Engineering Today No.171 (Issue May-Jun 2019)

Page 1








EDITOR TALK

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติสมบูรณ์ตามโบราณราชประเพณี

õĨĉĉĨ ěĨĞĬċČĨėĥĉčõĬę

ċלāÑüÖ éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã

üāÓāòíÜāďæċíôù åèè÷òĄüñćçñā ČÑöÖæćŚÖíÜāďæ ċÑäòāÙċæöĄ ÐòćÖċæíþ čæò÷ĀíæŞ čæòùāò www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net F .BJM FEJUPS!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI ÐüÖéòòâāçăÐāò F .BJM FEJUPS!FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU ìŕāñčÕøâā F .BJM NBSLFUJOH@NBH!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI ìŕāñéĀÜÙĄČôÿçćòÐāò F .BJM BDDPVOU!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI

æĄēêòąÐøāÐăääăð÷ĀÐãăė

þíâþ íôüāÐā÷ċüÐÐĘāçè ùăèçöāèèæŞ

ÓâÿæĄēêòąÐøā

÷ üòćâ ÙĀñċùòĄ ãò æèÖ íăæñÿ ò÷ ØãĀé êŠæðùĈä ÷ ãò ðÖÓô ċãÙèÓòăèæòŞ ò÷ ãò íăÙèĄ číçāòāðăÐ ò÷ íĈôíò ČùÖéāÖêôā ò÷ ãò äŚüäòÿÐĈô ñðèāÓ ÷ ãò öò÷ĀÐãăė ÐèÐèćÐĈôÙĀñ ãò ÐāòćÜ ×ĀèæòāÖ÷ć ãò êòÿċùòăß ïĀæòðĀñ ùăòăíò ď÷ôÿùĈä ùăæçăíò òĀäčèïāù êòÿùÖÓŞ çāòāďÙñ êòā⥠íĀèçćðùăèÙĀñ ò÷ ãò êòăæòò÷èŞ íĀèçćéòòñÖÐŞ öĀôôï ċäĄñ÷ăòă ë÷ ãò èăċö÷èŞ ċúðöÙăòöòāÐò éòòâāçăÐāòüĘāèöñÐāò Ðăääă öăùćæçăòĀäèÐćô éòòâāçăÐāòëĈśíăðíŞëĈśčÕøâā ùćċðç éćÜùĀðíĀèçŞÐă× éòòâāçăÐāòöăÙāÐāò ÷ ãò íĄò÷ĀÐãăė öòùćèæčòùå ãò ðèäòĄ öĄòñāÖÐĈò éòòâāçăÐāò ùćòĄñŞíò öÖ÷Ş÷òĄäòÿÐĈô ÐüÖéòòâāçăÐāò æĀ÷èĄñŞ ċòĆüÖäăÐ íăùĈ×èŞüĀÐøò çăãāöãĄ éćÜùćñā ÷ăôêÐòòð íóáăñā èăôöĀäò Ùćäăïā ×òăäíĀèçŞ ëĈś×ĀãÐāòìŕāñčÕøâā ċÑð×ăòā êôāæăíñŞ ìŕāñčÕøâā ðèĀù ďÙñċíù ÷ăòăïò⪠ÐôăēèÑ×ò Ðøăòā ċúðéĀâàăäñŞ ÐĀôñā æòĀíñŞïăòðñŞ öĄòÿöòòâ íćæçčüöāæ ċôÑāèćÐāòìŕāñëôăä ÙćäăðĀèäŞ éĀöëĀè ìŕāñùðāÙăÐ ÷ăòăèæăíñŞ čñçāíĀèçŞ čòÖíăðíŞ ú×Ð òćŚÖċòĆüÖÐāòíăðíŞ ČñÐùĄ é×Ð ÓôāùăÓùČÐè &OHJOFFSJOH 5PEBZ XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU

ùÖöèôăÑùăæçăėäāðíòÿòāÙéĀÜÜĀäăôăÑùăæçăė í ÷

Cr : https://phralan.in.th/coronation/gallerydetail.php?id=724

ijčİĈīġčĒĘĝĔĦøĕčĩĹ Ċīġİďʇ č İĈīġčĕğĦĕĨĸûĕûøęċĩĸ ĕĩĒ ėĤėĦþĒĨ Čĩġĥ č ĞĽ Ħ øĥ ā ĖĨĸ û ijčďėĤěĥ ĉĨ Ĝ ĦĞĉėʃ þ ĦĉĨ Ĵ ċĖ øī ġ ĒėĤėĦþĒĨ Čĩ Ď ėĕėĦþĦĔĨ İ ĝõ ĒėĤĕğĦõĝĥ ĉ ėĨ Ė ʃ Ĵ ċĖ ėĥþõĦęċĩĸ ığɿûėĦþěûĜʃüĥõėĩ ÿĪĸûüĥĈöĪĹčġĖɿĦûĖĨĸûijğāɿĞĕĒėĤİõĩĖėĉĨĞĕĎĭėćʃĉĦĕIJĎėĦć ėĦþďėĤİĒćĩ ć ĒėĤĎėĕĕğĦėĦþěĥû ijčėĤğěɿĦûěĥčċĩ ĸ Ē ø ĊīġİďʇčĒėĤėĦþĒĨČĩ øėĥĹûċĩĸ čĥĎĉĥĹûıĉɿĕĩõĦėĞĊĦďčĦõėĬûėĥĉčIJõĞĨčċėʃ ďɷ IJĈĖijčěĥčċĩĸ Ē ø ĞĕİĈķü ĒėĤİüʀ Ħ ġĖĭ ɿ ğĥ ě ĕğĦěþĨ ė Ħęûõėć ĎĈĨ č ċėİċĒĖěėĦûõĭ ė ċėûİďʇ č ĒėĤĕğĦõĝĥ ĉ ėĨ Ė ʃ IJĈĖĞĕĎĭėćʃ ċėûİýęĨĕĒėĤďėĕĦĔĨĴČĖěɿĦ ƯĒėĤĎĦċĞĕİĈķüĒėĤďėİĕčċėėĦĕĦČĨĎĈĩ ĜėĩĞĨčċėĕğĦěþĨėĦęûõėć ĒėĤěþĨėİõęʀĦİüʀĦġĖĭɿğĥěư ıęĤċėûĕĩĒėĤďĄĕĎėĕėĦþIJġûõĦė ijčõĦėĒėĤėĦþĒĨČĩĎėĕėĦþĦĔĨİĝõ øěĦĕěɿĦ ƯİėĦüĤĞīĎĞĦč ėĥõĝĦ ıęĤĉɿġĖġĈ ıęĤ øėġûıĐɿčĈĨčIJĈĖČėėĕİĒīġĸ ďėĤIJĖþčʃĞöĬ ığɿûġĦćĦėĦĝĂėĉęġĈĴďư ĈʀěĖĒėĤėĦþğĘċĥĖ ċĩĉĸ ûĥĹ ĕĥčĸ ċĩüĸ ĤĞīĎĞĦčĒėĤėĦþďćĨČĦčėĥþõĦęċĩ ĸ ĞėʀĦûøěĦĕďęīĕĹ ďɷĉıĨ õɿġĦćĦďėĤþĦėĦĝĂėʃ ĖĨĸûčĥõ İĒīĸġİýęĨĕýęġûİčīĸġûijčIJġõĦĞĕğĦĕĨĸûĕûøęĒėĤėĦþĒĨČĩĎėĕėĦþĦĔĨİĝõ õėĤċėěû ěĥĆčČėėĕıęĤõėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ėɿěĕüĥĈĕğėĞĒĞĕIJĔþ ěĥč ĒėʀġĕõĥčċĥĸěďėĤİċĜ ijčėĤğěɿĦûěĥčċĩĸ Ē ø İěęĦ č ć ċʀġûĞčĦĕğęěû ıęĤ ijčĞɿěčĔĭĕĨĔĦøċĥĹû üĥûğěĥĈ ĞĽĦğėĥĎěĦėĞĦė &OHJOFFSJOH 5PEBZ ýĎĥĎčĩĹ İõĦĤĉĨĈĞĦėĤøěĦĕėĭʀøěĦĕõʀĦěğčʀĦ ċĦûĈʀĦčěĨĜěõėėĕıęĤġĬĉĞĦğõėėĕİďɶĈěĨĞĥĖċĥĜčʃ Ĝ Ĉė ĞĬþĥþěĩėʃ ĞĬěėėćĞěĥĞĈĨļ čĦĖõ ĞĔĦěĨĜěõė ĞĕĥĖċĩ ĸ ƯİĈĨčğčʀĦďăĨėďĭ ĞĔĦěĨþĦþĩĒěĨĜěõė ĖõėĤĈĥĎĜĥõĖĔĦĒěĨĜěõėĴċĖ ijğʀıöɿûöĥčĴĈʀijčėĤĈĥĎIJęõư ėēċ ėēĕ ıęĤėĒ ĜĨėĨėĦþ ėɿěĕĕīġõɿġĞėʀĦûĞĊĦčĩĜĨėĨėĦþ ıęĤġĦøĦėėĥõĝĦĒĖĦĎĦę þĭİďʇčĉʀčıĎĎõĦėĒĥĆčĦĒīčĹ ċĩöĸ čĞɿûĕěęþč ġčĦøĉığęĕ ýĎĥûĒėʀġĕĒĥĆčĦĞĭɿ 4NBSU $JUZ ĞġĈėĥĎĖĬċČĜĦĞĉėʃ &&$ư ƯıĐčıĕɿĎċüĥĈõĦėčĽĹĦ ĕĬɿûęĈěĨõĘĉĔĥĖıęʀû ĉĥĹûİďɻĦęĈõĦėijþʀčĽĹĦ ĔĦĖijčďɷ Ē Ĝ ư ıęĤøġęĥĕčʃġīĸčĶ IJďėĈĉĨĈĉĦĕĴĈʀijčýĎĥĎċĥĹû )BSE $PQZ ıęĤijčėĭďıĎĎöġû & #PPL ċĩĸİďɶĈijğʀġɿĦčýĎĥĎ ďʅüüĬĎĥčıęĤýĎĥĎĖʀġčğęĥûõĥčĴĈʀēėĩċĩĸ XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU ğėīġüĤġĥĒİĈċ öɿĦěĞĦėċĦûĈʀĦčěĨĜěõėėĕıęĤġĬĉĞĦğõėėĕ İþĨāĴĈʀċĩĸ '# &OHJOFFSJOH 5PEBZ øėĥĎ


..


CONTENTS 22 In Trend

COLUMNS 8

แผนแมบทจัดการนํ้า มุงลดวิกฤตภัยแลง ตั้งเปาลดการใชนํ้า ภายในป พ.ศ. 2570

บทบรรณาธิการ

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 แหงราชวงศจักรี ยิ่งใหญสมพระเกียรติสมบูรณตามโบราณราชประเพณี

• กองบรรณาธิการ

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

16 Interview

เปดวิสัยทัศน “ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7”

22

• กองบรรณาธิการ

Report

25 สสว.จับมือ ISMED สถาบันอาหาร และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

16 19 Material 4.0

สวทช.ถายทอดเทคโนโลยี “M-Bone” ใหสตารทอัพ ลดการนําเขาปละมากกวา 100 ลานบาท

• กองบรรณาธิการ

เปดตัว 3 โครงการ ยกระดับ SME สรางมาตรฐานไทย สูมาตรฐานโลก • กองบรรณาธิการ

28 ดับบลิวเอชเอ กรุป เปดตัวนิคมฯ แหงที่ 10 ในไทย

ประเดิมขายที่ดินใหนักลงทุนจีน จัดตั้งโรงงานผลิตยางรถยนต เปนรายแรก • กองบรรณาธิการ

Technology 30 วิศวฯ มธ.เปดตัว “เอสซิท” แพลตฟอรม AI สุดลํ้าผสาน IoT แจงเตือนพฤติกรรมผูขับขี่-ปองกันอุบัติเหตุบนทองถนน

• กองบรรณาธิการ

19 30

21 Industry 4.0

CPT ได License Partner จากซีเมนส เดินหนาผลิตตูไฟฟา มาตรฐานโลก ขยายฐานลูกคาอุตฯ ปโตรเคมี-งานโครงสรางพื้นฐาน ทั่วประเทศ

• กองบรรณาธิการ

33 เทคโนโลยีกับงานดานทรัพยากรมนุษย • Alight Solutions


Smart City Solutions Week 2019 28 - 31 October 2019 @ BITEC, Bangkok Thailand

Harnessing the smart cities opportunity in ASEAN

ASEAN Connectivity

City + loT - A sustainable and livable future

% OC[G_@VgC_7VC

a9E 02 664 6488 7 O 402, 406

www.thailandlightingfair.com www.thailandbuildingfair.com www.secutechthailand.com

Security + AI - Empowers sustainable city development


CONTENTS CONSTRUCTION THAILAND

DIGITAL ECONOMY 36 Smart City

อนาคตแหลมฉบังพรอมพัฒนาสู Smart City สอดรับยุทธศาสตร EEC

• กองบรรณาธิการ

58 Construction

รฟท.-รฟม. และรพ.ศิริราช รวมมือกอสรางสถานีศิริราช และ อาคารรักษาพยาบาล ชูเปนตนแบบการพัฒนาพื้นที่ขนสงมวลชน

• กองบรรณาธิการ

60 Property

ธุรกิจวัสดุกอสราง-อสังหาริมทรัพย เปดกลยุทธรับมือเศรษฐกิจ ป’62 สูยุคเปลี่ยนได “รายไตรมาส”

36 39 AI

อีริคสันจับมือยูเนสโกพัฒนาทักษะ AI ใหเยาวชน ตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของยูเนสโก

• กองบรรณาธิการ

41 Innovation

เอ็นไอเอ ชู “AWG” นวัตกรรมผลิตนํ้าจากอากาศ ลดการขาดแคลนนํ้า แนะสตารทอัพ เรงใชโอกาสพัฒนาสินคาสูตลาดโลก

• กองบรรณาธิการ

72 Energy Today

ภิรัชบุรีจับมือบานปูฯ ติดตั้งโซลารรูฟท็อปในโครงการ ซัมเมอรลาซาล คาดประหยัดพลังงานปละกวา 1.8 ลานบาท

• กองบรรณาธิการ

65 CSR

เยาวชน PTTEP Teenergy พัฒนา “ถานมีชีวิต” แกปญหานํ้าเสียในเชียงใหม

• ปตท.สผ.

• กองบรรณาธิการ

44 Logistics

โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคใต กรณีสะพานเศรษฐกิจ ชุมพร-ระนอง ประเทศไทย

65

• Assoc. Prof. Rahuth Rodjanapradied, Ph.D.

49 Quality

กสทช. แนะประชาชนเลือกซื้อแบตเตอรี่ไดมาตรฐาน -ใชงานแบตเตอรี่ อยางถูกวิธี เพื่อความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน

• กองบรรณาธิการ

67 Project Management

คูมือของผูประกอบการในการสตารทอัพ

• ดร.พรชัย องควงศสกุล

54 IT Update

วีเอ็มแวรรวมกับไอเน็ตนําเสนอบริการคลาวด VMware HCX เสริมแกรงองคกรสู Digital Transformation เปนรายแรกในไทย • กองบรรณาธิการ

77

Gadget



Register to visit Scan Here !!


Spotlight

สวทน. ร วมกับ จุฬาฯ และ สวทช.

จัดทํา “โครงการวิทยาศาสตร เพือ่ อุตสาหกรรม” (Science for Industry: Sci-FI) ดร.กิตพิ งค พรอมวงค เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) พรอมดวย ศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ อธิการบดีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) รวมลงนามบันทึก ความรวมมือ “โครงการวิทยาศาสตรเพือ่ อุตสาหกรรม” (Science for Industry: Sci-FI) ณ หองประชุมหวากอ 1-2 สวทน. อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14 เพื่อพัฒนาระบบการ ทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม รองรับความ ตองการของกําลังคนในภาคอุตสาหกรรมแบบ Tailor-made โดยในระยะแรกเนนการสรางบุคลากรระดับกลางในอุตสาหกรรม (Middle Manager) ที่มีความสามารถตรงกับตําแหนงที่อุตสาหกรรมตองการ ทั้งอุตสาหกรรม การผลิตที่ตองการความสามารถดาน Process Improvement และการออกแบบ ผลิตภัณฑทตี่ อ งการความสามารถดาน Product Design สวนระยะยาวเนนการพัฒนา กําลังคนใหสามารถเติบโตไดดวยความรูความสามารถแบบสหสาขาวิชา (Multidisciplinary) ทัง้ เชิงเทคนิคและเชิงการบริหารจัดการ โดยนํารองจากคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของ อุตสาหกรรมไทย (ITAP) ของ สวทช. และมี สวทน. รวมสนับสนุน ผลักดันสราง แพลตฟอรมใหเกิดการทํางานรวมกันทัง้ ดานกําลังคนและการพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีใหเกิดขึ้นอยางเห็นรูปธรรมแกภาคอุตสาหกรรม สําหรับโครงการฯ นี้จะมีระยะเวลาการทํางาน 2 ป เริ่มโครงการในรุนที่ 1 ใน เดือนสิงหาคม 2562 มีนิสิตจํานวน 12 คนและมี 6 บริษัท ประกอบดวย บริษัท บางกอกกลาส จํากัด (มหาชน), บริษัท อาหารเสริม จํากัด ในเครือ บริษัท ไทย เบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน), บริษัท สิทธินันท จํากัด, บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน), บริษทั โรงงานกระดาษเทนมา (ประเทศไทย) จํากัด และบริษทั แฟคเกอร จํากัด สวนรุนที่ 2 จะเปดรับสมัครสถานประกอบการที่สนใจเขารวมโครงการตั้งแต เดือนสิงหาคม 2562 และเริ่มโครงการในเดือนมกราคม 2563 เปนตนไป

ดร.กิติพงค พร อมวงค

ศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ

พิธีลงนามความร วมมือ “โครงการวิทยาศาสตร เพื่ออุตสาหกรรม”

ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล

ถ ายภาพร วมกัน

15

Engineering Today May - June

2019


Interview • กองบรรณาธิการ

ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7

“เดินหน าปฏิรูปสภาวิชาชีพวิศวกร ยกระดับศักยภาพ วิศวกรไทยให แข งขันได ในระดับโลก”

“สภาวิศวกร” เปนสภาวิชาชีพ ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 เพือ่ สงเสริมการศึกษา การวิจยั และการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม สงเสริม ความสามัคคีและไกลเกลีย่ ขอพิพาทของสมาชิก ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานของ ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ใหถูกตองตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรมตาม ที่กําหนดในกฎกระทรวง พรอมทั้งใหคําปรึกษาหรือ ขอเสนอแนะตอรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายและปญหา ดานวิศวกรรมรวมทั้งทางดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี สมัยใหมที่เกี่ยวเนื่อง

Engineering Today May - June

2019

16

ในโอกาสครบรอบ 20 ปของการกอตั้งสภาวิศวกร ในป พ.ศ. 2562 ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภา วิศวกร สมัยที่ 7 ไดประกาศวิสัยทัศนในการทํางานขับ เคลื่อนสภาวิศวกรเดินหนาปฏิรูปสภาวิชาชีพวิศวกรเพื่อ ยกระดับศักยภาพของวิศวกรไทยใหสามารถแขงขันไดใน เวทีระดับโลก โดยมีคณะกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 7 เริม่ วาระการดํารงตําแหนงเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2562 ประกอบดวย 1) ดร.ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ อุปนายก สภาวิศวกร คนที่ 1 2) รศ.สฤทธิ์เดช พัฒนเศรษฐพงษ อุปนายกสภาวิศวกร คนที่ 2 3) ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสภาวิศวกร 4) กิตติพงษ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ เหรั ญ ญิ ก สภาวิ ศ วกร 5) ผศ.ยุ ท ธนา มหั จ ฉริ ย วงศ


คณะกรรมการสภาวิศวกรชุดใหม สมัยที่ 7 ถ ายรูปร วมกัน

รองเลขาธิการสภาวิศวกร และ 6) รศ. ดร.สุธา ขาวเธียร รอง เหรัญญิกสภาวิศวกร

เดินหน าปฏิรูปอย างเร งด วน คํานึงถึงประโยชน ประชาชนและประเทศชาติเป นสําคัญ

ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 กล า วว า ในโอกาสที่ ไ ด รั บ คั ด เลื อ กให เ ข า รั บ ตํ า แหน ง นายก สภาวิศวกร สมัยที่ 7 ซึ่งตรงกับวาระครบรอบ 20 ป ของสภา วิศวกรในป พ.ศ. 2562 นี้ ตนเองและคณะกรรมการสภาวิศวกร ทุกคนมีความมุงมั่นในการที่จะขับเคลื่อนสมาชิกวิศวกรในสภา วิศวกรกวา 300,000 คน ซึง่ ครอบคลุมวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรม เหมืองแร, วิศวกรรมเครือ่ งกล, วิศวกรรมไฟฟา, วิศวกรรมอุตสาหการ

และอื่นๆ หรือทํางานดานวิศวกรรมและประกอบวิชาชีพอื่นๆ ไปพรอมๆ กันดวย ทั้งที่เปนคนรุนใหมอายุเฉลี่ย 20-40 ปและ วิศวกรรุนบุกเบิกอายุตั้งแต 40 ปขึ้นไปบูรณาการการทํางาน รวมกัน เพือ่ ยกระดับวิศวกรไทยใหสามารถแขงขันไดในระดับโลก เปนที่พึ่งของประชาชน สังคม และประเทศ ในการใหคําตอบ คําแนะนํา และแนวทางปองกันปญหาทางดานวิศวกรรมทีเ่ กิดขึน้ เชน ปญหาฝุน พิษ PM 2.5 เกิดขึน้ อยางไร มีวธิ กี ารปองกันอยางไร ในพื้นที่กรุงเทพฯ และพื้นที่จังหวัดในภาคเหนือ, ปญหาการ โทรคมนาคม การมาของ 5G ประเทศไทยพรอมหรือยัง, ปญหา การจราจร จะแกปญ  หาการจราจรทีแ่ ออัดในกรุงเทพฯ และจังหวัด หัวเมืองใหญๆ เชน เชียงใหม ขอนแกน ภูเก็ต สงขลา ไดอยางไร, ปญหานํ้าทวม มีการปองกันอยางเปนระบบอยางไรบาง, ปญหา การกอสรางอาคารสูงๆ มีการตรวจสอบการกอสรางในแตละป อยางไรบาง และโครงการภาครัฐทีเ่ กีย่ วของกับวิศวกร โดยเฉพาะ โครงการเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (EEC) ซึ่ ง จะมี โครงการกอสรางขนาดตางๆ ในพืน้ ทีจ่ ะมีวศิ วกรจากตางประเทศ มาทํางานรวมกับวิศวกรไทยในการกอสราง ในการเชือ่ มโครงขาย ทํางานดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยนั้นทางสภาวิศวกรมี ความพรอมในการเตรียมนําวิศวกรที่เปนสมาชิกไปรวมทํางานนี้ มากนอยเพียงใด เปนตน เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหประชาชนรูสึก ปลอดภัยเมื่อเขาอาศัยหรือใชงานในอาคารที่วิศวกรเหลานี้เปน ผูรวมออกแบบ ควบคุมงาน ทั้งนี้ อาคารหรือสินคาที่ผลิตที่ ออกแบบโดยวิศวกรไทยตองมีมาตรฐานที่ปลอดภัย สรางความ เชื่อมั่นใหกับผูบริโภค “ทัง้ หมดนีเ้ ปนสิง่ ทีส่ ภาวิศวกรตองปฏิรปู อยางเรงดวน โดย คํานึงถึงประโยชนประชาชนและประเทศชาติเปนสําคัญ พรอมที่ จะเปนที่พึ่งและใหขอเสนอแนะรัฐบาลในเรื่องที่เกี่ยวของกับการ ยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรม สรางสรรคนวัตกรรม ผลิตผล ฝมือคนไทยใชในประเทศเพื่อลดการสั่งซื้อมาใชงาน อีกทั้งนํา สงออกไปขายยังตางประเทศเพือ่ สรางรายไดกลับเขามาไดมากขึน้ ที่สําคัญสภาวิศวกรจะทําหนาที่อยางเขมขนมากขึ้นในเรื่องการ กลัน่ กรองตรวจสอบวิศวกรทีเ่ ปนสมาชิกสภาวิศวกรในสาขาวิชาชีพ ทีท่ าํ หนาทีต่ า งๆ อยูใ นขณะนีใ้ หเปนวิศวกรคุณภาพในการทํางาน เปนคนเกง คนดี มีจรรยาบรรณ เชื่อถือได และพรอมที่จะทํางาน เพื่อพัฒนาประเทศไทยรวมกับทุกภาคสวนไดอยางยั่งยืน”

ให สภาวิศวกรเป นที่พึ่งของประชาชน สังคม และประเทศชาติในทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวข อง

ศ. ดร.สุชัชวีร กลาววา การดํารงตําแหนงนายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 มีวาระการดํารงตําแหนงตั้งแต พ.ศ. 2562-2565 จะ ทํางานรวมกับคณะกรรมการสภาวิศวกรทีม่ คี วามชํานาญในแตละ ด า นอย า งเต็ ม กํ า ลั ง เพื่ อ ผลั ก ดั น ให ส ภาวิ ศ วกรเป น ที่ พึ่ ง ของ

17

Engineering Today May - June

2019


ประชาชน สังคม และประเทศไดอยางแทจริง นอกจากนีพ้ รอมทีจ่ ะ เปดรับทุกๆ ความคิดเห็นของเหลาสมาชิกสภาวิศวกร หนวยงาน ภาครัฐ เอกชน และบุคคลภายนอกเพื่อนํามาปรับปรุง นํามาหา ขอเท็จจริงของประเด็นที่สงเขามาดวยความหวงใย นํามาหลอ หลอมหาเหตุแหงปญหาเพื่อใหเกิดปญญา แกปญหาในแตละ ประเด็นใหสามารถผานคลี่คลายอยางไมกอใหเกิดผลกระทบ ใด ๆ พรอมทั้งจัดใหมีทีมวิศวกรอาสาที่ทําหนาที่ใหคําแนะนําให ขอมูลที่ประชาชนทั่วไปมีขอสงสัยที่เกี่ยวของกับทางวิศวกรรม ในแตละดาน ทั้งที่โทรศัพทเขามาสอบถาม สงคําถามขอรองทุกข มายังสื่อออนไลนของทางสภาวิศวกรเพื่อใหสภาวิศวกรเปนที่พึ่ง ของประชาชน สังคม และประเทศชาติในทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวของ

วางเป าหมายร วมมือกับมหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตรทันกระแสโลก สร างวิศวกรรุ นใหม ป อนตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป

สําหรับเปาหมายในการทํางานในตําแหนงนายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 นอกจากจะบูรณาการทํางานรวมกับเหลาสมาชิกสภา วิศวกรแลว สภาวิศวกรมีเปาหมายและแนวคิดในการรวมมือ กับมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาหลักสูตรทางดานวิศวกรรมที่ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนวัตกรรมโลก เพื่อสรางวิศวกรรุนใหมที่มีความรูความสามารถในแตละดานให เพียงพอตอความตองการของตลาดแรงงาน เนื่องจากในขณะนี้ ประเทศไทยขาดแคลนวิศวกรจํานวนมากโดยเฉพาะวิศวกรไฟฟา การกอสราง โยธา ไฟฟา และอุตสาหการ พรอมเสริมองคความ รูทักษะหลากหลายรอบตัว สอนใหมีความคิดริเริ่มสรางสรรค เทคโนโลยีเพื่อนําไปสูการใชงานในประเทศได “เปนที่ทราบกันดีวาประเทศที่สามารถพัฒนาประเทศให กาวกระโดดและสรางความมั่นคงได สวนใหญแลวมาจากวิศวกร ในประเทศทีเ่ ปนผูว างรากฐานสรางประเทศนัน้ ๆ โดยเฉพาะทาง ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพราะฉะนั้นแลววิชาชีพวิศวกรนี้ สําคัญอยางยิ่งยวดในการที่จะสรางเทคโนโลยี สามารถทําให ประเทศไทยลดการพึ่งพาการนําเขาเทคโนโลยีจากตางประเทศ และพลิกบทบาทสูการเปนประเทศผูผลิตนวัตกรรมและตอยอด สูการสรางมูลคาทางเศรษฐกิจได” อีกประการหนึ่งก็เพื่อเปนแรงจูงใจในการใหนิสิตนักศึกษา รุนใหมที่จะเขาสูรั้วมหาวิทยาลัยหันมาสนใจสมัครเขาเรียนคณะ วิศวกรรมศาสตรใหมากขึ้น เพราะในปจจุบันนี้ตองยอมรับวาได รับความสนใจนอยลงมากเมือ่ เทียบกับในอดีตทีผ่ า นมา เนือ่ งจาก ปญหาเรื่องคาตอบแทนการประกอบวิชาชีพวิศวกรยังนอยมาก เมื่อเทียบกับสาขาวิชาชีพอื่นๆ และการประกอบวิชาชีพวิศวกร มีความเสีย่ งภัย อีกทัง้ เมือ่ เทียบอัตราคาตอบแทนของวิศวกรไทย ที่ จ บใหม กั บ วิ ศ วกรประเทศญี่ ปุ  น และจี น ที่ เ ข า มาทํ า งานใน

Engineering Today May - June

2019

18

ที่สําคัญสภาวิศวกรจะทําหน าที่ อย างเข มข นมากขึ้นในเรื่องการกลั่นกรอง ตรวจสอบวิศวกรที่เป นสมาชิกสภาวิศวกร ในสาขาวิชาชีพที่ทําหน าที่ต างๆ อยู ใน ขณะนี้ให เป นวิศวกรคุณภาพในการทํางาน เป นคนเก ง คนดี มีจรรยาบรรณ เชื่อถือได และพร อมที่จะทํางานเพื่อพัฒนา ประเทศไทยร วมกับทุกภาคส วน ได อย างยั่งยืน

ประเทศไทยแลวยังมีอัตราคาตอบแทนที่ตางกันอยูมาก ทัง้ นีส้ ภาวิศวกรจะนําเรือ่ งนีป้ ระชุมหารือกับคณะกรรมการ สภาวิศวกรและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของเพือ่ ทบทวนเรือ่ งคาตอบแทน การประกอบวิชาชีพวิศวกรไทยใหเหมาะสมมากขึน้ เพราะวิศวกร เปรียบเสมือนผูสรางสรรคงาน สรางสรรคนวัตกรรม และเปน นักคิดทีม่ เี หตุมผี ลและเพือ่ สนองความตองการของตลาดแรงงาน ใหเพียงพอตอความตองการของประเทศ พรอมสงเสริมวิศวกร รุ  น ใหม ใ ห เ รี ย นรู  เ พิ่ ม เติ ม อย า งต อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให ทั น ต อ การ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี โดยสภาวิศวกรจะเปดหลักสูตรอบรมทีจ่ ะชวยสนับสนุนให เกิดการพัฒนาตนเองใหไดมากทีส่ ดุ พรอมกันนีจ้ ะทํางานประสาน ความรวมมือกับรัฐบาลในการถายทอดเทคโนโลยีดานวิศวกรรม จากคูสัญญาการคาในแตละโครงการของรัฐบาลที่เกี่ยวของกับ วิ ช าชี พ วิ ศ วกรเพื่ อ ให ส มาชิ ก สภาวิ ศ วกรมี โ อกาสได เ รี ย นรู  เทคโนโลยีที่นํามาใชในแตละโครงการใหมากยิ่งขึ้น “อยากฝากให นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาที่ กํ า ลั ง เรี ย นในคณะ วิศวกรรมศาสตร และวิศวกรรุน ใหมที่เพิง่ เรียนจบหมัน่ หาความรู ทุ ก รู ป แบบทั้ ง ในขณะที่ กํ า ลั ง เรี ย นและในขณะที่ ทํ า งาน โดย เฉพาะเรื่องเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว หาก วิศวกรคนใดไมมีองคความรู ไมติดตามการเปลี่ยนแปลงอาจจะ พลาดโอกาสในการเขารวมทํางานในโครงการสําคัญๆ ได ทีส่ าํ คัญ คือวิศวกรตองหมั่นฝกพูด เขียน อาน และเขาใจภาษาอังกฤษ เพราะวิศวกรไทยยังไมคอ ยมีความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษ ในการสือ่ สารและทํางานรวมกับวิศวกรชาวตางชาติ” ศ. ดร.สุชชั วีร กลาวทิ้งทาย


Material 4.0 • กองบรรณาธิการ

M-Bone วัสดุทดแทนกระดูกปลูกถ ายในร างกายมนุษย ผลิตใช เองภายในประเทศ ลดนําเข ามากกว าป ละ 100 ล านบาท

ดร.นฤภร มนต มธุรพจน นักวิจัย สวทช. ผู ผลิต M-Bone และ มนันญา พนอพัฒนาชัย เอ็มดี ออส ไฮดรอกซี

ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล (ที่ 2 จากซ าย) ผู อํานวยการ สวทช. และ ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ (กลาง) ที่ปรึกษาอาวุโส สวทช.

สวทช.ถ ายทอดเทคโนโลยี “M-Bone” ‘วัสดุทดแทนกระดูกปลูกถ ายในร างกายมนุษย ’

ให ‘สตาร ทอัพ’ ผลิตใช ภายในประเทศ ลดนําเข ามากกว าป ละ 100 ล านบาท ทีมวิจัย สวทช. สรางมิติใหมใหกับวงการสาธารณสุขไทย ดวยการคิดคน “เอ็ม-โบน” (M-Bone) ‘วัสดุทดแทนกระดูก สําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย’ นับเปนวัสดุทางการแพทย ชนิดแรกของประเทศไทยทีไ่ ดมาตรฐานสากล ปลอดภัยตอการ ใชงาน เตรียมผลิตเชิงพาณิชยโดยบริษทั สตารทอัพสัญชาติไทย คาดประหยัดงบวัสดุปลูกกระดูกฯ ในคนไขฝง รากฟนเทียมเทา ตัว ซึง่ ปจจุบนั ประเทศไทยยังตองนําเขาวัสดุฯ ชนิดดังกลาวจาก ตางประเทศทั้งหมด คิดเปนมูลคามากกวารอยลานบาทตอป สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แถลงขาวการ ลงนามในสัญญาอนุญาตใหสิทธิใชประโยชนผลงานวิจัย “วัสดุ ทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย” หรือ “เอ็ม-โบน” (M-Bone) ผลงานของ ดร.นฤภร มนตมธุรพจน นักวิจยั อาวุโส และทีมวิจยั ศูนยวจิ ยั เทคโนโลยีสงิ่ อํานวยความสะดวกและเครือ่ ง มือแพทย (A-MED) ทีมวิจัยเทคโนโลยีเครื่องมือแพทยฝงใน สวทช. ใหกับ บริษทั ออส ไฮดรอกซี จํากัด บริษัทสตารทอัพ สั ญ ชาติ ไ ทย ซึ่ ง สามารถวิ จั ย และพั ฒนาวั ส ดุ ท างการแพทย ชนิดแรกของไทยที่ไดมาตรฐานระดับสากล และปลอดภัยตอการ ใชงาน โดยมี ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ าํ นวยการ สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งชาติ (สวทช.) และ ศ. ดร.ไพรัช ธัชยพงษ ทีป่ รึกษาอาวุโส สวทช. เขารวมเปนเกียรติ ในพิธีลงนาม ณ โรงแรมเดอะ สุโกศล ปจจุบันการใชวัสดุทดแทนกระดูกมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกป เนือ่ งจากประชากรในประเทศมีผสู งู อายุมากขึน้ และดูแลสุขภาพ มากขึ้น ซึ่งราคาวัสดุทดแทนกระดูก มีการจําหนายในราคาที่สูง เชน 0.5 ซีซี ราคาประมาณ 3,000-4,000 บาท และตองนําเขา มาจากตางประเทศ นวัตกรรมดังกลาว จึงชวยลดคาใชจายใหกับ ผู  ที่ ต  อ งการศั ล ยกรรมช อ งปาก ฝ ง รากเที ย ม หรื อ ผู  ป  ว ยอื่ น ทีต่ อ งการใชสารทดแทนกระดูก และทดแทนการนําเขา ซึง่ มีมลู คา นําเขาปละหลายรอยลานบาท

ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช. ใหการสนับสนุนและพรอมถายทอดองคความรูจากผลงานวิจัย และพั ฒนาด า นนวั ต กรรมการแพทย ชั้ น สู ง เพื่ อ ต อ ยอดไปสู  เชิงพาณิชย ดวยการอนุญาตใหสิทธิใชประโยชนผลงานวิจัย “วัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย” (M-Bone) ใหกับบริษัท ออส ไฮดรอกซี จํากัด ซึ่งเปนบริษัทสตารทอัพ ดานการแพทย เพื่อผลิตและจําหนายมีระยะเวลา 5 ป โดยผลงานวิจัย “วัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายใน รางกายมนุษย” (M-Bone) นี้ เปนวัสดุสงั เคราะหทมี่ คี วามปลอดภัย ไดการรับรองโรงงานผลิตตนแบบเครื่องมือแพทยที่ไดมาตรฐาน กําหนดขอบขายของระบบการบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน International Standard: ISO 13485:2016 ครอบคลุม กระบวนการวิจยั และพัฒนา และการผลิตตนแบบเชิงอุตสาหกรรม วัสดุและอุปกรณทางการแพทยสําหรับการทดสอบทางคลินิก ถื อ เปนสวนสําคัญในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลใหเกิดการ ขับเคลือ่ น และบูรณาการความรวมมือ สงเสริม ผลักดันเทคโนโลยี ทางการแพทย ซึ่งเปนหนึ่งในกลุมเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ที่สําคัญของประเทศ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีสรางการเติบโต ทางเศรษฐกิจของไทยอยางยั่งยืน “งานวิจัยดังกลาวไดมีการทดสอบความเปนพิษ ทดสอบ การระคายเคือง ทดสอบการกอใหเกิดไขและผลขางเคียงที่จะ มีผลตอเนื้อเยื่อ ตลอดจนทดสอบผลที่จะมีผลตอการสรางการ เจริญเติบโตในการสรางกระดูกใหมขึ้นมา โดยผลการทดสอบที่มี ผลตอการเจริญเติบโตของการสรางกระดูกใหม พบวากระดูกใหม เกิดขึน้ ตัง้ แต 4 สัปดาห และเซลลกระดูกใหมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ใน 8 สัปดาห 12 สัปดาห และในสัปดาหที่ 16 จะเห็นกระดูก ใหมเจริญเติบโตเขามาในรูพรุนตรงกึ่งกลางของวัสดุทดแทนฯ ซึ่งวัสดุทดแทนฯ จะคอยๆ สลายออกไป จนเห็นไดชัดวาเนื้อเยื่อ สามารถสรางกระดูกใหมรอบๆ เหงือกเขามาทดแทนทั้งหมด

19 19

Engineering Engineering Today Today May - June May -2019 June 2019


ภายในระยะเวลาเพียง 3 เดือนเทานัน้ เร็วกวาการปลอยใหกระดูก คนไขสรางขึ้นเอง ซึ่งตองใชระยะเวลาเกิน 6 เดือนในคนไขทั่วไป และมากกวา 1 ป ในคนไขสูงอายุ” ดร.ณรงค กลาว ศ. ดร.ไพรัช ธัชยพงษ ทีป่ รึกษาอาวุโส สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา ทีมวิจัย ไดสงั เคราะหวสั ดุ M-Bone จากวัสดุทปี่ ลอดภัยและเปนทีย่ อมรับ ทางการแพทย มีคุณสมบัติในการเหนี่ยวนําการเจริญเติบโตของ เซลลกระดูกโดยเฉพาะบริเวณที่มีการปลูกถาย หรือทดแทน เกิดขึน้ เนือ่ งจากรูพรุนทีม่ ลี กั ษณะตอเนือ่ งถึงกัน และมีความพรุน ตัวที่ประมาณรอยละ 80 สงผลใหผิวของวัสดุมีความหยาบเพียง พอตอเซลลกระดูกใหสามารถเกาะยึดและเขาไปเจริญเติบโตใน รูพรุนของวัสดุไดดีในระยะเวลาเพียง 16 สัปดาห สําหรับการดําเนินการผลิตและสงมอบตามขอตกลงการ อนุญาตสิทธิ ทั้งชนิด จํานวน และขนาด ผูรับอนุญาตจะดําเนิน การผลิตและสงมอบตามแผนการใชงานตนแบบใหทงั้ หมดไมเกิน 1,000 ชิ้น ภายในระยะเวลา 1 ป โดยตนแบบที่ทีมวิจัยผลิตขึ้น จํานวนหนึ่งผานกระบวนการฆาเชื้อเรียบรอย พรอมใชทางการ แพทยกับคนไขไดทันที และพรอมสงมอบใหผูรับอนุญาตภายใน 60 วัน นับจากวันที่ลงนามในสัญญาฯ เพื่อนําไปทดลองตลาด และใชในทางการแพทย ดร.นฤภร มนตมธุรพจน นักวิจัยอาวุโส และทีมวิจัย ศูนยวิจัยเทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย (A-MED) ทีมวิจยั เทคโนโลยีเครือ่ งมือแพทยฝง ใน สวทช. กลาววา โดยธรรมชาติของกระดูกไมไดมีเฉพาะแคลเซียมแตมีฟอสฟอรัส ทีมงานจึงไดพัฒนาสารแคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกสทดแทนวัสดุ ธรรมชาติสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย (Hydroxyapatite Bone Graft Substitutes) ซึ่งเปนตนแบบวัสดุทางการแพทยที่ได มาตรฐานระดับสากล ประกอบดวยไฮดรอกซีอาปาไทต ซึ่งคง รูปรางไดดี และไตรแคลเซียมฟอสเฟต ซึ่งยอยสลายไดดี ใน สัดสวน 70:30 จากนัน้ นํามาสังเคราะหทางเคมีขนึ้ รูป แลวนํามา ทดสอบใน Lab ทดสอบในสัตว รวมทั้งทดสอบความปลอดภัย ISO 10993 Biocompatibility Testing ซึง่ จะทดสอบถึง 9 หัวขอ ทําใหมนั่ ใจไดถงึ ความปลอดภัย แลวนํามาทดสอบฝงในแลวจึงผลิต และไดผานการวิจัยทดสอบและพัฒนาตามมาตรฐานเครื่องมือ แพทยชนิดฝงใน ISO 13485 ที่ไดรับการรับรองจาก TÜV เยอรมนี จึงมัน่ ใจวามีความปลอดภัยสูงใชไดในรางกาย นอกจากนี้ สวทช. ยังไดขนึ้ ทะเบียนหองปฏิบตั กิ ารเปนสถานทีผ่ ลิตเครือ่ งมือ แพทย กั บ ทางสํ า นั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เรียบรอยแลว “วัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย หรือ M-Bone มีจุดเดนคือ เปนวัสดุสังเคราะหที่มีความปลอดภัย สําหรับการนําไปใชงานเปนวัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถาย ในรางกายมนุษย มีสว นประกอบหลักคือ ไฮดรอกซีอาปาไทต และ ไตรแคลเซียมฟอสเฟต ซึ่งเปนสวนประกอบหลักของกระดูก ธรรมชาติของมนุษยทสี่ ามารถเหนีย่ วนําเซลลกระดูกใหเจริญเติบโต ในบริเวณที่มีการปลูกถาย หรือทดแทนไดดี” ดร.นฤภร กลาว

Engineering Today May - June

2019

20

รศ. นพ. ดร.ปฐวี คงขุนเทียน ผูอํานวยการศูนยความเปน เลิศทางทันตกรรมรากเทียม คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม กลาววา วั สดุที่ ใชทดแทนกระดูกอาจแบงไดเปน 4 ประเภท ไดแก 1) กระดูกที่ไดจากรางกายของผูปวยเอง 2) กระดูกที่ไดจากการที่มีผูบริจาคแลวนํามาผานกระบวนการ เพื่อใชในทางการแพทย 3) กระดูกที่ไดจากกระดูกสัตว เชน วัว มา และ 4) กระดูกที่ไดจากการสังเคราะหทางหองปฏิบัติการ สําหรับ M-Bone จัดอยูในกระดูกที่สังเคราะหขึ้นในหอง ปฏิบตั กิ าร ทัง้ นีว้ สั ดุทดแทนกระดูกดังกลาวมีขอ ไดเปรียบในกรณี ที่ผูปวยมีความกังวลในเรื่องการใชวัสดุจากบุคคลอื่น หรือสัตว ตลอดจนแพทยสามารถใชไดอยางมั่นใจวาจะไมมีการสงถาย เชื้อโรค หรือไวรัสไปหาผูปวย เนื่องจาก M-Bone ไดผานการวิจัย ทดสอบและพัฒนาตามมาตรฐานเครื่องมือแพทยชนิดฝงใน ISO 13485 ที่ไดรับการรับรองจาก TÜV เยอรมนี จึงมั่นใจวามีความ ปลอดภัยสูงใชไดในรางกาย จากการทดสอบในสัตวทดลอง (หมู) แสดงใหเห็นวา M-Bone มีความเขากันไดกับเนื้อเยื่อกระดูกเปน อยางดี ไมกอ ใหเกิดปฏิกริ ยิ าภูมแิ พ หรืออักเสบใด ตลอดจนมีการ สรางกระดูกใหมแทรกเขาไปรอบๆ วัสดุ M-Bone ไดดีดวย ในสวนของการรักษาในผูปวยนั้น M-Bone สามารถนํามา ใชทดแทนกระดูกทีถ่ กู ทําลายไปเนือ่ งจากโรคบางอยาง เชน ถุงนํา้ หรืออุบัติเหตุ M-Bone ใหผลการรักษาที่มีประสิทธิผล ไมแตก ตางจากวัสดุทดแทนกระดูกของตางประเทศ โดยที่ผูปวยไมมี อาการปฏิกริ ยิ าตอตานวัสดุฝง ในและไมเกิดอาการแพแตอยางใด ผศ. สพ.ญ. ดร.มนชนก วิจารสรณ จากโรงพยาบาลสัตว คณะ สัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กลาวถึง การนํา ผลงานไปใชจริงทางทันตกรรมรากเทียมสําหรับประเทศไทยวา ที่โรงพยาบาลไดนํา M-Bone ซึ่งขณะนั้นเปน Generation กลาง มารักษาสุนัขที่กรามหักทั้งสองขาง และมีชองวางกรามเสียหาย กวางมาก หลังจากใส M-Bone ราว 2 สัปดาห สุนัขสามารถ สามารถเคี้ยวอาหารได นอกจากนี้ M-Bone ยังสามารถนํามาใช กับสุนัขแกที่ไมมีฟน ใหพวกมันสามารถดําเนินชีวิตไดตามปกติ สําหรับการพัฒนาขั้นตอไปจะทดลองใชในกระดูกยาว (Long Bone) เพื่อความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น ดาน ภก.สุรศักดิ์ นันทวิรยิ กุล ทีป่ รึกษาอาวุโส บริษทั ออส ไฮดรอกซี จํากัด ในฐานะผูรับอนุญาตสิทธิในผลงานวิจัยเพื่อ นําไปผลิตเชิงพาณิชย กลาววา บริษัทฯ ไดรับถายทอดเทคโนโลยี ผลิตภัณฑแคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกสสังเคราะหจาก สวทช. เพือ่ ผลิตผลิตภัณฑวสั ดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกาย มนุษย หรือ M-Bone นี้ โดยในปแรก ทีมวิจัย สวทช. จะเปน ผู  ถ  า ยทอดเทคโนโลยี และผลิ ต สิ น ค า ต น แบบจํ า นวนหนึ่ ง ที่ สามารถนําไปใชไดจริง จากสถานที่ผลิตในหองปฏิบัติการของ สวทช. ซึง่ ไดรบั รองมาตรฐานการผลิต ISO 13485 เพือ่ ใหบริษทั ฯ นํามาทดสอบตลาดฯ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ไดมแี ผนการลงทุนในการสราง โรงงานผลิตวัสดุทดแทนกระดูกในปหนา เพื่อใหเพียงพอตอการ ผลิตและจําหนายในอนาคต และพัฒนาธุรกิจใหสามารถแขงขัน กับสินคาจากตางประเทศได


Industry 4.0 • กองบรรณาธิการ

CPT ได License Partner

จากซีเมนส เดินหน าผลิต ตู ไฟฟ ามาตรฐานโลก ขยายฐานลูกค าอุตฯ ป โตรเคมี งานโครงสร างพื้นฐานทั่วประเทศ

บมจ.ซีพที ี ไดร แอนด เพาเวอร หรือ CPT ผูใ หบริการ ระบบไฟฟาสําหรับควบคุมการทํางานของเครือ่ งจักร และ มอเตอรขนาดใหญที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม ติดปก หนุนการเติบโต หลังไดรบั ความไววางใจจากบริษทั ซีเมนส จํากัด ผูน าํ ดานวิศวกรรมไฟฟาระดับโลก ซึง่ มีประสบการณ ยาวนานกวา 170 ป ใหเปน “License Partner” ผลิต ตู  ไ ฟฟ า และจํ า หน า ยอุ ป กรณ ไ ฟฟ า ภายใต แ บรนด ‘SIEMENS’ เพื่อยกระดับสินคาสูมาตรฐานโลก พรอม ขยายฐานลูกคากลุมอุตสาหกรรมตางๆ ทั้งอุตสาหกรรม ปโตรเคมี และงานโครงสรางพืน้ ฐานของประเทศ คาดเริม่ ผลิตเพือ่ จําหนายในเชิงพาณิชยไดในไตรมาสที่ 4 ของปนี้ สุวรรณี สิงหฤาเดช Senior Vice President and Head of Siemens Smart Infrastructure บริษทั ซีเมนส จํากัด กลาววา ซีเมนสมคี วามพรอมทางดานเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่ชวยพัฒนาใหเกิดโครงสรางพื้นฐานอัจฉริยะ ในระบบไฟฟาอุตสาหกรรมตางๆ โดยซีเมนสเล็งเห็นถึง ความสําคัญของการมีพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศ ซึ่งจะ เปนสวนสําคัญทีช่ ว ยสงเสริมศักยภาพการดําเนินธุรกิจ และ นํ า เทคโนโลยี ซี เ มนส เ พื่ อ ยกระดั บ การผลิ ต ของภาค อุตสาหกรรมในประเทศไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ “การที่ซีเมนสจับมือเปนพันธมิตรกับ CPT นับเปน กาวสําคัญที่จะชวยใหซีเมนสขยายตลาดตูควบคุมระบบ ไฟฟาในประเทศไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยซีเมนส พรอมสนับสนุนเพือ่ ยกระดับการผลิตของ CPT ผานความ รวมมือดานการฝกอบรม การผลิต และถายทอดนวัตกรรม ตาง ๆ และซีเมนสหวังวาจะไดรวมมือกับ CPT ในการทํา ธุรกิจเพิ่มเติมอีกในอนาคต” สุวรรณี กลาว ดานสมศักดิ์ หลิมประเสริฐ ประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท ซีพีที ไดร แอนด เพาเวอร จํากัด (มหาชน)

หรือ CPT กลาววา บริษัทฯ กอตั้งครบ 24 ป ในป พ.ศ. 2562 นี้ โดยเปนผูใ หบริการระบบไฟฟาสําหรับควบคุมการทํางานของเครือ่ งจักร เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถเชิงการแขงขันแกภาคอุตสาหกรรม ครอบคลุม ถึ ง การจํ า หน า ยอุ ป กรณ แ ละระบบควบคุ ม ไฟฟ า ที่ ใ ช ใ นโรงงาน อุตสาหกรรม รวมถึงใหบริการติดตั้งและกอสรางสถานีไฟฟายอย ซึ่งแตกตางจากผูผลิตตูไฟฟารายอื่น ทั้งนี้บริษัทฯ ไดรับความไววางใจจาก บริษัท ซีเมนส จํากัด ผูนํา ดานวิศวกรรมไฟฟา เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ และการจัดการดวยระบบ ดิจิทัลระดับโลก แตงตั้งให CPT เปนพันธมิตรทางการคาที่สําคัญใน ประเทศไทย โดยไดมอบ “License Partner” เปนระยะเวลา 5 ป ใหบริษทั ฯ สามารถผลิตสินคาตูไฟฟาและบริการภายใตแบรนด ‘SIEMENS’ โดย ซีเมนสจะถายทอดเทคโนโลยีทางวิศวกรรมตางๆ ในการผลิตตูไ ฟฟาทีม่ ี มาตรฐานระดับโลก (World-class Standard) และมีสวนชวยสําคัญให บริษทั ฯ สามารถขยายธุรกิจไปไดในแทบทุกกลุม อุตสาหกรรม ทีม่ คี วาม ตองการใชระบบไฟฟาทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือและตองการตูไ ฟฟาทีม่ มี าตรฐาน ระดับสูง ซึง่ คิดเปนสัดสวนมากกวา 80% ของตลาดตูค วบคุมระบบไฟฟา ทั้งหมด ดังนั้น การรวมเปนพันธมิตรกับซีเมนส จึงเปนการเปดโอกาส ใหบริษัทฯ สามารถขยายฐานลูกคาไปยังตลาดเหลานี้ไดมากยิ่งขึ้น มนตชัย ธัญธเนส รองกรรมการและผูจัดการฝายขายและ วิศวกรรม บริษทั ซีพที ี ไดร แอนด เพาเวอร จํากัด (มหาชน) หรือ CPT กลาววา หลังจากการทําขอตกลงความรวมมือ บริษัทฯ จะเริ่มสงเจา หนาทีไ่ ปฝกอบรมยังประเทศเยอรมนี เพือ่ เตรียมความพรอมสําหรับการ ผลิตตูควบคุมระบบไฟฟาที่มีมาตรฐานระดับโลกตาม Platform ของ ซีเมนสตั้งแตไตรมาส 2 เปนตนไป โดยจะมีฝายเทคนิคแนะนําการผลิต ตูไฟฟาตามแค็ตตาล็อกที่ระบุไว กอนที่บริษทั ฯ จะเริ่มทดสอบการผลิต ผลิตภัณฑตน แบบ (Prototype) ซึง่ คาดวาบริษทั ฯ จะสามารถเริม่ ดําเนิน การผลิตในไตรมาส 3 และจําหนายในเชิงพาณิชยในไตรมาส 4 ป 2562 โดยคาดวาปนี้ยอดขายตูไฟฟาจะเติบโต 10% สวนปหนาคาดวาจะ เติบโต 20% จากโครงการกอสรางตางๆ

21

Engineering Today May - June

2019


In Trend • สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

แผนแม บทจัดการนํ้า

มุ งลดวิกฤตภัยแล ง ตั้งเป าลดการใช นํ้า

ภายในป พ.ศ. 2570

ชี้แผนแม บทการจัดการนํ้าที่ผ านมา ไม ตอบโจทย การใช งาน

“นํ้า”

เปนทรัพยากรที่มีความ สําคัญสําหรับการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตและเปน ปจจัยพื้นฐานสําคัญในกิจกรรมตางๆ มากมาย แตทวาในปจจุบันสถานการณนํ้ามีความผันผวน อยางมาก กอใหเกิดประเด็นดานการบริหารจัดการที่ ทาทายยิ่งขึ้น ทั้งในดานภาวะการขาดแคลนนํา้ ใน ฤดูแลง ภาวะนํา้ ทวมในฤดูฝน ความขัดแยงระหวาง กลุมผูใชนํ้า ตลอดจนปญหาสิ่งแวดลอมที่ทําให คุณภาพของนํ้าเสียไมอาจนํานํ้ามาใชประโยชนได เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ สํานักงานกองทุน สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) จั ด เวที ส าธารณะ นโยบายนํ้า สกว. ครั้งที่ 10 ขึ้นในสัปดาหอนุรักษ ทรัพยากรนํ้าแหงชาติและวันนํ้าโลกตอเนื่องเปน ประจําทุกป โดยในปนี้เปนการนําเสนอเรื่องการ บริหารจัดการนํา้ ภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการ ทรัพยากรนํ้าเพื่อรองรับยุทธศาสตรนํ้าของประเทศ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) โดยนําเสนอกรอบการ บริหารจัดการนํา้ ภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ แนวทางการบริหารจัดการนํ้าเพื่อเพิ่มความมั่นคง ดานนํ้า แนวทางการบริหารจัดการนํ้าเพื่อเพิ่มมูลคา และประเด็นวิจัยเพื่อตอบสนองยุทธศาสตรนํ้า

Engineering Today May - June

2019

สราวุธ ชีวะประเสริฐ รักษาการที่ปรึกษาดานยุทธศาสตร สํานักงาน ทรัพยากรนํา้ แหงชาติ กลาววา แผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ ทีผ่ า นมาในอดีต แมจะมีวิวัฒนาการอยางตอเนื่อง แตยังมีขอบกพรองอยูหลายเรื่องที่ยังตอง มีการปรับปรุงแกไข คือเรื่องของฐานขอมูล และการขาดการกําหนดเปาหมาย ที่ชัดเจน โดยเฉพาะขอมูลที่จะนํามาวิเคราะหสถานการณ ไมเพียงพอในการ กําหนดเปาหมายเชิงพื้นที่หรือเชิงปริมาณ อีกทั้งบางหนวยงานไมมีแผนและ ทิศทางที่ชัด เจน ขาดการเชื่อมโยงกับ นโยบายอื่น ทํ าให แผนงานเดิมไม ตอบสนองนโยบายประเทศ คือไมกระทบกับตัวชี้วัดหรือเปาหมายที่ตองการ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการประเมิน ผลหรือตัวชี้วัดไมชัดเจน จะตอง เรงปรับตัวชี้วัดและวิธีจัดเก็บขอมูลและระบบติดตาม รวมถึงขาดการสื่อสาร ทําความเขาใจตอแผนแมบท จะตองสรางความเขาใจใหเห็นภาพที่ตรงกัน ระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดแผนงานหรือโครงการที่มีผลกระทบ ตอยุทธศาสตรนํ้า

แผนแม บทการบริหารจัดการนํ้า 20 ป สอดรับกับยุทธศาสตร ชาติ 20 ป

สําหรับขอมูลแผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป โดยมีเปาหมาย 6 ดานดวยกัน คือ 1) ดานการจัดการนํ้าอุปโภคบริโภค โดยกําหนดวาประปาหมูบานจะตองมี คุณภาพตามมาตรฐานใหไดภายในป พ.ศ. 2573 (SDGs) ขยายเขตประปา

22


สํารองนํา้ ตนทุนเพือ่ รองรับเมืองหลัก เมืองทองเทีย่ ว หรือพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจสําคัญ อีกทัง้ การใชนาํ้ ตอประชากรตองไมเพิม่ ขึน้ และมีอตั ราลดลงภายในป พ.ศ. 2570 2) ดานการสรางความมั่นคงของนํ้าภาคการผลิต โดยการจัดการดานความ ตองการนํา้ เพิม่ ประสิทธิภาพโครงการแหลงนํา้ และระบบสงนํา้ เดิม พัฒนาแหลง กักนํา้ และระบบสงนํา้ ใหม พัฒนาระบบผันนํา้ และระบบเชือ่ มโยงแหลงนํา้ เพิม่ นํ้าตนทุน จัดหานํ้าในพื้นที่เกษตรนํ้าฝน ลดความเสี่ยงในพื้นที่ที่ไมมีศักยภาพ หรือความเสียหายในพื้นที่วิกฤตรอยละ 50 ซึ่งพื้นที่ในสวนนี้ยังไมสามารถ แยกแยะพื้ น ที่ ไ ด รวมถึ ง การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพและปรั บ โครงสร า งการใช นํ้ า การประหยัดนํ้าในภาคอุตสาหกรรม การจัดการในพื้นที่พิเศษ และเรงรัดการ เตรียมความพรอมโครงการผันนํ้าขามลุมนํ้า 3) ดานการจัดการนํ้าทวมและ อุทกภัย เพิ่มประสิทธิภาพการระบายนํ้า มีการปรับปรุงการระบายนํ้าและ สิ่งกีดขวางทางนํ้า จัดทําผังลุมนํ้าและบังคับใชในผังเมืองรวมและจังหวัดทุก ลุมนํ้า ปองกันนํ้าทวมชุมชนเมือง 764 เมือง โดยมีผังนํ้าบังคับใชทุกจังหวัด การบรรเทาอุทกภัยระดับลุม นํา้ และพืน้ ทีว่ กิ ฤต ลดความเสีย่ งและความรุนแรง ลงไมนอยกวารอยละ 60 การจัดการพื้นที่นํ้าทวมและพื้นที่ชะลอนํ้า เพิ่ม ประสิทธิภาพการปรับตัวและเผชิญเหตุในพืน้ ทีน่ าํ้ ทวมรอยละ 75 4) ดานการ จัดการคุณภาพนํ้าและอนุรักษทรัพยากรนํ้า ปองกันและลดการเกิดนํ้าเสีย ที่ตนทาง เพิ่มประสิทธิภาพในการบําบัดและควบคุมการระบายนํ้าเสียออก สูส งิ่ แวดลอม พัฒนาระบบบําบัดนํา้ เสียรวมของชุมชน การนํานํา้ เสียกลับมาใช ใหม จัดสรรนํา้ เพือ่ รักษาระบบนิเวศ อนุรกั ษและฟน ฟูแมนาํ้ ลําคลองและแหลง นํ้าธรรมชาติ 5) ดานการอนุรักษฟนฟูสภาพปาตนนํ้า มุงเนนฟนฟูพื้นที่ ปาตนนํ้าที่เสื่อมโทรม จํานวน 3.5 ลานไร ปองกันการเกิดการชะลางและ การพังทลายของดินในพืน้ ทีเ่ กษตรลาดชันชัน้ ที่ 1, 2 จํานวน 1.45 ลานไร และ ชั้น 3, 4, 5 จํานวน 22 ลานไร และ 6) ดานการบริหารจัดการ โดยปรับปรุง กฎหมายนํ้าและกฎหมายที่เกี่ยวของใหทันสมัย จัดตั้งองคกรดานการบริหาร จัดการทรัพยากรนํา้ การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ ทัง้ ในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต พรอมทัง้ การติดตามและประเมินผล แผนการจัดสรรนํา้ พัฒนา ระบบฐานขอมูล ศึกษาวิจัยและพัฒนาแนวทางการจัดการนํ้าเพื่ออุดชองวาง การดําเนินงาน เตรียมความพรอม สงเสริมการประชาสัมพันธ และการมีสว นรวม ของประชาชนและภาคสวนที่เกี่ยวของทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน

ข อมูลแผนแม บทการบริหารจัดการนํ้า 20 ป

23

การดําเนินการภายใต ยุทธศาสตร ฯ ยังมีป ญหาและความท าทายอยู อีกมาก โดยเฉพาะแนวทางการขับเคลื่อนแผนแม บท ว าทําอย างไรให การดําเนินการเป นไป ตามเป าหมายทั้งเรื่องของการประเมิน ความมั่นคงด านนํ้าภายใต กรอบ AWDO ซึ่งเป นกรอบระดับนานาชาติ ที่ไทยนํามาประยุกต ใช หรือเรื่องการ ประหยัดนํ้า เพราะขณะนี้มีที่เสนอไว เพียง กิจกรรมเดียวซึ่งยังไม เพียงพอ ที่เราจะลดปริมาณการใช นํ้าลงได

สราวุธ ชีวะประเสริฐ รักษาการที่ปรึกษาด านยุทธศาสตร สํานักงานทรัพยากรนํ้าแห งชาติ

“การดํ า เนิ น การภายใต ยุ ท ธศาสตร ฯ ยั ง มี ป ญ หาและความท า ทายอยู  อี ก มาก โดยเฉพาะ แนวทางการขับเคลือ่ นแผนแมบทวาทําอยางไรใหการ ดํ า เนิ น การเป น ไปตามเป า หมายทั้ ง เรื่ อ งของการ ประเมินความมั่นคงดานนํ้าภายใตกรอบ AWDO ซึ่งเปนกรอบระดับนานาชาติที่ไทยนํามาประยุกต ใช หรือเรื่องการประหยัดนํ้า เพราะขณะนี้มีที่เสนอ ไวเพียงกิจกรรมเดียวซึ่งยังไมเพียงพอที่เราจะลด ปริมาณการใชนํ้าลงได เพื่อใหมีนํ้าประปาเพียงพอ ตอความตองการที่เพิ่มขึ้น ในอีก 5-10 ปขางหนา รวมถึงประเด็นที่ยังเปนจุดออนที่ตองเรงแกไข แต ทิศทางเริ่มดีขึ้นและคาดวาจะมีความชัดเจนมากขึ้น ใน 1-2 ป” สราวุธ กลาว

Engineering Today May - June

2019


เทคโนโลยี 5 G จะมีบทบาทสําคัญในการบริหารจัดการนํ้า

รศ. ดร.สุ จ ริ ต คู ณ ธนกุ ล วงศ นั ก วิ จั ย จากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาวเสริมถึงขอเสนอกรอบการบริหารจัดการนํ้า ภายใตแผนแมบทบริหารจัดการนํ้าวา สถานภาพการบริหารจัดการนํ้าของ ประเทศทีผ่ า นมา รัฐบาลมีความมุง มัน่ ในการแกแตยงั คงมีอกี หลายปญหาทีร่ ออยู ปจจุบนั จึงมีการวางเปาหมายแผนแมบทฯ เพือ่ แกปญ  หาและสรางพืน้ ฐานเพือ่ รองรับความเสีย่ งในอนาคต ภายใตการบริหารจัดการนํา้ ในหลายมิตแิ ละหลาย ระดับทั้งในสวนของการซอม สราง และการพัฒนาที่ตองกาวกระโดด เพื่อให เปนไปตามเปาหมายทีต่ อ งการลดจนสามารถลดการใชนาํ้ ในป พ.ศ. 2570 และ เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเชิงยุทธศาสตรที่ตองดําเนินการไปพรอมๆ กับการเตรียมพรอมคน วิชาการ ความรู ขอมูลขาวสาร และการปรับตัว ตลอด จนการสรางแพลตฟอรมการทดลองใหมๆ เพือ่ นําไปสูก ารเปลีย่ นผาน ตัวอยาง เชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการ Spearhead Project หรือโครงการวิจัยเขมมุง ดานการบริหารจัดการนํ้า รวมถึงเทคโนโลยี 5 G ที่จะเขามามีบทบาทสําคัญ ในการบริหารจัดการเรื่องนํ้า

รศ. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ นักวิจัยจากคณะวิศวฯ จุฬาฯ

การบริหารจัดการนํ้าทั้งระบบ เสนอเป าหมายตัวชี้วัด และแนวทางพัฒนา ภายใต 3 แผนย อย

ดร.ปยธิดา เรืองรัศมี อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมแหลงนํ้า คณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในฐานะหัวหนาโครงการวิเคราะห สถานะของความมัน่ คงดานนํา้ ผลิตภาพจากนํา้ และภัยพิบตั ิ สกว. กลาววา แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ 20 ป ในประเด็นที่ 19 ประเด็นการบริหาร จัดการนํา้ ทัง้ ระบบ ไดมกี ารเสนอเปาหมายตัวชีว้ ดั และแนวทางพัฒนาดวยแผน ยอย 3 แผน ประกอบดวย 1) แผนยอยพัฒนาการจัดการนํา้ เชิงลุม นํา้ ทัง้ ระบบ เพื่อเพิ่มความมั่นคงดานนํ้าของประเทศ 2) แผนยอยเพิ่มผลิตภาพของนํ้า ทั้งระบบในการใชนํ้าอยางประหยัด รูคุณคาและสรางมูลคาเพิ่มจากการใช นํ้าใหทัดเทียมกับระดับสากล และ 3) แผนยอยอนุรักษและฟนฟูแมนํ้า ลําคลองและแหลงนํ้าธรรมชาติทั่วประเทศ โดยไดมีการกําหนดตัวชี้วัดและ คาเปาหมายทุก 5 ป ในชวง พ.ศ. 2561-2580 ของการเพิ่มความมั่นคง ดานนํา้ การเพิม่ ผลิตภาพของนํา้ และการอนุรกั ษและฟน ฟูแมนาํ้ ลําคลองและ แหลงนํ้าธรรมชาติทั่วประเทศ

เผยคุณภาพนํ้าและการบํารุงรักษาระบบประปา-บําบัดนํ้าเสีย ยังเป นป ญหาที่สําคัญ

สําหรับแนวทางการประเมินความมัน่ คงดานนํา้ ของไทยในระดับจังหวัด และระดับลุมนํ้า ที่ไดมีการศึกษาเบื้องตนภายใตกรอบ Asian Water Development Outlook (AWDO) 2016 มีการประเมินใน 5 ดานดวยกัน ไดแก 1) ความมั่นคงนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค 2) ความมั่นคงนํ้าเพื่อเศรษฐกิจ โดยการใชทรัพยากรนํ้าในภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคพลังงาน 3) ความมั่นคงนํ้าสําหรับเมือง 4) ความมั่นคงนํ้าดานสิ่งแวดลอม และ 5) ความมั่นคงนํ้าดานการฟนตัวจากภัยพิบัติจากนํ้า จากผลการศึกษา ในระดับประเทศ พบวาคะแนนการประเมินของไทยอยูใน “ระดับปานกลาง” โดยความมั่นคงนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค แยกประเมินเปนพื้นที่นอกเขต

Engineering Today May - June

2019

24

ดร.ป ยธิดา เรืองรัศมี อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมแหล งนํ้า คณะวิศวฯ จุฬาฯ ในฐานะหัวหน าโครงการวิเคราะห สถานะ ของความมั่นคงด านนํ้า ผลิตภาพจากนํ้า และภัยพิบัติ สกว.

เทศบาล (ชนบท) และพื้นที่ในเขตเทศบาล (เมือง) พบวา ระบบประปาหมูบานมีการเขาถึงเกือบครบ ทุกหมูบ า น แตปญ  หาเรือ่ งของคุณภาพนํา้ และปญหา เรื่องการบํารุงรักษาระบบประปา รวมถึงปญหาการ บํารุงรักษาระบบบําบัดนํ้าเสีย ยังเปนเรื่องสําคัญ เพราะประเทศไทยยังไมมีการจัดเก็บคาใชจายใน การบําบัดนํ้าเสียภาคครัวเรือน ดร.ปยะธิดา กลาววา ในดานการเพิม่ ผลิตภาพ ของการใชนํ้าภาคเกษตร ควรจะประเมิน ผลิตภาพ การใชนํ้าในแงของประสิทธิภาพ (Efficiency) ควร พัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ในการปลูกขาว พัฒนา พันธุขาวใหมีคุณภาพสูง นอกจากนี้ยังไดเสนอดัชนี ชี้วัดเพิ่มเติม อาทิ การใชนํ้าเพื่อการทองเที่ยว การ พิจารณาปริมาณนํ้าที่มาจากแมนํ้าระหวางประเทศ ความขัดแยงของการใชนํ้า และมิติทางสังคม


Report • กองบรรณาธิการ

สสว. จับมือ ISMED สถาบันอาหาร และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

เป ดตัว 3 โครงการ ยกระดับ SME สร างมาตรฐานไทยสูม าตรฐานโลก สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) จับมือ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ISMED) สถาบันอาหาร และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปด 3 โครงการ ไดแก โครงการประชารัฐเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและ SME กาวสูตลาด 4.0, โครงการยกระดับผูประกอบการวิสาหกิจชุมชนกลุมอาหารและ เครือ่ งดืม่ และโครงการยกระดับชุมชนตนแบบทีม่ ศี กั ยภาพกาวสู SME เพื่อยกระดับผูประกอบการวิสาหกิจชุมชนและ SME ใหไดตาม มาตรฐานของไทยและกาวสูมาตรฐานโลกอยางมืออาชีพ

สสว. จับมือ 3 หน วยงาน ยกระดับมาตรฐานผู ประกอบการ ผ าน 3 โครงการสําคัญ

สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล ผู อํานวยการสํานักงานส งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย อม (สสว.)

สุ ว รรณชั ย โลหะวั ฒ นกุ ล ผู  อํ า นวยการสํ า นั ก งานส ง เสริ ม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) กลาววา การยกระดับ ผูประกอบการ OTOP จากรายยอยกวา 2.3 ลานรายสูผูประกอบการ ขนาดกลางและขนาดยอม (SME) ที่มีความมั่นคง มีรายไดเพิ่มขึ้น 100,000 บาท ภายใน 5 ป และมีความสามารถในการอยูร อดในตลาด การคาในยุคที่มีการแขงขันกันอยางเขมขนเปนเรื่องที่สําคัญและทาทาย ดังนั้น สสว.จึงไดรวมกับ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม (ISMED), สถาบันอาหาร และศูนยนวัตกรรมและการจัดการ เรียนรู มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมกันขับเคลือ่ น 3 โครงการสําคัญ ไดแก โครงการประชารัฐเพือ่ พัฒนาวิสาหกิจชุมชนและ SME กาวสูต ลาด 4.0 (SME & OTOP Transformation), โครงการยกระดับผูประกอบการ วิสาหกิจชุมชนกลุม อาหารและเครือ่ งดืม่ และ โครงการยกระดับชุมชน ตนแบบทีม่ ศี กั ยภาพกาวสู SME โดยทัง้ 3 โครงการจะคัดเลือกผูเ ขารวม โครงการกวา 1,200 คนจากทั่วประเทศเหลือเพียง 100 คน เขารับการ พัฒนาเชิงลึกและสรางสรรคโมเดลธุรกิจ กอนนําไปสูการทดสอบตลาด ทั้งออนไลนและออฟไลน เพื่อเฟนหา 10 ผูรวมโครงการที่มีศักยภาพ สูงสุด นํามาพัฒนาสูความเปน ผูนําธุรกิจชุมชนที่มีแนวคิดการดําเนิน ธุรกิจ การจัดการ และการตลาดที่ทันสมัย แขงขันได และมีคุณภาพ มาตรฐานตอไป เพื่อใหสามารถนําความรูและประสบการณที่ไดรับ นําไปตอยอด ขยายผล สรางเครือขายตนแบบระดับจังหวัด และสราง ชองทางการจัดจําหนายสินคาชุมชน ทั้งออนไลนและออฟไลนใหมๆ ซึ่งจะชวยสนับสนุนเศรษฐกิจทองถิ่น (Local Economy)

25

สร าง SME Standardization มุ งยกระดับวิสาหกิจชุมชน-SME สู มาตรฐานโลก

วัตถุประสงคในการรวมมือกับ 3 องคกรในการ จัดทํา 3 โครงการในครั้งนี้ เพื่อยกระดับผูประกอบการ วิสาหกิจชุมชนและ SME ใหไดตามมาตรฐานของไทยและ ก า วสู  ม าตรฐานโลกอยา งมื อ อาชี พ ภายใต ใ นรู ป แบบ เดียวกัน เพื่อใหมาตรฐานไทยสูมาตรฐานโลก จึงใชโจทย วา SME Standardization ผานการเปลี่ยนแปลงความรู ผานกระบวนการทางความคิดของผูบริโภค ในการทํา ตนแบบขึ้นมาแลวพัฒนาตนแบบที่ไดไปสูลูกคาสูตลาด ที่สรางความพึงพอใจใหกับลูกคา สรางความคาดหวังให กับลูกคา สรางความใกลชดิ สรางโมเดลขึน้ มาเพือ่ ตอยอด ทางธุรกิจ เริ่มมีการแลกเปลี่ยนองคความรูระหวางกัน ทําใหมีการสรางยอดขายในตลาดที่สูงขึ้น โครงการประชารัฐเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและ SME กาวสูตลาด 4.0 (SME & OTOP Transformation) ซึ่งเปนโครงการที่ สสว.ดําเนินการรวมกับสถาบันพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ISMED) จะเนนใน เรือ่ งการยกระดับมาตรฐานการดําเนินธุรกิจและการตลาด ใหแกผูประกอบการวิสาหกิจชุมชนและ SME ไทยกาวสู มาตรฐานไทยกอนตอยอดสูมาตรฐานโลก ตามแนวคิด

Engineering Today May - June

2019


SME Standardization มาตรฐานไทยสูมาตรฐานโลก มีการกําหนดกรอบยุทธศาสตรการทํางานและตอยอด การทํางาน หาปจจัยเสี่ยงใหเจอแลวนํามาปรับแก และ ที่สําคัญ สสว.ไดนําระบบดาตาเก็บขอมูล มีโซเชียลที่ เชื่อมโยงผูประกอบการกับทาง สสว.เขาดวยกันเพื่อให ผูประกอบการเขาถึง สสว.มากขึ้น “โดยทั่วไปมาตรฐานจะมีความหลากหลายมากใน กลุมสินคาอาจจะยังมีการจําแนกออกเปนสวนตางๆ อีก สสว.จะตองตอบโจทยสงิ่ ทีผ่ ปู ระกอบการตองการคือ สสว. จะตองปกปองสินคาของผูป ระกอบการ การันตีการเขารวม โครงการแลวจะมีมาตรฐานที่ดีขึ้น สอนใหผูประกอบการ เขาใจขัน้ ตอนการซือ้ ขาย ซึง่ เปนสิง่ ทีอ่ ยากใหผปู ระกอบการ เขาใจเรียนรูต งั้ แตตน แลวคอยๆ สอนการทําตลาดผานสือ่ โซเชียลในชองทางตางๆ เพือ่ ยกระดับผูป ระกอบการทุกๆ ระดับใหมมี าตรฐานในประเทศและมาตรฐานตามขอกําหนด ทุกๆ ขออยางสมบูรณแบบมืออาชีพ” สุวรรณชัย กลาว นอกจากนี้ ในการดํ า เนิ น โครงการ สสว.จะมี คณะกรรมการคอยใหคะแนนแกผูเขารวมโครงการเพื่อ มอบรางวัลตางๆ ใหกับผูประกอบการที่มีความโดดเดน ในแตละดาน อาจจะเรียกวาเฟนหาชางเผือก ซึ่งปจจุบัน มีผูประกอบการทั้ง OTOP และ SME มากมายที่ไดรับ รางวัลจาก สสว.ในการเขารวมในแตละโครงการ

ถ ายทอดองค ความรู แก ผู ประกอบการ สู การพัฒนาสินค าและบริการให ได มาตรฐาน

ธนนนทน พรายจันทร ผูอ าํ นวยการสถาบันพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ISMED) กลาววา การที่เจาหนาที่รัฐหรือหนวยงานที่เกี่ยวของจะเขาไปแจง ผูประกอบการที่ผลิตสินคา ไมวาจะเปน ผูประกอบการ OTOP SME และอื่นๆ นั้น ไมคอยจะไดรับความรวมมือ จึงตองมีกระบวนการหลอมรวมความคิดปรับพฤติกรรม สรางความคุน เคยและสรางความเชือ่ มัน่ ใหแกผปู ระกอบการ มีการสอน คําแนะนําและตัวอยาง และทดลองทําใหเห็น คลายๆ กับหลักการทางวิทยาศาสตรและการตลาดที่ตอง คอยๆ สอนตั้งแตกระบวนการแรกเริ่ม การทําการตลาด การสรางจุดแข็งของสินคา การสรางชองทางการจัดจําหนาย “ตองแสดงใหผูประกอบการเห็นวาการทําธุร กิจ เล็กๆ ตองมีการจัดการและจะตองจัดทํามาตรฐานอยางไร หลายคนถามวามาตรฐานที่จะทํานั้นยุงยากไหม ตอบเลย วาไมยาก หากมีเครือ่ งมือทีพ่ รอม มีผเู ชีย่ วชาญคอยแนะนํา และมีเงินทุนสนับสนุน และยิ่งถาเราทําใหภูมิปญญาของ คนไทยสืบทอดกันมามีมาตรฐานสามารถขายไดก็จะเปน สิ่งที่ตอยอดไปไดอีกนาน โดยเช็กในเรื่องของวัตถุดิบใน ทุกๆ การผลิตสินคาแตละครั้งใหเปนสิ่งที่ลูกคาตองการ

Engineering Today May - June

2019

พิธีเป ดงาน

จากซ ายไปขวา ธนนนทน พรายจันทร , สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล, ยงวุฒิ เสาวพฤกษ และ ดร.เฉลิมพล คงจิตต

แตเดิมอาจจะมีอะไรทีส่ ญ ู เสียและผิดพลาดไดงา ย เพราะฉะนัน้ หากเรามี ภูมปิ ญ  ญามีมาตรฐานทีก่ าํ กับชัดเจนก็จะสงผลดี มาตรฐานเหลานีค้ งไมใช ผูป ระกอบการคิดเอง แตเชือ่ วาผูป ระกอบการจะไดเรียนรูจ ากลูกคาและ นํามาปรับปรุงใหเปนที่ตองการ โดยลูกคาจะเปน ผูกําหนดมาตรฐาน คือจะเปนคนตัดสิน ถาเขาซือ้ สินคาของเรานัน่ คือเขายอมรับในมาตรฐาน ของเรา ในการจัดการที่เปนภูมิปญญาก็ควรมีการจัดการที่เปนระบบ มีการจัดระดับความสําคัญเปนขัน้ ตอนตรวจสอบไดกาํ หนดเปนมาตรฐาน ภูมิปญญาแตละพื้นที่และควรมีเจาหนาที่รับรองในแตละภูมิปญญา นั้นๆ ดวย ซึ่งจะเปนการรับรองมาตรฐานเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหกับ ลูกคามากยิ่งขึ้น” ธนนนทน กลาว

เผยอุตสาหกรรมอาหารของไทยอยู ในอันดับ 2 ของเอเชีย รองจากจีน และอันดับ 12 ของโลก

ยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผูอ าํ นวยการสถาบันอาหาร กลาววา ในเรือ่ ง อาหารนัน้ แนนอนวา ความอรอยยอมมากอนและจะเปนมาตรฐานสําคัญ ลํ า ดั บ แรกที่ จ ะเป น ที่ ถู ก ใจลู ก ค า และกลั บ มาซื้ อ สิ น ค า อาหารของ ผูประกอบการอีก ซึ่งทุกครั้งที่ผลิตตองทําใหมีมาตรฐาน มีการผลิตที่ เปน Food Safety จะทําใหการผลิตแตละครัง้ มีคณ ุ ภาพ มีความปลอดภัย มีการบรรจุที่ปองกันอยางถูกหลักโภชนาการ ในอุตสาหกรรมอาหาร ถาพูดถึงอุตสาหกรรมอาหารในเอเชียแลว อุตสาหกรรมอาหารของไทย อยูในอันดับ 2 ของเอเชีย อยูในอันดับ 12 ของโลก รองจากประเทศจีน ซึ่งเปนอันดับ 5 ของโลก ทั้งนี้ผูบริโภคที่ซื้อผลิตภัณฑดานอาหารของ ไทยนั้นเชื่อใจในอาหารของผูประกอบการไทยวามีรสชาติอรอย และดี ยิ่งขึ้นหากมีการนําเทคนิคการวิจัยเขาไปเปนสวนประกอบ จะชวยให ลูกคามั่นใจในกระบวนการผลิต

26


ในการแขงขันที่สูงขึ้นตลอดเวลาในหวงปจจุบัน จะตองทราบ รายละเอียดของลูกคาแตละประเภทที่เขามาทําธุรกิจการคาดวยวา ตองการสินคาแบบไหน ทั้งนี้ผูประกอบการจะตองผลิตสินคาใหลูกคา สามารถยอนไปดูถึงแหลงผลิต และทําการตลาดผานโซเชียลใหมากขึ้น รวมทั้งการติดตอจะตองทันสมัยผานสื่อออนไลนตางๆ “วันนีจ้ ะตองกาวขามการผลิตใหมกี ารแปรรูปเพือ่ เก็บไวรบั ประทาน ไดนานขึ้น ใหเกิดการจัดการที่เปนประโยชนในการที่จะใสนวัตกรรม กรรมวิธีผลิตใหเปนที่ถูกใจตลาดมากขึ้น ไมใชแคในประเทศ ตองเอา ผูป ระกอบการทัง้ หลายมาจัดระเบียบมาคัดเลือกเพือ่ แสดงการจัดระบบ ใหเขาถึง เพือ่ ทีจ่ ะไดหาผูซ อื้ รายใหญ มีระบบการลงบันทึกไวเปนขอมูล ตรวจสอบยอนหลังในการจัดการลูกคาทีม่ จี าํ นวนมาก เรียนรูจ ดั การตนทุน ผลิตภัณฑตนแบบไดอยางไร ดูแลการประเมิน ผลที่ไมใหเกิดความ คลาดเคลื่อนในวัตถุดิบที่นํามาปรุงอาหารนั้นปลอดภัย สะอาด ในการ จัดการกระบวนการผลิตทั้งหมดจะตองทําการทดสอบตลาด เพื่อให รับทราบวาตลาดตอบรับไหม เจรจาคุยเรื่องธุรกิจแลวจะไดรูวาของจริง ในสินคานั้นขายไดหรือไม ที่สําคัญควรมีที่ปรึกษาจากหนวยงานภาครัฐ เขาไปใหคําแนะนํา” ยงวุฒิ กลาว

สถาบันอาหารจัดทํา Roadmap จัดการอาหาร เน นรสชาติอาหารที่เป นไทยแท

ทางสถาบันอาหารไดจดั ทํา Roadmap ในการจัดการเรือ่ งอาหาร โดยจะดูเรื่องรสชาติอาหารที่เปนไทยแทที่มีในทุกภาคประกอบ ซึ่ง เริ่มตนใหผูประกอบการ OTOP ในระดับ 3-5 ดาว จํานวน 500 ราย มาทดลองรวมดําเนินการเพื่อศึกษาวามีการจัดการไปไดในระดับใด แลวบางติดตามประเมินผลอยางใกลชดิ ในการจัดการทีเ่ ปนเรือ่ งรสชาติ ไทยแทเบื้องตน ตองมีมาตรฐานทุกอยาง ทุกวันนี้ถาผูประกอบการจะ ดําเนินการสงสินคาไปจําหนายยังตางประเทศ นอกจากการจัดการทีเ่ ปน มาตรฐานไทยแลว ยังตองศึกษามาตรฐานของคูคาตางประเทศดวยวา มีมาตรฐานกําหนดไวอยางไรบาง เนือ่ งจากแตละประเทศจะแตกตางกัน ออกไป โดยเฉพาะในประเทศยุโรป เชือ่ วาหากทําไดจะสามารถเพิม่ โอกาส และชองทางการจําหนาย และขยายตัวทางธุรกิจไดไมนอยกวา 25 ลานบาท

เผย อ.ลี้ จ.ลําพูน สินค าโดดเด นในเชิงอัตลักษณ มีศักยภาพพร อมก าวสู SME

ดร.เฉลิมพล คงจิตต รองผูอํานวยการศูนยนวัตกรรมและการ จัดการเรียนรู มหาวิทยาลัยเชียงใหม กลาววา การคัดเลือกชุมชนที่มี ความโดดเดนดานสินคาอัตลักษณ ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ และประวัตศิ าสตร เนนใหความสําคัญตอการพัฒนาเมืองรอง ซึ่งยังขาดการบริหารจัดการ ที่ เ หมาะสมหลายประการ เริ่ ม จากไม มี ก ารออกแบบ ไม มี เ งิ น ทุ น ขาดกระบวนการคิดการมีสวนรวมในวงกวาง ขาดการนํางานวิจัยจาก โมเดลในหองทดลองสรางเปนสินคาที่มีมูลคา ขาดการลงพื้นที่ศึกษา ชุมชนทีม่ อี ตั ลักษณมคี วามเขมแข็งเรือ่ งการสรางกระบวนการสรางเครือขาย กระบวนการทางการตลาดทีค่ นในชุมชน มีรายไดตอ เดือนทีเ่ ลีย้ งดูครอบครัว

27

ได แ บบพึ่ ง ตนเองได แ ม ไ ม ไ ด มี เ งิ น อุ ด หนุ น จากภาครั ฐ มากนัก ขาดบุคลากรจากสวนกลางลงไปวางมาตรฐานการ ผลิตสินคาและบริการตางๆ ขาดการสอนเรื่องการสราง มาตรฐาน และการทํามาตรฐานอั ต ลั ก ษณ ข องชุ ม ชน ของไทยโดยแทจริงรวมถึงการตอยอดและยกระดับความรู ที่มีอัตลักษณเดิมที่กําลังจะหายไปใหเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้น “จากการลงพื้นที่สํารวจความตองการ ศักยภาพ ความพรอม และความโดดเดนเชิงอัตลักษณ พบวาพื้นที่ อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน เปนพื้นที่ที่มีความโดดเดนในเรื่อง ของผายกดอกพืน้ เมือง และผาฝายทอมือกะเหรีย่ ง รวมถึง เครื่องเงิน ซึ่งถือเปนลายที่มีความเฉพาะตัว รวมทั้งยังมี ปลาสังกะวาด ซึง่ เปนปลาเศรษฐกิจทีม่ คี ณ ุ คาทางโภชนาการ สูง ที่คนในพื้นที่ยังใชวิธีการจับปลาดวยตุมแบบดั้งเดิม ในขณะที่พื้นที่อําเภอบานธิเปนอีกพื้นที่หนึ่งที่มีอัตลักษณ ดานผาทอลวดลายของไทลื้อ ไมสักแกะสลักศิลปะไทลื้อ และการทําขาวแคบ ซึ่งถือเปนผลิตภัณฑพื้นบานที่มีการ ผลิตเฉพาะในพื้นที่” ดร.เฉลิมพล กลาว ทัง้ นีต้ อ งอาศัยผูป ระกอบการทีเ่ ปนผูน าํ ทีอ่ าจจะมี อยูแลวหรือไดรับการอบรมจากภาครัฐ เอกชน หรืออื่นๆ เขามาเปนผูน าํ รวมขับเคลือ่ นก็จะทําใหชมุ ชนนัน้ ๆ มีการ ขับเคลื่อนไปขางหนาที่รวดเร็วและพัฒนาที่ดีขึ้น

Engineering Today May - June

2019


Report • กองบรรณาธิการ

เชอ หงจื้อ (ขวา) ประธานบริษัท เฉิงซาน กรุ ป

บริษัท ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ในเครือ ดับบลิวเอชเอ กรุป ผูนําอันดับหนึ่งในการ ใหบริการโซลูชั่นครบวงจรดานโลจิสติกส นิ ค มอุ ต สาหกรรม สาธารณู ป โภคและ พลังงาน และดิจทิ ลั แพลตฟอรมของประเทศ ไทย เปดตัวนิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ อีสเทิรนซีบอรด 3 (WHA ESIE 3) ซึ่งเปน นิคมอุตสาหกรรมใหมแหงที่ 10 ในประเทศไทย ของดั บ บลิ ว เอชเอ กรุ  ป ตั้ ง อยู  ใ นเขต ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (EEC) พร อ มลงนามสั ญ ญาซื้ อ ขายที่ ดิ น รายแรกในนิคมฯ แหงนี้กับบริษัท พรินซ เฉิงซาน ไทร (ประเทศไทย) จํากัด ในเครือ เฉิ ง ซาน กรุ  ป จากประเทศจี น จํ า นวน 280 ไร (44.8 เฮกตาร) เพือ่ เปนทีต่ งั้ โรงงาน ผลิตแหงแรกในประเทศไทย และภูมิภาค เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ใช เ งิ น ลงทุ น ประมาณ 300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปน 10,100 ล า นบาท คาดจะเริ่ ม ก อ สร า ง โรงงานไดในเดือนเมษายน 2562 นี้ และ จะเริ่มผลิตไดประมาณกลางป พ.ศ. 2563 จรี พ ร จารุ ก รสกุ ล ประธานคณะ กรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร กลุมบริษัท ดับบลิวเอชเอ คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา นิคมอุตสาหกรรม ดับบลิวเอชเอ อีสเทิรนซีบอรด 3 (WHA ESIE 3) เปนนิคมอุตสาหกรรมแหงใหม ลาสุดของดับบลิวเอชเอ กรุป มีพื้นที่ทั้งสิ้น ประมาณ 2,198 ไร (352 เฮกตาร) ตั้งอยู ในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

Engineering Today May - June

2019

ดับบลิวเอชเอ กรุ ป

เป ดตัวนิคมฯ แห งที่ 10 ในไทย

ประเดิมขายที่ดินให นักลงทุนจีน จัดตั้งโรงงาน ผลิตยางรถยนต เป นรายแรก

จรีพร จารุกรสกุล ประธานคณะกรรมการ และประธานเจ าหน าที่บริหาร กลุ มบมจ. ดับบลิวเอชเอ คอร ปอเรชั่น

(EEC) โดยมีการปรับพื้นที่เพื่อรองรับลูกคาทั้งชาวไทยและชาวตางชาติในกลุม อุตสาหกรรมใหม ประกอบดวย อุตสาหกรรมยานยนตแหงอนาคต อุตสาหกรรม หุนยนต อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส รวมถึงอุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งในขณะนี้ อยูใ นขัน้ ตอนการปรับพืน้ ทีห่ นาดินแลว 99% และอยูใ นระหวางการวางสาธารณูปโภค ที่สําคัญ เชน วางทอประปา วางระบบไฟฟา ระบบบําบัดนํ้าเสีย กระบวนการกําจัด ขยะดวยการฝงกลบ และวางทอจัดจําหนายและคาปลีกกาซธรรมชาติ

28


สําหรับลูกคารายแรกที่เขามาลงนามสัญญาซื้อที่ดิน ภายในนิคมฯ แหงนี้ คือ บริษทั เฉิงซาน กรุป จํานวน 280 ไร (44.8 เฮกตาร) และยังมีลกู คาชาวจีนและชาวญีป่ นุ ทีก่ าํ ลัง อยูในระหวางศึกษาเพื่อที่จะซื้อที่ดินอีกจํานวนหนึ่งกวา 150 ไร ซึง่ ตองดูตามกรอบของกฎหมายในแตละพืน้ ทีแ่ ละ ความเหมาะสมในแตละอุตสาหกรรมทีจ่ ะเขามาลงทุนวาจะ สามารถดําเนินการไดในรูปแบบใดบาง ทั้งรูปแบบการรวม ทุ น การเช า พื้ น ที่ ต ามระยะเวลาหรื อ ซื้ อ ที่ ดิ น ในสั ด ส ว น มากนอยประกอบเพิ่มเติมดวย จรีพร กลาววา ป พ.ศ. 2562 ดับบลิวเอชเอ กรุป ตั้ ง งบประมาณในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ประมาณ 10,000 ลานบาท แบงเปนการลงทุนพัฒนาในพื้นที่นิคมฯ WHA ESIE 3 ทัง้ หมดประมาณ 5,000 ลานบาท ลงทุนทีป่ ระเทศ เวียดนามประมาณ 800 ลานบาท ทีเ่ หลือจะเปนการพัฒนา ในพื้นที่ที่มีอยูทั้งที่เปนที่ดินเดิมและที่ดินใหมประมาณ 68,000 ไร ซึ่งเปนที่ดินในประเทศไทย 40,000 ไร โดยในป พ.ศ. 2561 ที่ผานมา บริษัทฯ ไดทําการปด ยอดการซื้อขายที่ดินใหแกลูกคาไปทั้งสิ้น 1,000 ไร ซึ่ง สวนใหญจะเปนลูกคาชาวจีน 40% และลูกคาชาวญี่ปุน 20-30% ในป พ.ศ. 2562 นี้ บริษัทฯ ตั้งเปาผลการดําเนิน งานรายไดเติบโต 60-70% เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2561 ที่ราว 11,600 ลานบาท จากการขายที่ดินเพิ่ม คาดวาจะ ปดยอดการซื้อขายที่ดินประมาณ 1,600 ไร แบงเปนใน ประเทศไทย 1,400 ไร และเวียดนาม 200 ไร เชอ หงจื้อ ประธานบริษัท เฉิงซาน กรุป กลาววา บริษัทฯ ไดเฟนหาทําเลสําหรับตั้งฐานการผลิตมาแลวกวา 2 ป พบวาประเทศไทยมีการสงออกยางพาราเปนอันดับ หนึ่งของโลก ทําใหมั่นใจวาการตั้งโรงงานผลิตยางรถยนต ของบริษทั ฯ ในไทยจะไมประสบกับปญหาขาดแคลนวัตถุดบิ เพือ่ นํามาปอนกระบวนการผลิตอยางแนนอน ประกอบกับ ประเทศไทยมี โ ครงการพั ฒนาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก หรือ EEC ที่ใหสิทธิประโยชนสําหรับ นักลงทุน มีบุคลากร และสาธารณูปโภครองรับอยางครบ วงจร อีกทั้งนิคมอุตสาหกรรม WHA ESIE 3 ก็ตั้งอยูใน พื้นที่ดังกลาวดวย ทําใหบริษัทฯ ตัดสินใจไดงายมากขึ้น ในการเลือกพื้นที่นิคมฯ นี้ นอกจากนี้ ประเด็นสงคราม การคาระหวางประเทศสหรัฐอเมริกาและจีนก็เปนอีกปจจัย หนึ่งที่กระตุนใหบริษัทฯ เขามาลงทุนในประเทศไทยเร็วขึ้น

พิธีลงนามสัญญาซื้อขายที่ดิน

โดยเบื้องตนบริษัทฯ วางงบลงทุนตั้งสายการผลิตในประเทศไทย รวม 5 ป ไวที่ 600 ลานเหรียญสหรัฐ บนพื้นที่ 280 ไร แบงออกเปน 3 เฟส ซึ่งในเฟสแรกจะใชเงินลงทุนประมาณ 300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปน 10,100 ลานบาท คาดจะเริ่มกอสรางโรงงานไดในเดือน เมษายน 2562 นี้ และแบงการกอสรางออกเปน 3 เฟส โดย เฟสที่ 1 จะใชเวลากอสราง 1 ป เมื่อกอสรางแลวเสร็จในเฟสนี้ก็จะทําการเดิน เครือ่ งผลิตยางไดทนั ทีประมาณกลางป พ.ศ. 2563 ตัง้ เปากําลังการผลิต ยางเรเดียลสําหรับรถยนตนั่งสวนบุคคล (PCR) ที่ 4,000,000 เสน และยางเรเดี ย ลสํ า หรั บ รถบรรทุ ก และรถโดยสาร (TBR) จํ า นวน 500,000 เสน สวน เฟสที่ 2 จะใชเวลากอสรางประมาณ 3 ป และ เฟสที่ 3 จะใชเวลากอสรางทั้งสิ้น 5 ป สําหรับเฟสที่ 2 และเฟสที่ 3 นั้น การผลิตยางจะดูปริมาณ ความตองการใชยางในตลาดเปนหลักกอนที่จะเพิ่มกําลังการผลิตใหได ตามเปาที่วางเอาไววาใน 5 ปจะผลิตใหได 12,000,000 เสน แบงเปน ผลิตยางรถยนตนั่งสวนบุคคล 10,000,000 เสน และยางสําหรับรถ บรรทุกและรถโดยสาร 2,000,000 เสน สวนปริมาณนํ้ายางที่จะนํามา ใชในกระบวนการผลิตยางนัน้ คาดวาจะใชปริมาณนํา้ ยางทัง้ สิน้ ประมาณ 180,000 ตัน และใชปริมาณยางสังเคราะหอื่นๆ อีก 500,000 ตัน โดยใชปริมาณนํ้ายางในประเทศและนําเขายางสังเคราะหมาเปนสวน ผสมสําหรับผลิตยางสงไปจําหนายยังประเทศสหรัฐอเมริกาและใน ประเทศยุโรป 90% และอีก 10% จําหนายในประเทศไทย

29

Engineering Today May - June

2019


Technology • กองบรรณาธิการ

วิศวฯ มธ.

เป ดตัว “เอสซิท” แพลตฟอร ม AI สุดลํ้าผสาน IoT แจ งเตือนพฤติกรรมผู ขับขี่-ป องกัน อุบัติเหตุบนท องถนน

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (Thammasat School of Engineering : TSE) เปดตัว “เอสซิท” (SCIT) แพลตฟอรม AI สุดลํ้า รับการเดินทาง ชวงเทศกาลสงกรานต ดวยระบบแจงเตือนพฤติกรรม ผูขับขี่เมื่องวงนอน คุยโทรศัพท ขับสายไปมาไมอยูบน เสนทาง พรอมเทคโนโลยีคดั กรองความรุนแรงของการชน กอนนวัตกรรมดังกลาวจะสงสัญญาณขอความชวยเหลือ อัตโนมัตผิ า นเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เพือ่ ปองกันการเกิด อุบัติเหตุบนทองถนน ลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ อุนใจ ทุกการเดินทาง ติดตั้งงาย รถรุนไหนก็ใชงานได

Engineering Today May - June

2019

การใช งาน “เอสซิท” (SCIT) แพลตฟอร ม AI สุดลํ้า ป องกันอุบัติเหตุบนท องถนนในรถยนต

ในป พ.ศ. 2561 ขอมูลจากองคการอนามัยโลก (WHO) ระบุวา ประเทศไทยมีอตั ราการเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุบนทองถนนสูงสุดในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยอยูที่ 32.7 คนตอประชากร 1 แสนคน และจากการสํารวจที่ผานมาพบวา สถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุกวา 40% เกิดจากเขาชวยเหลือไมทันและผิดวิธี ซึ่งปญหาเหลานี้นําไปสู การเสียชีวติ ของผูบ าดเจ็บในเวลาตอมา

30


ผศ. ดร.พิศาล แกวประภา อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา และคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TSE) กลาววา คณะฯ ไดเปดตัว “เอสซิท” (SCIT) แพลตฟอรมชวยชีวติ จากอุบัติเหตุในรถยนต ซึ่งพัฒนารวมกับ บริษัท ไอโออะเดย จํากัด ที่คิดคนจากสภาพปญหาการใชงานจริงบนทองถนน การทํางานของ “เอสซิท” จะเริ่มตั้งแตผูขับขี่สตารทรถ ซึ่งทีมวิจัยนําเทคโนโลยีปญญา ประดิษฐ หรือ เอไอ (AI) มาใชในการวิเคราะหพฤติกรรมการขับขี่ และ ทําหนาทีแ่ จงเตือนเมือ่ ผูข บั ขีอ่ ยูใ นสภาวะเสีย่ ง เชน งวงนอน คุยโทรศัพท ทีอ่ าจทําใหรถสายไปมาไมอยูใ นเสนทาง ซึง่ มีระบบสงเสียงเตือนชวยให ผูขับขี่รูสึกตัว นอกจากนี้ “เอสซิท” ยังมาพรอมกับระบบการขอความชวยเหลือ แบบอัตโนมัตเิ มือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ โดยใช AI ชวยในการคัดกรองความรุนแรง ของการเกิดอุบตั เิ หตุ เปน 2 แบบ คือ ชนหนักและชนเบา โดยเมือ่ ระบบ ประมวลผลแลว จะเปนหนาทีข่ องเทคโนโลยีอนิ เทอรเน็ตในทุกสิง่ (IoT) ทีต่ ิดตั้งมากับอุปกรณนี้ จะสงขอมูลขอความชวยเหลือออกไป สําหรับรูปแบบการสงสัญญาณขอความชวยเหลือของ “เอสซิท” จะแบงเปน 2 กรณี ไดแก กรณีชนหนัก ระบบประมวลผลจากการสั่น ความเร็ว และความแรง โดยจะสงสัญญาณขอความชวยเหลือไปยังหนวย กูภัยและรถพยาบาลที่อยูบริเวณใกลที่สุดโดยอัตโนมัติ พรอมระบุพิกัด จุดเกิดเหตุ เพื่อใหสามารถเขาชวยเหลืออยางรวดเร็วและทันเวลาและ กรณี ช นเบา ระบบจะแจงเตือนผานหน าจอสมารทโฟนของผูขับขี่

ผศ. ดร.พิศาล แก วประภา อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ าและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TSE)

โมเดลการออกแบบเอสซิท

31

Engineering Today May - June

2019


ผานแอพพลิเคชั่นสติคิท (Satikit) ซึ่งขณะนี้อยูใน ระหวางการพัฒนา เพื่อใหผูขับขี่ยืนยันการเกิด อุบตั เิ หตุดงั กลาว จากนัน้ ระบบสงขอมูลไปยังหนวย งานที่เกี่ยวของ เชน หนวยกูภัย บริษัทประกันภัย รถพยาบาล รถลาก เปนตน ปจจุบัน “เอสซิท” อยูในระหวางการทดสอบ ประสิทธิภาพการทํางานเพื่อเตรียมตอยอดไปสู การใชงานจริง ซึ่งตองเชื่อมโยงความรวมมือกับ หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ ตํารวจทางหลวง หน ว ยแพทย ฉุ ก เฉิ น รถกู  ชี พ บริ ษั ท ประกั น ภั ย ลาสุด TSE ไดสงนวัตกรรม “เอสซิท” เขาประกวด นวัตกรรมนานาชาติ ครั้งที่ 47 ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ผศ. ดร.พิศาล กลาววา TSE ไดเล็งเห็นความ กาวหนาดานยนตรกรรมในปจจุบนั ทีใ่ หความสําคัญ กับความปลอดภัยในการขับขี่ ซึ่งถือเปนจุดขายที่ คายรถยนตชนั้ นําทัว่ โลกเอามาใชเปนองคประกอบ ในการผลิตรถยนตรนุ ใหม ไมแพการดีไซนใหสวยงาม และสมรรถนะที่ทรงพลัง และยังเปนฟงกชันที่ชว ย

ทีมพัฒนา “เอสซิท” จากคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TSE)

ใหผูบริโภคมีความมั่นใจในการขับขี่มากขึ้นอีกดวย “อยางไรก็ตาม ถึงแมวาจะมีเทคโนโลยีที่เขามาชวยเรื่องความปลอดภัย มากเพียงใด ผูขับขี่ยังตองใชความระมัดระวังในการขับขี่อยูเสมอ โดยเฉพาะ ชวงเทศกาลสําคัญที่มีรถสัญจรบนถนนจํานวนมาก” ผศ. ดร.พิศาล กลาว ทิ้งทาย

ชิ้นส วนการออกแบบเอสซิท

Engineering Today May - June

2019

32


Technology • Alight Solutions

Cr ภาพ : https//pantip.com/topic37091799

เทคโนโลยี

กับงานด าน ทรัพยากรมนุษย แมวาเทคโนโลยีจะมีบทบาทสําคัญกับงานดานทรัพยากร บุคคล (HR) เพิ่มขึ้น แตผลการศึกษาลาสุด The State of HR Transformation Study 2018-2019 ของ อะไลท โซลูชั่นส (Alight Solutions) ซึ่งไดทําการสํารวจองคกรกวา 670 แหง ในหลากหลายภาคธุรกิจในเอเชียแปซิฟก มีพนักงานรวมกันกวา 6.1 ลานคน และมีรายไดกวา 7 ลานลานเหรียญสหรัฐ พบวา บริ ษั ท ส ว นใหญ ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ  ก ยั ง ไม พึ ง พอใจกั บ แพลตฟอรมเทคโนโลยีดาน HR ที่ใชอยู โดยผูต อบแบบสํารวจมากกวาครึง่ (55%) ซึง่ เพิม่ ขึน้ 10% จากการสํารวจเดียวกันนี้เมื่อป พ.ศ. 2561 ระบุวาแพลตฟอรม ดาน HR ที่ใชอยูยังไมตอบโจทย ผลสํารวจยังพบวาเกือบ 60% ของบริษัทที่ใหขอมูลกําลังวางแผนและประเมินการลงทุนใน เทคโนโลยีใหมในชวง 12-24 เดือนขางหนา นอกจากนี้ ยั ง พบข อ มู ล เชิ ง ลึ ก ที่ สํ า คั ญ อี ก 5 ประการ จากการสํารวจครั้งนี้ คือ

1. องคกรที่ไดพัฒนาดาน HR แลว มีความมั่นใจตอความ พรอมในอนาคตของตนเองมากกวาองคกรอื่นๆ เกือบ 5 เทา และสามารถดําเนินงานดาน HR ไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา 2 เทา นอกจากนั้น องคกรดังกลาวยังมีอัตราสวนบุคลากรดาน HR ตอพนักงานประจําโดยเฉลี่ย 1:92 เปรียบเทียบกับองคกร อื่นๆ ซึ่งมีอัตราสวนอยูที่ 1:52 2. องคกร 3 ใน 4 แหงมีแผนที่จะเพิ่มยอดใชจายเพื่อการ พัฒนาขีดความสามารถดาน HR 3. บริษทั ในเอเชียแปซิฟก กวา 60% มีรปู แบบการใหบริการ ดาน HR ที่ชัดเจนและเหมาะสม ซึ่งบงบอกวาองคกรนั้นๆ มีการ พัฒนาที่ดี 4. จะมีการนําระบบงานอัตโนมัติ (Automation) และ AI มาใชงานอยางแพรหลายมากขึ้นในชวง 18-24 เดือนขางหนา

33

Engineering Today May - June

2019


โดยผูตอบแบบสอบถามสวนใหญถึง 80% กําลังทําการประเมินกรณี การใชงาน AI และระบบงานอัตโนมัติ รวมถึงขอบเขตการลงทุนใน อนาคต 5. ระบบวิเคราะหขอมูลขั้นสูง (Analytics) เปนเครื่องมือสําคัญ ที่จะชวยเพิ่มประสิทธิผล ความสามารถ ประสิทธิภาพการทํางาน และ การดึงดูดบุคลากร ผูตอบแบบสอบถาม 2 ใน 3 มีแผนที่จะปรับใช ระบบวิเคราะหขอมูลบุคลากรที่แข็งแกรงมากขึ้นในชวง 12-24 เดือน ขางหนา รายงานผลการศึกษานีย้ งั ระบุแนวโนมทีจ่ ะเกิดขึน้ ในองคกรตางๆ ในเอเชียแปซิฟก ภายในป พ.ศ. 2563 ไวดังนี้ • 67% ขององคกรจะมีโปรแกรมการฝกอบรมราวครึ่งหนึ่ง เปนรูปแบบวิดโี อ โดยมีเนือ้ หาสัน้ ๆ และเปดใหเรียนรูใ นแบบออนดีมานด (On Demand) รวมถึงการเรียนรูเชิงคาดการณตามบทบาทหนาที่ • 61% ขององคกรจะรับทราบขอคิดเห็นของพนักงานสวนใหญ (80%) ไดแบบเรียลไทม • องคกรที่ทําการสํารวจครึ่งหนึ่งใหขอมูลวาจะใช AI เพื่อขับ เคลือ่ นกระบวนการจัดการผลการปฏิบตั งิ านราวครึง่ หนึง่ ของกระบวนการ ที่ใชอยูในองคกรนั้นๆ • 63% ขององคกรระบุวา กระบวนการ HR ทั้งหมดของตนจะ มุงเนนการใชงานผานอุปกรณเคลื่อนที่ • เกือบครึง่ หนึง่ ขององคกรคาดวาจะมีธรุ กรรมดาน HR สวนใหญ 80% เปนแบบสั่งงานดวยเสียง และบริษัทเกือบครึ่งหนึ่ง ราว 47% คาดวาจะดําเนินกระบวนการราวครึ่งหนึ่งบนเทคโนโลยีอุปกรณสวมใส (Wearable) • องคกรกวาครึง่ หนึง่ คาดวาจะใชระบบวิเคราะหขอ มูลเพือ่ รองรับ การตัดสินใจสวนใหญเกี่ยวกับบุคลากร (80%) วิครานท คานนา หัวหนาฝายธุรกิจการทรานสฟอรมงานดาน HR ประจําภูมิภาคเอเชียของอะไลท โซลูชั่นส ผูรวมเขียนรายงาน ผลการศึกษาฉบับนี้ กลาววา ในยุคที่มีการใชงานระบบคลาวดอยาง กวางขวางและมีการพัฒนาเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง องคกรตางๆ ใน เอเชียแปซิฟก จําเปนตองยุติการพึ่งพากลยุทธแพลตฟอรม HR ที่ “ดีทสี่ ดุ ” เพราะการผนวกรวมแพลตฟอรมตางๆ และบริการหลากหลาย ชองทางเขาดวยกัน จะชวยสรางความแตกตางที่สําคัญที่สุดในการ ขับเคลื่อน HR ในโลกดิจิทัลไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา บริษัทตางๆ ในเอเชียแปซิฟกตระหนักวา สวนงาน HR ที่ไดรับ การเสริมศักยภาพดวยเทคโนโลยีมคี วามสําคัญอยางมากตอการพัฒนา องคกร และเกือบ 75% มีแผนที่จะเพิ่มงบประมาณเพื่อปรับปรุง ขีดความสามารถดาน HR โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวกับระบบ วิเคราะหขอมูล ความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีดิจิทัล และการเพิ่ม ความคลองตัวตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

Engineering Today May - June

2019

34


Digital Economy @Engineering Today Vol. 3 No. 171

1 6 B/)% 5 "'Ä™1%"5 6.= Ę ‡¿³Ã„Æ w»Ã†Ã‹ .1 '5 &< ,6. 'Äœ yyw 19'è .5 5 %;1&=A .C Ä™" 5 6 5 -4 u} D/Ä™A&6+ 6%A Ä”6/%6& 6'"5 6 9&I I5 &; –‡x{ŗ 1 &=A .C Ä™ A1H E1A1 = Øu‹{Ù +5 ''% )8 J7 6 16 6, ) 6' 6 B ) J7 B 4. 6'Äœ 15" A'Ę D Ä™C1 6."5 6.8 Ä™6.= Ę )6 C)


Smart City • กองบรรณาธิการ

อนาคตแหลมฉบัง

เปนที่ทราบกันดีวา เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) ถือเปนพื้นที่ยุทธศาสตรสําคัญ ที่ภาครัฐใหการสนับสนุนตาม Road Map ของโครงการ รวบรวมทั้งการพัฒนาดานการคมนาคม โลจิสติกส ไป จนถึงการสรางเมืองอัจฉริยะหรือ Smart City โดยเฉพาะ พื้นที่แหลมฉบังที่เริ่มเห็นทิศทางการพัฒนาอยางเปน รู ป ธรรม และเริ่ ม ได รั บ ความสนใจจากนั ก ลงทุ น ทั้ ง ชาวไทยและชาวตางชาติอยางตอเนื่อง

พร อมพัฒนาสู Smart City สอดรับยุทธศาสตร EEC

บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ ORI หนึ่ง ในบริ ษั ท พั ฒนาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ชั้ น นํ า ของไทย ได จั ด เสวนาหั ว ข อ “อนาคตแหลมฉบัง กับการพัฒนาแบบกาวกระโดดจากนโยบาย EEC” เพื่อใหความรูแกประชาชน โดยมีผูบริหารจากหลากหลายหนวยงานที่ รับผิดชอบการพัฒนาพื้นที่ EEC รวมใหความรู

เผยพื้นที่ EEC ศูนย กลางเมกะโปรเจ็กต หลายโครงการ โครงการด านดิจิทัล หนึ่งในไฮไลต หลักของพื้นที่

อรุช ช างทอง กรรมการผู จัดการกลุ มธุรกิจ EEC บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร ตี้ จํากัด (มหาชน)

Engineering Today May - June

2019

อรุ ช ช า งทอง กรรมการผู  จั ด การกลุ  ม ธุ ร กิ จ EEC บริ ษั ท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) กลาววา การพัฒนาพื้นที่ EEC ประกอบดวยการพัฒนาเมกะโปรเจ็กตหลากหลายโครงการ เชน รถไฟ ความเร็วสูง ทาเรือนํ้าลึกแหลมฉบัง ทาเรือนํ้าลึกระดับ Top Ten ของโลก สนามบินนานาชาติอูตะเภา ซึ่งจะเปนทั้งสนามบินและศูนย ซอมเครือ่ งบินในอนาคต ภาพรวมการพัฒนาพืน้ ทีย่ งั คงเดินไปตาม Road Map มีการเจรจาและสรรหาภาคเอกชนเขามาพัฒนาในโครงการตางๆ อยางตอเนือ่ ง โครงการดานดิจทิ ลั ซึง่ ถือเปนหนึง่ ในไฮไลตหลักของพืน้ ที่ ก็จะมารวมกันอยูที่ EEC เชน สนามทดสอบ 5G แหงแรกของไทย

36


“การเดินหนาอยางตอเนื่องของภาครัฐในพื้นที่ EEC ถือเปน สัญญาณที่ดีตอนักลงทุนทั้งชาวไทยและตางชาติที่สนใจเขามาลงทุน โครงการตางๆ ที่ไดรับการสนับสนุนในพื้นที่” อรุช กลาว สําหรับ ออริจนิ้ พร็อพเพอรตี้ ไดเขามาเปนหนึง่ ในฟนเฟองสําคัญ ในการพัฒนาทีอ่ ยูอ าศัยในพืน้ ที่ EEC เพือ่ รองรับความตองการอยูอ าศัย ทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ อยางมหาศาล เริม่ ตนจากการพัฒนาโครงการมิกซยสู ในพืน้ ที่ แหลมฉบังภายใตชื่อ “Origin District” เปนโครงการที่รวบรวมทั้ง คอนโดมิเนียมแบรนดนอตติ้ง ฮิลล เคนซิงตัน และคอมมูนิตี้มอลลภาย ใตชื่อ Porto Bello เขามาไวในพื้นที่เดียวกัน ไดรับการตอบรับที่ดีจาก ผูท เี่ ขามาลงทุนในพืน้ ทีแ่ หลมฉบังเดิม และผูท กี่ าํ ลังจะเขามาเพราะสนใจ ลงทุนใน EEC และภายในปนี้ ออริจนิ้ ยังมีแผนจะเปดตัวโครงการมิกซยสู Origin Smart District Rayong รวมมูลคาโครงการทุกประเภทกวา 10,000 ลานบาทใน จ.ระยอง เพื่อรองรับการเติบโตของเมืองอีกดวย

Digital Park Thailand โครงการสําคัญของ EEC ที่จะพัฒนาในแหลมฉบัง

ดร.วงกต วิจักขณสังสิทธิ์ รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) กลาววา หนึ่งในโครงการสําคัญ ของ EEC คือ Digital Park Thailand ที่กําลังจะพัฒนาขึ้นในพื้นที่แหลม ฉบัง เปนเขตสงเสริมการลงทุนดานดิจิทัลโดยเฉพาะ การลงทุนในพื้นที่ จะไมไดมีหนาตาเปนโรงงานเหมือนนิคมอุตสาหกรรม เนนการลงทุน ดานดิจทิ ลั ทําใหบรรยากาศคลาย “แคมปส” หรือมหาวิทยาลัย มีออฟฟศ หองแล็บ Data Center ศูนยเก็บเซิรฟเวอร เขามาอยูรวมกัน กลุมคนที่ เขามาทํางานก็จะมีตั้งแตบริษัทขนาดใหญที่ใหความสําคัญกับดาน เทคโนโลยี ไปจนถึงเหลาสตารทอัพ มีทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ ตัวพื้นที่โครงการยังถูกออกแบบใหเชื่อมโยงกับชุมชนรอบขาง ทําใหที่นี่ จะเปนเสมือน Show Case ของเมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City

แหลมฉบังเป นพื้นที่เป าหมาย ที่จะมีการพัฒนาให เป น Smart City เพราะผังเมือง แถวนี้ดีอยู แล ว หลังจากนี้จะมี การของบประมาณมาเพื่อ พัฒนาโครงสร างพื้นฐานต างๆ ให เช น ระบบนํ้า โรงบําบัดนํ้าเสีย อีกประมาณสองป ข างหน า จะเห็นตรงถนนเมืองใหม แหลมฉบังเหนือ กลาง ใต แหล งอุตสาหกรรมฝ งเคหะ ก็จะเดินทางสะดวกมากขึ้น

“ภายใน Digital Park Thailand สํานักงานคณะ กรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ใหสทิ ธิพเิ ศษ ยกเวน ภาษีนิติบุคคลแกผูเขามาลงทุนนาน 8-13 ป สูงกวาผูที่ มาลงทุนดานดิจิทัลในบริเวณอื่นซึ่งไดสิทธิ์ 5-8 ป สิทธิ ประโยชนนี้จะเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งที่ดึงดูดใหคน เขามาลงทุนในพื้นที่ EEC อยาง Digital Park Thailand” วงกต กลาว

ชี้แหลมฉบังเป นพื้นที่เป าหมาย พร อมพัฒนาเป น Smart City

ดาน สันติ ศิริตันหยง รองนายกเทศมนตรีนคร แหลมฉบัง กลาววา อําเภอศรีราชาเปนเมืองที่โดดเดน จากปจจัย 5 อ. ไดแก 1) อากาศดี 2) อาหารดี มีอาหาร ทะเลที่ครบสมบูรณ 3) อุตสาหกรรมดี 4) อนามัยดี มีสถานพยาบาลเยอะ และ 5) อาชีพดี รายไดตอหัว คอนขางสูง จากการศึกษาโดยบริษัทที่ปรึกษา พบวา ใน อีก 20 ปขางหนา อําเภอศรีราชา จะมีประชากรอยูอาศัย ถึง 20 ลานคน โดยปจจุบันเริ่มเห็นการขยายของตัวเมือง และการเจริญเติบโตเข ามาในพื้นที่แหลมฉบัง ซึ่งเปน อําเภอหนึ่งในศรีราชาบางแลว

จากซ ายไปขวา สันติ ศิริตันหยง, มนต ศักดิ์ โซ เจริญธรรม, ดร.วงกต วิจักขณ สังสิทธิ์ และ อรุช ช างทอง

37

Engineering Today May - June

2019


“แหลมฉบังเปนพื้นที่เปาหมายที่จะมีการพัฒนาให เปน Smart City เพราะผังเมืองแถวนี้ดีอยูแลว หลังจากนี้ จะมีการของบประมาณมาเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ตางๆ ให เชน ระบบนํ้า โรงบําบัดนํ้าเสีย อีกประมาณสอง ปขางหนา จะเห็นตรงถนนเมืองใหม แหลมฉบังเหนือ กลาง ใต แหลงอุตสาหกรรมฝงเคหะก็จะเดินทางสะดวก มากขึ้น” สันติ กลาว

แนะรัฐหนุนอุตสาหกรรมดิจิทัล ลงทุนน อย แต ได รับผลตอบแทนสูง

ดร.มนตศักดิ์ โซเจริญธรรม ผูอํานวยการสถาบัน ไอโอทีและนวัตกรรมดิจิทัล สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจ ดิจทิ ลั (depa) มองวา อุตสาหกรรมดิจทิ ลั เปนอุตสาหกรรม ที่ลงทุนนอยแตไดรับผลตอบแทนสูง จึงเปนสาเหตุใหที่รัฐ ควรสงเสริมดานดิจิทัล เพราะใชสมองเปนหลัก ดังนั้น คนตองมีความสามารถ ซึ่งเปนเหตุผลสําคัญในการดึง ชาวต า งชาติ ม าพร อ มกั บ เทคโนโลยี เพื่ อ ให เ กิ ด การ ถายทอดทักษะซึ่งกันและกัน และพัฒนาคนไทยไดอีก ทางหนึ่ง

Engineering Today May - June

2019

บรรยากาศเสวนาหัวข อ “อนาคตแหลมฉบัง กับการพัฒนาแบบก าวกระโดดจากนโยบาย EEC”

38


AI • กองบรรณาธิการ

อีริคสันจับมือยูเนสโก

พัฒนาทักษะ AI ให เยาวชน ตามเป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของยูเนสโก อี ริ ค สั น จั บ มื อ ยู เ นสโก (United Nations Educational, Scientic and Cultural Organization: UNESCO) มอบความรูและสนับสนุนเยาวชน พัฒนา โครงการเรี ย นรู  ทั ก ษะใหม ๆ ด า นดิ จิ ทั ล เน น ด า น สิง่ ประดิษฐอจั ฉริยะ (Articial Intelligence: AI) สําหรับ คนรุนใหม ตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของยูเนสโกเปาหมายที่ 4 คือ การศึกษาทีเ่ ทาเทียม และ เปาหมายขออื่นๆ ใหบรรลุเปาหมายไดเร็วยิ่งขึ้น

ปจจุบันมีการใชเทคโนโลยีระดับสูงเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เชน เครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงบนโทรศัพทมือถือ, ระบบคลาวด, Internet of Things (IoT), การนําเครือ่ งจักรมาใชแทนคน (Automation) และปญญาประดิษฐ (Articial Intelligence: AI) จึงตองมีการนํา ทักษะใหมๆ เขามาใชในโลกของการทํางาน โอกาสในการใชประโยชน จากเทคโนโลยีเหลานีเ้ กิดขึน้ ไดเสมอ ซึง่ ไมเพียงแตสามารถนําไปพัฒนา เศรษฐกิจได แตยังสามารถรับมือกับความทาทายใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น ในโลกปจจุบัน โดยเทคโนโลยี 5G จะเขามามีบทบาทสําคัญในการเรง กระบวนการ Digitalization และเทคโนโลยีอยาง AI

39

Engineering Today May - June

2019


ในดานการศึกษา AI สามารถเพิ่มโอกาสการเขาถึง ปรับระบบตางๆ ใหเปนอัตโนมัติ บริหารการเรียนการสอน และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา โดย AI จะนําความ เปนไปไดใหมๆ เขามาชวยสรางประสบการณการเรียนรู ที่ดียิ่งขึ้น รูปแบบการเรียนรูใหมๆ และชองทางการเรียนรู ที่มีความยืดหยุนและยั่งยืน ดวยเหตุนี้ อีริคสันและยูเนสโกจึงดึงจุดแข็งของทั้ง สององคกรมาสรางโอกาสในการพัฒนาความรูเ รือ่ ง AI และ ทักษะทางดานดิจิทัลที่สําคัญอื่นๆ ใหแกเยาวชนรุนใหม โดยมุงเนน 1) การพัฒนาและจัดการองคความรูดาน AI และคอรสพัฒนาความรูเรื่องดิจิทัลอื่นๆ ซึ่งจะเปดใหใช บริการทั่วโลก 2) การฝกอบรมทักษะความรูเรื่อง AI และ สรรหาผูเชี่ยวชาญจากหลากหลายประเทศทั่วโลก และ 3) การสนับสนุน ผูฝกสอนในดานการบริหารศูนยกลาง AI และงาน Hackathon (โปรแกรมเมอรรวมตัวกันพัฒนา ซอฟตแวร) เพื่อสอนการสรางแอพพลิเคชั่น AI ใหแก เยาวชน ฮีทเธอร จอหนสัน รองประธานดานการพัฒนา อยางยัง่ ยืน อีรคิ สัน กลาววา ทีอ่ รี คิ สัน เราเชือ่ วาการสราง พันธมิตรทีแ่ ข็งแกรงเปนหัวใจสําคัญตอการบรรลุเปาหมาย พัฒนาความยัง่ ยืน การรวมมือกันขององคกรระหวางประเทศ และองคกรเอกชนในการพัฒนา AI ในครั้งนี้ ถือเปน ตัวอยางที่ดีเยี่ยมและแสดงใหเห็นถึงความสําเร็จของเรา ในการนําผูเชี่ยวชาญในแตละดานมาทํางานรวมกันและ แบงปนความรูใหแกกัน บอรฮีน ชัคราวน ผูอํานวยการฝายนโยบายและ การเรียนรูอ ยางยัง่ ยืน ยูเนสโก กลาววา ทีย่ เู นสโก เราเชือ่ วา ควรนํา AI มาใชเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน จึงตองมีการ เรียนการสอนและโครงการอบรมแบบใหม เพื่อใหเยาวชน มีความพรอมในการใชชีวิตและการทํางานในยุค AI การ รวมมือกับอีรคิ สันถือวาเปนจุดสําคัญในการบรรลุเปาหมาย ในขอนี้ ทั้งนี้โครงการดังกลาวนี้ไดเปดตัวในงาน Mobile Learning Week 2019 ซึ่งเปนงานประชุมใหญทางการ ศึกษาของยูเนสโก จัดขึ้นที่สํานักงานใหญยูเนสโก ณ กรุง ปารีส เมือ่ ตนเดือนมีนาคมทีผ่ า นมา โดยไดรวมผูเ ชีย่ วชาญ ดานการศึกษาและเทคโนโลยีจากทัว่ โลกมาเพือ่ มุง เนนการ พัฒนา AI และการพัฒนาอยางยั่งยืน นอกจากนี้ประเทศ สมาชิ ก ยู เ นสโกยั ง ได รั บ เชิ ญ ให เ ข า ร ว มโครงการนี้ แ ละ สนับสนุนการพัฒนาความรู AI สําหรับเยาวชนอีกดวย

Engineering Today May - June

2019

Ericsson and UNESCO (United Nations Educational, Scientic and Cultural Organization) have formed a new partnership to educate and empower the next generation, with the partners to develop a new digital skill learning program that has specic emphasis on scaling up Articial Intelligence (AI) skill development for young people. With the rapid deployment of advanced technologies such as mobile broadband, cloud, IoT, automation and AI, a new set of skills is required to enter the workforce. There is an unprecedented opportunity to harness technologies and use them to advance not only economies but also to combat some of the world’s looming challenges. Nextgeneration 5G services are set to play a key role in accelerating digitalization and the impact of technologies like AI. The impact of AI is also felt across the education sector where it has the potential to increase access, automate process, curate learning and improve outcomes in education. It will continue to bring new opportunities for enhanced learning, new forms of learning and offer more exible lifelong learning pathways. With this background, Ericsson and UNESCO are combining their respective strengths to create opportunities to scale up skill development in AI and other key digital skills for young people. Under the AI for youth initiative the partners will: • Develop and manage a repository of AI and other key digital skill training courses that will be available globally • Build capacities of master trainers from selected countries around the globe with advanced knowledge of AI skill development • Support master trainers to mobilize AI hub centers and hackathons to train young people on developing AI applications

40


Innovation • กองบรรณาธิการ

เอ็นไอเอ ชู “AWG”

นวัตกรรมผลิตนํา้ จากอากาศ

ลดการขาดแคลนนํ้า แนะสตาร ทอัพ เร งใช โอกาสพัฒนาสินค าสูต ลาดโลก

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ NIA โดยสถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม (Innovation Foresight Institute : IFI) เล็งเห็นวาการใชนํ้าเพื่อการบริโภคในอนาคต มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ขณะที่นํ้าจากแหลงธรรมชาติกลับลดลง โดยเฉพาะปริมาณของนํ้าจืด ที่มีเพียงไมถึง 3% เมื่อเทียบกับ สัดสวนของปริมาณนํ้าทั้งหมดของโลก ทั้งนี้ ประเทศไทยถือเปน พืน้ ทีห่ นึง่ ซึง่ มีแนวโนมทีจ่ ะเกิดความผันผวนในดานพฤติกรรมการ ใชและเสี่ยงตอการขาดแคลนนํ้าในระดับสูง สาเหตุจากความ ตองการที่เพิ่มมากขึ้น ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ และ ยังพบวาคุณภาพนํ้ามีแนวโนมเสื่อมโทรมลงจากกิจกรรมตางๆ เชน การประกอบอุตสาหกรรม การคมนาคม การนันทนาการและ การทองเที่ยว ฯลฯ ดวยเหตุนี้ จึงจําเปนที่จะตองมีการรับมือและ การบริหารจัดการเพื่อเตรียมแกไขปญหานํ้าที่กําลังจะเกิดขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถชวยลด ขอจํากัดตางๆ ในอนาคต

“AWG” ใช เทคโนโลยีการดึงนํ้าจากความชื้นในอากาศ มาผลิตเป นนํ้าจืดที่บริโภคได -สะอาด-ปราศจากมลพิษ หนึ่งในนวัตกรรมที่นาสนใจและมีแนวโนมการเติบโตเปน อยางสูงคือ “การแปลงอากาศเปนนํ้าดวยเครื่องผลิตนํ้าจาก อากาศ” หรือ Atmospheric Water Generator : AWG โดย นวัตกรรมดังกลาว สตารทอัพชั้นนําจากประเทศอิสราเอล ได คิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีการดึงนํ้าจากความชื้นในอากาศมา ผลิตเปนนํา้ จืดทีส่ ามารถบริโภคได สะอาด ปราศจากมลพิษ และ เปนวิทยาการสมัยใหมที่สามารถลดภาระการใชนํ้าจากแหลงนํ้า จืดตางๆ รวมถึงมีความยัง่ ยืนสูง ทัง้ นี้ คาดการณวา ปริมาณความ ตองการเครือ่ งผลิตนํา้ จากอากาศจะเปนทีต่ อ งการในตลาดมากขึน้ อยางตอเนื่อง เนื่องดวยการเปลี่ยนแปลงใน 6 ปจจัย ไดแก นวัตกรรมสูความเปนศูนย (Innovating to Zero) การเกิดขึ้นของ สังคมเมือง กระแสการใสใจในสุขภาพ การสรางความแตกตาง ใหกับโมเดลธุรกิจ การลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การคนหา พลังงานใหมๆ ที่จําเปนตอการดําเนินชีวิตในอนาคต รวมถึง

41

Engineering Today May - June

2019


นวัตกรรม Atmospheric Water Generator: AWG สตาร ทอัพชั้นนํา จากประเทศอิสราเอล ได คิดค นและ พัฒนาเทคโนโลยีการดึงนํ้าจาก ความชื้นในอากาศมาผลิตเป นนํ้าจืด ที่สามารถบริโภคได สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป นวิทยาการ สมัยใหม ที่สามารถลดภาระการใช นํ้า จากแหล งนํ้าจืดต างๆ รวมถึง มีความยั่งยืนสูง ในกลุมประเทศที่มีสภาพอากาศแหงแลงรุนแรง และมีขอจํากัด ดานทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะสภาพอากาศแบบทะเลทราย และกึ่งทะเลทราย ซึ่งจะกอใหเกิดปญหาแหลงนํ้าไมเพียงพอ ทั้งนํ้าอุปโภค-บริโภค และนํ้าสําหรับการเกษตร

สารพันประโยชน จากการผลิตนํ้าสะอาด สู การลดระบบผูกขาดในตลาดนํ้าดื่ม ดานคุณสมบัติและความนาสนใจของนวัตกรรม AWG พบวา ในกระบวนการผลิตนํ้านอกจากจะมีความปลอดภัยและ สะอาดแลว เครื่องมือดังกลาวยังสามารถผลิตนํ้าดื่มสะอาดได โดยเฉลี่ยหลักสิบ-พันลิตรตอวันทั้งนํ้ารอนและนํ้าเย็น ประหยัด คาใชจายในการซื้อนํ้าดื่มโดยรวมไดถึงหลักพันบาทตอเดือน ชวยลดปริมาณขยะพลาสติกจากการซื้อนํ้าดื่มบรรจุขวด นํ้าดื่ม ทีไ่ ดยงั เปนนํา้ ทีส่ ะอาด บริสทุ ธิ์ รสชาติคลายนํา้ ฝน ไมมกี ารบําบัด ดวยสารเคมีหรือคลอรีน นอกจากนี้ ยังจะชวยในเรื่องของระบบ ชลประทานในพื้นที่ฟารม ที่สามารถลดการกักเก็บนํ้า เหมาะกับ การปลูกพืชแนวดิ่งที่มีคุณภาพสูงลดอุปสรรคในการขนสงหรือ ลํ า เลี ย งนํ้ า เนื่ อ งจากสามารถติ ด ตั้ ง ได ใ นทุ ก พื้ น ที่ แ ม ส ภาพ แวดลอมจะไมมีความเหมาะสม รวมถึงชวยแกปญหาเรื่องการ ผูกขาดของตลาดสินคานํ้าดื่มไดเปนอยางดีอีกดวย

ช องทางและโอกาสทางการตลาดของ AWG ทัง้ นีม้ กี ารคาดการณวา เครือ่ งผลิตนํา้ จากอากาศจะขยายตัว เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากปริมาณนํา้ จืดสํารองทีล่ ดลงและจํานวนประชากร ทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยอัตราการเติบโตของตลาดจะอยูท ี่ 9.5% ตอป สวน

Engineering Today May - June

2019

42


ขณะนี้องคการพัฒนาระหวางประเทศแหงแคนาดาและกองทัพ เรือสหรัฐอเมริกาไดใหการสนับ สนุนเงินทุนพัฒนาตนแบบที่ หลากหลายเชิ ง พาณิ ช ย เ พื่ อ ผลิ ตนํ้ า ดื่ ม ที่ ป ลอดภั ย ในอนาคต ทวีปยุโรป กําลังมีการรวมมือระหวางผูค ดิ คนนวัตกรรมและผูผ ลิต นํ้า พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อผลิตนํ้าจืดจากอากาศที่จะถูกนํามาใช แทนระบบผลิตนํ้าจืดจากทะเล และ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ซึ่งลาสุดบริษัทยักษใหญของประเทศอินเดียไดรวมมือกับสตารท อัพชัน้ นําจากอิสราเอล ติดตัง้ เครือ่ งผลิตนํา้ จากอากาศทัว่ ประเทศ เพื่ อ ผลิ ต นํ้ า ดื่ ม ที่ ป ลอดภั ย โดยเครื่ อ งผลิ ต นํ้ า จากบรรยากาศ ขนาดกลางและขนาดใหญ สามารถผลิตนํ้าจากอากาศไดมากถึง 6,000 ลิตรตอวัน

โอกาสดีของผู ประกอบการและสตาร ทอัพไทย ในการพัฒนาระบบหรือเครื่องมือให มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ปจจุบัน นํ้ากลายเปนปจจัยหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบ เศรษฐกิจของโลกอยางชัดเจน ประเทศที่มีระบบการจัดการนํ้า ที่ดี ยอมสงผลตอการพัฒนาของประเทศที่มั่นคงยั่งยืน ดังนั้น การเขามาของนวัตกรรม AWG จึงถือเปนอีกโอกาสสําคัญสําหรับ ผูประกอบการและสตารทอัพไทยในการพัฒนาระบบหรือเครื่อง มือดังกลาวใหมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น เพื่อสงตอไปยังตลาดและ ผูบ ริโภคในกลุม พืน้ ทีท่ ี่มคี วามตองการอุปโภค-บริโภคนํา้ ในระดับ ที่สูง รวมถึงภูมิภาคตางๆ ในประเทศไทย นอกจากนี้ การเกิดขึ้น ของเทคโนโลยีดังกลาว ถือวามีความจําเปนอย า งยิ่งกับการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่งการผลิตพลังงานที่สะอาดและยั่งยืน ถือเปนโจทยที่สําคัญที่สุดที่จะตองเรงพัฒนาในชวงเวลานี้

ป พ.ศ. 2564 คาดว าจะมีการ ติดตั้งระบบ AWG ในรถยนต ที่ใช เชื้อเพลิงไฮโดรเจน ซึ่งจะช วย สร างนํ้าจืดได ตามระยะการเดินทาง ของรถ ส วนในป พ.ศ. 2565 คาดว า นํ้าที่ผลิตได คุณภาพตามหลักเกณฑ ขององค การอนามัยโลก (WHO) จะมีรายได ในตลาดโลกอยู ที่ 1.1 พันล านเหรียญสหรัฐ

แนวโนมการใชเทคโนโลยี AWG ระหวางป พ.ศ. 2562-2565 คาดวาจะมีการใชเพิ่มขึ้นอยางแพรหลาย โดยในป พ.ศ. 2562 AWG จะถูกนําไปประกอบการชลประทานขนาดใหญของพื้นที่ เพาะปลูกในเขตแหงแลงและกึ่งแหงแลง ป พ.ศ. 2563 จะมีการ ใช AWG ขนาดใหญในทีพ่ กั ตามเมืองเล็กๆ และชุมชน ซึง่ จะทําให ไมมีมลพิษ มีนํ้าสะอาดเพื่ออุปโภค-บริโภค และชวยลดการใชนํ้า ตามแหลงธรรมชาติ ขณะที่ป พ.ศ. 2564 คาดวาจะมีการติดตั้ง ระบบ AWG ในรถยนตทใี่ ชเชือ้ เพลิงไฮโดรเจน ซึง่ จะชวยสรางนํา้ จืดไดตามระยะการเดินทางของรถ สวนในป พ.ศ. 2565 คาดวา นํ้ า ที่ ผ ลิ ต ได คุ ณ ภาพตามหลั ก เกณฑ ข ององค ก ารอนามั ย โลก (WHO) จะมีรายไดในตลาดโลกอยูที่ 1.1 พันลานเหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ ยังคาดวานวัตกรรมดังกลาวยังจะมีการเติบโต ใน 3 กลุมตลาดที่สําคัญ ไดแก ทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งถือเปน ตลาดที่ใหญที่สุดและผูบริโภคมีความพรอม (Mature Market)

43

Engineering Today May - June

2019


Logistics • Assoc. Prof. Rahuth Rodjanapradied, Ph.D. Asst. Prof. Tartat Mokkhamakkul, Ph.D. Logistics and Supply Chain Management (CULSM) Chulalongkorn University, Thailand

โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคใต

กรณีสะพานเศรษฐกิจ ชุมพร-ระนอง ประเทศไทย The Proposal of Southern Seaboard: Case of Chumporn-Ranong Landbridge, THAILAND

บทความนีจ้ ดั ทําเปนโครงการวิจยั ภาค ภาษาอังกฤษ เพื่อนําเสนอในการประชุม นานาชาติ 4th Belt and Road Initiative BRI 2019 and the Asian Logistics Round Table Conference ALRT 2019 on 1-3 Aug. 2019, Bangkok, Thailand.) จัดโดย Chulalongkorn Logistics and Supply Chain Management (CULSM), Transportation Research Institute (TRI), Chulalongkorn Business School (CBS), ZHEJIANG UNIVERSITY, China, Ocean College Supported by Yangtze River Research and Innovation Belt (Y-RIB)

บทวิพากษ โครงการทางรถไฟเชื่อมสองทะเลภาคใต ชุมพร-ระนอง

การศึกษาครัง้ นีจ้ ดั ทําโดย หลักสูตรวิทยาการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทีท่ าํ การวิเคราะหทบทวนโครงการพัฒนาพืน้ ทีช่ ายฝง ทะเล ภาคใต กรณีศึกษาสะพานเศรษฐกิจ ชุมพร-ระนอง ประเทศไทย เพื่อนําเสนอการ ปรับปรุงโครงการทีจ่ ะสรางประสิทธิภาพในการพัฒนาประเทศ แผนแมบทการพัฒนา พื้นที่ชายฝงทะเลภาคใตไดรับการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี ในป พ.ศ. 2559 และ มีการพิจารณาโครงการทางรถไฟเชื่อม ชุมพร-ระนอง นั้น ขอพิจารณาประเด็นปญหา จากขอมูลโครงการเพื่อสงเสริมและปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพตอไป ดังนี้

สรุปข าวสารข อมูลความเคลื่อนไหวของโครงการทางรถไฟเชื่อมสองทะเล ชุมพร-ระนอง

1. จํานวนนักทองเที่ ยวจั งหวัดระนอง จากสถิติกระทรวงการทองเที่ยว และกีฬา ในภาคใตป ค.ศ. 2016 มีจํานวน 928,239 คน ซึ่งเพียงสูงกวา 3 จังหวัด ชายแดนภาคใตเทานั้น

ป ค.ศ.

จังหวัด

นักท องเที่ยวไทย

นักท องเที่ยวต างชาติ

รวม

อันดับ

2016

กระบี่

2,176,948

3,580,198

5,757,146

4

2016

กรุงเทพมหานคร

38,201,836

20,551,785

58,753,621

1

2016

ชุมพร

1,256,512

108,483

1,364,995

12

2016

ตรัง

1,295,309

184,923

1,480,232

9

2016

นครศรีธรรมราช

3,497,074

80,105

3,577,179

8

2016

นราธิวาส

245,128

402,266

647,394

13

2016

ประจวบคีรีขันธ

4,028,053

979,141

5,007,194

6

2016

ปตตานี

254,641

2,289

256,930

15

Engineering Today May - June

2019

44


ป ค.ศ.

จังหวัด

นักท องเที่ยวไทย

นักท องเที่ยวต างชาติ

รวม

อันดับ

2016

พังงา

1,252,867

3,226,954

4,479,821

7

2016

พัทลุง

1,492,009

15,055

1,507,064

10

2016

ภูเก็ต

3,845,532

9,495,697

13,341,229

2

2016

ยะลา

131,932

494,220

626,152

14

2016

ระนอง

875,946

52,293

928,239

13

2016

สงขลา

4,160,814

2,504,410

6,665,224

3

2016

สตูล

1,216,070

156,900

1,372,970

11

2016

สุราษฎรธานี

2,162,735

3,252,243

5,414,978

5

2. ทาเรือนํา้ ลึกชุมพรสอเคาแทง-เจาทารายงาน รมช.ไมคมุ คาลงทุน แกปญ  หา สะสมอีกเพียบ ขอมูลจาก กรมเจาทา ขาวจากมติชนออนไลน 22 สิงหาคม 2559 3. ทาเรือนํ้าลึกชุมพร เชื่อม ระนอง-แหลมฉบัง อธิบดีกรมเจาทากลาว ...แตอยางไรก็ตาม โครงการดังกลาว ซึ่งอยูระหวาง ขั้นตอนการรับฟงความเห็นของประชาชนในพื้นที่ครั้งที่ 1 เมื่อ มี.ค. 2558 ก็มีหลาย กลุมที่แสดงความเห็นในเชิงคัดคาน เนื่องจากที่ผานมาคนชุมพรไมเคยไดรับขอมูล ที่เพียงพอ (ขาวจากโพสตทูเดย 21 กรกฎาคม 2558)

4. บริษทั รถไฟจีนพบรองนายกรัฐมนตรีสนลงทุนทางคูเ อสอีซ-ี ทาเรือระนอง รองนายกรัฐมนตรีฝายเศรษฐกิจ ใหสัมภาษณภายหลังบริษัท China Railway Construction เขาพบวา สนใจลงทุนในโครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (อีอซี )ี ...และเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต (เอสอีซ)ี เชน ทาเรือระนอง เพราะ เปนทาเรือทีจ่ ะเอือ้ ประโยชนเรือ่ งโลจิสติกส ไปสูเ ศรษฐกิจโลก (จากขาวฐานเศรษฐกิจ 23 สิงหาคม 2561)

45

5. เอกชนหนุนทํารถไฟ ชุมพร-ระนอง “บริษัท MITSUI วิจัยเรื่อง Study on Development of Andaman Sea Gate Port In Kingdom Thailand ภายใตโครงการ Study on Private-Initiative Infrastructure Project in Developing Counties ซึ่งไดรับ เงินสนับสนุนจากเจโทร (JETRO) ใหขยายขีด ความสามารถทาเรือระนองรับเรือ 12,000 TEU ...ที่ผานมา ทาเรือระนองไดปรับกลยุทธ เพิม่ บทบาทกิจกรรมการใหบริการเรือ ซึง่ เปน กิจกรรมการรับมอบ เก็บรักษา สงมอบ วัสดุ อุปกรณสํารวจและขุดเจาะ ทอกาซ นํ้ามัน ดีเซล นํ้าจืด ปูนซีเมนตผง เวชภัณฑ อาหาร ฯลฯ เนื่องจากรัฐบาลเมียนมาไดใหสัมปทาน บริษัทขามชาติเขาไปขุดเจาะกาซธรรมชาติ ในอาวเมาะตะมะ (ขาวจากฐานเศรษฐกิจ 9-12 กันยายน 2561) 6. เวนคืนที่ดิน “ชุมพร-ระนอง” 1.6 พันลาน สรางรถไฟเชื่อมอาวไทย-อันดามัน การประชุม “ครม.-คณะรัฐมนตรี” สรุป ไดวา โครงการไมมคี วามคุม คาทางดานเศรษฐกิจ ผลตอบแทนด า นมู ล ค า ป จ จุ บั น สุ ท ธิ ข อง โครงการ (NPV) ในระยะเวลา 30 ป มีคา นอย กวาศูนย และผลตอบแทนด านอัตราสวน ผลประโยชน ต  อ ต น ทุ น น อ ยกว า 1 และ ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรนอ ยกวา 12% หากชะลอโครงการออกไปอีก 9 ป โดยกําหนด เปดใหบริการในป พ.ศ. 2577 จะทําใหอัตรา

Engineering Today May - June

2019


ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของโครงการเทากับ 12.19% จะมีความคุมคาทางดานเศรษฐกิจ (ขาวจากฐานเศรษฐกิจ 17 สิงหาคม 2561) 7. รฟท.ดันสรางรถไฟทางคู ชุมพรระนอง 4 หมื่นลาน ข อ มู ล จาก สํ า นั ก งานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร (สนข.) โครงการ รถไฟชุมพร-ระนอง พ.ศ. 2568 มีผลตอบแทน ทางเศรษฐกิจ (EIRR) อยูที่ 12.20% โดย คาดการณปริมาณผูโดยสารที่จะใชบริการ ในปแรกอยูที่ 5,724 คนตอป และจะเพิ่ม เป น จํ า นวน 11,710 คนต อ ป ภายใน ระยะเวลา 30 ป ห ลั ง จากเป ด ให บ ริ ก าร คิดเปนปริมาณการเติบโตราว 100% หรือ คิดเปน 28% ตอระยะเวลา 10 ป ดาน ปริมาณการขนสงสินคานั้น ในปแรกที่เปด บริการจะมีปริมาณสินคานําเขา-สงออกราว 33,116 ตูค อนเทนเนอรตอ ป และจะเพิม่ เปน 85,502 ตูค อนเทนเนอรตอ ป คิดเปนปริมาณ การเติบโตเฉลี่ย 158% หรือคิดเปน 53% ตอระยะเวลา 10 ป (ขาวจาก www.daily news.co.th 17 ตุลาคม 2561) 8. ชาวบานเชียรรถไฟ ชุมพร-ระนอง ข อ มู ล จาก สํ า นั ก งานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร (สนข.) โดยไดขอ มูล จากชาวระนองว า เดิ ม ระนองเคยมี ร ถไฟ สายคอคอดกระอยูแลว ...จึงไมตองการสราง ทับแนวเดิม เพราะตองการอนุรกั ษรถไฟสาย ประวัติศาสตรนั้นไว สวนชาวชุมพรเสนอวา ควรตระหนักถึงปญหานํา้ ทวม รวมทัง้ จุดตัด ทางรถไฟใหมีระบบความปลอดภัยที่ดี แนว เสนทางรถไฟไมควรสรางตัดแบงถนน เพราะ ทําใหวถิ ชี วี ติ ชุมชนแยกออกจากกัน (ขาวจาก www.dailynews.co.th 10 มกราคม 2561) 9. เกาะติดเมกะโปรเจ็กต: รถไฟทาง คู เสนทาง ชุมพร-ระนอง สงเสริมการเดิน ทางเชื่อม 2 ฝงทะเล ระยะทาง 109 กม. 9 สถานีรถไฟ จากสถานีชุมพร-สถานีระนอง (ขุนกระทิง-บานนา-วังใหม-ปากจั่น-กระบุรีบางใหญ-ละอุน-ทาเรือระนอง-สถานีระนอง) (ข อ มู ล จาก สํ า นั ก งานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร (สนข.) ขาวจาก www.dailynews.co.th 28 สิงหาคม 2561)

Engineering Today May - June

2019

การวิเคราะห ป ญหาโครงการของหลักสูตรวิทยาการโลจิสติกส จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 2562

1. ขอมูลจาก สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) โครงการ ไมคมุ คาทางดานเศรษฐกิจ คา (NPV) 30 ป มีคา นอยกวาศูนย อัตราสวนผลประโยชน ตอตนทุนนอยกวา 1 และผลเศรษฐศาสตรนอ ยกวา 12% ทีเ่ ปนเชนนีเ้ พราะผังแมบท มีเปาหมายขนสงผูโ ดยสารเปนหลัก (1st Priority) ไมไดมเี ปาหมายการขนสงเปนหลัก (2nd Priority) วิเคราะหไดจาก พบวาแผนและผังแมบทไมสงเสริม Landbridge Logistics Sea-Freight และในการทองเที่ยวนั้นตองมีการวางแผนการทองเที่ยว Tourism Route ดวย มิใชมีเพียงถนนและที่ทองเที่ยว Transport Line เทานั้น ดั่งกรณี Narvik-Abisko-Kiruna- Luleå 2. ขอมูลจาก สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ปริมาณ นักทองเที่ยวระนอง ป ค.ศ. 2016 รวม 928,239 คน มีมากกวา 3 จังหวัดชายแดน ภาคใตเทานั้น จากการคาดการณของ สนข. มีผูโดยสารปแรก 5,724 คนตอป หรือ 16 คนตอวัน หรือ 8 คนตอรถไฟ 1 เที่ยว? (หากวิ่ง 2 เที่ยวตอวัน) จึงไมควรเปน เปาหมายหลักของการสรางโครงการรถไฟเชื่อม ระนอง-ชุมพร 4.5 หมื่นลานบาท (2nd Priority) และนักทองเที่ยวที่มาระนองนิยมโดยสารเครื่องบิน หรือนั่งรถยนต รถทัวร เพื่อสัมผัสธรรมชาติที่สมบูรณที่สุดของประเทศไทย และไมไดมีปลายทาง ในตัวอําเภอเมืองระนองมากนัก แตจะทองเที่ยว ปาไม วนอุทยานแหงชาติและ วายนํ้า ดํานํ้า ในทองทะเลมากกวาการนั่งรถไฟโดยสาร 3. ขอมูลจาก สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ปริมาณ การขนสงสินคาปแรก 33,116 TEU ตอป หรือ 90 TEU ตอวัน (รถไฟ 45 โบกี้ วันละเที่ยวเดียว หากวิ่ง 4 เที่ยวตอวัน จะไดปริมาณสินคา 131,400 TEU ตอป)

46


ถึงแมจะยังไมมีทาเรือชุมพรที่เปนเปาหมายหลักรถไฟ Landbridge ชุมพร-ระนอง (เมื่อมีทาเรือชุมพรแลว) (1st Priority) 4. ขอมูลจาก การรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) ระยะทาง 109 กม. ประกอบดวย 9 สถานีรถไฟ จากสถานีชุมพร-สถานี ระนอง 1. สถานีขุนกระทิง 2. สถานีบานนา 3. สถานีวังใหม 4. สถานีปากจั่น 5. สถานีกระบุรี 6. สถานีบางใหญ 7. สถานีละอุน 8. สถานีทาเรือระนอง 9. สถานีระนอง สถานีโดยสารหลักทีส่ ถานีระนอง 1 สถานี และสถานีสนิ คา หลัก 1 สถานี ที่ทาเรือระนอง แตกลับไมเชื่อมตอถึงสถานีสินคา และสถานีผโู ดยสาร คือสถานีทา อากาศยานระนอง และไมมกี ารเชือ่ ม สถานีหลักทีท่ า เรือชุมพร (ทีไ่ ดเตรียมสรางทีต่ าํ บลแหลมคอกวาง ใกลอําเภอเมืองชุมพร ซึ่งชาวชุมพรตอตาน) ดังนั้น ผังแมบท จึงไมสง เสริม Landbridge Logistics Sea-Freight กลับพยายาม ที่จะสงเสริมการทองเที่ยวทางรถไฟที่มีผูโดยสาร 8 คนตอวัน ตอเที่ยว? 5. ขอมูลจาก JETRO Japan แนะนําใหขยายทาเรือระนอง รองรับเรือสินคา 12,000 TEU และรัฐบาลเมียนมาใหโอกาสเปน ทาเรือกาซและนํา้ มันจากอาวเมาะตะมะ (ถึงแมจะเปนโอกาสของ ทาเรือกาซธรรมชาติและขนถายนํ้ามันที่ใหญที่สุดในอาเซียน Oil Pipe Landbridge ที่เหมาะสมตอการขนถายมหาศาล 5 ลาน บารเรลตอวัน (จากการคํานวณทาเรือปากบาราของ JICA) แต ทาเรือระนองไมควรจะใชโอกาสนี้ ที่จะทําใหเกิดมลภาวะอยาง มากตอชุมชนและสภาพแวดลอม 6. ขอมูลจาก สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สคช.) การเวนคืนที่ดินสูงถึง 1.6 พันลานบาท เพราะ ไดวางแนวรางรถไฟผานชุมชนหนาแนนของชุมพร-ระนอง สวน กรณีจะมีการลงทุนจากตางชาติ (China Railway Construction) จึงจะไมมีปญหาดาน Feasibility Study ในโครงการ Rail Landbridge Ranong-Chumporn และทาเรือชุมพร รวมทัง้ ดานเอกชน ชุมพร-ระนอง ก็สนับสนุนโครงการ ในขณะที่ชาวบานก็สนับสนุน โครงการ แตไมเห็นดวยกับบางสวน (เชน แนวเสนทางและ ผังแมบท) ของโครงการที่ชาวระนองไมตองการใหทับรางรถไฟ ประวัติศาสตรเดิม สวนชาวชุมพรใหระวังนํ้าทวมและการแบง แยกชุมชนเดิม และตองปองกันผลกระทบของทางรถไฟ รวมทั้ง ที่ตั้งทาเรือชุมพรอาจมีปญหาดานสิ่งแวดลอมและทางสังคมตอ ชุมชน เพราะที่ตั้งอยูใกลชุมชนหนาแนนมากเกินไป

ข อเสนอการออกแบบโครงการของหลักสูตรวิทยาการโลจิสติกส จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 2562

1) ในการวางแผนแมบทนั้น แทนที่จะวางเสนทางรถไฟ ดานเหนือจากแยกปฐมพรสถานีรถไฟชุมพร (ที่สงผลตอที่ตั้ง ทาเรือชุมพรทีจ่ ะเปนทีต่ าํ บลแหลมคอกวาง ขางอําเภอเมืองชุมพร ที่เปนชุมชนหนาแนนมาก) ผานชุมชนเมืองหนาแนนจนสิ้นสุดที่ ทาเรือระนองและสถานีระนอง (ตรงตามทางเลือกที่ 1 ของ สนข.) แตสมควรกลับทิศทางเปนดานใต จากสถานีควนหินมุย (ทีส่ ง ผลตอ ที่ตั้งทาเรือชุมพรที่จะเปนที่ตําบลบางนํ้าจืด ดานขาง อบต. บางนํา้ จืด ทีเ่ ปนชุมชนหนาแนนนอย) (ตรงตามทางเลือกที่ 7 ของ สนข. และทางเลือกที่ 4 ของ JICA ประเทศญี่ปุน) 2) ดานผลกระทบสิ่งแวดลอมทางรถไฟ ควรจะเนนเปน ทางผานการขนถายสินคาระหวางทาเรือสองทะเลเทานั้น (และ ไมควรขนถายกาซและนํา้ มัน ทัง้ ๆ ทีจ่ ะมีศกั ยภาพสูงมากในการเปน ทอสงผานนํ้ามันจากตะวันออกกลางมายังประเทศอุตสาหกรรม ตะวันออกไกล จีน เกาหลี ญี่ปุน) และไมควรมีกิจกรรมอื่นของ Logistics Functions มากนัก สงผลกระทบตอสภาพแวดลอม เชน (1) ทอสงนํ้ามัน (Oil Pipeline) (2) สถานีขนสงสินคา (Truck Terminal) (3) สถานีตรวจและบรรจุสนิ คาเขาคอนเทนเนอรเพือ่ การ สงออก (สตส.) (Container Freight Station: CFS) (4) โรงพักสินคาเพือ่ ตรวจของขาเขาและบรรจุของขาออก โดยระบบคอนเทนเนอร (รพท.) (Inland Container Depot: ICD) (5) ยานกองเก็บตูสินคา (Container Yard: CY) (6) สถานีเก็บรักษาสินคา (Warehouse) (7) นิคมอุตสาหกรรม (Industrial Estate) (8) ศูนยรวบรวมและกระจายสินคา (Distribution Center: DC) โดยอาจมีกจิ กรรมบางในบางสวนทีจ่ าํ เปนขององคประกอบ ของทาเรือขนถายเทานัน้ หลักการของ Landbridge Transshipment Port จะขนถายสินคาจากสองทาเรือผานระบบรางใหเร็วทีส่ ดุ จึงไม เกิดผลกระทบตอชุมชนและธรรมชาติดานสิ่งแวดลอมและสังคม 3) ดานผังเมืองโลจิสติกส เนือ่ งจากเปนทาเรือ Landbridge Transshipment Port ทีจ่ ะขนถายสินคาสองทะเลทีม่ ปี ริมาณเทา กัน จึงควรกอสรางเปนทาเรือคูแ ฝด Sister Port กับทาเรือระนอง ทีร่ ปู แบบและขนาดของทาเรือนํา้ ลึกชุมพรจะเหมือนกับทาเรือนํา้ ลึกระนองทุกประการ ทางดาน ทาเทียบเรือ ลานคอนเทนเนอร อุปกรณเครื่องมือทุนแรง ที่ทําการสํานักงานทาเรือ การขยายตัว และการพัฒนา แตออกแบบเปนการกลับดานสถาปตยกรรม Mirror Master Plan ที่จะทําใหชาวชุมพรเขาใจ และเห็นตัวอยาง ของทาเรือที่พวกเขาคุนเคยในระนองมาแลว ที่ไมเกิดผลกระทบ ตอชุมชนและสภาพแวดลอม

47

Engineering Today May - June

2019


4) ดานผังเมืองโลจิสติกส ทางรถไฟจะเปนการขนถาย สินคาเปนหลัก (1st Priority) จํานวน 4 เที่ยวตอวัน และขนถาย ผูโดยสารเปนรอง (2nd Priority) จํานวน 2 เที่ยวตอวัน เปน การขนถายสินคาและผูโดยสารแนวตะวันตก-ตะวันออก สาย ชุมพร-ระนอง ในเฟสแรก (สวนเฟสตอไปสามารถวิเคราะหและ วางแผนใหเปนทางรถไฟสายเหนือ-ใต เชื่อมโยงกับรถไฟ High Speed Train และขนถายสินคาขึน้ สูก รุงเทพมหานคร ประเทศจีน และอินโดจีนได) ระบบทางรถไฟ หัวรถจักรและโบกีส้ นิ คา จะเปน ไปตามที่ที่ปรึกษาและ สนข.คํานวณไวทุกประการ เพียงแตยาย แนวเสนทางจากการออมดานเหนือ มาเปนการออมดานใต ซึ่งมี ระยะทางนอยกวาคือระยะทาง 102 กิโลเมตร สวนสถานีและ รูปแบบการดําเนินการก็จะเหมือนเดิม แตเปลีย่ นมาเปน 5 สถานี จากดานชุมพร-ระนอง คือ (1) สถานีทาเรือชุมพร (สถานีผูโดยสาร+สินคา) เปลี่ยน ถายผูโดยสารจากเรือทองเที่ยวอาวไทย (2) สถานี ค วนหิ น มุ  ย (สถานี ผู  โ ดยสาร) เปลี่ ย นถ า ย ผูโดยสารจากรถไฟรางคูและ High Speed Train (3) สถานีสนามบินระนอง (สถานีผูโดยสาร+สินคา) เปลี่ยนถายผูโดยสารและขนถายสินคาทางอากาศสู รถไฟรางคูและ High Speed Train (4) สถานีระนอง (สถานีผโู ดยสาร) เปลีย่ นถายผูโ ดยสาร สูเรือทองเที่ยวอันดามัน (5) สถานีทาเรือระนอง (สถานีสินคา) 5) การปรับปรุงผังแมบทของทาเรือชุมพรและทางรถไฟ เชื่อมสองทะเลนั้น เพียงแกไขแนวทางรถไฟ ที่ตั้งและผังแมบท ทาเรือนํ้าลึกชุมพร และจํานวนสถานีรถไฟเทานั้น โดยจะใช มาตรฐานระบบและรูปแบบ ของสํานักงานนโยบายและแผนการ ขนสงและจราจร (สนข.) แผนแมบทเดิมเปนหลัก

Master Plan Southern Landbridge: Chumporn - Ranong Railbridge (CULSM)

Engineering Today May - June

2019

Master Plan Southern Landbridge: Chumporn - Ranong Railbridge (OTP: Route 7)

Master Plan Southern Landbridge: Chumporn - Ranong Railbridge (JICA: Route 4)

48


Quality • กองบรรณาธิการ

กสทช.แนะประชาชนเลือกซื้อแบตเตอรี่ที่มีคุณภาพ ใช งานแบตเตอรี่ที่ถูกวิธี

Cr ภาพ : ศูนย ซ อมสมาร ทโฟนโดยตรงทุกอาการเสีย ทุกรุ นทุกยี่ห อ ต.สลกบาตร จ.กําแพงเพชร

กสทช. แนะประชาชน

เลือกซื้อแบตเตอรี่

ได มาตรฐาน-ใช งานแบตเตอรีอ่ ย างถูกวิธี เพือ่ ความปลอดภัยต อชีวติ และทรัพย สนิ สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) รวมกับ ศูนยทดสอบ ผลิตภัณฑทางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และอุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส รวมกันเปดโครงการ “รณรงคใหความ รูเรื่องมาตรฐานของแบตเตอรี่ในโทรศัพทเคลื่อนที่” ภายใตแนวคิด “ปลอดภัยใชดี เลือกแบตเตอรีม่ มี าตรฐาน” เพือ่ ใหความรูแ กประชาชน ในการเลือกซื้อแบตเตอรี่ที่มีคุณภาพ ปองกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กับชีวิตและทรัพยสินจากการใชแบตเตอรี่ที่ไมไดมาตรฐาน

49

กอกิจ ดานชัยวิจิตร รองเลขาธิการคณะกรรมการ กิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติ (รองเลขาธิการ กสทช.) กลาววา จากสถิติจํานวนโทรศัพทเคลื่อนที่ในป พ.ศ. 2561 พบวา มีผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ จํานวน 124.63 ลานเลขหมาย จากจํานวนประชากร 69.11 ลานคน โดยปญหาสวนใหญ ที่ พ บในการใช โ ทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ คื อ แบตเตอรี่ เ สื่ อ ม เนื่องจากใชงานขณะชารจไฟ และการใชอุปกรณการชารจ ที่ ไ ม ไ ด ม าตรฐาน รวมถึ ง การใช ง านแบตเตอรี่ ที่ ไ ม ไ ด มาตรฐาน ซึง่ เปนการใชงานทีผ่ ดิ วิธอี าจจะนํามาซึง่ อันตราย ตอชีวิตและทรัพยสิน สํานักงาน กสทช. ไดตระหนักถึงความปลอดภัย ของแบตเตอรีโ่ ทรศัพทเคลือ่ นที่ ทัง้ ทีม่ าพรอมกับเครือ่ งหรือ การเลือกซื้อแบตเตอรี่ใหม จึงไดเปดโครงการ “รณรงคให ความรูเ รือ่ งมาตรฐานของแบตเตอรีใ่ นโทรศัพทเคลือ่ นที”่ ภายใตแนวคิด “ปลอดภัยใชดี เลือกแบตเตอรีม่ มี าตรฐาน” โดยสํานักงาน กสทช.ไดรว มกับ ศูนยทดสอบผลิตภัณฑทาง ไฟฟา และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส สํ า นั ก งานวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และอุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส รวมทดสอบมาตรฐาน และใหความรูแกประชาชนในการเลือกซื้อแบตเตอรี่ที่มี คุณภาพ ผานการทดสอบตามมาตรฐาน รวมถึงการใชงาน แบตเตอรี่ที่ถูกวิธี เพื่อปองกัน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ ชีวิตและทรัพยสินของผูบริโภค อันเนื่องมาจากการใช แบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ไมไดมาตรฐาน โดยประชาชนสามารถตรวจสอบสินคาโดยสังเกต เครื่องหมาย NBTC ID บนกลองโทรศัพทเคลื่อนที่ กรณี ซื้อเครื่องใหมและเครื่องหมาย มอก. บนแบตเตอรี่ กรณี ซื้ อ เฉพาะแบตเตอรี่ ซึ่ ง เป น เครื่ อ งหมายรั บ รองความ ปลอดภัยและผานมาตรฐาน เนื่องจากปจจุบันแบตเตอรี่ ติดมากับตัวเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่เลยไมไดแยกชิ้นสวน ออกมาอยางในอดีต ดังนั้นสํานักงาน กสทช.จึงทําไดเพียง สุมตรวจการนําเขาของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ของแตละ คายที่ออกมาในแตละรุน ซึ่งสวนใหญแลวไมพบปญหา อยางไรก็ตามจะพบวามีปญ  หาก็ตอ เมือ่ ผูบ ริโภคนําไปชารจ กับอุปกรณที่ไมไดมาตรฐานแลวเกิดประกายไฟ ทําใหสุม เสี่ยงที่จะเกิดปะทุระเบิดขึ้นได

Engineering Today May - June

2019


ดังนั้นการให ประชาชน ผู บริโภคเห็นถึงโทษของการ ใช โทรศัพท เคลื่อนที่ที่ ไม ได มาตรฐาน รวมถึงการใช และ เปลี่ยนแบตเตอรี่ที่ ไม มี คุณภาพจะมีอันตรายอะไร บ างอย างสมํ่าเสมอ โดย นําเสนอองค ความรู เหล านี้ ตั้งแต ต นนํ้ากระบวนการผลิต การใช งาน การทิ้งและ แนวทางกําจัดเป นอย างไร เชื่อว าจะค อยๆ ซึมซับ การใช งานให ประชาชน ตระหนักถึงอันตรายมากขึ้น

ก อกิจ ด านชัยวิจิตร รองเลขาธิการ กสทช.

เวทีเสวนาเรื่องมาตรฐานของแบตเตอรี่ในโทรศัพท เคลื่อนที่

กสทช. จัดทําแอพพลิเคชั่น MoCheck ตรวจสอบมาตรฐานมือถือ เบื้องต นใช งานได เฉพาะระบบ Android นอกจากนี้ สํานักงาน กสทช.ยังไดจดั ทําแอพพลิเคชัน่ MoCheck ซึ่งจะทําใหประชาชนตรวจสอบไดวาโทรศัพทเคลื่อนที่รุนใด หรือรุนที่ สนใจจะซื้อผานการตรวจรับรองมาตรฐานจากสํานักงาน กสทช. เพื่อ ไมใหเกิดปญหาจากการใชงานเครื่องที่ไมผานการตรวจสอบคุณภาพที่ อาจกอใหเกิดอันตรายกับผูใ ชงาน เชน แบตเตอรีบ่ วมแลวระเบิด เปนตน โดยแอพพลิเคชั่น MoCheck จะเปนระบบคนหาอัจฉริยะที่คน ไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษจากยี่หอ รุน โรงงานผูผลิต ชื่อ ผูประกอบการ ประเภทหรือชนิดของเครื่อง หมายเลขรับรองมาตรฐาน และหมายเลข NBTC ID ซึ่ ง เมื่ อ ค น เจอข อ มู ล จะแสดงทั้ ง โลโก รุน หมายเลขรับรอง ชือ่ ผูย นื่ ขอรับรอง ผูผ ลิต ผูน าํ เขา หมายเลขโทรศัพท และทีอ่ ยูต ดิ ตอ อีเมล ภาพถาย ขอมูลรายละเอียดทางเทคนิค ภาพสําเนา ใบรับรอง เปนตน

Engineering Today May - June

2019

50

ปจจุบัน MoCheck สามารถดาวนโหลดใชงานได แลวสําหรับผูใชงานระบบปฏิบัติการ Android ในสวน ของ iOS อยูระหวางการตรวจสอบขอมูล ทั้งนี้สํานักงาน กสทช.กําลังพัฒนาแอพพลิเคชั่น MoCheck ใหมีเวอรชั่น ใหมๆ รองรับโทรศัพทรุนใหมๆ ใหมีการตรวจสอบลงลึก ถึงสมรรถนะของโทรศัพทรุนนั้นๆ มากยิ่งขึ้นในอนาคต

รณรงค ใช แบตเตอรี่มือถือของแท ที่ ได รับรองมาตรฐานตามที่กําหนด เรืองฤทธิ์ หนิแหนะ หัวหนาหองปฏิบัติการดาน ความปลอดภัย ศูนยทดสอบผลิตภัณฑทางไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส กลาววา ในอดีตตัวเครื่องแบตเตอรี่กับ ตัวโทรศัพทเคลื่อนที่แยกจากกัน ซึ่งจะพบปญหาเรื่อง แบตเตอรีไ่ มมคี ณ ุ ภาพในการนํามาเปลีย่ นใส เมือ่ ประชาชน นําไปยังตูเปลี่ยนแบตเตอรี่ รานคาที่รับเปลี่ยนแบตเตอรี่


ที่ไมมีคุณภาพ มีสินคาลอกเลียนแบบที่ภาครัฐอาจจะ สุมตรวจสอบไมเจอ แตในปจจุบันนี้โชคเปนที่นายินดี ที่แบตเตอรี่และตัวเครื่องแนบมาดวยกันไมสามารถที่จะ แยกออกจากกันได ทําใหประชาชนที่ใชงานมั่นใจในระดับ หนึง่ วาไดแบตเตอรีข่ องแททผี่ า นการตรวจสอบแลว เพราะ การนําเขาโทรศัพทเคลือ่ นทีจ่ ะมีการสุม ตรวจอยางเขมงวด มากขึ้น ไมวาจะเปนตรวจสอบตราสัญลักษณ มอก. ที่มี พรอมดวยตัวเลข 2217 ตอทาย ซึง่ หากเปนของแทจะตอง มีเครื่องหมายและตัวเลขทั้งสองนี้อยูบนตัวเครื่องกํากับ แตหากมีเพียงสัญลักษณใดสัญลักษณหนึง่ ใหสนั นิษฐานได เลยวาเปนของลอกเลียนแบบ หรือของปลอม อยาซื้อมาใช อยางเด็ดขาดและควรรีบแจงเจาหนาทีใ่ หดาํ เนินการเขาไป ตรวจสอบ “อยากขอความรวมมือของประชาชนที่ใชโทรศัพท เคลื่อนที่ใหซื้อโทรศัพทจากรานคาที่เปนตัวแทนจําหนาย ของเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ตูขายโทรศัพทที่ไดรับการ รับรองจากทางภาครัฐ ซึง่ มีใบรับรองติดไวทกุ ๆ ราน แมราคา จะแพงสักนิดแตเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ควรพิจารณาในการเลือกซื้ออยางรอบคอบ ซึ่งกวา 95% จะซือ้ โทรศัพทเคลือ่ นทีท่ ไี่ ดมาตรฐาน อีกประมาณ 5% จะ ซือ้ ตามตลาดนัดหรือลักลอบซือ้ จากตางประเทศแลวนํามาใช อาจจะเกิดปญหาโทรศัพทไมไดมาตรฐาน เกิดปญหาแบตเตอรี่ เสื่อม เมื่อเกิดการเสียดสีอาจจะมีปญหาเรื่องประจุไฟเกิด ทําใหระเบิดเปนอันตรายได” เรืองฤทธิ์ กลาว ทั้งนี้จะตองรณรงคใหความรูประชาชนสมํ่าเสมอให เลื อ กใช โ ทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ที่ มี คุ ณ ภาพได ม าตรฐาน มี เครื่องหมายที่แสดงถึงการรับรองที่ออกโดยหนวยงานที่ ดูแลอยางเครงครัดแมจะตองใชเวลาก็ตองทําเพื่อความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนผูใชโทรศัพท เคลื่อนที่ทุกๆ คน

สร างความตระหนักรู ถึงโทษของการ ใช มือถือที่ ไม ได มาตรฐาน และเปลี่ยนแบตเตอรี่ที่ ไม ได คุณภาพอย างต อเนื่อง ธีระ ริมปรังษี ผูอํานวยการฝายการมาตรฐานและ คุ ณ ภาพ สถาบั น ไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส กล าวว า โดยเฉลี่ยแลวการใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่ของประชาชน ผูใ ชงานจะเปลีย่ นโทรศัพทมอื ถือทุกๆ 2 ป ทําใหเกิดปญหา จากการเปลี่ยนโทรศัพทมือถือบอยๆ โดยเฉพาะเรื่อง

แบตเตอรี่ที่มีคําเตือนเขียนติดไวที่ตัวแบตเตอรี่ และการใชงานที่ชารจ ดวยอุปกรณทไี่ มไดมาตรฐาน ชารจแบตเตอรีไ่ ปคุยไป ลวนแลวแตสง ผล อันตราย สงผลกระทบตอประชาชนผูบริโภคอยางหลีกเลี่ยงไมได แมวา หน ว ยงานที่ กํ า กั บ ดู แ ลตั้ ง แต ก ระบวนการผลิ ต อย า งกรมโรงงาน อุ ต สาหกรรม กระทรวงอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง เข า ไปควบคุ ม ดู แ ลตั้ ง แต กระบวนการทดสอบการผลิตแบตเตอรี่ ตรวจสอบคุณภาพของโรงงาน ทีข่ อทําการผลิตแบตเตอรีอ่ ยูแ ลวอยางนอยปละ 1-2 ครัง้ หรือแมแตการ ขอสินคานําเขามาจําหนายก็ตองผานหนวยงาน สมอ. หากไมมีการผาน หนวยงานทั้งหมดนี้ก็จะไมสามารถจําหนายในประเทศไทยได อยางไร ก็ตาม แมวาจะมีการควบคุมดูแลอยางเขมงวดก็ยังมีการลักลอบนําเขา มาจํ า หน า ย อี ก ทั้ ง ผู  บ ริ โ ภคเองก็ ยั ง สนั บ สนุ น ซื้ อ โทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ที่ ลั ก ลอบมาจํ า หน า ยโดยไม ผ  า นการตรวจสอบจากทางเจ า หน า ที่ ภาครัฐแตอยางใด “ดังนั้นการใหประชาชนผูบริโภคเห็นถึงโทษของการใชโทรศัพท เคลื่อนที่ที่ไมไดมาตรฐาน รวมถึงการใชและเปลี่ยนแบตเตอรี่ที่ไมมี คุณภาพจะมีอันตรายอะไรบางอยางสมํ่าเสมอ โดยนําเสนอองคความรู เหลานี้ตั้งแตตนนํ้ากระบวนการผลิต การใชงาน การทิ้งและแนวทาง กําจัดเปนอยางไร เชือ่ วาจะคอยๆ ซึมซับใหประชาชนตระหนักถึงอันตราย มากขึ้นแมจะตองใชเวลาเปนปหรือ 2-3 ป ก็ควรรณรงคเรื่องนี้ตอไป ใหมากขึ้น” ธีระ กลาว สวนการทิ้งโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือทิ้งแบตเตอรี่แบบเกาอยาง ถูกวิธีเพื่อใหเกิดการนําแบตเตอรี่ที่มีคากลับมาใชประโยชนไดอีก ก็จะมี สวนชวยลดมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งจะมีผลกระทบตอผูคนจํานวนมาก ที่อาศัยอยูบนโลกนี้ไดอีกทางหนึ่ง

51

Engineering Today May - June

2019


Advertorial • Reed Tradex

ครบ จบ ในงานเดียว Manufacturing Expo 2019 ระหว าง วันที่ 19 - 22 มิถุนายนนี้

งานแมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซโป 2019 พรอมแลวที่ จะเปดประตูตอนรับนักอุตสาหกรรมระหวางวันที่ 19-22 มิถุนายนนี้ ตอบโจทยทุกความตองการของอุตสาหกรรม พรอมทัพเทคโนโลยีกวา 2,400 แบรนด 46 ประเทศ ตลอดจนพาวิลเลี่ยนจากนานาประเทศเพื่อลับคมเสริม ประสิทธิภาพการผลิต และนําธุรกิจของคุณสูความสําเร็จ ไดอยางแนนอน

ส องอนาคตอุตสาหกรรมกับสัมมนาทีอ่ ดั แน นด วยความรู อาทิ • InterMold Forum - เจาะลึกเทรนดการผลิต แมพิมพยุคใหมที่เพียบพรอมดวยหัวขอที่คัดสรรแลววา ทันเหตุการณและตรงประเด็นที่เปนประโยชนตอผูผลิต แมพิมพมากที่สุด

Engineering Today May - June

2019

52


• Automotive Summit - กาวทันเทรนดอุตสาหกรรม

ยุคใหม ศึกษาแนวคิดจุดประกายความสําเร็จกับวิทยากรผูทรง คุณวุฒิในหัวขอที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต • Plastics Forum - เตรียมความพรอมสําหรับการ เปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตในอนาคตดวยกลยุทธที่ทันสมัย ตอบโจทยเทาทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเพื่อชิงความได เปรียบและประสบความสําเร็จยั่งยืน • Robotics & Automation Symposium - รับฟง การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล ระบบอัตโนมัติ Internet of Things (IoT) และการบริหารจัดการขอมูลขนาดใหญ (Big Data) จากบุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมการผลิต • Surface & Coating Forum - ศึกษาองคความรูที่ ทันสมัยและขอมูลเชิงลึกดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมการชุบ และเคลือบผิวเพื่อปรับเปลี่ยนสายการผลิตของคุณไปสูแนวทาง การผลิตสากล

ไฮไลท และกิจกรรมพิเศษภายในงาน Manufacturing Expo 2019 • Hand Tools Showroom ครั้งแรกกับการนําเสนอ

อุปกรณแฮนดทลู ทีห่ ลากหลายและเปย มประสิทธิภาพจากแบรนด ชั้นนํา พร อมเป นกําลังใจในการแข งขันเพื่อเฟนหาผูมีความ สามารถในการใชอุปกรณแฮนดทูลไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ที่สุดภายในงาน • Metrology & Testing Zone คบพบวิธีเสริมความ แมนยําและเพิม่ คุณภาพมาตรฐานการผลิตกับทัพเจาของแบรนด ชั้นนําในสวนแสดงเทคโนโลยีตรวจวัดชิ้นงานลาสุดจากแบรนด ชั้นนํา • Robotics Cluster Pavilion การผนึกกําลังของหนวย งานทั้งภาครัฐ-เอกชนเพื่อสงเสริมและผลักดันผูประกอบการไทย ใหใชนวัตกรรมหุน ยนตและระบบอัตโนมัติ พรอมใหคาํ ปรึกษาเพิม่ ขีดความสามารถลงทุนและการขอรับสิทธิการลงทุน, กองทุน ดอกเบี้ยตํ่า และอีกมากมาย • Surface & Coating Showcase รวมคนพบความเปน ไปไดที่สามารถตอยอดไดไมสิ้นสุดของเทคโนโลยีใหมๆ สําหรับ การเคลื อ บพื้ น ผิ ว พร อ มการแสดงสาธิ ต ต น แบบนวั ต กรรม การชุบเคลือ บพื้ น ผิ ว ของนักวิจัย จากหลายสถาบันวิจัยชั้ นนํา ในประเทศที่สามารถนําไปตอยอดเพื่อนํามาใชพัฒนาผลักดัน วงการเคลือบพื้นผิวในประเทศไทยตอไป • Cutting Tool Runway สัมผัสการสาธิตศักยภาพของ นวัตกรรมเครื่องตัดสุดลํ้าบนลานแฟชั่นโชว ผูเขาชมงานจะได สัม ผัสการสาธิตศักยภาพของนวัตกรรมเครื่องตัดสุดลํ้า พรอม ตื่นตาจากเหลานางแบบเดินขบวนประชันโฉมและศักยภาพของ

แต ล ะแบรนด ห า มพลาดการแสดงรู ป แบบใหม ที่ ผสมผสาน ระหวางแฟชั่นและการแสดงนวัตกรรมไดอยางลงตัวภายในงาน • Plastic Intelligence & Innovation Zone คนพบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการผลิตพลาสติก โดยปนี้จะเนน เรือ่ ง Bioplastic, พลาสติกเพือ่ สิง่ แวดลอม และการพัฒนาโรงงาน ผลิตพลาสติกเพื่อเขาสูการแขงขันในปจจุบัน ซึ่งไมวาคุณจะอยู ในอุตสาหกรรมไหน • Match Me พิเศษสุดกับบริการเสนอ 10 รายชื่อผูแสดง สินคาผานทางอีเมลเพื่อการจับคูธุรกิจผานโปรแกรม Match Me เพื่อชวยใหผูชมงานไดวางแผนชมงานอยางมีประสิทธิภาพขึ้น เพียงลงทะเบียนลวงหนาพรอมระบุขอมูลของสินคาที่สนใจผาน เว็บไซต

ลงทะเบียนล วงหน าออนไลน

เพื่อใหการเขาชมงานราบรื่นไมสะดุด ลงทะเบียน ชมงานลวงหนาไดทาง www.manufacturing-expo.com หรือ โทร. (+66) 2686 7222 เพือ่ รับสิทธิพเิ ศษมากมาย นอกจากนี้ คุณสามารถติดตามขาวสาร ความเคลือ่ นไหว วงการอุ ต สาหกรรมได ที่ www.facebook.com/ manufacturingexpopage.

53

Engineering Today May - June

2019


IT Update • กองบรรณาธิการ

วีเอ็มแวร ร วมกับ ไอเน็ต

นําเสนอบริการคลาวด VMware HCX

เสริมแกร งองค กรสู Digital Transformation เป นรายแรกในไทย วีเอ็มแวร ผูนําดานการสรางสรรคนวัตกรรมซอฟตแวรระดับ องคกร เปดตัวบริการคลาวด VMware HCX อยางเปนทางการ ในประเทศไทย พรอมแตงตั้ง บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ไอเน็ต (INET) ผูนําดานบริการโครงสรางพื้นฐาน ไอซีทีชั้นนําของไทย นําเสนอบริการคลาวด HCX ใหแกองคกรตางๆ ในประเทศไทย เพื่อชวยเสริมศักยภาพใหแกองคกรตางๆ ในการ เปลี่ยนยายจากดาตาเซ็นเตอรรุนเกาแบบดั้งเดิม ไปสูสภาพแวดลอม มัลติคลาวดที่ทันสมัย รองรับการใหบริการแอพพลิเคชั่นที่รวดเร็ว ยิ่งขึ้น และเพิ่มความเร็วในการนําผลิตภัณฑและบริการใหมๆ ออก สูตลาด โดยไอเน็ตถือเปนผูใหบริการ HCX รายแรกในประเทศไทย

ภายใตวิสัยทัศน Thailand 4.0 องคกรหลายแหง ในประเทศไทยกําลังเรงปรับปรุงระบบไอทีรุนเกาเพื่อใหมี ความทันสมัยและปรับใชเทคโนโลยีดิจิทัลมากขึ้น ขอมูล จากบริษทั วิจยั ไอดีซี (IDC) ระบุวา คาใชจา ยสําหรับบริการ ดานไอทีเพิม่ ขึน้ ถึง 9.2% โดยแตะระดับ 92.6 พันลานบาท เมือ่ ป พ.ศ. 25611 ขณะเดียวกัน ยอดใชจา ยสําหรับบริการ คลาวดสาธารณะในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ไมรวมญี่ปุน คาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางมากที่อัตราเฉลี่ย 32.58% ตอป2 ในป พ.ศ. 2559-2564

Worldwide Semiannual Services Tracker, IDC, ธันวาคม 2561 APeJ Public Cloud Services Spending Forecast to Reach $15 Billion in 2018, IDC, กุมภาพันธ 2561

1 2

Engineering Today May - June

2019

54


ซานเจย เค เดซมุขฮ รองประธานและกรรมการผูจ ดั การประจําภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตและเกาหลี (SEAK) วีเอ็มแวร กลาววา วีเอ็มแวรเดินหนาขยาย ความรวมมือกับพันธมิตรอยางตอเนือ่ ง เพือ่ สรางรากฐานดิจทิ ลั แกองคกรธุรกิจตางๆ ในประเทศไทย โดยรวมมือกับ ไอเน็ต ภายใตความมุงมั่นที่จะเรงขับเคลื่อนองคกร ตางๆ ใหสามารถเขาถึง VMware Cloud Foundation โซลูชั่นสําหรับระบบ ไฮบริดคลาวดทรี่ วมความสามารถของโครงสรางพืน้ ฐานคลาวดทสี่ าํ คัญ ตัง้ แตระบบ ประมวลผล ระบบจัดเก็บขอมูล ระบบเชื่อมตอเครือขาย และระบบการจัดการ คลาวดครบวงจร ดวย VMware Cloud Foundation องคกรตางๆ จะสามารถ ปรับปรุงดาตาเซ็นเตอรใหทาํ งานไดอยางมีประสิทธิภาพ ยายแอพพลิเคชัน่ และดาตา เซ็นเตอรทั้งหมดไปยังคลาวดไดอยางรวดเร็ว พรอมความสามารถในการกูคืนระบบ กรณีที่เกิดป ญหาและอัพ เกรดความสามารถใหมๆ อยูเสมอโดยไมกระทบตอ การดําเนินธุรกิจ ซึ่งถือเปนการสรางรากฐานดิจิทัลที่สําคัญใหแกองคกรตางๆ เพื่อ เตรียมความพรอมสําหรับความสําเร็จในยุคดิจิทัลอีโคโนมี

ซานเจย เค เดซมุขฮ รองประธานและกรรมการผูจ ดั การ ประจําภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเกาหลี (SEAK) วีเอ็มแวร

ความรวมมือระหวางวีเอ็มแวรและไอเน็ตมีจุดมุงหมายในการชวยสงเสริม ยุทธศาสตร Thailand 4.0 ดวยการผลักดันใหองคกรเปลี่ยนยายไปสูสภาพแวดลอม ไฮบริดคลาวดและมัลติคลาวด และชวยใหองคกรของไทยปรับใชนวัตกรรมและ การดําเนินงานอยางเปนระบบ เอกภาวิน สุขอนันต ผูจ ดั การ บริษทั วีเอ็มแวร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา VMware HCX นับเปนนวัตกรรมทีเ่ รียกไดวา เปน Game Changer ในการใหบริการ คลาวดรูปแบบใหม ชวยใหองคกรดําเนินการโยกยายระบบขนาดใหญจากดาตา เซ็นเตอรแบบดั้งเดิมที่ติดตั้งภายในองคกรไปยังสถาปตยกรรมแบบใหมที่ทันสมัย ไดอยางปลอดภัยมากขึ้นและไมมีสะดุด ดวยบริการคลาวด HCX เวิรกโหลดตางๆ จะถูกโยกยายไปมาระหวางระบบคลาวด โดยไมจําเปนตองปรับเปลี่ยนที่ตนทาง สวนการเคลือ่ นยายของแอพพลิเคชัน่ ก็เปนการทํางานรวมกันระหวางซอฟตแวรและ

เอกภาวิน สุขอนันต ผูจ ดั การ บริษทั วีเอ็มแวร (ประเทศไทย) จํากัด

55

Engineering Today May - June

2019


ฮารดแวรที่หลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการรักษาความ ปลอดภัยดวยระบบเครือขายแบบไฮบริดที่กาวลํ้า การ รีพลิเคตขอมูล และความสามารถในการกูค นื ระบบในกรณี ทีเ่ กิดปญหา ทัง้ ยังสามารถทําการโยกยายระบบขณะใชงาน อยูโ ดยทีร่ ะบบไมหยุดทํางาน ชวยใหองคกรสามารถดําเนิน ธุรกิจตามปกติไดอยางตอเนื่อง

“VMware HCX ถือเปน Tool ประเภทหนึ่งที่ชวยเคลื่อนยาย (Migrate) Private Cloud ไปสู Public Cloud ชวยผลักดันใหองคกร ของไทยกาวสูโลกของไฮบริดคลาวด และมัลติคลาวดไดอยางรวดเร็ว สรางโอกาสใหมๆทางธุรกิจ และชวยกระตุน การเติบโตในระบบเศรษฐกิจ ดิจิทัล เหมาะสําหรับกลุม Enterprise โรงพยาบาล คาปลีก รวมทั้ง ภาครัฐ” เอกภาวิน กลาว

ดาน มรกต กุลธรรมโยธิน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน) หรือไอเน็ต กลาววา ประเทศไทยกําลังพัฒนาไปสูเศรษฐกิจดิจิทัล อยางรวดเร็ว และไอเน็ตมีความมุงมั่นในการจัดหาเครื่องมือที่จําเปนเพื่อชวยให องคกรตางๆ สามารถปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานไอทีใหทนั สมัย และมีการเชื่อมตอ ถึงกันเพิ่มมากขึ้นควบคูกับการปรับเปลี่ยนการดําเนินงานใหเปนแบบดิจิทัล ทั้งนี้ ไอเน็ตไดทํางานรวมกับวีเอ็มแวรประมาณ 7-8 ป ปจจุบันไอเน็ตเปน ผูใหบริการ คลาวดระดับพรีเมียรดวยเทคโนโลยีของวีเอ็มแวร (VMware Cloud Veried Partners) เพื่อรองรับการใหบริการ VMware SDDC ไดอยางเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงมีการสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั บริการ และการสนับสนุนระดับดาตาเซ็นเตอรผา น Cloud Foundation “ปจจุบันไอเน็ตตองการเปน Trust Provider ในชวงแรกเรามีศูนย IDC เพียง แหงเดียว ขณะนี้มีศูนย IDC ทั้งหมด 3 แหงเปนรูปสามเหลี่ยม ซึ่งไดการรับรอง มาตรฐาน ISO 27001 ทั้งในสวนของดาตาเซ็นเตอร และคลาวด เชื่อมตอระบบ ลูกคาดวยการทํางานบนมัลติคลาวดอยางมีประสิทธิภาพผานเทคโนโลยีของวีเอ็มแวร รวมทั้งจะมีการทํา Hybrid Cloud Extension ที่สามารถใชบริการคลาวดของลูกคา เอง สามารถใชบริการบนคลาวดของไอเน็ต หรือแมกระทั่งใชบริการบนคลาวด

Engineering Today May - June

2019

56

มรกต กุลธรรมโยธิน กรรมการผูจ ดั การ บมจ. อินเทอร เน็ตประเทศไทย หรือไอเน็ต

ของที่อื่นไดดวย เพื่อชวยใหองคกรประสบ ความสําเร็จในการทําดิจทิ ลั ทรานสฟอรเมชัน่ ” มรกต กลาว


@Engineering Today Vol. 3 No. 171

'# ›-'#%›B)4 '"›,8'è'6 'Ę+%%;1 Ę1.'Ä™6 . 6 9,8'è'6 B)416 6''5 -6"&6 6)

=A Ä&#x; Ä™ B 6'"5 6"÷J 9I .Ę %+)

57

Engineering Today May - June

2019


Construction • กองบรรณาธิการ

รฟท. - รฟม. และ รพ.ศิริราช ร วมมือก อสร างสถานีศิริราช และอาคารรักษาพยาบาล

ชูเป นต นแบบการพัฒนาพื้นที่ขนส งมวลชน

รฟท. - รฟม.และรพ.ศิริราช ร วมมือก อสร างสถานีศิริราช และอาคารรักษาพยาบาล

ฯพณฯ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ (ขวา) รมว.คมนาคม และ ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา (ซ าย) คณบดีคณะแพทยศาสตร ศริ ริ าชพยาบาล

ภคพงศ ศิรกิ นั ทรมาศ (ที่ 1 จากซ าย) ผูว า การ รฟม. และ วรวุฒิ มาลา (ที่ 1 จากขวา) รองผูว า การกลุม ธุรกิจการบริหารทรัพย สนิ รักษาการในตําแหน งผูว า การ รฟท.

การรถไฟแหงประเทศไทย รวมดวย การรถไฟฟา ขนสงมวลชนแหงประเทศไทย และคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล ลงนามบันทึกความเขาใจวาดวยความ รวมมือเพือ่ ดําเนินโครงการกอสรางสถานีรว มศิรริ าช และ อาคารรักษาพยาบาล ในการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ปนจุดเชือ่ มโยง

Engineering Today May - June

2019

การเดินทางรถไฟฟาที่สมบูรณแบบ เพื่อใหประชาชนและผูปวยไดรับ ประโยชนในการเดินทางมาใชบริการโรงพยาบาลศิริราชสูงสุด ตาม นโยบาย One Transport for All ของกระทรวงคมนาคม พรอมชูเปน โมเดลตนแบบของการพัฒนาพืน้ ทีส่ ถานีขนสงมวลชนสําหรับโครงการ อื่นๆ ฯพณฯ อาคม เติ ม พิ ท ยาไพสิ ฐ รั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวง คมนาคม เปนประธานในพิธลี งนามบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือ เพื่อดําเนินโครงการกอสรางสถานีศิริราช และอาคารรักษาพยาบาล ระหวางการรถไฟแหงประเทศไทย การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหง ประเทศไทย และคณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล โดยมี ดร.ไพรินทร ชูโชติถาวร รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงคมนาคม ศ.คลินกิ เกียรติคณ ุ นพ. อุดม คชินทร รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงศึกษาธิการ พรอมดวย วรวุฒิ มาลา รองผูวาการกลุมธุรกิจการบริหารทรัพยสิน รักษาการใน ตําแหนงผูว า การการรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) ภคพงศ ศิรกิ นั ทรมาศ ผูวาการการรถไฟขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) ศ. ดร. นพ. ประสิ ท ธิ์ วั ฒ นาภา คณบดี ค ณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะผูบริหารจากทั้ง 3 หนวยงาน และ สือ่ มวลชนเขารวมเปนสักขีพยาน ณ หองสถานพิมขุ มงคลเขต พิพธิ ภัณฑ ศิรริ าชพิมขุ สถาน คณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ฯพณฯ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ กลาวถึงความคืบหนาของ โครงการระบบรถไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราชวา ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2562 เห็นชอบให การรถไฟแหงประเทศไทย ดําเนินโครงการและคาดวาจะเริม่ กอสรางได ในป พ.ศ. 2563 พรอมเปดใหบริการในป พ.ศ. 2566 สวนของโครงการ รถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวนิ ทวงศ) การรถไฟฟาขนสง มวลชนแหงประเทศไทย อยูระหวางการนําเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อขออนุมัติโครงการ คาดวาจะสามารถเปดประกวดราคาในเดือน สิงหาคม 2562 และตามแผนจะแลวเสร็จในป พ.ศ. 2569

58


สําหรับบริเวณสถานีศริ ริ าช ถือเปนพืน้ ทีส่ าํ คัญทีม่ กี จิ กรรม ที่หลากหลาย ทั้งดานการคมนาคม เปนจุดเชื่อมตอการเดินทาง ของโครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวนิ ทวงศ) ที่รองรับการเดินทางของประชาชนระหวางฝงตะวันออกของ กรุงเทพมหานครและฝงธนบุรี และที่รองรับการเดินทางของ ประชาชนจากสถานีศริ ริ าชไปพืน้ ทีฝ่ ง ตะวันตกของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งสามารถเปลี่ยนเสนทางดวยระบบรถไฟฟาชานเมืองสาย สีแดงเขมเชือ่ มตลิง่ ชัน-บางซือ่ -รังสิต สูพ นื้ ทีต่ อนเหนือของกรุงเทพ มหานคร ประกอบกับคณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาลมีความจําเปน ในการขยายพืน้ ทีก่ ารใหบริการดานรักษาพยาบาล การศึกษา และ การวิจัย แตมีขอจํากัดเรื่องพื้นที่ จึงตองมีการวางแผนรวมกัน พัฒนาในบริเวณสถานีศิริราช “ความรวมมือของทั้งสามฝายนี้จะเปนสัญลักษณของการ บูรณาการแผนพัฒนารวมกัน ระหวาง รฟท. รฟม. และคณะ แพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เพือ่ ดําเนินการ กอสรางสถานีศิริราชในโครงการระบบรถไฟฟาชานเมืองสาย สีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราช และโครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวินทวงศ) เพื่อประโยชนสูงสุดตอ ประชาชน และจะเปนโมเดลตนแบบของการพัฒนาพื้นที่สถานี ขนสงมวลชนสําหรับโครงการอื่นๆ ตอไป” ฯพณฯ อาคม กลาว วรวุฒิ มาลา รองผูวาการกลุมธุรกิจการบริหารทรัพยสิน รักษาการในตําแหนงผูว า การการรถไฟแหงประเทศไทย กลาววา การรถไฟแหงประเทศไทยไดบรู ณาการรวมกับคณะแพทยศาสตร ศิรริ าชพยาบาล โรงพยาบาลศิรริ าช และการรถไฟฟาขนสงมวลชน แหงประเทศไทย ในการใชทดี่ นิ ของการรถไฟฯ ดําเนินการกอสราง อาคารรักษาพยาบาล โครงสรางตอเชือ่ มของอาคารรักษาพยาบาล กับสถานีรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวินทวงศ) อาคารสถานีรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวนิ ทวงศ) และโครงสรางตอเชื่อมกับสถานีศิริราชของโครงการระบบรถ ไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิง่ ชัน-ศิรริ าช รวมถึงทางอพยพ กรณีฉุกเฉิน ลิฟตบริการผูพิการ และโครงสรางอื่นที่เกี่ยวเนื่อง พรอมกับใหการรถไฟฯ สามารถใชประโยชนอาคารรักษาพยาบาล กอสรางเปนสถานีในการใหบริการรถไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราช บริเวณชั้น 1 และชั้น 2 ของอาคาร ขณะเดี ย วกั น การรถไฟฯ จะดํ า เนิ น การก อ สร า งงาน โครงสรางทางวิ่งรถไฟ โครงสรางชานชาลา ระบบรางและระบบ รถไฟของระบบรถไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออนชวงตลิง่ ชัน-ศิรริ าช โดยจั ด แผนการก อ สร า งให ส อดคล อ งกั บ การก อ สร า งสถานี รถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี เพื่อใหประชาชนที่ใช บริการไดรบั ความสะดวกในการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ ทั้ ง สองเส น ทาง และการใช บ ริ ก ารของโรงพยาบาลศิ ริ ร าช อยางสูงสุด ทั้งนี้คาดวาจะเริ่มดําเนินการกอสรางไดในปลายป พ.ศ. 2562 ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กลาววา คณะแพทยศาสตร

ศิริราชพยาบาลมีพันธกิจหลัก 3 ดาน ไดแก ดานการรักษา พยาบาล ดานการวิจัย และดานการศึกษา เพื่อผลิตบัณฑิตและ บุคลากรทางการแพทยทกุ ระดับ และแพทยผเู ชีย่ วชาญเฉพาะทาง ทางการวิจยั สรางบรรยากาศทางวิชาการ ใหบริการทางการแพทย ที่มีคุณภาพ คุณธรรม ทันสมัย ไดมาตรฐานสากล สอดคลองกับ ความตองการของประเทศ ตลอดระยะเวลาที่ผานมา คณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาลไดใหความสําคัญกับการใหบริการ รักษาพยาบาลแกผูปวยทุกหมูเหลาใหไดรับความสะดวกสบาย อยางมีประสิทธิภาพและเทาเทียมกัน มีการกอสรางอาคารเพือ่ รองรับผูปวยที่มารับบริการที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น ปจจุบนั มีปริมาณผูป ว ยทีเ่ ขาใชบริการเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยเปนผูปวยนอกที่มาใชบริการเฉลี่ยประมาณ 8,000-10,000 คน/วัน คิดเปนจํานวนปละ 3.4 ลานคน เพื่อรองรับสังคมผูสูงวัย สํ า หรั บ อาคารรั ก ษาพยาบาลของคณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าช พยาบาล เปนอาคารสูง 15 ชั้น ชั้นใตดิน 3 ชั้น และสรางครอม สถานีศริ ิราช โดยพื้นที่อาคารชั้น 1 และ 2 เปนพื้นที่ประโยชน ใชสอยของประชาชนที่ใชบริการสถานีศิริราช สวนชั้น 3-15 จะ เปนอาคารสําหรับการรักษาพยาบาล ประกอบไปดวย สวนพื้นที่ จอดรถ สวนพืน้ ทีบ่ ริการ สวนพืน้ ทีค่ ลินกิ /โรงพยาบาล สวนพืน้ ที่ หองพักผูปวย สวนระบบสนับสนุน และสวนพื้นที่เกี่ยวของกับ ระบบรถไฟฟา สามารถใหบริการผูปวยทั้งผูปวยนอก ผูปวยใน และผูปวยที่จําเปนตองมารับการทําหัตถการแบบ One Day Surgery ซึ่งหลังจากรับการผาตัดแลวสามารถเดินทางกลับได ทันที ทั้งนี้จะเรงดําเนินการในปลายป พ.ศ. 2562 เมื่อแลวเสร็จ จะสงผลใหประชาชนไดรับประโยชนและความสะดวกสบายทั้ง จากการเดินทางในระบบขนสงสาธารณะ และการบริการของ โรงพยาบาลศิริราชมากยิ่งขึ้น สําหรับรูปแบบการลงทุน ทาง รฟท.และ รฟม.จะเปน ผูออกแบบและลงทุนในสวนของสถานีที่จะเชื่อมกับโรงพยาบาล สวนการกอสรางอาคาร ทางโรงพยาบาลศิรริ าชจะเปนผูร บั ผิดชอบ โดยมีวงเงินลงทุนเบื้องตน 2,000 ลานบาท ขณะนี้ออกแบบเปน ทีเ่ รียบรอยแลว อยูร ะหวางดําเนินการขอรายงานประเมินผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม (EIA) คาดวาใชระยะเวลากอสรางอาคาร 3 ป นอกจากนีม้ กี ารจัดทําทางเดิน Sky Walk เพือ่ เชือ่ มทางเดินจาก อาคารใหมไปยังอาคารศิริราชเดิม รวมทั้งถนนอรุณอมรินทร ระยะทางกวา 100 เมตร เพื่อใหผูปวยไดรับความสะดวก “การกอสรางอาคารรักษาพยาบาลแหงนี้ นับเปนการบูรณาการ การใชประโยชนพื้นที่บริเวณสถานีศิริราชของโครงการระบบรถ ไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราช (ระดับพื้นดิน) ของการรถไฟแหงประเทศไทย และโครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวินทวงศ) (ระดับใตดิน) ของการ รถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย ในพืน้ ทีส่ ถานีรถไฟธนบุรี แนวสถานีและตัวอาคารทอดขนานไปกับคลองบางกอกนอย บริเวณปากคลองฝงทิศใต ดานขางวิหารหลวงพอโบสถนอย วัดอมรินทราราม” ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ กลาว

59

Engineering Today May - June

2019


Property • กองบรรณาธิการ

ธุรกิจวัสดุก อสร าง-อสังหาริมทรัพย เป ดกลยุทธ รับมือเศรษฐกิจป ’62

สู ยุคเปลี่ยนได “รายไตรมาส”

บรรยากาศงานเสวนาโดยผูบ ริหารในบริษทั อสังหาฯ ชัน้ นําและสถาบันการเงิน

วิทวัส พรกุล ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ดีคอนโปรดักส หรือ DCON

ป พ.ศ. 2562 ถือเปนปที่ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและธุรกิจ ทีเ่ กีย่ วของ เชน ธุรกิจวัสดุกอ สราง ตางจับตาถึงสถานการณของตลาด รวมอยางใกลชิด ดวยเปนปที่มีปจจัยตางๆ เปลี่ยนแปลงอยางมีนัย สําคัญ ในโอกาสที่ บริษัท ดีคอนโปรดักส จํากัด (มหาชน) หรือ DCON ผูผลิตแผนพื้นสําเร็จรูปและเสาเข็มบานพักอาศัยที่มีกําลังผลิตสูงสุดใน ประเทศไทย กวา 3 แสนตารางเมตรตอเดือน กําลังจะกาวเขาสูปที่ 23 จึงไดจดั งาน “Executive Dinner กาวสูป ท ี่ 23 DCON” โดยมีผบู ริหาร

Engineering Today May - June

2019

60

จากบริษัทอสังหาริมทรัพยชั้นนํากวา 300 คนเขารวมงาน พรอมทั้งมีเสวนาพิเศษในหัวขอ “เคล็ดลับในการบริหาร งานสูความสําเร็จและแผนการรับมือวิกฤติป’62” โดย มีเหลา “ผูบริหาร” จากบริษัทอสังหาริมทรัพยชั้นนําและ ภาคการเงินรวมแชรกลยุทธ รวมถึงการบรรยายเทรนดของ 3D Printing โดย ประธาน American Concrete Institute ที่ อ าจเข า มาส ง ผลต อ ความเปลี่ ย นแปลงในธุ ร กิ จ วั ส ดุ กอสรางและอสังหาริมทรัพย วิทวัส พรกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ดีคอนโปรดักส จํากัด (มหาชน) หรือ DCON กลาววา บริษัทฯ มีวิสัยทัศนในการเปน ผูผลิตวัสดุกอสรางและ พัฒนาอสังหาริมทรัพยชั้นนําของประเทศไทย โดยบริษัทฯ ไดแนวคิดมาจาก “การจะเปนพอครัวที่เกงได ตองเปน นักชิมที่เกง” บริษัทฯ จึงมุงมั่นศึกษา พัฒนา เพื่อให เกิดการขยายผลิตภัณฑและบริการใหมๆ อยางตอเนื่อง วิสัยทัศนและความมุงมั่นดังกลาว สงผลใหบริษัทฯ เขาใจ ความตองการของลูกคานักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ทั้ง ดานรูปลักษณ คุณภาพ และบริการ ถือเปนจุดเดนสําคัญ ที่ทําใหบริษัทฯ สามารถนั่งในหัวใจของลูกคา


ณัฐพงศ คุณากรวงศ ประธานเจ าหน าทีบ่ ริหาร บมจ. เอสซี แอสเสท คอร ปอเรชัน่

ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณ ภาคย รองประธานเจ าหน าทีบ่ ริหาร บมจ. เสนาดีเวลลอปเม นท

ในโอกาสการกาวสูปที่ 23 นี้ บริษัทไดจดทะเบียน จัดตั้งบริษัท ดีเอสซี โปรดักส จํากัด และเริ่มลงทุนกอสราง โรงงานพรีคาสท ที่ลําลูกกา คลอง 12 พรอมทั้งนําเขา เครื่องจักรที่ทันสมัยรุนลาสุดมาใช เพื่อใหมีความแมนยํา ในการตรวจสอบขนาดมิติตางๆ สูง โดยคาดวาโรงงานจะ เริ่มดําเนินการผลิตไดในชวงปลายไตรมาส 3 ของปนี้ ณัฐพงศ คุณากรวงศ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เอสซี แอสเสท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา ป พ.ศ. 2562-2563 เปนปทมี่ ี “ความไมแนนอน” เขามาเกี่ยวของหลายเรื่อง เชน ผูบริโภคจะกูเงินซื้อบาน ยากขึ้น และตองกูแพงขึ้น จากมาตรการคุม LTV และ

3D Printing เป นเทคโนโลยีใหม ที่กําลังเข ามามีบทบาทในการก อสร าง เนื่องจากมีข อดีที่แตกต างจาก เทคโนโลยีด านการก อสร างและ คอนกรีตประเภทอื่น เช น ช วยลด การใช แรงงานคน เหมาะสําหรับการ ก อสร างในสถานที่ที่อันตราย เชื่อว าจะเห็นความก าวหน าของ 3D Printing จนเริ่มมีอิทธิพล ในช วง 5 ป จากนี้ จากแนวโนมการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย รวมทั้งเรื่องการเลือกตั้งที่ทําให คนรอดูทิศทางของประเทศ ไปจนถึงเหตุการณสําคัญในตางประเทศ อยาง Trade War ระหวางสหรัฐอเมริกาและจีน ความเร็วของโลก ที่เปลี่ยนแปลงกันรวดเร็วมากขึ้น “ดวยบริบทตางๆ ไมแนนอนและเปลี่ยนแปลงเร็ว ปนี้เราจึง พยายามทําสามเรือ่ ง หนึง่ ปรับเปาตลอดเวลา ปรับแผนและปรับเปากัน เปนรายไตรมาส ไมใชรอกลางปคอยปรับ สอง มองโลกตามความเปน จริง คอนโดมิเนียมไมนาจะสามารถขายได 80-90% ทันทีที่เปดขาย เหมือนในอดีต และสาม สรางวัฒนธรรมใหมๆ ในองคกร นําเครื่องมือ บริหารเปาหมายแบบ Objective & Key Result หรือ OKR เขามาใช พยายามทําใหทุกอยางในองคกรขับเคลื่อนเร็วขึ้น” ณัฐพงศ กลาว นอกจากนี้ ยังพยายามปรับองคกรใหคนในองคกร “กลา” มากขึน้ โดยกล าที่จะเรียนรู กลาที่จะผิดพลาด แลวเปลี่ยนจากการนับวา ผิดพลาดกี่เรื่อง เปนไดเรียนรูกี่เรื่อง โยนสิ่งใหมๆ ลงไปเพื่อใหคนกลา ลองเสี่ยง ขณะเดียวกัน ยังคงใหความสําคัญกับเรื่องคุณภาพ เพราะ ไมวาโลกจะเปลี่ยนไปอยางไร แตสิ่งหนึ่งที่คนยังตองการเหมือนเดิม ในอีก 10 ปขางหนา ก็คือคุณภาพ ดาน ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย รองประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท เสนาดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) มองวา ในป พ.ศ. 2562 อาจยังไมถึงขั้นเปนปที่วิกฤตสําหรับภาคอสังหาริมทรัพย แตจะ

61

Engineering Today May - June

2019


เปนปที่เติบโตนอยลงจากหลากหลายปจจัย โดยปจจัยหนึ่งที่จะทําให เติ บโตได น  อ ยลง คือ ฝ  ง Demand หรื อ ผูบริโภค มี พฤติกรรมที่ เปลีย่ นแปลงไดเร็วจากปจจัยตางๆ ภายในเวลาไมกเี่ ดือน แตฝง Supply หรือผูประกอบการ กวาจะเปลี่ยนแปลงไดครั้งหนึ่งใชเวลาเปนป “ฝงผูประกอบการตองทําใหคนรูสึกวา การเปลี่ยนอะไรบอยๆ ไมใชเรื่องผิด เมื่อกอนความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากความไมมั่นใจใน ตัวเอง จึงเปลีย่ นไปเปลีย่ นมา แตตอนนีต้ รงกันขาม เพราะมัน่ ใจตางหาก วาบริบทตางๆ วันนี้เปลี่ยนแปลงไปแลว จึงตองเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา” ผศ. ดร.เกษรา กลาว ทัง้ นีส้ งิ่ ทีบ่ ริษทั “เลิกทํา” คือการตัง้ เปา 5 ป เพราะบริบททุกอยาง ในปจจุบันเปลี่ยนแปลงเร็วเกินกวาจะยึดเปา 5 ปไวได แตสิ่งที่บริษัท “หันมาทํา” คือการตั้ง “Small Goal” หรือเปาหมายยอยราว 5-6 ขอ ภายใตเปาหมายใหญในการทําแตละเรือ่ ง ขณะเดียวกัน ก็ใหความสําคัญ กับเรื่องคุณภาพและบริการหลังการขาย เพราะมองวาตอใหเทคโนโลยี หรือไลฟสไตลของคนจะเปลี่ยนแปลงมากเพียงใด แตบริการที่เกี่ยวของ กับคนก็ยังเปนเรื่องสําคัญ ประทีป ตั้งมติธรรม ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน) กลาววา วัฒนธรรมอยางหนึ่งของบริษัทคือ Dynamic และ Flexible เพื่อใหเกิดการปรับตัวสูสิ่งที่ดีกวา ขณะที่เคล็ดลับธุรกิจ ของศุภาลัย คือการขยายธุรกิจไปยังตางจังหวัด ทั้งในหัวเมืองใหญ และหัวเมืองรอง จนปจจุบันพัฒนาโครงการมาแลวเกือบ 20 จังหวัด ทั่วประเทศ อิสระ วงศรงุ รองผูอ าํ นวยการธนาคารออมสิน กลุม ลูกคาบุคคล กลาววา ภาคสถาบันการเงินไมไดมองวาป พ.ศ. 2562 จะเกิดวิกฤต เศรษฐกิจ สําหรับเรือ่ งอัตราดอกเบีย้ ทีจ่ ะกระทบตอภาคอสังหาริมทรัพย นั้น ประเมินวาอาจมีการปรับขึ้นในชวงปลายป แตก็ปรับขึ้นในอัตรา ที่ตํ่ามาก ดาน ศ.เดวิด แลงก ประธานสถาบันคอนกรีตอเมริกัน (ACI) หนวยงานดานมาตรฐานคอนกรีตของสหรัฐอเมริกาที่ไดรับการยอมรับ ระดับโลก กลาววา 3D Printing เปนเทคโนโลยีใหมที่กําลังเขามามี บทบาทในการกอสราง เนือ่ งจากมีขอ ดีทแี่ ตกตางจากเทคโนโลยีดา นการ กอสรางและคอนกรีตประเภทอื่น เชน ชวยลดการใชแรงงานคน เหมาะ สําหรับการกอสรางในสถานที่ที่อันตราย ปจจุบัน องคการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติ (นาซา) ของสหรัฐอเมริกา ไดจัดแขงขันเทคโนโลยี 3D Printing เปนประจํา เพื่อไปใชกอสรางบานบนดาวอังคาร ขณะที่การใชบนโลกนั้น เชื่อวา จะเห็นความกาวหนาของ 3D Printing จนเริ่มมีอิทธิพลในชวง 5 ป นับจากนี้

ประทีป ตัง้ มติธรรม ประธานกรรมการบริหาร บมจ.ศุภาลัย

อิสระ วงศ รง ุ รองผูอ าํ นวยการธนาคารออมสิน กลุม ลูกค าบุคคล

ศ.เดวิด แลงก ประธานสถาบันคอนกรีตอเมริกนั (ACI)

Engineering Today May - June

2019

62




CSR • ปตท.สผ.

เก็บตัวอย างดิน เพือ่ นําไปทดลองเลือกนําแบคทีเรีย Bacillus.ssp มาเพาะขยายจํานวน นําซังข าวโพดมาแปรรูปเป นถ าน โดยได รบั การสนับสนุนการเผาและการวิจยั จากคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม โจ

เยาวชน PTTEP Teenergy

พัฒนา “ถ านมีชีวิต” แก ป ญหานํ้าเสียในเชียงใหม

ปญหาหมอกควันในภาคเหนือเปนวาระแหงชาติมาตัง้ แต ป พ.ศ. 2550 เวลาผานไปมากวา 10 ปจนถึงปจจุบัน ปญหา ดังกลาวยังไมหมดไปและมีแนวโนมจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เว็บไซต AirVisual ซึ่งจัดอันดับคาดัชนีคุณภาพอากาศทั่วโลก (World AQI Ranking) เคยรายงานตัวเลขที่ระบุวาจังหวัด เชียงใหมมคี า ดัชนีคณ ุ ภาพอากาศ (AQI) ในบางชวงสูงกวาระดับ 100 แสดงถึ ง ความเข ม ข น ของมลพิ ษ ทางอากาศมี ค  า เกิ น มาตรฐาน และคุ ณ ภาพอากาศเริ่ ม มี ผ ลกระทบต อ สุ ข ภาพ อนามัยของประชาชน นอกจากปญหามลพิษทางอากาศแลว เชียงใหมยังตอง เผชิญกับมลพิษทางนํ้าที่กําลังทวีความรุนแรงขึ้นทุกวันอีกดวย สาเหตุมาจากการทิง้ ขยะลงในแมนาํ้ ลําคลอง ทําใหนาํ้ บริเวณรอบ คู เ มื อ งเชี ย งใหม มี ส าหร า ยสี เ ขี ย วขึ้ น เต็ ม ไปหมด จนนํ้ า ขาด ออกซิเจน สงผลใหปลาตายเปนจํานวนมาก ระบบนิเวศของนํ้า บริเวณรอบคูเมืองเสียหาย

ซังข าวโพดแปรรูปเป นถ านด วยวิธกี าร Pyrolysis คือการเผาแบบกึง่ อับอากาศ ซึง่ ไม กอ ให เกิดมลพิษ

เยาวชนในทองถิ่นกลุมหนึ่งมองเห็นปญหาดังกลาวและ ไมนิ่งดูดาย ตองการเขามาชวยลดปญหาที่เกิดขึ้น จนเกิดเปน โครงการ “ถานมีชีวิต” เพื่อแกปญหามลพิษอยางยั่งยืน โดย นิพัทธา กาพยตุม หรือ นองปนไพร โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จ.เชียงใหม เลาใหฟงวา อยูที่นี่ เกิดที่นี่ ไดเห็นปญหามลพิษ ในเชี ย งใหมม านานแล ว ป ญ หานํ้ า เนา ในคู เ มื อ งเกิ ด ขึ้ น ทุ ก ป จึงอยากใหเมืองของหนูมีมลพิษนอยลงและนาอยูมากขึ้น เพราะ ถาเชียงใหมอากาศดี นํ้าในคูคลองสะอาด มลพิษนอยลงแลว

65

Engineering Today May - June

2019


ตัวอย างถ านซังข าวโพด ที่ได แปรรูปด วยวิธกี าร Pyrolysis คือการเผาแบบกึง่ อับอากาศ

นําถ านซังข าวโพดมาใช เพาะปลูก ปรากฏว าพืชเจริญเติบโตได ดี เพราะอุดมไปด วยแบคทีเรียทีม่ ปี ระโยชน ตอ พืช

นักทองเทีย่ วก็จะประทับใจและมาเทีย่ วมากขึน้ เศรษฐกิจและชีวติ ความเปนอยูของคนในเมืองเชียงใหมก็จะดีขึ้นดวย หลังจากที่นิพัทธา และเพื่อนไดมีโอกาสเขาคายโครงการ PTTEP Teenergy ของ ปตท.สผ. และเขารวมกิจกรรมเวิรกช็อป ภายใตแนวคิดเปลี่ยนเพื่อโลก (Change for Climate) จึงไดคิด พัฒนาและนําเสนอโครงการ “ถานมีชีวิต” รวมกับเพื่อนๆ ซึ่ง โครงการนี้เปน 1 ใน 10 โครงการที่ไดรับคัดเลือกใหไดรับทุน สนับสนุนจาก คาย PTTEP Teenergy ภายหลังจากทีไ่ ดรบั ทุนนิพทั ธา และเพือ่ นก็ไดคน ควาศึกษา งานวิจัยตางๆ จนพบวาภาคเหนือมีการปลูกขาวโพดจํานวนมาก แตซังขาวโพดที่เหลือจากการสีเมล็ดขาวโพดออกไปกลับถูกทิ้ง อยางไรประโยชน จึงเกิดความคิดนําซังขาวโพดมาแปรรูปเปนถาน ดวยวิธีการทางเคมี โดยการเผาแบบกึ่งอับอากาศหรือสภาวะไร อากาศ (Pyrolysis) ซึง่ ไมกอ ใหเกิดมลพิษ โดยไดรบั การสนับสนุน การเผาและการศึกษาวิจัยจากคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ เมือ่ เห็นสภาพนํา้ ในคูเมืองเชียงใหมเนาเสีย จึงพยายามหา วิธีการที่จะแกปญหา ซึ่งนิพัทธา และเพื่อนไดสังเกตเห็นวา ใน ขณะที่นํ้าบริเวณคูเมืองเชียงใหมเต็มไปดวยสาหรายสีเขียวแกม นํา้ เงิน แตตะกอนดินบริเวณหนาโรงเรียนกลับไมมสี าหรายสีเขียว แกมนํ้าเงินอยูเลย จึงไดนําตะกอนดังกลาวเขาไปศึกษาในหอง ทดลอง และพบวาในดินดังกลาวมีแบคทีเรียสายพันธุบาซิลลัส (Bacillus.spp) อยูจ าํ นวนมาก และแบคทีเรียสายพันธุบ าซิลลัสนี้ สามารถกําจัดสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ซึ่งนอกจากจะเปน

Engineering Today May - June

2019

66

สาหรายที่ทําใหเกิดนํ้าเสียแลว ยังเปนสาหรายที่ผลิตสารพิษ ไมโครซิสติน ซึ่งเปนสารที่กอใหเกิดตับอักเสบและเรงการเกิด มะเร็งของตับ นอกจากจะมีผลกับคนแลว พิษของสาหรายชนิดนี้ ยังมีผลโดยตรงตอสัตวนํ้าหรือสัตวบกที่ไปบริโภคนํ้าที่มีสาหราย ชนิดนี้ดวย ดังนัน้ หากจะกําจัดสาหรายสีเขียวแกมนํา้ เงินทีเ่ ปนตนเหตุ ใหเกิดนํ้าเสียก็จะตองเพิ่มปริมาณแบคทีเรียสายพันธุบาซิลลัส นิพัทธา และทีมงานจึงนําซังขาวโพดที่เผาในสภาวะไรอากาศ แลวกลายเปนถานจากซังขาวโพดมีลักษณะเปนเม็ดเล็กๆ และ มีรพู รุนจํานวนมาก อีกทัง้ มีสารอาหารทีท่ าํ ใหเชือ้ แบคทีเรียเติบโต ไดดี มาทําการเพาะเพื่อเพิ่มจํานวนแบคทีเรียสายพันธุบาซิลลัส เมือ่ ทดลองพบวาแบคทีเรียสายพันธุบ าซิลลัสเติบโตไดดใี น ถานทีผ่ ลิตจากซังขาวโพด และสามารถนําไปกําจัดสาหรายสีเขียว แกมนํา้ เงินไดอยางแนนอนแลว จึงทําการทดลองเพิม่ เติมใหแนใจ โดยนําถานที่เพาะเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งทีมงานเรียกวา “ถานมีชีวิต” เพราะมีแบคทีเรียซึ่งจัดเปนสิ่งมีชีวิตจํานวนมากเติบโตอยูในนั้น นองๆ ไดทดลองนําถานมีชวี ติ บรรจุในขวดพลาสติกเหลือใช แลวนํา ไปจุมแชในนํ้าตัวอยางที่นํามาจากบริเวณรอบคูเมืองเชียงใหมใน หองทดลอง พบวาการวางทิง้ ไว 5 วัน แบคทีเรียสายพันธุบ าซิลลัส สามารถกําจัดสาหรายสีเขียวแกมนํา้ เงินไดหมด โดยไมเกิดนํา้ เนาเสีย หลังจากใชถานมีชีวิตดังกลาวบําบัดนํ้าเสียเรียบรอยแลว ยังสามารถนําไปบดทําเปนปุยสําหรับปลูกพืชตอไปไดอีกดวย และจากการทดลองปลูกพืช ก็พบวาไดผลเปนทีน่ า พอใจ พืชเจริญ เติ บ โตได ดี เ พราะถ า นซั ง ข า วโพดอุ ด มไปด ว ยแบคที เ รี ย ที่ มี ประโยชนตอพืช ในอนาคต ทีมงานมีแนวคิดจะตอยอดโครงการ โดยนํา ถานมีชวี ติ ทีผ่ ลิตไดไปทดลองใชจริงสําหรับการบําบัดนํา้ บริเวณ รอบคูเมืองเชียงใหมและจะนําผลการทดลองไปเผยแพรใน ชุ ม ชนใกล เ คี ย งหรื อ ชุ ม ชนในบริ เ วณที่ มี ป  ญ หานํ้ า เน า เสี ย หากไดรับความรวมมือจากชุมชนที่สนใจ เชื่อวาโครงการถาน มีชีวิตนี้จะเปนอีกหนึ่งโครงการที่สามารถชวยแกปญหามลพิษ ในเมืองเชียงใหมไดตอไป



Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

คู มือของผู ประกอบการ ในการสตาร ท อั พ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf ) เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

เทคโนโลยีสามารถสรางนวัตกรรมใหมๆใหเขามามีสวน ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ประจํ า วั น มากขึ้ น กว า สมั ย ก อ น มี ก าร เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากมาย ทั้งในดานกิจวัตรประจําวันที่ตองใช เทคโนโลยีและอินเทอรเน็ตเขามาชวย รวมไปถึงการประกอบ อาชีพ การดําเนินธุรกิจ ผูประกอบการจะตองปรับตัวใหทันกับ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อยางรวดเร็ว การเปลีย่ นแปลงโลกธุรกิจ อยางมากในศตวรรษที่ 21 เปนอีกสาเหตุสาํ คัญทีท่ าํ ใหธรุ กิจตอง มีการปรับตัวหรือคิดวิธีใหมๆเพื่อตอบสนองตอความตองการ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป บริบทการแขงขันทางธุรกิจของตลาดในประเทศ และตลาดโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลง และในยุคนีเ้ ราจะไดยนิ คนรุน ใหมๆ ทั้งที่กําลังจบการศึกษาและที่กําลังทํางานประจําพูดใหไดยิน อยูเ สมอวาการเปนเจาของธุรกิจเปนอาชีพในฝนทีอ่ ยากทําเพราะ นอกจากจะไดเปนเจานายตัวเองแลว ยังมีอิสระในการทํางาน หารายไดดวยฝมือตัวเอง อยางไรก็ตาม การจะเปนเจาของธุรกิจ ทีเ่ ขมแข็งอยูร อดไดจนประสบความสําเร็จนัน้ จําเปนทีผ่ ปู ระกอบการ ตองมีความรูความเขาใจในการทําธุร กิจเปนอยางดีเสียกอน โดยเฉพาะ ธุรกิจสตารทอัพ ในบทนีจ้ ะเปนการศึกษาแนวทางการทํา Business Model และแนวทางการทํา Startup สรางจุดเริ่มตนของการทําธุรกิจ แนวใหม เพื่อกลาเปลี่ยนทิศทางของบริษัทเพื่อหาโมเดลธุรกิจ ที่เหมาะสมจากหนังสือคูมือของผูประกอบการในการสตารทอัพ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf)

Engineering Today May - June

2019

68

สตีฟ แบลงค (Steve Blank) ผูเชี่ยวชาญเรื่อง Customer Development และ Lean Startup Method ซึง่ เปนผูเ ขียนหนังสือ The Four Steps to the Epiphany ซึ่งเปนหนังสือที่สรางไอเดีย เรือ่ ง Lean startup ขึ้นมาเลมแรก และไดเขียนหนังสือทีเ่ ปนคูม อื ผูประกอบการในการสตารทอัพที่ชื่อวา The Startup Owner’s Manual ไดเนนหัวใจสําคัญของ “สตารทอัพ” อยูที่ “โมเดลธุรกิจ (Business Model)” แต Steve Blank เนนยํ้าวา “สตารทอัพ” ตองการหาโมเดลธุรกิจที่ Repeatable และ Scalable นั่นคือ โมเดลธุรกิจนั้นสามารถสรางกําไรไดเรื่อยๆ เพิ่ม ผูใชไดเรื่อยๆ (Repeatable) และสามารถเติบโตขึน้ ไดอยางรวดเร็วภายในเวลา อันสัน้ และกลายเปนบริษทั ขนาดใหญ (Scalable) การทีจ่ ะเติบโต อยางรวดเร็ว (High Growth Rate) และกลายเปนบริษทั ขนาดใหญ อยางนัน้ ไดในปจจุบนั ก็คอื ตองหาลูกคาใหมจี าํ นวนมหาศาล โดย เฉพาะอยางยิ่งในลักษณะของการผานระบบออนไลนในปจจุบัน

หนังสือคูม อื ของผูป ระกอบการในการสตาร ทอัพ (Book Review) แนวคิดของคูมือการเริ่มตนของเจาของ มีการออกแบบ หนาปกหนังสือเพื่อใหเปนสื่อวาสาระสําคัญของมันเปนเหมือน คูมือในการซอมเครื่องจักรกลของนายชางที่แสดงทุกชิ้นสวน องคประกอบใหเห็นภาพและขั้นตอน จึงเปนสื่อสําหรับเจาของ กิจการในการเริ่มตนสตารทอัพ ในหนังสือเลมนี้ Steve Blank


และ Bob Dorf ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับงานทั้งหมด (และ ความสนุกสนาน) ที่ตองเกิดขึ้นกอนเปดตัวผลิตภัณฑสตารทอัพ ดวยขอมูลมากมายจึงเปนหนังสือเลมใหญ ในความเปนจริงขนาด อาจเปนวิธที มี่ ลี กั ษณะคลายกับคูม อื อัตโนมัตมิ ากในทีส่ ดุ อยาอาน ทีละมากเกินไป “Don’t Read Too Much at a Time” โดยขอแมนี้ ปรากฏขึ้นกอนที่หนังสือจะเริ่มตนในการศึกษา ใหศึกษาเปน ขัน้ เปนตอนอยางละเอียดตามหนาปกหนังสิอ “The Step-by-Step Guide for Building a Great Company” เพื่อสื่อสารใหรูวา หนังสือเลมนี้เปนการแนะนําในเชิงรายละเอียด ซึ่งตองใชเวลา ในการศึกษาทีละขั้นตอน อยามากเกินไปในเวลาเดียว

เริม่ ต นศึกษาสตาร ทอัพ (Getting Started) ผูเ ขียนเตือนเราวากระบวนการการเปดตัวผลิตภัณฑเกานัน้ ผิดทั้งหมดสําหรับการเริ่มตน กระบวนการดังกลาวเหมาะสม เมื่อลูกคารูจักและมีการกําหนดตลาดอยางดี นี่ไมใชกรณีสําหรับ Startups ในหนังสือยังใหความสําคัญในเรื่องการพัฒนาลูกคา (Customer Development) เปนอยางยิ่งสําหรับการเริ่มตนและ มีหลายขั้นตอนในกรอบงาน ดังนี้ 1. การคนพบลูกคา Customer Discovery: พัฒนา สมมติฐานและทดสอบกับลูกคา 2. การตรวจสอบลูกคา Customer Validation: ทดสอบ การขายดูวา ผูค นจะซือ้ จริงหรือไม และดูวา คุณสามารถขยายขนาด ตามความตองการของลูกคา 3. การสรางลูกคา Customer Creation: ขนาดของการ ตลาดและความตองการ 4. การสรางบริษัท Company Building: การเปลี่ยนไปใช องคกรที่ยั่งยืน (Transition to a Sustainable Enterprise) ในแตละขั้นตอนคือการทําซํ้าและสามารถทําซํ้าไดตาม ตองการ นอกจากนี้ ณ จุดใดๆ อาจมีการเปลีย่ นแปลงหรือเปลีย่ น กลยุทธ และตองใชความพยายามเปนที่สุดใหผานจุดของความ ลมเหลวใหได ก็ไมเปนไร-มันไมใชความลมเหลว (That’s OK-it’s Not a Failure.) Steve Blank ไดกลาวไว “Startup ควรมุงหาโมเดลธุรกิจ มากกว า การลงมื อ ปฏิ บั ติ ต ามแผนธุ ร กิ จ ” นั้ น หมายความว า Startup การพัฒนาลูกคา (Customer Development) คือการ หาแนวทางใหมเพื่อการตอบสนองความตองการของลูกคาที่มี การเปลี่ยนแปลง หรือเพื่อการสรางความไดเปรียบทางการคาใน เมือ่ คูแ ขงมีความสามารถทีม่ ากขึน้ หรือเกิดคูแ ขงรายใหมทมี่ าแรง เป น การสร า งแบบจํ า ลองทางความคิ ด เพื่ อ การพั ฒนาลู ก ค า ใหเหนือกวาและตอบสนองความตองการที่โดนใจลูกคามากกวา

ที่เคยคิด สรางแนวคิดและเสนทางการดําเนินการสรางธุรกิจได อยางชัดเจนมากขึ้น

ขัน้ ตอนทีห่ นึง่ : การค นพบลูกค า (Step One: Customer Discovery) Steve Blank ไดอธิบายวา คุณตองเขาใจลูกคาของคุณ อยาตัง้ สมมติฐานเกีย่ วกับพวกเขา หนึง่ ในคะแนนสุดทายที่ Blank และ Dorf ทํา (เชนเดียวกับคนอืน่ ๆ ) คือลูกคาไมไดอยูใ นทีท่ าํ งาน ในการทีจ่ ะพบพวกเขาในระดับของพวกเขา คุณตองออกจากอาคาร “Get Out of the Building.” สตารทอัพควรตั้งเปาที่จะพัฒนาผลิตภัณฑแรกสําหรับ ตลาดเปาหมายขนาดเล็กผานผลิตภัณฑขั้นตํ่า (a Small Target Market Via a Minimum Viable Product :: MVP) เปาหมาย ของ MVP คือการนําผลิตภัณฑออกมาทดสอบปรับทั้งสองสิ่ง ใหเขากัน (Early Adapters) เพื่อใหการออก MVP บังคับให นักพัฒนาใหความสําคัญกับคุณสมบัติที่สําคัญ ไมใชเสียงระฆัง และเสียงดัง ผลิตภัณฑสามารถปรับปรุงไดเมื่อมีขอเสนอแนะ จากลูกคา การวางแผนโมเดลธุรกิจ: ผูเขียนแนะนํา Canvas Model Business (วางในการสรางโมเดลธุรกิจของ Alexander Osterwalder) เปนเครื่องมือที่ดีในการชวยอธิบายวิธีที่บริษัทวางแผนทําเงิน มีสวนประกอบจํานวนมากใน Canvas:

1

. Value Proposition Hypothesis : สมมติฐานของ ข อ เสนอมู ล ค า : รวมถึ ง การมองเห็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ

คุณลักษณะและประโยชนและคําอธิบายของจํานวนคุณลักษณะ ที่นอยที่สุดที่จะใชในการทําผลิตภัณฑแบบสแตนดอโลน (เชน MVP) ตลอดเสนทางบนเว็บ/มือถือ MVP ที่มีความเที่ยงตรงตํ่า จะใชในการทดสอบวาคุณไดระบุปญหาที่คนสนใจหรือไมและ ใชเรื่องราวของผูใชแทนรายการคุณลักษณะ . Customer Segments: กลุ มลูกค า: รวมถึงปญหา ลูกคาความตองการหรือความสนใจ; ประเภทลูกคา (เชนผูใชปลายทางผูมีอิทธิพลผูแนะนําผูซื้อ ฯลฯ) ตนแบบลูกคา ทีแ่ สดงหนึง่ วันในชีวติ ของลูกคากับความตองการอะไร และรวมถึง องคกรลูกคาและแผนงาน . Channels Hypothesis: สมมติฐานช องทาง: สําหรับ ผลิตภัณฑทางกายภาพนีร้ วมถึงคําอธิบายของวิธกี าร ที่ไดรับผลิตภัณฑใหกับลูกคา คิดเกี่ยวกับความเหมาะสมของ ชองสําหรับผลิตภัณฑของคุณ และผูเ ขียนแนะนําใหผทู เี่ พิง่ เริม่ ตน เลือกชองทางเดียวทีม่ ศี กั ยภาพมากทีส่ ดุ สําหรับผลิตภัณฑของคุณ สําหรับผลิตภัณฑเว็บ/มือถือใหพิจารณาขอดีและขอเสียของ ชองตางๆ

2

3

69

Engineering Today May - June

2019


4

. Market-Type and Competitive Hypothesis: ประเภทของตลาดและสมมติฐานการแข งขัน: อธิบาย

ตลาดที่ เ หมาะกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ : ตลาดที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น , ตลาดใหม , การขยายตลาดทีม่ อี ยู, การแบงสวนอีกครัง้ และอืน่ ๆ เมือ่ คุณรูจ กั ตลาดคุ ณ จะรู  อ ะไรเกี่ ย วกั บ การแข ง ขั น และคุ ณ สามารถเห็ น และสรางใหเกิดขึ้นกับแผนเบื้องตนสําหรับการเขาถึงชองทาง ของลูกคา

5

. Customer Relationships Hypothesis: สมมติฐาน ของความสัมพันธ กับลูกค า: อธิบายวาคุณจะไดรับ

รักษา และเติบโตกับลูกคาอยางไร สําหรับผลิตภัณฑทางกายภาพ มี 4 ขั้นตอน (Awareness, Interest, Consideration, and Purchase การรับรู ความสนใจ การพิจารณา และการจัดซื้อ วางแผนกลยุทธ “รับ” ทีแ่ ตกตางกันและทดสอบพวกเขา โปรแกรม การเก็บขอมูลลูกคาเขามามีบทบาทในชวง “รักษา” (Keep Phase) และระยะ “เติบโต” (Grow Phase) มุงเนนไปที่การขาย สิ่งของเพิ่มเติมใหกับลูกคาที่มีอยู สําหรับผลิตภัณฑเว็บ/มือถือ เฟส “รับ” มีสองขั้นตอนคือรับและเปดใชงานซึ่งวนกลับมาเอง ขัน้ ตอน“ Keep” อาจเกีย่ วของกับโปรแกรมการเก็บขอมูลเดียวกัน กับผลิตภัณฑทางกายภาพ แตอาจรวมถึงสวนประกอบตางๆ เชน อีเมลการสนับสนุนดิจิทัลเปนตนขั้นตอน “Grow” เกี่ยวของกับ การดึงดูดลูกคาปจจุบันใหใชจายมากขึ้นหรือนําลูกคารายอื่นมา ที่ผลิตภัณฑ

6

. Key Resources Hypothesis: สมมติฐานของ แหล งข อมูลสําคัญ: อธิบายทรัพยากรทางกายภาพ

การเงินมนุษยและทรัพยสินทางปญญา องคประกอบนี้ยังรวมถึง การวิเคราะหการพึง่ พา: ทุกสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ทีบ่ ริษทั ไมสามารถควบคุม ไดและอะไรคือความเสีย่ งหากสิง่ ทีค่ ณ ุ ตองพึง่ พาสุดทายลมเหลว แผนฉุกเฉินมีความสําคัญที่นี่

7 8

. Partners Hypothesis: สมมติฐานของพันธมิตร:

เกี่ ย วข อ งกั บ การแสดงรายชื่ อ พั น ธมิ ต รหรื อ คู  ค  า ทั้งหมดที่คุณตองการและระบุสิ่งที่คุณตองการจากพวกเขาและ สิ่งที่พวกเขาจะไดรับในการแลกเปลี่ยนกันทางธุรกิจ

. Revenue and Pricing Hypothesis: สมมติฐาน รายรับและการกําหนดราคา: รวมคําถามตอไปนี้:

1) เราจะขายสินคากีร่ ายการ? 2) รูปแบบรายไดคอื อะไร 3) เราจะ เรียกเก็บเงินเทาไหร? และ 4) มีหลักฐานวาสิง่ นีค้ มุ คาทีจ่ ะติดตาม หรือไม? ใชเครือ่ งมือนีน้ อกเหนือจากแผนเพียงครัง้ เดียวและอัพเดต สัปดาหละครั้ง เมื่อเวลาผานไปคุณจะมีประวัติวิวัฒนาการของ บริษัท การวางแผนโมเดลธุรกิจ: Steve Blank แนะนําใหศึกษา คือ Canvas Model Business (วางในการสรางโมเดลธุรกิจของ

Engineering Today May - June

2019

70

Alexander Osterwalder) เปนเครือ่ งมือทีด่ ใี นการชวยอธิบายวิธี ที่บริษัทวางแผนทําเงิน มีสวนประกอบจํานวนมากใน Canvas Model Business ซึ่งอธิบายแนวคิดทางธุรกิจ 9 ขั้นตอนผาน แผนภูมิธุรกิจ ที่สามารถเขาใจไดงายและมองเห็นองคประกอบ ทางธุรกิจไดอยางดีเยี่ยม Size of the Market: ขนาดของตลาด: เมื่อพูดถึงการ ประเมินขนาดของตลาดของคุณวิธีคิดอยางหนึ่งคือ : • Total Addressable Market (TAM): ตําแหนงทางการ ตลาดในภาพรวม ใหมองเห็นจักรวาลทีผ่ ลิตภัณฑของคุณอาศัยอยู • Served Available Market (SAM) ตลาดที่ใหบริการ (SAM): ผูที่สามารถเขาถึงไดผานชองทางการขายของคุณ • Target Market ตลาดเปาหมาย: ผูที่เปนลูกคาของคุณ มากที่สุด คุณตองทําวิจัยที่นี่ โดยดูจากรายงานอุตสาหกรรม ขาว ประชาสัมพันธ หองสมุด ที่ใดก็ไดที่คุณสามารถรับตัวชี้วัดที่ ชวยคุณวัดขนาดของตลาดที่เปนการนําเสนอจากแหลงขอมูลที่ น า เชื่ อ ถื อ ได จ ะเป น การยากที่ จ ะประเมิ น ตลาดใหม ดั ง นั้ น ลองพิจารณาตลาดที่อยูติดกันและดูวาคุณสามารถหาบริษัทที่ เทียบเคียงไดหรือไม Testing Customer’s Problems: การทดสอบปญหา ุ ทํางานเพือ่ คนหาปญหา ของลูกคา : คุณตองออกจากอาคารทีค่ ณ ที่เกิดขึ้นกับลูกคา • How Well You Understand the Customers’ Problem: คุณเขาใจปญหาของลูกคาไดดีเพียงใด • How Important the Problem ปญหาสําคัญเพียงใด สําหรับลูกคาและจํานวนลูกคาที่พูดถึง • If the Customers Care Enough หากลูกคาใสใจมาก พอที่จะบอกเพื่อนๆ ในวงกวางของกระบวนการคนพบปญหา (the Problem Discovery Process) ประกอบด ว ย 5 ขั้ น ตอนต อ ไปนี้ (และหมายเหตุ: กระบวนการนีท้ าํ งานไดเร็วขึน้ สําหรับผลิตภัณฑ เว็บ/มือถือมากกวาผลิตภัณฑทางกายภาพ) Design Experiments for Customer Tests: การ ออกแบบการทดลองสําหรับการทดสอบลูกคา: การทดสอบ สั้น/งายผานวัตถุประสงค/ไมผานซึ่งมีเปาหมายไมใชเพียงการ รวบรวมขอมูล แตยังไดรับขอมูลเชิงลึกอีกดวย Get ready for Customer Contact: เตรียมพรอมสําหรับ การติดตอกับลูกคา: สําหรับผลิตภัณฑทางกายภาพติดตอลูกคา ที่มีศักยภาพที่คุณสามารถทดสอบความคิดของคุณใน สําหรับ ผลิตภัณฑเว็บ/มือถือสิ่งนี้เกี่ยวของกับการพัฒนา MVP ที่มี ความเทีย่ งตรงตํา่ ซึง่ อาจเปนเรือ่ งงายเหมือนโบรชัวรหรือหนาเว็บ


ที่ระบุปญหาแสดงใหผูคนเห็นถึงวิธีการแกปญหาของคุณ

ธงสีแดงขนาดใหญ!

ทดสอบวาลูกคารับรูปญหาไดอยางไร: การนําเสนอปญหา (ไมใช การสาธิตผลิตภัณฑ) สําหรับผลิตภัณฑทางกายภาพที่แสดง ใหเห็นความเขาใจของคุณเกีย่ วกับปญหาและแนวทางแกไขทีเ่ สนอ ของคุณ สําหรับผลิตภัณฑเว็บ/มือถือ นี่คือที่คุณทดสอบ MVP ความเที่ ย งตรงตํ่ า ของคุ ณ ตรวจสอบสมมติ ฐ านของคุ ณ และ สมมติฐานทั้งหมดของคุณเกี่ยวกับลูกคา Understand Customers: ทําความเขาใจกับลูกคา: สิ่งนี้เปนมากกวาแคการตรวจสอบสมมติฐานเกี่ยวกับปญหาของ ลูกคา มันสรางความเขาใจวาลูกคาไปเกี่ยวกับวัน/ชีวิตของพวก เขาและพวกเขาเปนอยางไร (หรือไมเปนไปตามกรณี) การแก ปญหาในปจจุบัน

การดีที่จะไดรับความชวยเหลือจากภายนอก Verifying the Business Model: การตรวจสอบรูปแบบ ธุรกิจ: ยังไมเปดตัวขั้นตอนการคนพบลูกคาในชวงนี้เกี่ยวของกับ การตอบคําถามสําคัญ 3 ขอ: Have you Found Product-Market Fit? (คุณพบตลาด สินคาพอดีหรือไม?) คุณตองแนใจวาผลิตภัณฑของคุณเหมาะสม กับตลาด ทีเ่ ปนสิง่ ทีผ่ คู นจํานวนมากตองการหรือไมมนั แกปญ  หา ไดดีแคไหนที่จะแกปญหา? มีคนกี่คนที่จะซื้อของนี้

Test How Customers Perceive the Problem:

Get information on the Market and Competition:

รับขอมูลเกี่ยวกับการตลาดและการแขงขัน: การทําความเขาใจ กับสภาพแวดลอมที่มีการใช งานผลิตภัณฑทางกายภาพอาจ เกีย่ วของกับการไปดูงานแสดงสินคาการประชุมการแขงขันอาหาร กลางวันของคูแขง ฯลฯ เครื่องมือเหลานี้ใชไดกับผลิตภัณฑ เว็บ/มือถือ เชนเดียวกับเครื่องมือวัดปริมาณการใชงาน เชน Alexa แนะนํ า เพิ่ ม ให ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม การวิ เ คราะห คู  แ ข ง ขั น (Competitive Advantage Analysis) พลังการแขงขันธุรกิจ 5 ประการ Testing Your Solution: การทดสอบโซลูชั่นของคุณ: การติดตามการทดสอบปญหาลูกคาระยะนี้ทดสอบวิธีแกปญหา และรายละเอียดผูเขียน 5 ขั้นตอนที่นี่ Update the Business Model and Team: อัพเดต โมเดลธุรกิจและทีม: ดูวาขอมูลใหมเหมาะสมกับสมมติฐานเกา และตัดสินใจวาจําเปนตองเปลีย่ นกลยุทธ (เดือย) หรือดําเนินการ ตอหรือไม นีเ่ ปนเวลาทีจ่ ะแบงปนสิง่ ทีค่ ณ ุ ไดเรียนรูเ กีย่ วกับลูกคา ดวยการจัดการระดับสูงและนักลงทุน Create a Product Solution Presentation สรางการนํา เสนอโซลูชั่น ผลิตภัณฑ (ทางกายภาพ) หรือการทดสอบ MVP ที่มีความเที่ยงตรงสูง (เว็บ/มือถือ) Test the Product Solution: ทดสอบโซลูชั่นผลิตภัณฑ: ดู ว  า ลู ก ค า คิ ด อย า งไรโดยถามพวกเขาเกี่ ย วกั บ ทุ ก สิ่ ง รวมถึ ง คุ ณ สมบั ติ ช  อ งทาง ฯลฯ และสํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ ว็ บ /มื อ ถื อ วัดพฤติกรรมของลูกคา Update the Business Model อัพเดตโมเดลธุรกิจ (yes/again): ใชสิ่งที่คุณไดเรียนรูจากการทดสอบโซลูชั่นอัพเดต โมเดลธุรกิจและตัดสินใจ (ใชอีกครั้ง) วาจะหมุนหรือดําเนินการ ต อ ความกระตื อ รื อ ร น ของลู ก ค า ในระดั บ ตํ่ า ในขั้ น ตอนนี้ เ ป น

Find Board Members: คนหาสมาชิกในบอรด: เปน

Who are Your Customers and How Do You reach them? ลูกคาของคุณคือใครและคุณเขาถึงพวกเขาอยางไร Can you Make Money and Grow the Company?

คุณสามารถทําเงินและขยายบริษัทไดหรือไม? คุณคิดออกวาการ แกปญหาของคุณเปนขอเสนอที่ชนะ การสรางตัวเลขเองจากฐาน ขอมูลวิจัย และทําการประมาณคราวๆ เพื่อดูวามีโอกาสที่คุณ สามารถทําเงินกับผลิตภัณฑใหมของคุณหรือไม กระบวนการดังกลาว จะทําใหคณ ุ เดาไดวา ณ จุดนีค้ ณ ุ ควร หยุดอีกครั้งและตัดสินใจวาจะหมุนหรือดําเนินการตอ (to Pivot or Proceed) ในการดําเนินการตอไปอยางไร ที่ ก ล า วมาทั้ ง หมดนี้ ยั ง เปน ขั้ น ตอนที่ ห นึ่ ง จากหนั ง สื อ หนังสือคูมือของผูประกอบการในการสตารทอัพ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf ) และบทนํา ที่กลาวไววา อยาอานทีละมากเกินไป “Don’t Read Too Much at a Time” การศึกษาฐานขอมูลลูกคาและนํามาลงในแบบจําลอง แผนธุ ร กิ จ จะต อ งมี ก ารทํ า และทดสอบ-ปรั บ ข อ มู ล -แก ไ ข เสียงสะทอนจากลูกคา-และทําและทดสอบอีกหลายๆ ครั้ง ซึ่ง ผูประกอบการ หรือสตารทอัพหนาใหมจะไมทิ้งความพยายาม ที่จะทําการพัฒนาลูกคา (Customer Development) โดยการ วางแผนและดําเนินตามตามโมเดลธุรกิจ Business Model Canvas (BMC) โดยประเมินขนาดของตลาด Size of the Market Testing Customer’s Problems: จากการหาตลาดจากปญหา ที่เกิดขึ้นกับลูกคาและการทดสอบปญหาของลูกคา Testing Customer’s Problems: ใหไดปญหาของลูกคาที่แทจริงและ มีจํานวนมากที่เกิดขึ้น โดยใชกระบวนการคนพบปญหา (the Problem Discovery Process) และสามารถสรางแบบจําลอง ทางธุรกิจ (Business Model) เพื่อการทดสอบหรือจําลองการ ทํากอนการลงมือทําจริงดวย แบบ Testing Your Solution: การทดสอบโซลูชั่นของคุณ ใหเกิดความแนใจจริงๆ แลวพบกัน ในบทสรุปฉบับตอไปครับ

71

Engineering Today May - June

2019


Energy Today • กองบรรณาธิการ การติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ าพลังงานแสงอาทิตย บนอาคารสํานักงาน โครงการซัมเมอร ลาซาล ผลิตไฟฟ ากว า 460,000 กิโลวัตต -ชัว่ โมง

ป ตภิ ทั ร บุรี (ที่ 2 จากซ าย) เอ็มดี บริษทั ภิรชั แมนเนจเม นท จํากัด จับมือเป นพันธมิตรกับ กนกวรรณ จิตต ชอบธรรม (ที่ 2 จากขวา) เอ็มดี บริษทั บ านปู อินฟ เนอร จี จํากัด

ภิรัชบุรจี ับมือบ านปูฯ ติดตั้งโซลาร รูฟท็อป ในโครงการซัมเมอร ลาซาล

คาดประหยัดพลังงานป ละกว า 1.8 ล านบาท

เมือ่ เร็วๆ นี้ กลุม บริษทั ภิรชั บุรี ผูพ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชย ระดับคุณภาพ โดย ปติภัทร บุรี กรรมการผูจัดการ บริษัท ภิรัช แมนเนจเมนท จํากัด ภายใต กลุม บริษทั ภิรชั บุรี รวมลงนามเซ็นสัญญา กับ กนกวรรณ จิตตชอบธรรม กรรมการผูจัดการ บริษัท บานปู อินฟเนอรจี จํากัด หนึง่ ในบริษทั ลูกของ บริษทั บานปู จํากัด (มหาชน) ผูนําธุรกิจดานพลังงานแบบครบวงจรแหงเอเชียแปซิฟก เพื่อติดตั้ง ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย หรือโซลารรูฟท็อปแบบครบวงจร ด ว ยเทคโนโลยี ก ารติ ด ตั้ ง และอุ ป กรณ ที่ ทั น สมั ย ได ม าตรฐานสากล ทีแ่ ปลงพลังงานแสงอาทิตยไปเปนพลังงานไฟฟาไดอยางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น โดยมีกําลังการผลิตกระแสไฟฟากวา 460,000 กิโลวัตตชั่วโมง ซึ่งเมื่อติดตั้งทั้งโครงการคาดวาจะชวยประหยัดพลังงานใหกับ โครงการฯ ปละกวา 1.8 ลานบาท

Engineering Today May - June

2019

72

ป ติ ภั ท ร บุ รี กรรมการผู  จั ด การ บริ ษั ท ภิ รั ช แมนเนจเมนท จํากัด ภายใต กลุมบริษัทภิรัชบุรี กลาววา ความรวมมือระหวางภิรชั บุรแี ละบานปูฯ ในการติดตัง้ ระบบ ผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในโครงการซัมเมอร ลาซาล ในครั้งนี้ นอกจากเราไดเล็งเห็นประโยชนทางดานการ ประหยัดพลังงานใหกบั ตัวโครงการฯ แลว ยังถือเปนโอกาสดี ในการริเริ่ ม นําเทคโนโลยี พลังงานสะอาดเขามามี สวน ในอาคารสํานักงานของกลุมบริษัทภิรัชบุรีตอไปในอนาคต ซึ่งจะสงผลอันดีตอทั้งธุรกิจ สังคมและชุมชนในระยะยาว ซัมเมอร ลาซาล เปนโครงการพัฒนาอาคารสํานักงาน แนวราบแหงใหม ภายใตคอนเซ็ปต “ออฟฟศแคมปส” ซึ่ง ประกอบดวย อาคารสํานักงานจํานวน 5 แคมปส รวม ทัง้ สิน้ 29 อาคาร โดยแตละแคมปสจะประกอบดวยอาคาร สํานักงานสูง 3 ชั้น จํานวน 4-6 อาคาร นอกจากนี้ยังมี คอมมิวนิตี้มอลล SUNNY โรงแรมและศูนยการจัดประชุม ภายในตัวโครงการฯ โดยโครงการตั้งอยูบนถนนลาซาล เชื่อมตอกับถนนสุขุมวิท เทพรัตน และแบริ่ง ซึ่งเปนยาน ศูนยกลางธุรกิจแหงใหมในอนาคตใกลกับศูนยนิทรรศการ และการประชุมไบเทค รถไฟฟาบีทีเอส (สถานีบางนาและ แบริ่ง) ทางดวน และใชเวลาเพียง 20 นาทีในการเดินทาง สูทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และยานใจกลาง กรุงเทพฯ


Advertorial • UBM

งานพลั ง งาน ครั้งยิ่งใหญ ในเอเชียพร อมสําหรับธุรกิจ!

งาน ASEAN Sustainable Energy Week (ASE) 2019 เปนงานเกี่ยวกับพลังงานที่ใหการ

บริการแพลตฟอรมธุรกิจระดับภูมิภาคและจุดนัดพบและเปนศูนยรวมมาอยางยาวนานเกือบ 30 ป งานนี้ คาดวาจะมีผูเขารวมมากกวา 25,000 รายที่เปนผูผลิต ผูประกอบการ นักวิชาการ นักวิจัย และผูเกี่ยวของ กับการออกนโยบายจาก 45 ประเทศ งานป 2019 จะนําเสนอแหลงพลังงานที่เปนนวัตกรรมลาสุดพรอม กับเครื่องจักรและอุปกรณที่ทันสมัยที่ชวยเพิ่มความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจโดยรวม ASE 2019 เปนการรวมตัวกันของ 4 งานพิเศษ: • RENEWABLE ENERGY ASIA - นิทรรศการและการประชุมพลังงานทดแทนที่ใหญที่สุดและ ครอบคลุมที่สุดในอาเซียน • ENERGY EFFICIENCY EXPO - งานแสดงระดับนานาชาติดานพลังงานประสิทธิภาพ • ENTECH POLLUTEC ASIA - นิทรรศการระดับนานาชาติดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและ เทคโนโลยีการควบคุมมลพิษ • ELECTRIC VEHICLE - งานแสดงสินคาและการประชุมยานยนตไฟฟานานาชาติแหงเดียวใน ประเทศไทย จัดแสดงรวมกับ PUMPS & VALVES ASIA (PV) 2019 - นิทรรศการระดับนานาชาติที่ใหญที่สุด ในอาเซียนของปม, วาลว, ฟตติ้ง และฮารดแวร งานนี้เปนงานเดียวในประเทศไทยและมีผลิตภัณฑ เชน ปมของเหลวและสารเคมี ปมดับเพลิงและนํ้าเสีย กากตะกอนสุญญากาศ และปมนํ้า รวมถึงอุปกรณวัด ของเหลวหลากหลายของทอและวาลวครบวงจร

ห ามพลาดงาน ASEAN Sustainable Energy Week 2019, 5-8 มิถุนายน 2562, ไบเทค/กรุงเทพฯ

ติข อมูดลเพิต ่มอเติมสอบถาม ภายในงาน กรุณาติดต อ

คุณวรรณปราณ พัธโนทัย โทร. 0-2036-0500 ต อ 242 อีเมล : Varnnapran.p@ubm.com

สมัครเข าร วมงานที่นี่!! 73

Engineering Today May - June

2019


Advertorial

Engineering Today May - June

2019

74




>> Gadget

COTTO เปิดตัวสุขภัณฑ์ใหม่รูปทรงวงรีสไตล์ Minimal “OVAL Collection” ผลงานดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่น

C

OTTO (คอตโต) แบรนดผูผลิตสุขภัณฑและกอกนํ้าชั้นนํา จับมือ นาโอโตะ ฟูกาซาวา ดีไซเนอรชาวประเทศญี่ปุน เปดตัว สุข ภัณฑ ใหม “OVAL” โดยใน Collection นี้ ประกอบไปดว ยสุ ข ภั ณ ฑ อางลางหนา กอกนํ้า ฝกบัว และกระจกพรอมไฟ LED รูปทรงวงรีสไตล Minimal ภายใตคอนเซ็ปต “Warm & Elegant” เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมลูกคาที่ใหความสําคัญกับรสนิยมงานออกแบบเรียบหรูและมี คุณคาตลอดกาลเวลา ซึ่งจุดเดนของสินคา OVAL Collecttion คือการออกแบบใหสินคาที่ใชงานในหองนํ้าทุกประเภทมีความสอดคลองกลมกลืน กับสรีระมนุษยในการใชงาน คนตัวเล็กคนตัวใหญกส็ ามารถทีจ่ ะใชงานไดอยางดีเยีย่ ม อีกทัง้ รูปแบบดูเรียบหรูทาํ ใหรสู กึ สบาย อบอุน ผอนคลายเวลา ใชงาน ตอบโจทยการใชงานในตลาดบานและคอนโดมิเนียมราคาสูงรวมถึงตลาดงานโรงแรมอยางลงตัว สามารถเลือกซื้อสินคา OVAL Collection ไดทั้งแบบเดี่ยวแยกชิ้นผลิตภัณฑและแบบยกเซต สนใจสามารถสัมผัส OVAL Collection ใหมลาสุดจาก COTTO เต็มรูปแบบไดที่ตัวแทนจําหนายทั่วประเทศหรือคลิกดูรายละเอียดเพิ่ม เติมไดที่ www.cotto.com/oval

iExpressByDHL ครบจบในแพลตฟอร์มเดียว เร่งเครื่อง SME ขยายตลาดไปทั่วโลก เอชแอล เอกซเพรส ผูนําระดับโลกดานการขนสงดวนระหวาง ประเทศในเครือดอยชโพสต ดีเอชแอล เปดตัว iExpressByDHL แพลตฟอรมขนสงดวนระหวางประเทศที่ใชงานงายสําหรับผูประกอบการ อี ค อมเมิ ร  ซ ลดป ญ หากวนใจเรื่ อ งขั้ น ตอนการจั ด ส ง และเตรี ย มเอกสาร ดําเนินการไดครบบนอุปกรณมือถือและคอมพิวเตอร พรอมพาสินคาสงออก ขามประเทศสูปลายทาง 220 ประเทศทั่วโลกในเวลา 1-3 วัน เหมาะสําหรับ ผูประกอบการในธุรกิจอีคอมเมิรซ โดยเฉพาะผูขายในระยะตั้งตนหรือสตารท อัพที่เพิ่งเริ่มรานคาออนไลนผานโซเชียลมีเดีย หรือกําลังขยายฐานลูกคา ในตลาดตางประเทศแตขาดประสบการณดานการขนสงระหวางประเทศ ตองการใชบริการขนสงดวนที่ไดมาตรฐานโลก เพื่อความประทับใจของผูรับและสรางความนาเชื่อถือในธุรกิจ iExpressByDHL ใชงานงายแมในครั้งแรก เช็กราคาคาบริการไดเบื้องตนภายในไมกี่คลิก บุคกิ้งการจัดสงเพื่อใหเจาหนาที่คูเรียรมารับสินคา หรือเลือกนําสินคาไปสงดวยตนเอง ณ จุดบริการดีเอชแอล เอกซเพรสใกลบา น พรอมสัง่ พิมพใบนําสงสินคา (Waybill) ใบกํากับสินคา (Commercial Invoice) และชําระคาขนสงไดงายและปลอดภัยผานบัตรเครดิต ครบถวนทุกขั้นตอนสําคัญผานอุปกรณมือถือและคอมพิวเตอร นอกจากนี้ ผูใ ชบริการ iExpressByDHL สามารถตรวจสอบสถานะการจัดสงแบบเรียลไทม พรอมบริการนําสงสินคาถึงทีแ่ บบ Door-to-Door และหากมีคําถามเกี่ยวกับการขนสงดวนระหวางประเทศในขณะใชงาน สามารถสอบถามเจาหนาที่ผานบริการ Live Chat

ดี

77

Engineering Today May - June

2019


Gadget >> Lenovo Legion Y545 ล็ปท็อป Lenovo Legion Y545 ผลิตจากวัสดุที่แข็งแรงทนทาน อยางอะลูมิเนียม ใหความดุดันบงบอกตัวตนของเกมเมอรสายฮารดคอร ทรงพลังดวยหนวยประมวลผล 9th Gen Intel Core i7 และชิปกราฟก NVIDIA GeForce RTX 2060 GPU อีกทัง้ ผูใ ชงานยังสามารถเลือกชิปกราฟกแบบ GeForce GTX 1660 Ti หรือ 1650 GPU ไดเชนกัน Lenovo Legion Y545 มีขนาดกะทัดรัดสะดวกตอการใชงานทั่วไป ตางจาก เกมมิง่ แล็ปท็อปรุน อืน่ ทีม่ ขี นาดใหญ นอกจากนีย้ งั มาพรอมชองระบายความรอนและ การทํางานที่เงียบดวยคียบอรดเรืองแสงสีขาวตอบสนองการกดแปนไดดียิ่งขึ้น Lenovo Legion Y545 คือเกมมิ่งแล็ปท็อปที่ตอบโจทยทั้งการเลนเกมและการทํางานอยางลงตัวในเครื่องเดียว คนหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑเลอโนโวไดที่ https://www.lenovo.com/th/th/

ฟิตบิท จับมือ สแนป เปิดตัวครั้งแรก กับบิทโมจิ บนหน้าปัดสมาร์ทวอทช์ ตบิท ผูนําอุปกรณแวรเอเบิลระดับโลก และ สแนป อิงค ประกาศความรวมมือในการสงเสริมใหการใชวติ แบบแอคทีฟและ มีสขุ ภาพดีเปนเรือ่ งนาสนุกยิง่ ขึน้ พรอมเปดตัว บิทโมจิ (Bitmoji) หรือการตนู รูปหนาของผูใชเปนครั้งแรกบนหนาปดสมารทวอทช โดยจะอัพเดทหนาตา ตลอดเวลาตามขอมูลดานสุขภาพและการออกกําลังกายของผูใช รูปแบบ กิจกรรม ชวงเวลา และสภาพอากาศ ซึ่งผูใชงานสมารทวอทชตระกูล Fitbit Ionic™ และ Fitbit Versa™ ทุกเครื่อง สามารถใชงานบิทโมจิได โดยบิทโมจิ จะสะทอนการใชชีวิตที่สนุกสนานตลอด 24 ชั่วโมงของผูใชงาน มีลักษณะทาทางที่แตกตางกันถึง 50 รูปแบบ อาทิ โบกมือทักทายเมื่อเริ่มตน วันใหม, ทําสมาธิในเวลาที่คุณกําลังพักผอนหรือสงบนิ่งแบบเซน โปรยคอนเฟตตี้เมื่อสามารถบรรลุเปาหมายระหวางวัน หรือแมแตการเตือนให เขานอนก็ตาม เพื่อชวยสรางแรงจูงใจใหผูใชรูสึกอยากใชชีวิตที่แอคทีฟมากขึ้น สามารถดาวนโหลดหนาปดนาฬกาบิทโมจิไดที่ Fitbit App Gallery สําหรับสมารทวอทชของฟตบิทในรุน Fitbit Versa Lite Edition™, Fitbit Versa™, Fitbit Versa Special Edition™, Fitbit Ionic™ และ Fitbit Ionic: adidas Edition™

กล้องกันนํ้า GoPro HERO 7 Black ลอง GoPro HERO 7 Black เปนกลองกันนํ้า (Waterproof) ดวยความสามารถ ในการทํางานไดอยางดีเยี่ยม ไมวาจะอยูในสภาพอากาศและสภาพแวดลอม แบบไหน เนือ่ งจากมีฟเ จอรไมวา จะเปน Waterproof, HyperSmooth, TimeWarp, SuperPhoto รวมถึง Live Streaming ทําให GoPro HERO 7 Black พรอมที่จะเปนเพื่อนคูใจที่จะชวยใหคุณ เก็บภาพและวิดีโอบันทึกชวงเวลาสนุกๆ ไดโดยไมตองกังวล มาพรอมโหมด HDR นอกจากนี้ ยั ง มี ฟ  เ จอร SuperPhoto ที่ จ ะช ว ยให คุ ณ ถ า ยภาพที่ ดี ที่ สุ ด ได โ ดยอั ต โนมั ติ ผ า นการใช ระบบ HDR ฟเจอร TimeWarp ชวยใหคุณบันทึกวิดีโอเปนระยะเวลานานไดอยางไมมีสะดุด และระบบ HyperSmooth ชวยลดการสั่นไหวของวิดีโอ สามารถใชฟเจอรทั้งสองอันรวมกันเพื่อการบันทึกวิดีโอที่สวยงาม ลื่นไหลราวกับมืออาชีพ นอกจากนี้ ยังสามารถตัดตอวิดีโอดวย Quik แอพตัดตอ วิดีโอของโกโปร เพิ่มเพลงและฟลเตอร ใหวิดีโอของคุณมีความนาสนใจยิ่งขึ้น สวนฟเจอร Live Streaming เปดโอกาสใหคุณแชรโมเมนตแอคชั่น สุดมันสใหโลกรูไ ดในเวลาเดียวกันกับทีค่ ณ ุ กําลังสนุกกับแอคชัน่ นัน้ ๆ โดยสามารถกดแชรโมเมนตตา งๆ จากตัวกลองไปยัง Facebook และ YouTube ไดโดยตรงผานการเชื่อมโยงกลอง GoPro เขากับโทรศัพทมือถืออยางงายดายเพียงปลายนิ้ว สนใจขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ GoPro HERO 7 Black และอุปกรณเสริม สามารถดูไดที่ https://www.gopro.com/

Engineering Today May - June

2019

78





ASEAN’s Leading Machinery and Technology Event for Manufacturing and Supporting Industries

19-22

JUNE 2019

BITEC, BANGKOK THAILAND

ASEAN’s manufacturing and supporting industries HYL \WNYHKPUN [OLPY WYVK\J[PVU LMÄJPLUJ` [V Z\WWVY[ expansion of regional market and adapt to the full Z^PUN VM 0UK\Z[Y` 0U 4HU\MHJ[\YPUN ,_WV ^PSS MLH[\YL [OL ^PKLZ[ YHUNL VM THJOPULY` HUK [LJOUVSVNPLZ I` IYHUKZ MYVT JV\U[YPLZ JVTPUN [VNL[OLY [V LTWV^LY WV[LU[PHS I\`LYZ ^OV HYL ZLLRPUN HUZ^LYZ VU OV^ [V VW[PTHSS` OHYULZZ [OL WV^LYZ HUK JHWHIPSP[PLZ VM [LJOUVSVN` HUK KPNP[HSPaH[PVU

Organized by:

Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 manufacturing-expo@reedtradex.co.th manufacturingexpopage www.manufacturing-expo.com


ASEAN’s Most Comprehensive Exhibition on Industrial Automation Systems & Solutions and Assembly Technology – 20th Edition

19-22

JUNE 2019

BITEC, BANGKOK THAILAND

Your Brand & Success! The leading business platform in the automation manufacturing hub of ASEAN is ready to boost your business growth onto a higher level. Promote your superb industrial automation technologies & reach out to potential customers in one go.

Organized by:

Pre-register at www.assemblytechexpo.com



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.