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ งกระตุ ้ น ให้ ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรอยู่แล้ว รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง และ พร้อมที่จะปรับตัวสู่ความท้าทายได้ในอนาคต พร้อมแนะให้สภา วิศวกรจับมือกับสถาบันการศึกษาต่างๆ เพื่อใช้องค์ความรู้ความ เชีย่ วชาญของแต่ละสถาบัน น�ำมาสูก่ ารใช้งานจริง และยังเป็นการ ส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่ได้เข้าถึงบทบาทการท�ำงานเพื่อสังคมได้ มากขึ้น” สมัย กล่าว ศ. ดร.สุชัชวีร์ กล่าวต่อไปว่า ภายหลังจากการประชุมการ ปฏิรูปวิศวกรไทย สภาวิศวกรจะน�ำความคิดเห็นที่ได้จากผู้ทรง คุณวุฒิ และหน่วยงานต่างๆ เพื่อน�ำไปประกอบการพิจารณายก ร่างแผนแม่บทก้าวต่อไปของวิศวกรไทยในปี 2020 อย่างรอบด้าน ซึง่ แผนแม่บทดังกล่าวจะมีสว่ นส�ำคัญในการก�ำหนดมาตรฐานของ ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกร โดยมุ่งเน้นกลุ่มไปยังเป้าหมายของคน รุ่นใหม่ตั้งแต่ในสถาบันการศึกษา ตลอดจนผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษา และก้ า วสู ่ วิ ช าชี พ วิ ศ วกรที่ มี ทั ก ษะความรู ้ เ ท่ า ทั น ต่ อ ความ เปลีย่ นแปลง ควบคูก่ บั การให้ความส�ำคัญด้านจริยธรรมและความ รับผิดชอบต่อสังคม ซึง่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาคุณภาพการ ประกอบวิชาชีพวิศวกรไทย และเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ

57

Engineering Today July - August

2019


Construction • กองบรรณาธิการ

วสท. เดินหน้ายกระดับ

ศ. ดร.เป็นหนึง่ วานิชชัย หัวหน้าชุดโครงการลดภัยพิบตั แิ ผ่นดินไหวในประเทศไทย สกสว.

วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โดยคณะอนุกรรมการ ผลกระทบจากแผ่นดินไหวและแรงลม จัดสัมมนา รับกฎกระทรวง และ มยผ.ที่ปรับปรุงใหม่จาก ข้อมูลงานวิจัยส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) หวังสร้าง เสริมนวัตกรรมในการออกแบบอาคารให้มีความ แข็งแรง ผูอ้ ยูอ่ าศัยมัน่ ใจ ลดความสูญเสียชีวติ และ ทรัพย์สินในภาวะฉุกเฉิน หลั ง จากมาตรฐานการออกแบบอาคาร ต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1302-52) ได้ประกาศใช้เมื่อปี พ.ศ. 2552 และ เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ซึง่ ส่งผลกระทบต่อความ ปลอดภัยของประชาชนในพื้นที่ต่างๆ หลายครั้ง ท� ำ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ประกอบกับมีข้อมูลแผ่นดินไหวและผลการศึกษา ทางธรณีวิทยาเพิ่มเติม ด้วยเหตุนี้ กรมโยธาธิการและผังเมืองจึงได้ มอบหมายให้ ค ณะผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นแผ่ น ดิ น ไหว ท� ำ การศึ ก ษาเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง มาตรฐานการ ออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่น

Engineering Today July - August

2019

มาตรฐานอาคารต้านแผ่นดินไหว ลดภัยพิบัติ-ประชาชนปลอดภัย

ดินไหวให้สอดคล้องกับสภาวการณ์และข้อมูลในปัจจุบัน โดยมาตรฐานฉบับ ใหม่ล่าสุด คือ มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของ แผ่นดินไหว มยผ.1301/1302-61 เมื่อเร็วๆ นี้ วสท.ได้จัดอบรม “กฎกระทรวงและมาตรฐาน มยผ. การ ออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวฉบับใหม่” น�ำทีม โดย ศ. ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย หัวหน้าชุดโครงการลดภัยพิบัติแผ่นดินไหว ในประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.) รศ. ดร.นคร ภู่วโรดม ประธานคณะอนุกรรมการผลกระ ทบจากแผ่นดินไหวและแรงลม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ (วสท.) และ ดร.ทยา จันทรางศุ วิศวกรช�ำนาญการ กรมโยธาธิการ และผังเมือง ศ. ดร.เป็นหนึง่ วานิชชัย หัวหน้าชุดโครงการลดภัยพิบตั แิ ผ่นดินไหวใน ประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) กล่าวว่า การปรับปรุงครัง้ นีม้ งุ่ เน้นวิธกี ารวิเคราะห์การออกแบบอาคาร ต้านทานแผ่นดินไหวให้สมบูรณ์มากขึ้น โดยเน้นประเด็นหลักที่ส�ำคัญคือ ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวในรูปของความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัม ทั่วประเทศ ค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัมส�ำหรับพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลที่พิจารณาแอ่งดินลึก ข้อก�ำหนดในการใช้โครงสร้างแบบความ เหนียวจ�ำกัด ข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องกับการใช้ผนังอิฐก่อ การออกแบบฐานราก การให้รายละเอียดเหล็กเสริม วิธีการออกแบบโครงสร้างด้วยวิธีสเปกตรัม ผลตอบสนองและการปรับปรุงด้านอื่นๆ

58


มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือน ของแผ่นดินไหว มยผ.1301/1302-61 ช่วยยกระดับงานวิศวกรรมของประเทศ

คูม่ อื การปฏิบตั ปิ ระกอบมาตรฐานการออกแบบอาคาร ต้านทานการสัน่ สะเทือนของแผ่นดินไหว

“มาตรฐานวิชาชีพจะต้องมีการปรับปรุงเป็น ระยะๆ เนื่องจากมีผลกระทบและความเสียหาย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากแผ่ น ดิ น ไหว ซึ่ ง คณะวิ จั ย ได้ น� ำ ประสบการณ์มาทบทวนใหม่ โดยเฉพาะความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะการสั่นสะเทือนของ แผ่นดินไหวในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่มีมากขึ้น การส�ำรวจท�ำให้เราสามารถประเมินการสัน่ สะเทือน ได้ดีขึ้น และน�ำมาปรับข้อก�ำหนดการออกแบบใหม่ นอกจากนี้ ผ ลงานวิ จั ย ก็ ชี้ ว ่ า มาตรฐานของต่ า ง ประเทศไม่ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทในประเทศไทย” ศ.ดร.เป็นหนึ่ง กล่าว

มาตรฐานฉบับใหม่นี้จะเป็นประโยชน์ ในการ ยกระดับงานวิศวกรรมของประเทศ ผู้ออกแบบงาน สถาปัตยกรรม ผู้รับเหมาก่อสร้าง และผู้เกี่ยวข้อง น�ำไปใช้ในการออกแบบก่อสร้างอาคารในพื้นที่ เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวของประเทศไทยให้มีความมั่นคง แข็งแรง ช่วยให้ผู้คำ� นวณและออกแบบโครงสร้างมี ความสะดวกและแม่นย�ำต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น และสามารถน�ำมาตรฐานไปใช้ปฏิบัติให้การ ก่อสร้างอาคารมีความปลอดภัยเป็นไปตาม หลักมาตรฐานวิศวกรรมสากล ด้าน รศ. ดร.นคร ภู่วโรดม ประธานคณะอนุกรรมการผลกระทบจาก แผ่ น ดิ น ไหวและแรงลม วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ (วสท.) กล่าวว่า โครงการปรับปรุงมาตรฐานนี้ริเริ่มจากกรมโยธาธิ การและผังเมืองต้องการพัฒนามาตรฐานการออกแบบทีเ่ หมาะสมของประเทศ จึงมอบหมายให้คณะนักวิจยั ซึง่ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านแผ่นดินไหวน�ำผลการวิจยั ที่ ได้รบั การสนับสนุนหลักจากส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวั ต กรรม (สกสว.) มาใช้ ใ นมาตรฐานนี้ ตามมาตรฐานใหม่ มยผ. 1301/1302-61 ได้ปรับแก้ไขค่าระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวในรูปแบบของ ความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัมในพื้นที่ทั่วประเทศให้มีความถูกต้องแม่นย�ำ และเหมาะสมมากยิง่ ขึน้ แสดงอยูใ่ นรูปของ “ความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัม” ซึ่งเป็นค่าความรุนแรงของแผ่นดินไหวต่อโครงสร้างในแต่ละพื้นที่และมีค่าแปร เปลี่ยนไปตามคุณลักษณะของอาคาร ช่วยให้วิศวกรและผู้รับเหมาก่อสร้าง สามารถน�ำค่าตัวเลขเหล่านี้ไปใช้ออกแบบอาคารให้มีความแข็งแรงและต้องมี “ความเหนียว” โดยสามารถโยกไหวตัวเกินพิกัดยืดหยุ่นของโครงสร้าง และ สามารถสลายพลังงานของการสัน่ ไหวในระดับทีเ่ หมาะสมและอาคารไม่พงั ถล่ม ลงมา “มาตรฐานฉบับใหม่นจี้ ะเป็นประโยชน์ในการยกระดับงานวิศวกรรมของ ประเทศ ผู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรม ผู้รับเหมาก่อสร้าง และผู้เกี่ยวข้อง น�ำ ไปใช้ในการออกแบบก่อสร้างอาคารในพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยแผ่นดินไหวของประเทศไทย ให้มคี วามมัน่ คงแข็งแรง ช่วยให้ผคู้ ำ� นวณและออกแบบโครงสร้างมีความสะดวก และแม่นย�ำต่อการใช้งานมากยิง่ ขึน้ และสามารถน�ำมาตรฐานไปใช้ปฏิบตั ใิ ห้การ ก่อสร้างอาคารมีความปลอดภัยเป็นไปตามหลักมาตรฐานวิศวกรรมสากล ซึ่ง จะก่อให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและสังคมเพิ่ม มากยิ่งขึ้น ขณะที่ผู้อยู่อาศัยเองก็มีความมั่นใจว่าจะช่วยลดความเสี่ยงได้ ทั้งนี้ เจ้าของอาคารและผูป้ ระกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ยงั สามารถใช้เป็นหลักเกณฑ์ ในการตรวจสอบการออกแบบว่าถูกต้องมีคณ ุ ภาพตามมาตรฐานสากลหรือไม่” รศ. ดร.นคร กล่าว

59

Engineering Today July - August

2019


ประเด็นส�ำคัญมีการเพิ่มเติมบทนิยาม “บริเวณเฝ้าระวัง” ซึ่งหมายถึงบริเวณ หรือพื้นที่ที่มีความเป็นไปได้ว่าแผ่นดินไหว จะส่งผลกระทบในระดับปานกลางและ ระดับสูงในด้านโครงสร้างอาคาร จังหวัดใดที่ควรควบคุม พื้นที่ตามประกาศ ของกระทรวงมหาดไทยที่ควรควบคุมทันที หลังจากประสบภัย และการบังคับใช้ หลังประกาศเพื่อเตรียมความพร้อม

รศ. ดร.นคร ภู่วโรดม ประธานคณะอนุกรรมการผลกระทบจากแผ่นดินไหวและแรงลม วสท.

ดร.ทยา จันทรางศุ วิศวกรช�ำนาญการ กรมโยธาธิการและผังเมือง

นอกจากการปรับปรุงระดับความรุนแรงของ แผ่นดินไหวทีไ่ ด้จากข้อมูลใหม่ รวมถึงหลักการใหม่ ทีใ่ ช้ในการค�ำนวณออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดิน ไหวให้ถูกต้องยิ่งขึ้นแล้ว มาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้ ยังมีการเพิม่ เติมหลักส�ำคัญทีค่ วรพิจารณาประกอบ การออกแบบอื่นๆ เช่น ผลจากผนังอิฐก่อ ซึ่งเป็น บทเรียนจากแผ่นดินไหวที่จังหวัดเชียงรายเมื่อปี พ.ศ. 2557 มี ก ารเพิ่ ม เติ ม เนื้ อ หาเพื่ อ ให้ ผู ้ ใ ช้ มี แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องและออกแบบอาคารให้มี ความปลอดภัยยิง่ ขึน้ ได้แก่ ข้อแนะน�ำการออกแบบ

Engineering Today July - August

2019

ก�ำแพงโครงสร้างคอนกรีต ข้อแนะน�ำการออกแบบองค์อาคารทีไ่ ม่ใช่โครงสร้าง หลักต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว เป็นต้น ทั้งนี้ แต่ละอาคารมีค่าต้านทานแผ่นดินไหวต่างกันไปตามลักษณะการ ใช้งาน ประเภท ความส�ำคัญของอาคารที่มีต่อสาธารณชน และการบรรเทาภัย หลังเกิดเหตุ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ค่าระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวใน แต่ละพืน้ ทีท่ วั่ ประเทศในการออกแบบโครงสร้างต้านทานแผ่นดินไหวด้านอืน่ ๆ เช่น การออกแบบโครงสร้างสะพาน เขื่อน โครงสร้างชลประทาน ถังน�ำ้ เสา ส่งสัญญาณไฟฟ้า เสาส่งสัญญาณวิทยุ ป้ายโฆษณา โครงสร้างที่อยู่ใต้ดิน เตา ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และโครงสร้างอื่นที่ไม่ได้เป็นลักษณะอาคาร นับเป็นการ พัฒนาการก่อสร้างระบบสาธารณูปโภคให้สอดคล้องรองรับปัญหาสภาวะ โลกร้อนและภัยพิบัติธรรมชาติ ดร.ทยา จันทรางศุ วิศวกรช�ำนาญการ กรมโยธาธิการและผังเมือง กล่าว ถึงประเด็นส�ำคัญทีม่ กี ารแก้ไขกฎกระทรวง และ มยผ.ฉบับใหม่ ว่าด้วยการเพิม่ เติมบทนิยาม “บริเวณเฝ้าระวัง” ซึ่งหมายถึงบริเวณหรือพื้นที่ที่มีความเป็นไป ได้ว่าแผ่นดินไหวจะส่งผลกระทบในระดับ ปานกลางและระดับ สูงในด้าน โครงสร้างอาคาร จังหวัดใดที่ควรควบคุม พื้นที่ตามประกาศของกระทรวง มหาดไทย ทีค่ วรควบคุมทันทีหลังจากประสบภัย และการบังคับใช้หลังประกาศ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม เป็นต้น โดยข้อพิจารณาในการออกแบบ โครงสร้างเน้นเรือ่ งการจัดรูปทรงและผังอาคารให้มเี สถียรภาพในการต้านทาน การสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ตลอดจนการก�ำหนดรายละเอียดชิ้นส่วนและ รอยต่อระหว่างชิน้ ส่วน รวมทัง้ จัดให้โครงสร้างทัง้ ระบบอย่างน้อยมีความเหนียว เทียบเท่ากับความเหนียวจ�ำกัดตามมาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพือ่ ต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวของกรมโยธาธิการและผังเมือง หรือ มาตรฐานว่าด้วยการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ที่สภาวิศวกรรับรอง

60


Property • กองบรรณาธิการ

ฮาบิแทท กรุ๊ป ประกาศร่วมทุน ลิสต์ กรุ๊ป จากญี่ปุ่น

ชนินทร์ วานิชวงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮาบิแทท กรุ๊ป จ�ำกัด

ฮาบิแทท กรุป๊ ประกาศร่วมทุน ลิสต์ กรุป๊ จากญีป่ นุ่ พัฒนาคอนโดมิเนียมลักชัวรียา่ นทองหล่อ 2 โครงการ

ฮิซาชิ คิตะมิ ผู้ก่อตั้ง ซีอีโอ และ ประธานลิสต์ กรุ๊ป

พัฒนาคอนโดฯ ลักชัวรีย่านทองหล่อ 2 โครงการ มูลค่ารวมกว่า 2.8 พันล้านบาท “ฮาบิ แ ทท กรุ ๊ ป ” ผู ้ น� ำ ด้ า นการพั ฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ระดับพรีเมียมเพื่อการลงทุนของไทย ประกาศ แผนร่วมทุน “ลิสต์ กรุ๊ป” (List Group) ผู้เชี่ยวชาญด้าน อสังหาริมทรัพย์จากประเทศญี่ปุ่น น�ำร่องร่วมลงทุนพัฒนา 2 โครงการคอนโดมิเนียมลักชัวรีโลว์ไรส์ใจกลางสุขมุ วิท ภายใต้ ชี่อ “วาลเด้น ทองหล่อ 8” และ “วาลเด้น ทองหล่อ 13” มูลค่า รวมกว่า 2,800 ล้านบาท หวังผลักดันแบรนด์พร้อมเดินหน้า สยายปีกสูต่ า่ งประเทศผ่านเครือข่ายอสังหาริมทรัพย์นานาชาติ ของลิสต์ กรุ๊ป ซึ่งมีส�ำนักงานในเครือข่ายกว่า 990 แห่งใน 72 ประเทศทั่วโลก ชนินทร์ วานิชวงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮาบิแทท กรุ๊ป จ�ำกัด กล่าวว่า นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2560 ฮาบิแทท กรุป๊ ได้พฒ ั นาโครงการคอนโดมิเนียมไปแล้ว 9 โครงการ ซึง่ เป็นโครงการคอนโดมิเนียมและพูลวิลล่าเพือ่ การลงทุนทีบ่ ริหาร การเช่ า ด้ ว ยแบรนด์ รี ส อร์ ท ระดั บ โลก บนท� ำ เลศั ก ยภาพใน เมืองพัทยาอยู่ติดทะเล ซึ่งขายเกือบ 100% และคอนโดมิเนียม ลักชัวรีโลว์ไรส์ใจกลาง CBD กรุงเทพฯ ใกล้รถไฟฟ้า BTS สถานี พร้อมพงษ์ ทองหล่อ โดยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา บริษัทฯ รับรางวัล ทั้งสิ้น 26 รางวัล ในปี นี้ นั บ เป็น ปีที่ 7 ที่ฮาบิแททได้พัฒนา Life Style Product Investment และได้ร่วมทุนกับลิสต์ กรุ๊ป เพื่อพัฒนา โครงการคอนโดมิเนียมลักชัวรีโลว์ไรส์ บนท�ำเลศักยภาพย่าน ทองหล่อจ�ำนวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 8” และโครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 13” ซึ่งเป็นก้าวส�ำคัญเพื่อให้ เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ผลักดันการเติบโตของธุรกิจของฮาบิแทท

กรุ ๊ ป ในการพั ฒนาโครงการที่ อ ยู ่ อ าศั ย ระดั บ ลั ก ชั ว รี ใ นย่ า น ศูนย์กลางธุรกิจ (CBD) ของกรุงเทพฯ อีกทัง้ ยังเป็นการขยายธุรกิจ ต่อยอดความส�ำเร็จจากการไปเปิดตลาดจีน และฮ่องกงทีผ่ า่ นมา ซึ่งเราสามารถใช้โอกาสจากเครือข่ายส�ำนักงานที่กระจายอยู่ใน หลายประเทศรวมถึงประสบการณ์และความเชีย่ วชาญในประเทศ ญี่ปุ่นของลิสต์ กรุ๊ป ในการส่งเสริมการเติบโตและต่อยอดการ ขยายตลาดลูกค้าต่างประเทศของฮาบิแทท กรุ๊ป ทั้งนี้การร่วมทุนระหว่างบริษัท ฮาบิแทท กรุ๊ป จ�ำกัด และ บริษัท ลิสต์ กรุ๊ป จ�ำกัด จะมีการจัดตั้งบริษัทในการร่วมทุน 2 บริษัท ได้แก่ บริษัท ฮาบิแทท กรุ๊ป ลิสต์ จ�ำกัด เพื่อพัฒนา โครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 8” และ บริษัท ฮาบิแทท กรุ๊ป ลิสต์ 2 จ�ำกัด เพื่อพัฒนาโครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 13” โดยมี สัดส่วนการถือหุ้นแบ่งเป็น ฮาบิแทท กรุ๊ป ถือหุ้น 62% และ ลิสต์ กรุ๊ป ถือหุ้น 38% “Product ของฮาบิแทท เน้นตลาด Hi-end และลักชัวรี ขณะที่ Product ของลิสต์ กรุ๊ป เน้นตลาด Hi-end และลักชัวรี เช่นกัน โดยมีวลิ ล่าราคา 10-20 ล้านเหรียญสหรัฐ การร่วมมือกัน ในครั้งนี้ จะท�ำให้ Product แข็งแรงมากขึ้น มีฟีเจอร์ที่ตอบโจทย์ ลูกค้ามากขึ้น และสามารถรุกและขยายตลาดต่างประเทศได้” ชนินทร์ กล่าว ด้านฮิซาชิ คิตะมิ ผู้ก่อตั้ง ซีอีโอ และประธานลิสต์ กรุ๊ป กล่าวว่า ลิสต์ กรุป๊ ก่อตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2534 ณ เมืองโยโกฮามา ประเทศญีป่ นุ่ โดยมีประสบการณ์และความช�ำนาญทัง้ ในด้านการ เป็นตัวแทนซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ผู้พัฒนาคอนโดมิเนียมและ บ้ า นพร้ อ มที่ ดิ น เพื่ อ การอยู ่ อ าศั ย การจั ด การด้ า นสิ น ทรั พ ย์

61

Engineering Today July - August

2019


รวมถึงการจัดการด้านกองทุนอีกด้วย และด้วยความโดด เด่นของลิสต์ กรุ๊ป ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนา โครงการที่อยู่อาศัยและการจัดการกองทุนนี้ ท�ำให้บริษัทฯ ลงทุนอสังหาริมทรัพย์ทงั้ ในตลาดประเทศไทย และภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2553 ลิสต์ กรุ๊ป ได้ซื้อสิทธิ์ “ซอเธอบี้ส์ อินเตอร์เนชั่นแนล เรียลตี้” ในประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในปี พ.ศ. 2556 ได้ซื้อสิทธิ์ “ซอเธอบี้ส์ อินเตอร์เนชั่นแนล เรียลตี้” ในฮาวายตามล�ำดับ โดยลิสต์ กรุ๊ป ได้ด�ำเนินการ ขยายธุรกิจสู่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในวันนี้ ซอเธอบีส้ ์ อินเตอร์เนชัน่ แนล เรียลตี้ มีสำ� นักงานในประเทศ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และฮ่องกง และได้เปิดส�ำนักงานใน ประเทศไทยเมือ่ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2561 ทีผ่ า่ นมาอีกด้วย ฮิซาชิ คิตะมิ กล่าวว่า เมืองไทยถือเป็นตลาดส�ำคัญ ส�ำหรับลิสต์ กรุ๊ป โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ซึ่งบริษัทฯได้เล็ง เห็นความแข็งแกร่งในพืน้ ฐานหลายเรือ่ งๆ อีกทัง้ ยังมองว่า ตลาดอสังหาริมทรัพย์ระดับพรีเมียมจะยังเติบโตได้อย่าง ต่อเนื่องทั้งแผนระยะยาวและระยะกลางได้ เมื่อเทียบกับ ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากตลาดไทยมี ความโปร่งใส เข้าใจง่าย ระบบทางการเงินน่าเชื่อถือและ อัตราเงินเฟ้อไม่สูงมาก “การทีเ่ ราเลือกร่วมทุนกับ ฮาบิแทท กรุป๊ เพราะเป็น บริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่มีจุดเด่นเฉพาะตัว มีผลิตภัณฑ์ ดีไซน์ที่น่าประทับใจ คุณภาพของวัสดุที่ใช้ มีรางวัลการันตี มากมาย อี กทั้ ง มีแนวคิดที่ส อดคล้อ งกัน ในการพัฒนา โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยระดับพรีเมียมเพือ่ การลงทุน และมีการ ศึกษาข้อมูลการตลาดเชิงลึก ทั้งนี้เราเชื่อว่าประสบการณ์ จากการท�ำงานในระดับนาชาติของลิสต์ กรุป๊ จะสามารถน�ำ องค์ความรู้ และมุมมองสากลมาสู่การร่วมทุนครั้งนี้ ซึ่งเรา จะใช้โอกาสของซอเธอบี้ส์ อินเตอร์เนชั่นแนล เรียลตี้ ซึ่งมี ส�ำนักงานในเครือข่ายกว่า 990 แห่งใน 72 ประเทศทัว่ โลก มีนายหน้า 27,000 ราย ในการช่วยขยายตลาดของโครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 8” และโครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 13” สู่ระดับนานาชาติได้เป็นอย่างดี” ฮิซาชิ กล่าว โครงการคอนโดมิเนียมภายใต้แบรนด์ “วาลเด้น” เน้นมอบเอกลักษณ์ความเป็นส่วนตัว ความใกล้ชิดกับ ธรรมชาติ และความมี เ สน่ ห ์ ข องที่ อ ยู ่ อ าศั ย ด้ ว ยการ ออกแบบที่ทันสมัยของคอนโดมิเนียมโลว์ไรส์ ผสานความ หรูหราเข้ากับธรรมชาติในท�ำเล CBD ซึ่งจะมอบความ พิเศษแก่ผซู้ อื้ ทัง้ ในด้านการลงทุนและซือ้ เพือ่ อยูอ่ าศัย โดย โครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 8” เป็นคอนโดมิเนียม ลักชัวรีโลว์ไรส์ 8 ชั้น จ�ำนวน 117 ยูนิต บนพื้นที่ 1 ไร่เศษ

Engineering Today July - August

2019

โครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 8” และ“วาลเด้น ทองหล่อ 13” พร้อมเปิดตัวไตรมาส 3 ปีนี้

ตั้งอยู่ในซอยทองหล่อ 8 ห่างจากถนนเส้นหลักเพียง 100 เมตร มูลค่า โครงการ 1,500 ล้านบาท มีขนาดห้องตัง้ แต่ 32.5-71 ตารางเมตร ราคา เฉลีย่ อยูท่ ี่ 235,000-260,000 บาทต่อตารางเมตร ซึง่ จะเปิดตัวในช่วง ไตรมาส 3 ของปี พ.ศ. 2562 และโครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 13” เป็นคอนโดมิเนียมลักชัวรีโลว์ไรส์ 8 ชั้น จ�ำนวน 122 ยูนิต บนพื้นที่ ประมาณ 1 ไร่เศษ ขนาดห้องตัง้ แต่ 35-60 ตารางเมตร ราคาเฉลีย่ อยูท่ ี่ 185,000-220,000 บาทต่อตารางเมตร มูลค่าโครงการ 1,300 ล้านบาท รวมทั้งสองโครงการมูลค่ารวมกว่า 2,800 ล้านบาท ซึ่งทั้งสองโครงการ จะเปิดตัวในช่วงไตรมาส 3 ของปีนี้เช่นกัน โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่เน้น พักอาศัย และลงทุนให้ชาวญี่ปุ่นเช่า ทองหล่ อ เป็ น ท� ำ เลที่ มี ศั ก ยภาพการขยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว เนือ่ งจากเป็นพืน้ ทีศ่ นู ย์กลางเศรษฐกิจทีเ่ ชือ่ มต่อจากถนนสุขมุ วิท ท�ำให้ ย่านนีม้ คี วามน่าสนใจในการลงทุนเป็นอย่างมาก การทีย่ า่ นนีม้ ที งั้ อาคาร ส�ำนักงานระดับพรีเมียม และคอนโดมิเนียมระดับ Hi-end ส่งผลให้ราคา ของอสังหาริมทรัพย์ในย่านนี้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งทองหล่อยังเป็น ทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูท้ มี่ รี ายได้สงู ไปจนถึงเจ้าของธุรกิจขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยยอดนิยมของชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาพ�ำนักท�ำงานใน ประเทศไทย ท�ำให้ทองหล่อเป็นย่านที่น่าลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ ระดับต้นๆ ของกรุงเทพฯ อย่างไรก็ดี บริษัท ฮาบิแทท กรุ๊ป และลิสต์ กรุ๊ป เล็งเห็นแนวโน้ม อสังหาริมทรัพย์ทดี่ ขี นึ้ ในช่วงครึง่ ปีหลังของปีพ.ศ. 2562 จากสภาพทาง เศรษฐกิจทีม่ นั่ คง และโครงการลักชัวรีตา่ งๆ ทีย่ งั มีจำ� นวนจ�ำกัดในพืน้ ที่ ท�ำให้โครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 8” และโครงการ “วาลเด้น ทองหล่อ 13” เป็ น โอกาสในการลงทุ น ที่ มั่ น คง ส� ำ หรั บ ผู ้ ซื้ อ ที่ ค าดการณ์ ผ ล ตอบแทนและก�ำไรจากการลงทุนที่แข็งแกร่ง “ไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ทว่า ราคาคอนโดมิเนียมของไทยอยู่ที่ตารางเมตรละ 2-3 แสนบาท เมื่อ เทียบกับฮ่องกง ลอนดอน ตารางเมตรละ 1 ล้านบาท จะเห็นได้วา่ ราคา มีความต่างกันราว 2-3 เท่า แม้วา่ ราคาทีด่ นิ ในไทยจะปรับตัวสูงขึน้ ก็ตาม โดยทั่วไปตลาดคอนโดมิเนียมลักชัวรีในเมืองใหญ่ จะให้ผลประโยชน์ 2-3% แต่เมืองใหญ่ในไทย ให้ผลตอบแทนสูง 4-5% โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ที่ยังเนื้อหอมอยู่ แม้ว่าขณะนี้ตลาดจะชะลอตัวก็ตาม แต่เชื่อว่าใน ระยะกลางและระยะยาว ตลาดอสังหาริมทรัพย์ของไทยจะเติบโตได้ดี และยังเป็นตลาดที่น่าสนใจส�ำหรับนักลงทุนฮ่องกงและจีน” ชนินทร์ กล่าวทิ้งท้าย

62


Preview • กองบรรณาธิการ

สภาสถาปนิก จับมือ อารยะ เอ็กซ์ โป เตรียมความพร้อมจัดงาน “สภาสถาปนิก’19” ครั้งแรกในไทย ชูแนวคิด “REACT” พร้อมแบ่งปันความรู้-แนวคิดการออกแบบ 4 สาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรม สภาสถาปนิก ร่วมกับ อารยะ เอ็กซ์โป เตรียมความพร้อมงาน “สภาสถาปนิก’19” หรือ ACT Forum’19 (The International Architect Forum and Building Technology Exposition) งานประชุมนานาชาติ ทางสถาปัตยกรรม และแสดงเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง ซึ่งจะจัดขึ้น เป็นครั้งแรกในไทย ภายใต้แนวคิด “REACT” (รีแอ็ค) ตอบสนอง ต่อยอด ต่อเนื่อง ในระหว่างวันที่ 14-17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ อิมแพ็ค ชาเลนเจอร์ฮอลล์ เมืองทองธานี โดยจะมีการแบ่งปันความรู้และแนวคิด ด้านการออกแบบของ 4 สาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรม ได้แก่ สถาปัตยกรรม หลัก, สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์, ภูมิสถาปัตยกรรม และ สถาปัตยกรรมผังเมือง พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำ� พน นายกสภาสถาปนิก กล่าวว่า งานสภา สถาปนิก’19 ด�ำเนินการขึน้ เพือ่ ให้สอดรับและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ สภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 มาตรา 7(5) ที่ ก�ำหนดว่าสภาสถาปนิกมีหน้าที่และบทบาทในการเผยแพร่และให้บริการ ด้านวิชาการต่างๆ แก่ประชาชนและองค์กรอื่นที่เกี่ยวกับวิทยาการและ เทคโนโลยีทางสถาปัตยกรรม ซึ่งสภาสถาปนิกได้ตระหนักและให้ความ ส�ำคัญในข้อนี้ จึงได้ริเริ่มจัดงานสภาสถาปนิก’19 ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อเป็น เวที ข องสถาปนิ ก ทุ ก สาขา จากจ� ำ นวนสมาชิ ก สภาสถาปนิ ก มากกว่ า 30,000 คน ครอบคลุมทัง้ 4 สาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรม ทัง้ สถาปัตยกรรม หลัก, สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์, ภูมิสถาปัตยกรรม และ สถาปัตยกรรมผังเมือง เพือ่ เผยแพร่การท�ำงานของสภาสถาปนิก ให้รู้ เข้าใจ และท�ำงานเชือ่ มโยงกับระบบโครงสร้างอาคาร ระบบไฟฟ้า ระบบเครือ่ งกล ระบบสุขาภิบาล และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ ในปัจจุบัน โดย เฉพาะในอาคารขนาดใหญ่ ซึ่งต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยของสาธารณะ อีกทัง้ เพือ่ พัฒนาผลงานของมวลหมูส่ มาชิกให้เป็นทีย่ อมรับในอาเซียน เปิด เวทีให้สมาชิกมาแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในแต่ละสาขา มาอัพเดทงานด้าน สถาปนิกให้เป็นที่รู้จักของคนในสังคมอย่างกว้างขวางมากขึ้น “การจัดงานในครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นมิติใหม่ของการจัดสัมมนาระดับ นานาชาติและการประชุมเชิงวิชาการ มีการเชิญวิทยากรชั้นน�ำทั้งในและ ต่างประเทศทั้ง 4 สาขา เพื่อแบ่งปันความรู้และแนวคิดด้านการออกแบบ เป็นการสร้างกระบวนการทางความคิดและการพัฒนาวิชาชีพของสถาปนิก ให้แพร่หลายมากยิ่งขึ้น” นายกสภาสถาปนิก กล่าว ประกิต พนานุรัตน์ ประธานจัดงานสภาสถาปนิก’19 กล่าวว่า สภาสถาปนิกได้รว่ มกับ บริษทั อารยะ เอ็กซ์โป จ�ำกัด จัดงานภายใต้แนวคิด “REACT” (รีแอ็ค) ตอบสนอง ต่อยอด ต่อเนื่อง โดยต้องการสื่อถึง สภาวการณ์ ใ นปั จ จุ บั น ที่ ผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ทางสถาปั ต ยกรรมรวมถึ ง

63

พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำ� พน นายกสภาสถาปนิก

ประกิต พนานุรตั น์ ประธานจัดงานสภาสถาปนิก’19

Engineering Today July - August

2019


ทุกวิชาชีพ มีความจ�ำเป็นอย่างมากที่จะต้องปรับตัวเพื่อ ตอบสนองต่ อ การเปลี่ ย นแปลงในสั ง คมที่ พั ฒนาอย่ า ง รวดเร็วด้วยการศึกษาต่อยอดความรู้อย่างต่อเนื่อง อีกทั้ง คาดหวังว่างานสภาสถาปนิก’19 จะเป็นเวทีที่ส�ำคัญของ เหล่าสถาปนิกทั้งรุ่นบุกเบิกและรุ่นใหม่ๆ ได้น�ำองค์ความรู้ มาหลอมรวมพัฒนางานสถาปนิกของไทยให้กา้ วไกลสูร่ ะดับ สากลได้ ในส่วนของความรู้ต่างๆ จะมีการจัดสัมมนา เสวนา และประชุมเชิงวิชาการทางสถาปัตยกรรม รวมกว่า 30 หัวข้อ แบ่งเป็น 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) Forum A: The Key Note (A Forum for Inspiration) เปิดโอกาสให้สถาปนิก ไทยและผู้ที่สนใจได้เข้าร่วมรับฟังแนวคิดจากสถาปนิก ที่มีชื่อเสียงในระดับโลกและสถาปนิกชาวไทยที่ไปสร้าง ชื่อเสียงในเวทีระดับโลกมาถ่ายทอดการท�ำงาน น�ำเสนอ ผลงานต่างๆ เพื่อเป็นให้ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจ และ ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาการท�ำงานสู่ ระดับสากลต่อไป 2) Forum B: The Practice (Sharing Knowledge from a Master) ให้ความรู้ทางวิชาการและ วิชาชีพแก่สมาชิกสภาสถาปนิกและประชาชนทั่วไป โดย จะมีเนื้อหาครอบคลุมการปฏิบัติวิชาชีพทั้ง 4 สาขา รวม 5 ประเภทงาน ทัง้ ในส่วนงานศึกษาโครงการ, งานออกแบบ, งานบริหารและอ�ำนวยการก่อสร้าง, งานตรวจสอบ และ งานให้ ค� ำ ปรึ ก ษาจากเหล่ า กู รู ส ถาปนิ ก ชาวไทยที่ มี ประสบการณ์ในองค์กรต่างๆ มาถ่ายทอดการท�ำงานจริง 3.) Forum C: The Innovation (Discussion for the Best Solution) งานสั ม มนาที่ มุ ่ ง เน้ น การแสดงวั ส ดุ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางสถาปัตยกรรม รวมถึงให้ความ รู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการแบบลงลึก เพื่อการพัฒนา สินค้าสร้างสรรค์ตรงตามการใช้งาน ช่วยประหยัดพลังงาน ประหยัดค่าใช้จ่าย ตรงตามความต้องการของกลุ่มลูกค้า แต่ละราย 4.) Forum D: The ACT Services (ACT Commitment to Serve Our Society) เป็นกิจกรรม ที่สภาสถาปนิกให้บริการสังคมในรูปแบบของการให้ค�ำ ปรึกษาโดยตรงแก่ประชาชนทัว่ ไป เกีย่ วกับงานสถาปัตยกรรม โดยกลุ่มสถาปนิกอาสา และยังเปิดพื้นที่และโอกาสให้

Engineering Today July - August

2019

สถาบั น การศึ ก ษาเผยแพร่ ผ ลงานการเรี ย นการสอน งานวิ จั ย ที่ มี ประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งไม่ใช่เป็นการน�ำผลงานวิจัยมาติดบอร์ดน�ำ เสนอภายในงาน แต่จะเป็นการน�ำเสนอของนิสิตนักศึกษาเจ้าของ วิทยานิพนธ์ดา้ นสถาปัตยกรรมด้วยตนเอง เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารับฟังได้มโี อกาส พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อเสนอแนะต่างๆ “ทีส่ ำ� คัญนิสติ นักศึกษาเจ้าของผลงานจะได้มโี อกาสฝึกทักษะการ พูดน�ำเสนอผลงานต่อสาธารณชนในเบื้องต้นด้วยเพราะส่วนใหญ่แล้ว สถาปนิกมักจะพูดน้อย พูดไม่ค่อยเก่ง ซึ่งทั้งหมดนี้ทางคณะท�ำงานจะ ได้ ท� ำ การคั ด สรรและคั ด เลื อ กหั ว ข้ อ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ แวดวง สถาปัตยกรรม เพื่อสถาปนิกทุกสาขาและเพื่อสาธารณชนอย่างแท้จริง ต่อไป” ประธานจัดงานสภาสถาปนิก’19 กล่าว

ศุภแมน มรรคา ผูอ้ ำ� นวยการโครงการ บริษทั อารยะ เอ็กซ์โป จ�ำกัด

ศุภแมน มรรคา ผู้อ�ำนวยการโครงการ บริษัท อารยะ เอ็กซ์โป จ�ำกัด กล่าวถึง การจัดงานในส่วนของนิทรรศการแสดงสินค้าว่า ขณะนี้ มีผู้ประกอบการด้านสถาปนิก การก่อสร้าง ตอบรับเข้าร่วมงานแล้ว ประมาณ 100 ราย เช่น บริษัท ลิกซิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน), บริษัท ซีเอ็นพี พลาสติก อุตสาหกรรม จ�ำกัด, บริษัท วิชั่นกลาส อินดัสทรีส์ จ�ำกัด, บริษัท โอทูอี ซัพพลาย จ�ำกัด, บริษัท อีดีแอล ลามิเนตส์ จ�ำกัด และบริษัท อาริทโก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพื่อเปิดตัว เทคโนโลยีนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง รวมถึงอัพเดทเทรนด์ใหม่ๆ ด้านสถาปนิกเพือ่ เป็นไอเดียในการสร้างสรรค์งานออกแบบและก่อสร้าง ในปี พ.ศ. 2563 เช่น ประตูเปิด-ปิดอัตโนมัติ, เทคโนโลยีรางน�้ำฝน แนวใหม่, ประตูและกระจกตกแต่งจากยุโรป, นวัตกรรมเทคโนโลยี ปิดผิว, นวัตกรรมลิฟท์อัจฉริยะจากสวีเดน และการจ�ำลองสร้างสรรค์ อาคารบ้านเรือนจากองค์ประกอบทางศาสตร์และศิลป์ ได้แก่ การจัดวาง ทีว่ า่ ง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง สร้างสมดุลตอบสนองความ ต้องการด้านวัตถุและจิตใจของมนุษย์ให้เหล่าสถาปนิก นักพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง วิศวกร และประชาชนทัว่ ไป โดยคาด ว่าจะมีผู้เข้าร่วมแสดงนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ก่อสร้างมากกว่า 500 ราย จาก 30 ประเทศทั่วโลก เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เยอรมนี มาเลเซีย และจีน

64



Project Management • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

คู่มือของผู้ประกอบการ

ในการสตาร์ทอัพ (The Startup Owner’s Manual : Steve Blankand Bob Dorf)

ความเจริญก้าวหน้าในการด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบันที่สามารถ สร้างธุรกิจให้เติบโตได้อย่างรวดเร็วปานเนรมิต ก็ดว้ ยความสืบเนือ่ งจาก โลกอันไร้พรมแดนทางการสื่อสาร ด้วยเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงได้ ด้วยนวัตกรรมใหม่ทสี่ ามารถเข้าถึงในระดับชัน้ บุคคล ความสามารถใน การให้บริการในสิ่งที่ผู้ประกอบการที่ต้องท�ำคือ การสร้างระบบความ สะดวกทั้งในการใช้งาน ความสะดวกในการซื้อ/การใช้บริการ มีความ น่าเชื่อถือสูงที่สามารถตรวจสอบได้ มีการรับประกันคุณภาพแบบไร้ เงื่อนไข การให้บริการที่ดีที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในการอ�ำนวยความสะดวก ความไว้วางใจ ให้เข้ามามีสว่ นในการด�ำเนิน ชี วิ ต ประจ� ำ วั น มากขึ้ น กว่ า แต่ ก ่ อ น การน� ำ หลั ก การตามคู ่ มื อ ของ ผู้ประกอบการในการสตาร์ทอัพ (The Startup Owner’s Manual : Steve Blank and Bob Dorf) จะมาช่วยในการพัฒนาระบบภายใน องค์กรที่ด�ำเนินธุรกิจเดิมอยู่ให้มีการน�ำมาพัฒนาธุรกิจที่สามารถตอบ สนองให้รู้ซึ่งถึงความต้องการของลูกค้าจนสามารถหาความต้องการที่ เปลี่ยนไปและสามารถสร้างให้เป็นรูปแบบธุรกิจใหม่ได้ (Customer Development is the Process to Organize the Search for the Business Model) แนวการตอบสนองความต้องการทีม่ รี ะบบอย่างรวดเร็ว ตรงเวลา การวนซ�ำ้ (Speed, Time and Iterations) คือการพัฒนาองค์กร ธุรกิจให้มีแนวความคิดใหม่เสมอ จนสามารถเรียกได้ว่าเป็นการปฏิวัติ การด�ำเนินธุรกิจอีกครั้ง “The Second Industrial Revolution” หลายบริษัทจึงมีการเปลี่ยนแปลงธุรกิจจากรูปแบบเดิมๆ มีการสร้าง ธุรกิจใหม่หรือเปลี่ยนแปลงธุรกิจหลัก (Core Business) กันเลย ผูเ้ ขียนไม่สามารถยืนยันว่าหลายธุรกิจทีม่ าเจริญรุง่ เรืองในเมืองไทย ดังเช่นมีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ มากมาย ทัง้ ในด้านกิจวัตรประจ�ำวันที่ ต้องใช้เทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วย รวมไปถึงการประกอบ อาชีพ การด�ำเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการจะต้องปรับตัวให้ทันกับการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็ว การเปลีย่ นแปลงโลกธุรกิจอย่างมาก ในศตวรรษที่ 21 เป็นอีกสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้ธุรกิจต้องมีการปรับตัว หรือคิดวิธีใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไป บริ บ ทการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ของตลาดในประเทศและตลาดโลกที่ เปลี่ยนแปลง และในยุคนี้เราจะได้ยินคนรุ่นใหม่ๆ ทั้งที่ก�ำลังจบการ ศึกษาและทีก่ ำ� ลังท�ำงานประจ�ำพูดให้ได้ยนิ อยูเ่ สมอว่า การเป็นเจ้าของ ธุรกิจเป็นอาชีพในฝันทีอ่ ยากท�ำเพราะนอกจากจะได้เป็นเจ้านายตัวเอง แล้ว ยังมีอิสระในการท�ำงานหารายได้ด้วยฝีมือตัวเอง อย่างไรก็ตาม การจะเป็นเจ้าของธุรกิจที่เข้มแข็งอยู่รอดได้จนประสบความส�ำเร็จนั้น ผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในการท�ำธุรกิจเป็น อย่างดีเสียก่อน โดยเฉพาะธุรกิจสตาร์ทอัพ

Engineering Today July - August

2019

66

ในบทนี้จะเป็นการศึกษาแนวทางการท�ำ Business Model และ แนวทางการท�ำ Startup สร้างจุดเริม่ ต้นของการธุรกิจแนวใหม่ เพือ่ กล้า เปลี่ยนทิศทางของบริษัทเพื่อหาโมเดลธุรกิจที่เหมาะสมจากหนังสือ คู่มือของผู้ประกอบการในการสตาร์ทอัพ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf ) สตีฟ แบลงค์ (Steve Blank) ผูเ้ ชีย่ วชาญเรือ่ ง Customer Development และ Lean Startup method ซึ่งเป็นผู้เขียนหนังสือ The Four Steps to the Epiphany ซึ่งเป็น หนังสือที่สร้างไอเดียเรื่อง Lean startup ขึ้นมาเล่มแรก และได้เขียน หนังสือทีเ่ ป็นคูม่ อื ผูป้ ระกอบการในการสตาร์ทอัพทีช่ อื่ ว่า The Startup Owner’s Manual ได้เน้นหัวใจส�ำคัญของ “สตาร์ทอัพ” อยู่ที่ “โมเดล ธุรกิจ (Business Model)” แต่ Steve Blank เน้นย�ำ้ ว่า “สตาร์ทอัพ” ต้องการหาโมเดลธุรกิจที่สามารถสร้างก�ำไรได้เรื่อย ๆ เพิ่ม ผู้ใช้ได้ เรื่อยๆ (Repeatable) และสามารถเติบโตขึ้นได้อย่างรวดเร็วภายใน เวลาอันสัน้ และกลายเป็นบริษทั ขนาดใหญ่ (Scalable) ซึง่ การจะเติบโต อย่างรวดเร็ว (High Growth Rate) และกลายเป็นบริษัทขนาดใหญ่ อย่างนัน้ ได้ในปัจจุบนั ก็คอื ต้องหาลูกค้าให้มจี ำ� นวนมหาศาลโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในลักษณะของการผ่านระบบออนไลน์ในปัจจุบัน

เริ่มต้นศึกษาสตาร์ทอัพ (Getting Started)

ผู้เขียนเตือนเราว่ากระบวนการการเปิดตัวผลิตภัณฑ์เก่านั้น ผิด ทั้งหมดส�ำหรับการเริ่มต้น กระบวนการดังกล่าวเหมาะสมเมื่อลูกค้า รู้จักและมีการก�ำหนดตลาดอย่างดี นี่ไม่ใช่กรณีส�ำหรับ Startup ใน หนังสือ มีการให้ความส�ำคัญในเรื่องการพัฒนาลูกค้า (Customer Development) เป็นอย่างยิ่งส�ำหรับการเริ่มต้นและมีหลายขั้นตอนใน กรอบงาน ดังนี้ 1. การค้นพบลูกค้า Customer Discovery : พัฒนาสมมติฐาน และทดสอบกับลูกค้า 2. การตรวจสอบลูกค้า Customer Validation : ทดสอบการขาย ดูว่าผู้คนจะซื้อจริงหรือไม่และดูว่าคุณสามารถขยายขนาดตามความ ต้องการของลูกค้า ในบทนี้ จะกล่าวต่อจากผู้เขียนในอีก 2 หัวข้อ กล่าวคือ 3. การสร้างลูกค้า Customer Creation : ขนาดของการตลาดและ ความต้องการ


4. การสร้างบริษัท Company Building : การเปลี่ยนไปใช้องค์กร ที่ยั่งยืน (Transition to a Sustainable Enterprise)

Step Two: Customer Validation ขัน้ ตอนที่ 2 : การตรวจสอบลูกค้า

การตรวจสอบความถูกต้องของลูกค้าหมายถึงการทดสอบการขาย ในทุกจุดในกระบวนการ (ทัง้ หมดในขณะทีร่ กั ษาต้นทุนให้ตำ�่ - ยังไม่ถงึ เวลาที่จะขยายขนาด) เป็นระยะที่ไม่ใช่ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของปลายทาง แต่บางทีมันอาจเป็นจุดสุดท้ายของการเริ่มต้นก่อนได้เช่นกัน (It’s Not the Beginning of the End, But it is Perhaps the End of the Beginning) เป็นจุด Steve Blank และ Bob Dorf ได้ให้รายละเอียด 4 ระยะ ในกระบวนการตรวจสอบลูกค้า ดังนี้ Phase I Get ready to sell. ระยะที่ 1 ให้พร้อมส�ำหรับการขาย Phase II Go live. Try to sell. ระยะที่ 2 การน�ำเสนอถ่ายทอดสด การทดลองขาย Phase III Refine Your Product. Position Your Company. ระยะที่ 3 ปรับแต่งผลิตภัณฑ์ของคุณ จุดยืนของต�ำแหน่งบริษทั ของคุณ Phase IV Analyze. Pivot or Proceed.ระยะที่ 4 วิเคราะห์ จุด หมุนเวียนหรือด�ำเนินการต่อ ผู้ก่อตั้ง (Founder) ไม่สามารถน�ำพาซึ่งกระบวนการตรวจสอบ ลูกค้าตามระยะเหล่านี้ แต่จะต้องมีส่วนร่วมสนับสนุนในกระบวนการ โดยตรง เพื่อให้ผลการพิสูจน์ว่าสามารถใช้ได้ในความเป็นจริง “ทุกการ ทดสอบน�ำไปสู่การเติบโตทางธุรกิจ”

Phase I - Get ready to sell ระยะที่ 1 - ให้พร้อมที่จะขาย

ขัน้ ตอนส�ำหรับการตรวจสอบลูกค้าในแต่ละขัน้ ตอนนัน้ แตกต่างกัน ไปในแต่ละช่องทาง ดังนัน้ จึงเป็นประโยชน์ในการพิจารณาแยกออกจากกัน ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่สามารถจับต้องได้ (Physical Products) ขัน้ ตอนนีเ้ ริม่ ต้นด้วยตรวจสอบการท�ำค�ำสัง่ ซือ้ , ข้อความ/ข่าวสารทีไ่ ด้รบั (ควรมีสาระส�ำคัญ แต่น่าสนใจ) ที่อธิบายว่าท�ำไมคนควรซื้อผลิตภัณฑ์ ของคุณ จากนั้นควรพัฒนาสื่อการขายและการตลาดที่เน้นลูกค้าเป็น ส่วนใหญ่ในสมมติฐานที่คุณสร้างขึ้นส�ำหรับกระบวนการค้นหาลูกค้า (โปรดจ�ำไว้ว่าการรับลูกค้าในช่องนี้เป็นกระบวนการ 4 ขั้นตอนของ การรับรูก้ ารพิจารณาความสนใจและการจัดซือ้ ) ผูเ้ ขียนแนะน�ำว่านีเ่ ป็น เวลาที่เหมาะสมที่จะน�ำมืออาชีพด้านการขายมาช่วยในส่วนนี้ คุ ณ และที ม ของคุ ณ จะต้ อ งพั ฒ นาแผนงานช่ อ งทางการขาย ที่ครอบคลุมองค์กรในห่วงโซ่ขององค์กร ความสัมพันธ์ในช่องทางการ จัดจ�ำหน่ายและวิธีการเคลื่อนไหวทางการเงินในช่องทางต่างๆ เมื่อมา ถึงการจัดการช่องทางท�ำงาน กับความสัมพันธ์กบั พันธมิตรช่องทางของ คุณ แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งที่คุณต้องการจากพวกเขาและสิ่งที่พวกเขา ต้องการจากคุณ และไม่คาดว่าพันธมิตรช่องของคุณจะช่วยสร้างความ ต้องการ จากนั้นคุณจะพัฒนาแผนงานการขาย ซึ่งจะพิจารณาทุกขั้นตอน ตั้งแต่การโทรครั้งแรกไปจนถึงการเซ็นสัญญา โปรดระลึกถึงสิ่งที่คุณได้ เรียนรู้เกี่ยวกับลูกค้าและทบทวนเนื้อหาบางส่วน (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง องค์กรและแผนที่ที่มีอิทธิพล) ที่คุณพัฒนาขึ้นในขั้นตอนการค้นพบ ลูกค้า จัดท�ำแบบจ�ำลองกระบวนการซื้อและระบุผู้มีอิทธิพลหลัก แผนที่การเข้าถึงลูกค้าสามารถช่วยคุณระบุองค์กรที่ลูกค้าเป็น เจ้าของ (หากคุณขายให้กับสาธารณะ) หรือผู้ตัดสินใจหลักในองค์กร (ถ้าคุณขายให้กับธุรกิจ) ใส่แผนที่ทั้งหมดที่อยู่ติดกันรวมถึงพิจารณา กลยุทธ์การขาย (Sales strategy) และเขียนแผนการด�ำเนินงาน (an Implementation Plan) ที่แสดงทุกอย่างที่จะเกิดขึ้นก่อนขาย

ผลิตภัณฑ์ของคุณ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์เว็บ/มือถือ (Digital Products) ขั้นตอนการ เตรี ย มพร้ อ มในการขายเกี่ ยวข้ อ งกั บ แผนการกลั่ น และการพั ฒนา เครื่องมือ (First Refining Plans and Developing Tools) เพื่อรับและ เปิดใช้งานลูกค้าเป็นครั้งแรก ข้อควรจ�ำ: การได้มาคือเมื่อลูกค้าได้ยิน/ รับทราบครั้งแรกเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการเปิดใช้งานคือเมื่อลูกค้า เข้าร่วมลงทะเบียนหรือท�ำอะไรบางอย่าง อย่าใช้ความพยายามในการ เปิดใช้ถ้ายังไม่พร้อม ความพร้อมของโปรแกรมเพื่อการเปิดใช้งานจะ พร้อมส�ำหรับลูกค้า และกุญแจส�ำคัญในการด�ำเนินการต่อคือการมีสว่ น ร่วม และตรวจสอบทุกอย่างตลอดเวลา จากนัน้ เมือ่ ใช้ขอ้ มูลทีค่ ณ ุ รวบรวมเพือ่ สร้างเวอร์ชนั ก่อนหน้าคุณจะ ต้องสร้าง MVP ทีม่ คี วามเทีย่ งตรงสูงซึง่ จะมีคณ ุ สมบัตมิ ากกว่ารุน่ ล่าสุด มันชัดมากกว่า แต่ก็ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ อย่าลืมเก็บข้อมูลให้มากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้ต่อปฏิกิริยาของลูกค้าต่อ MVP (Minimum Viable Product) ใหม่ จากที่นั่นรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์และปรับให้เหมาะสม - จากช่วงเวลาที่ธุรกิจเว็บ/มือถือ การเปิดประตูเสมือน (Virtual Door) เพื่อการรับรู้จนถึงวินาทีสุดท้ายหากต้องมีการเปลี่ยนแปลง ใช้สมมติฐานความสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อเป็นแนวทางในการเลือก เมตริกของคุณเพือ่ ตารางการติดตามและจัดล�ำดับความส�ำคัญ (Track and Prioritize the Metrics) ซึ่งเป็นการติดตามผลเฉพาะสิ่งที่คุณ สามารถวัดและปรับปรุงได้: การได้มา (มีผู้เข้าชมเว็บไซต์ของคุณกี่คน พวกเขาถูกอ้างอิงจากเว็บไซต์อนื่ หรือไม่); การเปิดใช้งาน (มีการเปิดใช้ งานกีร่ ายการ หน้าใดทีพ่ วกเขาดูบนไซต์?); และการอ้างอิง (มีผถู้ กู เรียก จากผู้ใช้กี่คน อัตราการยอมรับของผู้อ้างอิงเหล่านี้คือเท่าใด) ใช้แดช บอร์ด (Dashboard) หรือสิ่งที่คล้ายกันเพื่อจับตาดูข้อมูล การพูดของ ข้อมูลคุณต้องการใครสักคนทีจ่ ะสังเคราะห์ตวั เลขและ Blank และ Dorf แนะน�ำให้จ้างหัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์ข้อมูล บุคคลนี้ควรอยู่ในผู้บริหาร ระดับสูงและพวกเขาควรมีอิทธิพล อาจเป็นคนที่อยู่ในทีมของคุณหรือ เป็นคนใหม่อยู่แล้ว สุดท้ายในค�ำแนะน�ำของผู้เขียนที่ใช้กับผลิตภัณฑ์ท้ังแบบกายภาพ และแบบเว็บ/มือถือ (Physical/Digital Products) ให้รับสมัครและ รักษาคณะกรรมการที่สามารถช่วยคุณได้เท่านั้น ใครที่มีการเชื่อมต่อที่ ส�ำคัญ? ใครมีความคิดที่ดีจริงๆที่สามารถช่วยบริษัทได้หรือไม่? กับ เวลาทีส่ ญ ู เสียไป หลายครัง้ มีประโยชน์ทจี่ ะมีลกู ค้าอยูบ่ นกระดาน พวก เขาสามารถน�ำมุมมองของพวกเขา

Phase II - Get out of the building and sell ระยะที่ 2 - ก้าว

เดินออกจากอาคารและท�ำการขาย ในขั้นตอนนี้คุณก�ำลังตรวจสอบสมมติฐานรูปแบบธุรกิจของคุณ (Your Business Model) แต่คณ ุ ยังคงท�ำการทดสอบ (โดยท�ำการขาย จริง) อย่าพยายามขยายขนาด - เป้าหมายการขายของคุณคือการ ทดสอบรูปแบบธุรกิจของคุณ เป็นการ Awareness ท�ำให้ลูกค้ารู้ว่ามี “เรา” อยู่และพร้อมที่จะให้บริการ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ทางกายภาพ (physical products) คุณไม่ ต้องการลูกค้าจ�ำนวนมากเพียงไม่กี่รายกับพวกอยากลองสิ่งใหม่ๆ (Early Adopters)/ผู้เข้ามาในช่วงแรกได้ไหม (Earlyvangelists) ? คนเหล่านีค้ อื ตลาดธรรมชาติของคุณ แต่อย่าลืมว่าสิง่ ทีก่ ระตุน้ พวกเขา อาจไม่ใช่สงิ่ ทีก่ ระตุน้ แรงจูงใจให้โดยเฉลีย่ ของคุณ มีลกู ค้าหลายประเภท (ตัวอย่างเช่น ผูป้ ระเมินก่อนผูป้ ระกาศตอนต้นลูกค้าทีป่ รับขนาดได้และ ลูกค้าหลัก) และคุณควรมีกลยุทธ์แยกต่างหากส�ำหรับแต่ละคน ความสนใจของลูกค้าส�ำหรับผลิตภัณฑ์ทางกายภาพได้รับการ

67

Engineering Today July - August

2019


ทดสอบโดยดูว่าผู้คนจ่ายเท่าไรส�ำหรับสิ่งใหม่ที่เป็นประกาย อาจให้ ส่วนลดจากผู้คน (ราคาที่คุณพูด) ราคาเต็ม แต่ไม่มากเกินไป (ไม่มี เหตุผลที่คาดเดาได้โดย Philip E. Tetlock และ Dan Gardner มีความ เข้าใจที่ดีเกี่ยวกับแผนการก�ำหนดราคา (Pricing Schemes)) ในทุกๆ กรณีออกไปขายที่นั่น เมื่อคุณมียอดขายคุณจะมีข้อมูล รวบรวมมัน ทั้งหมด แต่ให้ความสนใจ: คุณได้รับการตอบรับจากลูกค้าอย่าง กระตือรือร้นด้วย Shiny New Thing™ ของคุณหรือไม่? ไม่ค่อยเท่า ไหร่? เป็นเพราะบางสิง่ ทีต่ อ้ งแก้ไขด้วยการทดสอบการขายหรือเป็นบาง สิ่งบางอย่างกับผลิตภัณฑ์หรือไม่ เฝ้าดูเดือนหรือช่วงเวลาของคุณที่นี่ วิธีการขายของคุณจะขึ้นอยู่กับว่าคุณก�ำลังขายให้กับผู้บริโภคหรือ บริษทั ส�ำหรับบริษทั ต่างๆ คุณก�ำลังพยายามเข้าถึงผูบ้ ริหารทีม่ อี ำ� นาจ ในการตัดสินใจ แต่กับสาธารณะคุณก�ำลังแบ่งส่วนตลาด ดึงแผนการ ขายเก่า (Old Sales Roadmap) ออก นั่นเป็นวิธีส�ำคัญในการสื่อสาร กับรองประธานฝ่ายขายของคุณ เขียนโรดแมพ (The Roadmap) เป็น แผนผังล�ำดับงานและรวมแต่ละขัน้ ตอนของกระบวนการ อย่าลืม: หลัง จากท�ำยอดขายแล้วใครบางคนต้องติดตามธุรกรรมจริงและดูว่าลูกค้า ได้รบั สินค้า ตรวจสอบให้แน่ใจว่านีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของแผนงานของคุณที่ ได้วางแผนไว้ ในทีส่ ดุ เมือ่ คุณมีลกู ค้าคุณสามารถทดสอบช่องทางการขาย เข้าหา พันธมิตรที่มีศักยภาพและแบ่งปันตัวชี้วัดและการคาดการณ์ของคุณ บอกความคิดของคุณกับพวกเขา คุณควรมีคำ� ถามส�ำหรับพวกเขาเกีย่ ว กับช่องของพวกเขา - ตัวอย่างเช่นพวกเขาต้องการเปอร์เซ็นต์ พวกเขา อาจไปรับข้อเสนอของคุณทันทีหรือพวกเขาอาจต้องการทดสอบความ คิดของคุณก่อนโดยอาจขายผลิตภัณฑ์ของคุณในร้านก่อนเพือ่ ดูวา่ พวก เขาท�ำได้ดีหรือไม่ ลองดูพันธมิตรช่องทางต่างๆ ที่มีศักยภาพ การเปลี่ยนเกียร์สำ� หรับผลิตภัณฑ์เว็บ/มือถือ (Digital Products) คุณต้องจัดท�ำแผนการเพิ่มประสิทธิภาพและเครื่องมือ (Optimization Plans and Tools) การเพิ่มประสิทธิภาพคือทั้งหมดที่เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์จากทุกอย่างให้มากขึน้ - ตัวอย่างเช่นหากคุณมีอตั ราการเปิด ใช้งาน 6% ให้ลองเพิ่มเป็น 10% ลองท�ำการปรับปรุงที่วัดได้ในแต่ละ สิง่ ทีค่ ณ ุ วัด นีเ่ ป็นกระบวนการต่อเนือ่ งทีจ่ ะไม่สนิ้ สุดจนกว่าธุรกิจจะปิด ตัวลงหรือออกสู่สาธารณะ การปรับให้เหมาะสมควรเน้นที่การเพิ่ม ปริมาณการลดต้นทุนต่อลูกค้าที่เปิดใช้งาน และเพิ่มการแปลงผู้เยี่ยม ชมเป็ น ผู ้ ใ ช้ ผู ้ เ ขี ย นเสนอค� ำ แนะน� ำ เกี่ ย วกั บ การทดสอบการเพิ่ ม ประสิทธิภาพ: • Know What You’re Testing and Why รู้ว่าคุณก�ำลังทดสอบอะไรและเพราะอะไร • Don’t Over-test อย่าทดสอบมากเกินไป • Tests Should be Controlled and Follow Accepted Protocols การทดสอบควรควบคุมและปฏิบัติตามโปรโตคอลที่ยอมรับ • Remember the Value of the Customer Over their Lifetime, Not Just for this One Transaction จดจ�ำคุณค่าของลูกค้าตลอดช่วงชีวิตของพวกเขาไม่ใช่เพียงแค่ การท�ำธุรกรรมนี้ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์เว็บ/มือถือ กลยุทธ์ในการเพิ่มลูกค้าขึ้นอยู่กับ รูปแบบธุรกิจของคุณ ตัวอย่างเช่น บริการสมัครสมาชิกอาจเสนอการ ทดลองใช้ฟรีแก่ผใู้ ช้ใหม่ อย่าลืมใส่ใจกับปัญหา: สิง่ ที่สำ� คัญ สิง่ ทีน่ า่ ผิด หวัง สิ่งที่ทำ� ให้ลูกค้าดีที่สุด ฯลฯ ทดสอบแรงจูงใจและส่วนลดที่หลาก หลาย และอย่าเพิม่ ประสิทธิภาพหลายๆ อย่างพร้อมกัน คุณต้องแน่ใจ เกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบ

Engineering Today July - August

2019

68

แต่เพิม่ ประสิทธิภาพองค์ประกอบ “รักษา” และ “เติบโต” การรักษา ลูกค้าเก่าไว้ถูกกว่าการหาลูกค้าใหม่ เมื่อมุ่งเน้นที่ “รักษา” ให้กลับไป ที่สมมติฐานความสัมพันธ์กับลูกค้าของคุณซึ่งคุณได้พัฒนาแนวคิด บางประการส�ำหรับการรักษาลูกค้า โปรแกรมความภักดี (Loyalty Programs) เป็นต้น เปิดตัวบางส่วนของเหล่านี้ อย่าลืมติดตามทุกอย่าง บางโปรแกรมมีราคาถูกกว่าโปรแกรมอื่น ดังนั้นติดตามค่าใช้จ่ายของ คุณ ในส่วน “เติบโต” ให้ลกู ค้าของคุณซือ้ มากขึน้ (อาจให้สว่ นลดส�ำหรับ ค�ำสั่งซื้อขนาดใหญ่และกลยุทธ์ที่คล้ายคลึงกัน) และให้ลูกค้าปัจจุบัน ของคุณดึงดูดลูกค้าใหม่ สุดท้ายคุณต้องการพันธมิตรเพื่อเพิ่มอัตราการเข้าชมเว็บไซต์ใหม่ ของคุณและมีกลยุทธ์ในการใช้เว็บไซต์พนั ธมิตรเพือ่ ประชาสัมพันธ์ของ คุณ แต่อย่าแปลกใจถ้าพันธมิตรที่มีศักยภาพไม่ได้ตื่นเต้นกับการโทร ติดตามของคุณ พยายามเน้นประโยชน์ของการเป็นพันธมิตรกับคุณ มากกว่าจูงใจในการใช้บริการ

Phase III – Positioning phase ระยะที่ 3 - ระยะการวางต�ำแหน่ง

ต�ำแหน่งของคุณควรตรงกับตลาดที่คุณต้องการ ส�ำหรับตลาดที่มี อยู่คุณต้องการที่จะสร้างความแตกต่างแต่น่าเชื่อถือ คุณต้องการแก้ ปัญหาที่มีความส�ำคัญต่อผู้คน ส�ำหรับตลาดใหม่คุณต้องการอธิบาย วิสัยทัศน์ของคุณ บริษัทของคุณว่าพยายามเปลี่ยนแปลงอะไรให้เห็น เด่นชัดและตรง เสมือนการสร้างแบรนด์และก�ำหนดต�ำแหน่งของ แบรนด์(Re-Brand and Brand Positioning) ณ จุดนี้ให้ย้อนกลับไปดูค�ำสั่งการจัดต�ำแหน่งที่คุณเขียนระหว่าง ขั้นตอนการตรวจสอบลูกค้า มันผ่านกระบวนการตรวจสอบได้อย่างไร หากลูกค้าไม่ได้รักคุณเข้าใจเหตุผลไหม และพบกับผู้มีอิทธิพลหลัก (Key Influencers) ที่คุณระบุในช่วงการค้นพบลูกค้า ตอนนี้เป็นเวลา ทีจ่ ะพบกับพวกเขา ทดสอบเพือ่ ดูวา่ ผูม้ อี ทิ ธิพลเหล่านีแ้ ละนักวิเคราะห์ อุตสาหกรรมอื่นๆ จะพูดสิ่งที่ดีเกี่ยวกับคุณหรือไม่ สุดท้ายอย่าให้ใครบอกคุณว่าคุณต้องการตัวแทนประชาสัมพันธ์พนั ก งานพั ฒนาลู ก ค้ า ของคุ ณ ด้ ว ยข้ อ มู ล จากคนพั ฒนาผลิ ต ภั ณ ฑ์ สามารถท�ำงานได้ดี ณ จุดนี้ แต่ท�ำการตรวจสอบสถานะเพื่อดูว่าคน อืน่ เห็นบริษทั ของคุณและผลิตภัณฑ์ของคุณอย่างไร สิง่ นีจ้ ะเป็นพืน้ ฐาน ในการเปรียบเทียบกับคุณ

Phase IV – Pivot and/or proceed ระยะที่ 4 - การหมุนออก

จากทิศทางเดิม และ/หรือ ด�ำเนินการต่อ นีอ่ าจเป็นจุดเปลีย่ นทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ การหมุนออกจากทิศทางเดิม และ คุณจะต้องด�ำเนินการต่อไป ตรวจสอบและวิเคราะห์เนื้อหาทั้งหมด ทีค่ ณ ุ สร้างขึน้ ตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีคำ� ตอบทีม่ นั่ คงส�ำหรับสมมติฐาน ดูรปู แบบธุรกิจของคุณและการเปลีย่ นแปลงของกระบวนการนี้ ตัวชีว้ ดั ของคุณแสดงหลักฐานว่านีเ่ ป็นความพยายามทีป่ รับขนาดได้ทสี่ ามารถ ท�ำก�ำไรได้หรือไม่? นี่เป็นสิ่งส�ำคัญและผู้เขียนให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ “ตัวชี้วัดที่ส�ำคัญ” (Metrics that Matter) (ตัวอย่างเช่น จ�ำนวนหน่วย ทั้งหมดที่ขายได้ ราคาขาย เป็นต้น) ตรวจสอบโมเดลทางการเงินของคุณ เส้นโค้งการเติบโตของรายได้ (Revenue Growth Curves) จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับประเภทของ ตลาด: การเติบโตในบริษัท ตลาดใหม่จะมีลักษณะเหมือนแท่งฮอกกี้ บนกราฟ ตลาดที่มีอยู่แสดงอัตราการเติบโตที่มั่นคง ตัวเลขที่คุณคาด เดาได้ดีที่สุด แต่อย่าลืมว่าไม่มีอะไรแน่นอนแม้แต่ในช่วงท้ายเกม ประเมินรูปแบบธุรกิจข้อเสนอที่มีคุณค่าและการส่งมอบผลิตภัณฑ์อีก ครั้งเพื่อให้แน่ใจว่าเหมาะสม รายได้ควรสูงและต้นทุนต�่ำ ในระยะสั้น


ดูทุกอย่างอีกครั้ง อาจเป็นเรื่องยากหลังจากท�ำงานทั้งหมดนี้เพื่อกลับ ไปที่กระดานวาดภาพ แต่มันก็โอเคถ้านั่นคือสิ่งที่คุณต้องท�ำ มิฉะนั้น ถ้าทุกอย่างเช็คเอาท์ออกไป และไม่ลงมือท�ำในส่วนทีเ่ หลือ ยังมีงานรอ อยู่ข้างหน้าอีกมากมาย

บทสรุป

การศึกษาแนวทางการท�ำ Business Model และแนวทางการท�ำ Startup การสร้างจุดเริ่มต้นของการธุรกิจแนวใหม่ เพื่อกล้าเปลี่ยน ทิศทางของบริษัทเพื่อหาโมเดลธุรกิจที่เหมาะสมจากหนังสือคู่มือของ ผู้ประกอบการในการสตาร์ทอัพ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf ) สตีฟ แบลงค์ (Steve Blank) ผูเ้ ชีย่ วชาญ เรื่อง Customer Development และ Lean Startup method ซึ่งเป็น ผู้เขียนหนังสือ The Four Steps to the Epiphany ซึ่งเป็นหนังสือที่ สร้างไอเดียเรื่อง Lean startup ขึ้นมาเล่มแรก และได้เขียนหนังสือที่ เป็นคูม่ อื ผูป้ ระกอบการในการสตาร์ทอัพทีช่ อื่ ว่า The Startup Owner’s Manual ได้เน้นหัวใจส�ำคัญของ “สตาร์ทอัพ” อยู่ที่ “โมเดลธุรกิจ (Business Model)” แต่ Steve Blank เน้นย�ำ้ ว่า “สตาร์ทอัพ” ต้องการ หาโมเดลธุรกิจที่ สามารถสร้างก�ำไรได้เรื่อยๆ เพิ่ม ผู้ใช้ได้เรื่อยๆ (Repeatable) และสามารถเติบโตขึน้ ได้อย่างรวดเร็วภายในเวลาอันสัน้ และกลายเป็นบริษัทขนาดใหญ่ (Scalable) ซึ่งการจะเติบโตอย่าง รวดเร็ว (High Growth rRte) และกลายเป็นบริษัทขนาดใหญ่อย่างนั้น ได้ในปัจจุบนั ก็คอื ต้องหาลูกค้าให้มจี ำ� นวนมหาศาลโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในลักษณะของการผ่านระบบออนไลน์ในปัจจุบนั โดยมีแนวทางในการ ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. การค้นพบลูกค้า Customer Discovery : พัฒนาสมมติฐาน และทดสอบกับลูกค้า บทสรุปหลักคือ ความเข้าใจและเข้าถึงตัวลูกค้า การเข้าใจใน ความต้องการของลูกค้า และการเข้าถึงลูกค้า โดยเริ่มตั้งแต่การ ตัง้ สมมติฐาน(Hypothesis) ในแต่ละมุมมองทางธุรกิจเพือ่ ให้ได้ มาถึงการวางแผนโมเดลธุรกิจ: ผู้เขียนแนะน�ำ ให้ใช้ Canvas Model Business ที่สามารถสร้างแผนการด�ำเนินธุรกิจใน ทุกมิตมิ มุ มองทีส่ ามารถจบได้ดว้ ย Business Model เพียงแผ่น เดียวในการทบทวนการท�ำงาน การพัฒนาลูกค้าเป็นกระวนการ ทีจ่ ะท�ำให้องค์กรสามารถค้นหากระบวนการทางธุรกิจ (Customer Development is the Process to Organize the Search for the Business model.) อย่างมีระบบและสามารถเข้าใจร่วมกัน ได้บนการท�ำกระบวนการทางธุรกิจเพียงกระดาษ Key Notes แผ่นเดียวที่เรียกว่า Canvas Model Business 2. การตรวจสอบลูกค้า Customer Validation : ทดสอบการขาย ดูว่าผู้คนจะซื้อจริงหรือไม่และดูว่าคุณสามารถขยายขนาดตาม ความต้องการของลูกค้า บทสรุปหลักคือ การเข้าใจในผลตอบสนองของลูกค้า การเข้าถึง ผลตอบสนองของลูกค้า เป็นการทดสอบผลของ Business Model ว่าสามารถบรรลุผลถึงความต้องการได้อย่างถูกต้องและ จริงหรือไม่ เพือ่ การเข้าถึงปัญหาทีล่ กู ค้าได้รบั และตอบสนองใน ความต้องการในปริมาณลูกค้าทีท่ เี่ กิดขึน้ จริงอย่างต่อเนือ่ ง และ ผลของการตรวจสอบรูปแบบธุรกิจว่ามีศักยภาพเพียงพอความ สามารถจริงของกระบวนการทางธุรกิจ (Business Solution) ที่จะต้องด�ำเนินการภายใต้การแข่งขัน ซึงกระบวนการดังกล่าว จะท�ำให้คุณเดาได้ว่า ณ จุดนี้คุณควรหยุดอีกครั้งและตัดสินใจ ว่าจะหมุนหรือด�ำเนินการต่อ (to Pivot or Proceed) ในการ

ด�ำเนินการต่อไปอย่างไร การก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างไร นัน้ คือ การท�ำให้มั่นใจในความส�ำเร็จ ที่ลูกค้าร้องเรียกหาเรา และเรา สามารถเข้าถึงสิ่งที่ลูกค้าร้องเรียกหา (Make Sure that, for People that Count to You, You Count to Them.) เมื่อธุรกิจ สามารถเข้าถึง เข้าใจและการทบทวนความต้องการของลูกค้า ตลอดเวลา ความเป็นทีน่ า่ เชือ่ ถือ (Royalty) ก็จะกลับกลายเป็น ความไว้วางใจในแบรนด์ (Brand) สืบต่อไปได้อย่างมั่นคง 3. การสร้างลูกค้า Customer Creation: ขนาดของการตลาดและ ความต้องการ บทสรุปหลักคือ การเข้าโดยการประกาศให้ลูกค้า ได้รู้จักในตัว สินค้า (Physical Products) หรือ ผลิตภัณฑ์เว็บ/มือถือ (Digital Products) โดยเน้นความสมบูรณ์แบบของผลิตภัณฑ์ ความ สมบูรณ์แบบของการใช้งานทีส่ ามารถสร้างความประทับใจทีม่ าก กว่าง่ายกว่า ผ่านการรับรู้ได้ด้วยการสร้างแบรนด์ ใน Brand Awareness โดยการก้าวสู่สิ่งที่เรียกว่าความประทับใจและการ บอกต่อของกลุ่มลูกค้า บททดสอบของผลิตภัณฑ์และการรับรู้ ปัญหาพร้อมการแก้ไข โดยการแบ่งกลยุทธ์ทางการตลาดที่ แยกออกจากกัน การสร้างลูกค้าก็การเน้นความเป็นลูกค้าทัว่ ไป (The Public) และลูกค้าองค์กร (Consumers or Companies) 4. การสร้างบริษัท Company Building: การเปลี่ยนไปใช้องค์กร ที่ยั่งยืน (Transition to a Sustainable Enterprise) บทสรุปหลักคือ การวางต�ำแหน่งของผลิตภัณฑ์ การวางต�ำแหน่ง ขององค์กร Startup ว่าจะอยู่ที่จุดใหนและต้องการก้าวไปสู่ ต�ำแหน่งไหน จุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญที่สุดการหมุนออกจากทิศทาง เดิม และคุณจะต้องด�ำเนินการต่อไป (Pivot and/or Proceed) Startup มีหวั ใจส�ำคัญอีกหนึง่ คือ Growth คือมีการเติบโตแบบก้าว กระโดด การที่จะเป็นเช่นนั้นได้โมเดลธุรกิจนั้นต้องสามารถท�ำซ�้ำได้ (Repeatable) และขยายตัวได้ (Scalable) อย่างรวดเร็วและง่าย ซึ่ง เราจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องอาศัยเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมเข้ามาช่วยขับ เคลื่อน โดยมีไอเดียหรือแนวความคิดใหม่ๆ การจะท�ำธุรกิจให้ประสบ ความส�ำเร็จได้ต้องมีแนวความคิดใหม่ๆ สร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา เพราะแนวความคิดใหม่ๆ จะเป็นตัวบอกว่าเราจะท�ำอะไร ท�ำอย่างไร แก้ไขอะไร เป็นการเริ่มต้นในการท�ำสตาร์ทอัพให้ประสบความส�ำเร็จ โดยที่แนวความคิดต้องไม่ซ�้ำหรือจะเป็นการต่อยอดแนวความคิดเดิม ที่มีอยู่แล้วให้มีความน่าสนใจยิ่งขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการ หรือสตาร์ทอัพ หน้าใหม่จะไม่ทิ้งความพยายามที่จะท�ำการพัฒนาลูกค้า (Customer Development) โดยการวางแผนและด�ำเนินการตามโมเดลธุร กิจ Business Model Canvas (BMC) โดยการประเมินขนาดของตลาด Size of the Market Testing Customer’s Problems: จากการหา ตลาดจากปัญหาที่เกิดขึ้นกับลูกค้าและการทดสอบปัญหาของลูกค้า Testing Customer’s Problems: ให้ได้ปัญหาของลูกค้าที่แท้จริงและ มีจำ� นวนมากทีเ่ กิดขึน้ โดยใช้กระบวนการค้นพบปัญหา (The Problem Discovery Process) และสามารถสร้ า งแบบจ� ำ ลองทางธุ ร กิ จ (Business Model) เพื่อการทดสอบหรือจ�ำลองการท�ำก่อนการลงมือ ท�ำจริงด้วย แบบ Testing Your Solution: การทดสอบโซลูชั่นของคุณ จนสามารถพิสจู น์ได้ถงึ ผลส�ำเร็จ การสร้างความพึงพอใจต่อลูกค้า การ บอกต่ อ ซึ่ ง กั น และกั น การสร้ า งความประทั บ ใจต่ อ ผลส� ำ เร็ จ ของ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการท�ำตามขั้นตอนจะเป็นสิ่งบ่งบอกถึงความส�ำเร็จ ของการท�ำธุรกิจ Startup แต่การท�ำ Startup ก็ยงั ไม่สามารถหยุดนิง่ ได้ การพัฒนาเพื่อการตอบสนองความต้องการของลูกค้าอันไม่สิ้นสุด เรา ควรใช้หลักการในการท�ำ Startup อยูใ่ นวงจรธุรกิจอย่างตลอดเวลา

69

Engineering Today July - August

2019


Advertorial • บริษัท อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ จ�ำกัด

INTERMACH, MTA, SUBCON THAILAND 2019 Successful Connected Industrial Solutions for Intelligent Manufacturing โซลูชั่นการผลิตอัจฉริยะเชื่อมต่อภาคอุตสาหกรรมสู่ความส�ำเร็จ INTERMACH & MTA 2019 were jointly presented under the theme, “Connecting Intelligent Manufacturing Solutions”. The show provided a top industrial platform for manufacturers and entrepreneurs with a comprehensive showcase of cutting-edge machinery, technology, equipment for solutions on Advanced Machinery, Robotics, and Automation. These advanced technologies will provide solutions that will maximize capabilities and efficiency as they reduce costs.

Engineering Today July - August

2019

70

อินเตอร์แมค และเอ็มทีเอ 2019 น�ำเสนอแนวคิด ของงานภายใต้หัวข้อ “โซลูชั่นการผลิตอัจฉริยะ” เป็น แพลตฟอร์มชัน้ น�ำเพือ่ อุตสาหกรรมการผลิตส�ำหรับผูผ้ ลิต และผู้ประกอบการ ผ่านการจัดแสดงเครื่องจักรที่ทันสมัย เทคโนโลยี อุปกรณ์ด้วยเครื่องจักรขั้นสูง หุ่นยนต์ และ ระบบอัตโนมัติ ซึ่งโซลูชั่นเทคโนโลยีขั้นสูงเหล่านี้ได้เพิ่มขีด ความสามารถและประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิต พร้อมไป กับการช่วยลดต้นทุนอีกด้วย


This year’s show will feature more than 1,200 brands from 35 countries and include hundreds of brands which are being seen for the first time in Thailand and ASEAN. There are also major National Pavilions from China, Japan, Singapore, South Korea and Taiwan. INTERMACH & MTA 2019 again attracted quality visitors and top decision-makers who made purchase decisions on the spot. This year, the show was attended by 38,595 quality visitors and decision-makers from across ASEAN. งานในปีนี้มีการจัดแสดงมากกว่า 1,200 แบรนด์เทคโนโลยี เครื่องจักรการผลิต จาก 35 ประเทศและครั้งแรกของอีกหลากหลาย แบรนด์ทเี่ ปิดตัวเป็นครัง้ แรกในประเทศไทยและอาเซียน รวมถึงพาวิลเลียน ส�ำคัญจากจีน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และไต้หวัน งานนี้ได้ดึงดูด ผู้เข้าชมงานและผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจที่สามารถตัดสินใจซื้อในทันที โดย ปีนี้มีผู้เข้าชมงานและผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจจากทั่วอาเซียนเข้าร่วมงานถึง 38,595 คน Co-located with SUBCON Thailand 2019 this is the only event that is co-organized by the Thailand Board of Investment (BOI), Informa Markets and the Thai Subcontracting Promotion Association. It has become a major regional event and has grown to become the center for parts purchasing and sourcing excellence. The 2019 show featured over 10,000 quality industrial components and parts from more than 400 part-makers from Thailand, ASEAN and top Japanese part-manufacturers. The event will feature industries such as automotive, electrics, electronics, machinery, and future industries such as aviation, medical equipment, robotics, automation and digital.

71

จัดร่วมกับงานซับคอน ไทยแลนด์ 2019 เป็นงาน เดียวที่จัดขึ้นโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) บริษทั อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ และสมาคมส่งเสริมการรับช่วง การผลิตไทย เติบโตขึ้นจนกลายเป็นงานส�ำคัญในการเป็น ศูนย์กลางส�ำหรับการจัดซื้อจัดหาชิ้นส่วนอุตสาหกรรมใน ภู มิ ภ าค งานปี 2019 นี้ มี ส ่ ว นประกอบและชิ้ น ส่ ว น อุตสาหกรรมคุณภาพกว่า 10,000 รายการจากผู้ผลิตชิ้น ส่วนกว่า 400 ราย จากประเทศไทย อาเซียน และผู้ผลิต ชิน้ ส่วนชัน้ น�ำจากญี่ป่นุ ส�ำหรับการท�ำงานในอุตสาหกรรม ต่างๆ เช่น ยานยนต์ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรและ อุตสาหกรรมในอนาคต เช่น การบิน อุปกรณ์การแพทย์ หุ่นยนต์อัตโนมัติ และดิจิทัล Lastly, Informa Markets – the Organizer of INTERMACH, MTA, SUBCON Thailand 2019 would like to thank all co-organized partners, Speakers, Government Departments & Officials, Industrial Associations and most of all, Exhibitors for their support in making the 2019 event an overwhelming success in all areas. We are pleased to announce that the next edition will be held from 13th-16th May 2020 at BITEC, Bangkok. We look forward to serving you once again! บริษทั อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ ผูจ้ ดั งานอินเตอร์แมค, เอ็มทีเอ และซับคอน ไทยแลนด์ 2019 ขอขอบคุณทุก ภาคส่วน ทั้งผู้ร่วมงาน ผู้แทนจากภาครัฐ และเจ้าหน้าที่ สมาคมจากภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะผูร้ ว่ มแสดงงาน ที่สนับสนุนให้งานนี้ประสบความส�ำเร็จในทุกด้าน และ งานจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 13-16 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา เราหวังว่าจะได้ให้บริการคุณอีกครั้ง!

Engineering Today July - August

2019


Advertorial • บริษัท อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ จ�ำกัด

9 1 0 2 k e e W y g er

n E e l b a n i a t s u S EAN

AS

ss Platform e in s u B l a The Region he Energy Industry s a s s e c c u gS s in T Outstandin als and Policy Maker ธุรกิจระดับภูมิภาค เพื่อ ion ร์ม for Profess ดเด่นในฐานะแพลตฟอ อุตสาหกรรมพลังงาน ี่โด ใน ความส�ำเร็จท ีพและผู้ก�ำหนดนโยบาย าช ผู้ประกอบอ

ASEAN Sustainable Energy Week (ASE 2019) is ASEAN’s Largest and Most Comprehensive International Exhibition & Conference. It is a combination of 4 unique shows: Renewable Energy, Energy Efficiency Expo, Entech Pollutec Asia and Electric Vehicle Asia. It has been dedicated to innovation, transformation and sustainable development as ASEAN’s major energy and environment platform for almost 30 years.

ASEAN Sustainable Energy Week (ASE 2019) งาน แสดงเทคโนโลยีและการประชุมระหว่างประเทศด้านพลังงาน ทดแทนที่ใหญ่ที่สุดและครอบคลุมที่สุดในอาเซียน งานนี้เป็นการ รวมตัวกันของ 4 งานพิเศษ อาทิ Renewable Energy, Energy Efficiency Expo, Entech Pollutec Asia และ Electric Vehicle Asia งานนี้รวบรวมนวัตกรรมการเปลี่ยนแปลงและการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืนซึง่ เป็นแพลตฟอร์มพลังงานและสิง่ แวดล้อมทีส่ ำ� คัญ ของอาเซียนมาอย่างยาวนานเกือบ 30 ปี

ASE 2019 presented unbeatable regional business platforms and meeting points for 24,777 trade visitors, entrepreneurs and policy makers from 52 countries who visited the show over 4 days. ASE 2019 featured the latest innovative energy sources for the future along with cutting-edge machinery and equipment including 8 energy and environmental pavilions from Taiwan, Korea, Japan, China, India, Germany, Singapore, U.S.A. and Switzerland.

ASE 2019 น�ำเสนอแพลตฟอร์มธุรกิจระดับภูมิภาคและ จุดนัดพบส�ำหรับผู้เข้าชมงาน 24,777 ราย ผู้ประกอบการ และ ผู้ก�ำหนดนโยบายจาก 52 ประเทศที่มาชมงานเป็นเวลา 4 วัน งานนี้น�ำเสนอแหล่งพลังงานที่เป็นนวัตกรรมใหม่ล่าสุดส�ำหรับ อนาคตพร้อมกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ทันสมัย รวมถึง 8 พาวิ ล เลี ย นเกี่ ย วกั บ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ ม จากไต้ ห วั น เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น จีน อินเดีย เยอรมนี สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา และสวิตเซอร์แลนด์

Engineering Today July - August

2019

72


The event also featured over 80 important international Seminars and Conferences designed and focused on market opportunities and providing overviews, insights and challenges in multiple energy-related industries. Attended by more 5,000 participants the show was professionally presented by world experts and covered areas such as Renewable Energy, Smart Cities, Smart Grids, Smart Living, E-Mobility, Data Centre, Water & Wastewater, Bio-Energy, Electric Vehicles technologies, Waste-to-Energy, Energy Efficiency, Boiler technology, and more!

งานนี้ ยั ง มี ก ารสั ม มนาและการประชุ มระดั บ นานาชาติ ทีส่ ำ� คัญกว่า 80 รายการ ซึง่ ได้มงุ่ เน้นไปทีโ่ อกาสทางการตลาด การให้ขอ้ มูลเชิงลึกและความท้าทายในอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับ พลังงาน มีผเู้ ข้าร่วมชมงานมากกว่า 5,000 คนรวมถึงผูเ้ ชีย่ วชาญ ระดับ โลกที่เกี่ยวข้อง เช่น เทคโนโลยีด ้านพลังงานทดแทน, เทคโนโลยีเพื่อเมืองอัจฉริยะ, Smart Grids, Smart Living, E-Mobility, เทคโนโลยีการจัดการพลังงานส�ำหรับศูนย์ข้อมูล, เทคโนโลยีการจัดการน�ำ้ และน�ำ้ เสีย, พลังงานชีวภาพ, เทคโนโลยี ยานพาหนะไฟฟ้า, เทคโนโลยีการท�ำน�้ำให้บริสุทธิ์, พลังงาน ประสิทธิภาพ, การใช้พลังงานเทคโนโลยีหม้อไอน�ำ้ และอืน่ ๆ

ASE 2019 was also co-located with Pumps & Valves Asia 2019 – ASEAN’s largest international exhibition of Pumps, Valves and Fittings – the only specialized event of its kind in Thailand. The show featured the latest technology and innovations in industrial pumps, valves & seals, plus liquid & chemical pumps, fire & sewage pumps, sludge, vacuum and water pumps and a wide variety of fluid metering equipment including valves, pipes, expansion joints and pressure regulators.

ASE 2019 จัดร่วมกับงาน Pumps & Valves Asia 2019 - งานเทคโนโลยีเฉพาะระดับนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดของ อาเซี ย นด้ า นปั ๊ ม วาล์ ว และฟิ ต ติ้ ง ซึ่ ง เป็ น งานพิ เ ศษเฉพาะ ในประเทศไทย โดยน�ำเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมล่าสุดใน ปั๊มอุตสาหกรรม วาล์วและซีล รวมถึงปั๊มของเหลวและเคมี ปั๊มดับเพลิง และน�้ำเสียกากตะกอนปั๊มสุญญากาศและปั๊มน�้ำ และอุปกรณ์วัดของเหลวหลากหลายประเภท รวมถึงวาล์วท่อ ข้อต่อขยายและแรงดัน

Finally, on behalf of Informa – the Show Organizer, we would like to take this opportunity to thank all partners, delegations, Speakers, Government Departments and all Industrial Associations for their support along with all our international exhibitors for their commitment in making the 2019 event the best show yet – one we can truly be proud of. ASEAN Sustainable Energy Week 2020 will be held from 11th-13th June 2020 at BITEC, Bangkok. We look forward to seeing you there and serving you once again!

ในนามบริษัท อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ ผู้จัดงานแสดง ขอถือ โอกาสนี้ขอบคุณทุกภาคส่วนทั้งตัวแทนคณะวิทยากรหน่วยงาน ภาครัฐและสมาคมอุตสาหกรรมทุกแห่งทีใ่ ห้การสนับสนุนพวกเขา พร้อมกับผู้จัดแสดงสินค้านานาชาติของเราทุกคน งานแสดงที่ดี ที่สุดและเป็นงานหนึ่งที่เราภาคภูมิใจ ASEAN Sustainable Energy Week 2020 จะจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 11-13 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ที่ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา เราหวังว่าจะได้พบคุณทีน่ นั่ และ ให้บริการคุณอีกครั้ง!

73

Engineering Today July - August

2019


Advertorial • รศ. ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช ผู้เชี่ยวชาญด้านคอนกรีต

โครงการก่อสร้างและอาคารไม่ท�ำให้น�้ำท่วม ชูนวัตกรรมคอนกรีตพรุนช่วยลดน�ำ้ ท่วมได้ ภาพรวมการใช้คอนกรีตและโครงการก่อสร้าง ของประเทศไทย “จากสถิติปี 2016-2018 ปริมาณคอนกรีต อยู่ที่ 25 ล้านตัน แต่การผลิตซีเมนต์ประมาณ 30 ล้านตัน/ปี ในมุมมองของผม 3 ปีที่ผ่านมา แม้ โครงการด้านอสังหาริมทรัพย์ คอนโดมิเนียม อาคารสูง ค่อนข้างนิ่ง แต่ปริมาณการใช้คอนกรีตส�ำเร็จรูป กลับไม่ลดลง เนือ่ งจากการผลักดันโครงสร้างพืน้ ฐาน ของรัฐบาลมีไม่ตำ�่ กว่า 15 โครงการ เช่น สร้างรถไฟ รางคู่ ถนน สะพาน ขยายท่าเรือ สนามบิน เขื่อน ซึ่งถ้าผู้รับเหมาสามารถรับประกันโครงการก่อสร้าง ที่ขั้นต�่ำ 50 ปี เหมือนมาตรฐานของประเทศในทวีป ยุโรปหรืออเมริกาที่ 70 ปี ไม่ใช่ 2-3 ปีก็ต้องซ่อม เลือกใช้คอนกรีตคุณภาพสูง ก�ำลังสูง ที่ส�ำคัญต้อง มีอายุการใช้งานที่นาน ก็ถือได้ว่าเป็นการช่วยชาติ ประหยัดงบประมาณแผ่นดินในการซ่อมแซมได้”

นวัตกรรมคอนกรีตของประเทศไทย “นวัตกรรมคอนกรีตในประเทศไทยตอนนี้ เรา สามารถลดปริมาณการใช้ซเี มนต์ โดยน�ำเถ้าถ่านหิน ที่ราคาถูกไปแทนที่ ท�ำให้ลดต้นทุนผลิตลง โดยไม่ กระทบกับราคาคอนกรีตหรือค่าก่อสร้าง อีกทั้ง อุตสาหกรรมซีเมนต์ปล่อย CO2 เป็นตัวหลัก ที่มีผล ต่ออากาศร้อน และผลิตฝุน่ PM 2.5 หากเราลดการ ใช้ซเี มนต์ลง หรือน�ำวัสดุมาแทนทีไ่ ด้บางส่วน ส่งผล ให้ลด CO2 การก่อสร้างก็เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มากขึ้นแน่นอน นอกจากนี้ยังมีคอนกรีตพรุนที่น�้ำ สามารถซึมผ่านลงไปในดินได้ ช่วยแก้ปญ ั หาในน�ำ้ ขัง บนพื้ น ผิ ว ถนนหรื อ ผิ ว ทางเดิ น ลดปั ญ หาเรื่ อ ง น�ำ้ หลากจากพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็นพื้นคอนกรีตได้”

การก่อสร้างอาคารสูง และการสร้างรถไฟ ท�ำให้กรุงเทพฯ น�ำ้ ท่วมจริงหรือไม่ “จากการค�ำนวณปริมาณน�้ำฝนในกรุงเทพฯ หนักทีส่ ดุ คือ 150 มิลลิเมตร/ชัว่ โมง (สถิตสิ งู สุดช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา) หากเป็นพื้นดินหรือป่า น�้ำจะซึม ลงดินไป 80% อีก 20% อยู่บนพื้นและมีรากไม้

ซึ ม ซั บ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ น�้ ำ หลากไหลบ่ า รศ. ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช ออกไป ในกรณีของกรุงเทพฯ อาคารที่ สูงเกิน 23 เมตร กฎหมายระบุว่าต้องมีบ่อหน่วงน�้ำฝนก่อนปล่อยสู่สาธารณะ อย่างน้อย 3 ชั่วโมง ไม่อย่างนั้นจะไม่มีสิทธิ์เปิดใช้งานหรือขออนุญาตไม่ผ่าน ขณะที่อาคารเตี้ย บ้านพักอาศัย ยังไม่มีกฎหมายระบุชัดเจน จึงจะปล่อยลงท่อ หรือหน่วงภายในเส้นท่อ ถ้าฝนตก 1 ชัว่ โมงแล้วหยุด น�ำ้ ในอาคารสูงยังสามารถ อยู่ในบ่อหน่วงน�้ำ แต่น�้ำที่ถนนต่างหากที่ไปไหนไม่ได้ เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นคอนกรีตที่นำ�้ ซึมผ่านไม่ได้ เช่น ถนนสุขุมวิท ถนนสาทร จะน�้ำท่วม กรุงเทพฯ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 1,600 ตารางกิโลเมตร กรณีฝนตกปกติ 100 มิลลิเมตร/ชัว่ โมง ต้องรับน�ำ้ ฝน 480 ล้านคิว กรณีฝนตกหนัก 150 มิลลิเมตร/ ชัว่ โมง ต้องรับน�ำ้ ฝน 720 ล้านคิว ค�ำถามคือ กรุงเทพฯ มีพนื้ ทีร่ บั ปริมาณน�ำ้ ฝน ปกติและตกหนักเพียงพอหรือไม่? ยังมีเรื่องน�้ำขึ้นน�้ำลง น�้ำทะเลหนุนท�ำให้ ระบายน�้ำไม่ได้ หากจะเร่งระบายต้องท�ำยังไง น�ำ้ ที่ขังบนถนนและไม่สามารถ สูบได้ ต้องมีบ่อหรือสระน�้ำ ที่ทางวิศวกรรมเรียกว่า Sump Pump ถึงจะสูบ ออกได้คุ้มค่ากับการลงทุนซื้อเครื่องสูบน�้ำประสิทธิภาพสูง ยิ่งท�ำบ่อใหญ่และ ลึกที่น�้ำจะไหลมารวมกันได้ ท�ำให้สูบออกดีขึ้น กรณีปริมาณน�้ำฝนสภาวะปกติ (100 มิลลิเมตร/ชั่วโมง) หั ก ลบกั บ ศั ก ยภาพการระบายน�้ำ ของกรุ ง เทพฯ (60 มิลลิเมตร/ชัว่ โมง) จะเหลือน�ำ้ หลากบนพืน้ ที่ 432 ล้านคิว ถ้าจะสร้างสระ เพียงสระเดียวไว้รับน�้ำ ต้องกว้าง 1 กิโลเมตร ยาว 1 กิโลเมตร ลึก 432 เมตร แต่ไม่มวี ศิ วกรทีข่ ดุ สระลึกขนาด 400-500 เมตร เพราะเกินงบประมาณ แต่ถา้ ลองเพิ่มเป็น 10x10 กิโลเมตร (พื้นที่โล่งไม่มีบ้าน) สระจะลึกเพียง 5 เมตร ขุดได้ไม่เปลืองงบประมาณ และท�ำหลายสระกระจายไปตามพื้นที่ จะท�ำเป็น สวนสาธารณะ สถานที่ท่องเที่ยว หรือเป็นบ่อตกปลาเลี้ยงปลาก็ได้ กรุงเทพฯ ต้องปันพืน้ ทีเ่ ป็นสวนสาธารณะ 10 ตารางกิโลเมตร กระจายตามเขตพืน้ ทีต่ า่ งๆ ดังเช่นศาสตร์พระราชาที่เรียกว่า “หลุมขนมครก” กระจายพื้นที่กักเก็บน�้ำฝน ให้ทั่วถึง ผมขอถาม “ท�ำไมคนเรามองว่าน�้ำฝนเป็นปัญหา แต่ไม่เคยคิดจะ เก็บกักน�ำ้ ฝนไว้ใช้ประโยชน์ในชุมชนหรือครัวเรือน ซึง่ จะประหยัดงบประมาณ ของประเทศชาติในอนาคต” ขอยกตัวอย่าง “คาแนลสตรีท” เมืองนิวออร์ลนี ส์ รัฐหลุยส์เซียนา ประเทศ สหรัฐอเมริกา ถนนที่มีคลองด้านล่าง ตึกอาคารอยู่ซ้ายขวา ปัจจุบันเราท�ำ MRT ใต้ BTS วิศวกรโยธาไทยเก่งๆ มีเยอะ ตัดเสา ตอม่อ เสาเข็ม แล้วก็ท�ำ โครงสร้างค�ำ้ ยันไว้ ถ้าไม่ใช้พนื้ ทีก่ เ็ ทคอนกรีตหุม้ ปิดเป็นอุโมงค์ ให้นำ�้ ผ่านอย่าง เดียว ตึกสูงก็หน่วงน�ำ้ ไว้ 3 ชั่วโมงเหมือนเดิม ก่อนระบายน�้ำเข้าอุโมงค์ข้างบน ก็จะเป็นรถยนต์ หรือรถไฟไปวิ่งก็ได้ท้ายสุดก็จะกลายเป็นคลองส่งน�้ำไป เข้าแก้มลิงที่กระจายอยู่ในพื้นที่ส่งเข้าแม่น�้ำ ส�ำคัญคือส่งเข้าพื้นที่รับน�้ำแล้ว เตรียมสูบลงสูอ่ า่ วไทย ผมอยากให้กรุงเทพฯ ท�ำอุโมงค์สง่ น�ำ้ อย่างจริงจัง ถ้าท�ำ ใต้ถนนทุกเส้นจะดีมาก เราจะไม่กลัวเลยในกรณีที่ฝนตกหนักๆ

ส�ำหรับเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านคอนกรีตนี้ ยังมีอีกมากกว่า 300 แบรนด์ ซึ่งหาชมได้ที่งาน CONCRETE ASIA 2019 ที่จัดขึ้นพร้อมกับ งาน INTERMAT ASEAN 2019 ระหว่างวันที่ 5-7 กันยายน 2562 ณ อาคาร 9-10 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี สามารถติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.concrete-asia.com

Engineering Today July - August

2019

74


ใบสมัครสมาชิก 2019

เลขที่.................. หมูที่........ หมูบาน................................... อาคาร............................ ชั้น............... หอง............ ตรอก/ซอย...................... ถนน............................... แขวง/ตำบล........................... เขต/อำเภอ............................ จังหวัด................................ รหัสไปรษณีย....................... โทรศัพทที่ทำงาน....................................................... โทรศัพทมือถือ............................ โทรสาร................................. E-mail.............................................................

1 ป 6 ฉบับ 300 2 ป 12 ฉบับ 600

สมัครสมาชิกประเภท

Corporaeter Memb 3 เลม

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

แถม YG Directory

2018/2019

มูลคา 400.-

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

สมาชิกใหม ตออายุสมาชิก

แซอึ้ง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

1 ป 1,260 บาท 1 ป 1,100 บาท

2 ป 2,520 บาท 2 ป 2,200 บาท

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX ADVERTISING July - August 2019

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

CEBIT ASEAN THAILAND

-

-

4

www.cebitasean.com

INTERMAT ASEAN

-

-

82

www.concrete-asia.com

INTERLINK CO., LTD.

0-2666-1111

-

11

www.interlink.co.th

MATALEX

0-2686-7299

-

77

www.metalex.co.th

PROUD ASIA

-

-

ปกหลัง

POWERGEN ASIA

-

-

83

www.powergenasia.com

SETA ENERGY TRANSFORMATION ASIA

-

-

78

www.setaasia.com

THAILAND LIGHTING FAIR

-

-

6

www.thailandlightingfair.com

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า, 81

-

-

80

www.wire-southeastasia.com, www.tube-southeastasia.com

กุลธรอินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

9

www.kulthorn.com

คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

30

www.kanitengineering.com

เจริญเมืองแมชชีนเนอรี่ บจก.

0-2280-8431-5

0-2280-8033-5

79

www.crm.co.th, E-mail: info@crm.co.th

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

ปกหน้าใน

โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.

081-592-4456

-

7

www.promach.co.th

พิศนุการช่าง บจก.

0-2245-4451, 0-2245-0419

0-2246-3214

3

www.kanitengineering.com, www.pisanu.co.th

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

13

www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

02-7028801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

5

E-mail : savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

อินเตอร์ลิงค์ บมจ.

0-2666-1111

-

11

www.interlink.co.th

VEGA WIRE&TUBE SOUTHEAST ASIA

Engineering Today July - August

2019

76

Website/E-mail

-

www.vega.com

www.bay-corporation.com E-mail: sales@bay-corporation.com







5|6|7 September 2019 Hall10

IMPACT Exhibition and Convention Centre, Bangkok, Thailand

ưƧ q Å ´ ´¥Ã¬ ¬¶ n´Ã ¥ © ¥ Å §ºm£ º¥ ¶ ¯ ¥· §¶ ¢³ q ¯ ¥· Â Ä Ä§¤· ¯ ¥· ç²Â ¶ m´ È

¶ ¥¥ª ´¥ ´

­ m©¤ ´ ¢´ ¥³ ·Ê n´¥m©£¬ ³ ¬ º ´

£´ ©mm´

300

5,000

¥¶«³ ³Ë µÅ ¯º ¬´­ ¥¥£

É n´ ´ Å ¥² ³ n ¥¶­´¥ »n£·¯µ ´ Å ´¥¬³Ê ¹Ë¯

¬³££ ´Ã§²Â©¶¥q ɯ

Ä ¥Ã ¥£ Business Matching ·Ê ² µ »n ¹Ë¯¥´¤Å­ mÅ ¯º ¬´­ ¥¥£± £´ ©m´ ¥² º£ ´ ³Ê©¢»£¶¢´ Å ´¥¥m©£Â ¥ ´ º¥ ¶

·Ê ³ ¬£³¤ ·Ê¬º

Organizers:

Supporter: rter:

¥­³¬§ ²Â ·¤ MET

6FDQ PH

£´ ©mm´

&21&5(7( $6,$ &20 9,6,7256 5(6,75$7,21




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.