Electricity & Industry Magazine Issue September - October 2020

Page 1



Standards

Our submersible transformers are designed and manufactured in compliance with the following standard Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) : IEEE Std C57.12.24-2009, IEEE Std C57.12.002006, IEEE Std C57.12.90-2006 and/or customer specification.

Testing

In Charoenchai Transformer test department, the company subjects its products to strict and rigorous testing that meets all applicable IEEE/ANSI Standards. The transformer shall be suitable continuous submersion in up to 3 m (10 feet) of water over the top of the tank.



Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM








CONTENTS SEPTEMBER-OCTOBER

2020

16 IEEE POWER & ENERGY SOCIETY THAILAND (IEEE PES-THAILAND)

18 20 22 24 26

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

SPECIAL SCOOP 28 5G...โอกาสเพือ ่ การฟื้นตัวของไทย และ

ผลักดันประเทศสู่ดิจิทัลไทยแลนด์เต็มขั้น กองบรรณาธิการ 32 บทบาทส�ำคัญของเครือข่าย 5G ในช่วงโควิด-19 ต่อสังคม กองบรรณาธิการ SCOOP 34 นวัตกรรม 5G ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ 48 ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (ENTEC) ...มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานของประเทศ กองบรรณาธิการ ARTICLE 36 5G ในประเทศไทยบนคลื่นความถี่ 2600 MHz

Opensignal 38 ความจ�ำเป็นที่ต้องพิจารณา 3 ประการ เมื่อต้องยกระดับความปลอดภัยของโรงงาน อุตสาหกรรมให้ทันสมัย ฟรีดเฮล์ม เบสท์ 41 เรื่องเล่าที่กลายเป็นต�ำนาน 5 ประการ ของหุ่นยนต์โคบอทส์ ดาร์เรลล์ อดัมส์

INTERVIEW 45 ดร.ยศพงษ์ ลออนวล

...นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย (EVAT) กองบรรณาธิการ

SPECIAL AREA 50 อุปกรณ์ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า

ในกรณีที่โหลดเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และลดปริมาณฮาร์มอนิกส์ในระบบไฟฟ้า บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด 54 Monitoring Relays (RPN) บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด 56 นวัตกรรมการดันสายไฟ ที่แรกและที่เดียวในไทย Power Ball เครื่องดันสายไฟอัตโนมัติ น�ำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น บริษัท เร้นท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 58 Innovation for Smart Asset Management System (AMS) บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด IT ARTICLE 62 10 อันดับเทรนด์ของดาต้าและเทคโนโลยีการวิเคราะห์

ข้อมูลในปี 2563 การ์ทเนอร์ 65 เส้นทางที่เปิดกว้างสู่ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน แอนดรูว์ แฮปกู๊ด

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)

ของประเทศสู่เชิงพาณิชย์ กองบรรณาธิการ

68 EECi...เมืองนวัตกรรมเพื่อผลิกโฉมนวัตกรรม

70 MOVEMENT 72 INDUSTRY NEWS September-October 2020



EDITOR TALK

SEPTEMBER-OCTOBER

2020

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทีส่ ง่ ผลถึงเศรษฐกิจของโลกให้ตอ้ งซบเซาอย่างหนัก รัฐบาลของแต่ละประเทศพยายาม ออกนโยบายเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจให้ฟน้ื ตัวโดยเร็วทีส่ ดุ ในส่วนของประเทศไทยนัน้ ถึงแม้จะไม่มผี ตู้ ดิ เชือ้ ในประเทศเพิม่ ขึน้ แต่กต็ อ้ งเฝ้าระวัง กันอย่างเข้มงวดต่อไป เพราะประเทศเพือ่ นบ้านมีอตั ราการติดเชือ้ เพิม่ สูงขึน้ ทุกวัน ท�ำให้มคี วามเสีย่ งทีจ่ ะเกิดการระบาดรอบ 2 ซึง่ หากเป็น เช่นนั้นอาจจะรุนแรงกว่าในรอบแรกก็เป็นได้ ในส่วนการฟืน้ ฟูประเทศนัน้ รัฐมนตรีดดี อี ี กล่าวว่า ประเทศจะผลักดันการใช้เครือข่าย 5G อย่างเต็มที่ เพือ่ ช่วยสร้างโอกาสในการสร้าง ธุรกิจใหม่ๆ โดย 5G จะเป็นสิง่ ทีม่ าเปลีย่ นวิถชี วี ติ และวิธบี ริหารประเทศ โดยจะไม่ได้ขบั เคลือ่ นเฉพาะเครือข่ายมือถือ แต่จะมีการน�ำเทคโนโลยีน้ี มาปรับใช้กบั การท�ำสมาร์ทซิตี้ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ภาคการศึกษา และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ ภาคการเกษตร เพราะข้อมูลคือสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ในการแข่งขันทางธุรกิจ ทั้งยังส�ำคัญต่อขีดความสามารถด้านการแข่งขันระหว่างประเทศด้วย นอกจากนี้ การแพร่ระบาดของโควิด-19 ย�ำ้ ให้เห็นถึงความส�ำคัญของการน�ำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาเสริมการด�ำเนินธุรกิจทัว่ โลก เพราะ นอกจากเปิดโอกาสให้องค์กรเชือ่ มต่อกับลูกค้าหรือด�ำเนินธุรกรรมทางการเงินผ่านอินเทอร์เน็ตได้อย่างไม่สะดุดแล้ว ระบบเครือข่าย 5G และ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ยังสร้างโอกาสการขยายธุรกิจไปสูอ่ ตุ สาหกรรมใหม่ๆ แก่ผใู้ ห้บริการเครือข่าย อาทิ สุขภาพ ยานยนต์ และการผลิตอีกด้วย ผูบ้ ริหารหัวเว่ย ซึง่ เป็นบริษทั แนวหน้ากล่าวว่า “ภายใน ค.ศ. 2020 เราจะเห็นผลิตภัณฑ์มอื ถือทีร่ องรับการใช้งานบนเทคโนโลยี 5G มากขึน้ อย่างต่อเนื่อง และราคาอุปกรณ์ที่รองรับการใช้งาน 5G ก็จะลดลง ซึ่งจะท�ำให้มีจ�ำนวนผู้ใช้งาน 5G ในประเทศไทยแพร่หลายยิ่งขึ้น” ในส่วนของสถาบันการศึกษานัน้ ทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ตงั้ ศูนย์ 5G Innovation Center ตัง้ แต่ พ.ศ. 2562 โดยมีการพัฒนา นวัตกรรมต่างๆ มากมาย โดยได้รับความร่วมมือจากบริษัทเอกชนและหน่วยงานรัฐหลายแห่ง โดยมีพันธกิจหลักคือเพื่อพัฒนารูปแบบ การใช้งานต่างๆ ทีม่ คี ณ ุ ประโยชน์แก่สงั คมและขับเคลือ่ นให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ ขึน้ ซึง่ ตลอด 1 ปี ก็ประสบผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี ทัง้ นี้ คาดการณ์วา่ ภายใน พ.ศ. 2573 ประเทศไทยจะมีมลู ค่าของรายได้รวมจากธุรกิจดิจทิ ลั ทีเ่ ปิดใช้งานเทคโนโลยี 5G อยูท่ ปี่ ระมาณ 7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเร็วๆ นี้ Opensignal ซึ่งเป็นผู้ด�ำเนินการวิเคราะห์ระบบมือถือและก�ำหนดมาตรฐานระดับโลก ได้เผยการวิเคราะห์ภาพรวม ของต�ำแหน่งคลื่นความถี่ของผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือทั้ง 3 รายในประเทศไทย ได้แก่ DTAC, AIS และ TrueMove H ช่วงก่อนและหลัง การประมูลคลืน่ 5G เพือ่ ท�ำความเข้าใจถึงการน�ำคลืน่ ความถีใ่ หม่มาปรับใช้วา่ จะส่งผลต่อประสบการณ์เครือข่ายมือถือในประเทศไทยอย่างไร เพราะคลื่นความถี่ถือว่ามีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณภาพของประสบการณ์เครือข่ายมือถือ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยเพิ่งเริ่มเข้าสู่ยุค 5G ดังนั้นจึงเร็วเกินไปที่จะสรุปอนาคตของ 5G อย่างไรก็ตาม การใช้งานเครือข่ายอย่าง หนักหน่วงยังเป็นปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ความเร็วในการดาวน์โหลดต�ำ่ เนือ่ งจากคลืน่ ความถีเ่ ป็นทรัพยากรทีม่ จี ำ� กัด ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์มอื ถือ ไทยจึงจ�ำเป็นต้องสร้างสมดุลการใช้ทรัพยากรนี้ระหว่างผู้ใช้ 5G ใหม่ และผู้ใช้ 4G ที่เป็นกลุ่มผู้ใช้ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อมีการใช้อุปกรณ์ 5G มากขึ้น พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ เรืองติก / ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ September-October 2020

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของ ผู้เขียน ไม่มีส่วนผูกพันกับ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด แต่อย่างใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่า มีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือได้ผ่านการตรวจทานอย่างถี่ถ้วนเพื่อให้เกิดความถูกต้องและ สมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์



พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย อดีตผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานคณะกรรมการก�ำกับ กิจการพลังงาน และที่ปรึกษา IEEE PES–Thailand Chapter

สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter ร่วมกับสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย (EVAT) จัดสัมมนา เชิงวิชาการ “ยานยนต์ไฟฟ้า: เทคโนโลยี การออกแบบ โครงสร้างพืน้ ฐาน และการประยุกต์ใช้งาน” ในวันที่ 24-26 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ เพือ่ เป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการ พัฒนาภาคขนส่งและอุตสาหกรรมทีช่ ว่ ยขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศไทย ลดการน�ำเข้าน�ำ้ มันดิบ จากต่างประเทศ และลดผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม

September-October 2020

กฤษฎา อุตตโมทย์ นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย



สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

94 METERS บ�ำรุงรักษากังหันลม

ภารกิจธรรมดำของมนุษย์ธรรมดา

เบือ้ งหลังการรักษาความมัน่ คงด้านพลังงาน ไฟฟ้าของประเทศ ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความ เชีย่ วชาญ ผ่านการสะสมประสบการณ์มานับ 10 ปี เพื่อร่วมกันท�ำหน้าที่ดูแลงานเดินเครื่องผลิตและ ส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า สร้างความสุขให้แก่ประชาชน ชาวไทย แต่กระบวนการเหล่านี้จะส�ำเร็จด้วยดี ไม่ได้ หากขาดก�ำลังส�ำคัญทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลัง และเป็น แรงสนับสนุนหลักเฉกเช่นผู้ปฏิบัติการซ่อมและ บ�ำรุงรักษากังหันลม ทีด่ แู ลกังหันลมให้มคี วามพร้อม เพื่อรักษาความมั่นคงระบบผลิตไฟฟ้า ถึงแม้ไม่ใช่ซูเปอร์แมน หรือฮีโร่ทรงพลัง ดั่ ง เช่ น ในภาพยนตร์ แต่ ม นุ ษ ย์ ธ รรมดาที่ ต ้ อ ง ปฏิ บั ติ ง านบนที่ สู ง เสี ย ดฟ้ า เช่ น กั ง หั น ลมบน ทีร่ าบสูงของจังหวัดนครราชสีมา ภายใต้สภาพอากาศ ที่แปรปรวน เพื่อมุ่งมั่นในการซ่อมและบ�ำรุงรักษา กังหันลม แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงาน สะอาดให้ มี ค วามพร้ อ มจ่ า ยอยู ่ ต ลอดเวลา เสริมความมั่นคงให้ระบบไฟฟ้าของประเทศไทย กลับมีความสามารถไม่ต่างอะไรกับฮีโร่ทรงพลัง

September-October 2020

การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม แม้จะไม่มกี ลไกการท�ำงานทีซ่ บั ซ้อน เหมือนโรงไฟฟ้าพลังความร้อน แต่ภารกิจซ่อมและบ�ำรุงรักษากังหันลมก็มี ความท้าทายไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน การซ่อมและบ�ำรุงรักษากังหันลมของ กฟผ. จึงประกอบไปด้วย ทีมด้านไฟฟ้า จากฝ่ายบ�ำรุงรักษาไฟฟ้า (อบฟ.) และทีมด้านเครื่องกล จากฝ่ายบ�ำรุงรักษาเครื่องกล (อบค.) ปฏิบัติงาน บ�ำรุงรักษาตามวาระร่วมกันปีละ 2 ครั้ง เช่น การตรวจสอบระบบควบคุม ก�ำลังการผลิต ระบบขับเคลือ่ นเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าของกังหันลม ระบบการควบคุมใบกังหันลมและโครงสร้าง ซึง่ ต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า ก่อนเข้าบ�ำรุงรักษา เพื่อให้กังหันลมมีความพร้อมจ่ายไฟฟ้าได้ตลอดเวลา ไม่ติดขัด


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

แต่กว่าที่มนุษย์ธรรมดาหนึ่งคน จะสามารถปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ซ่ อ มบ� ำ รุ ง กังหันลมที่สูงเสียดฟ้าได้ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะนอกจากจะต้องมีทักษะด้านการ ซ่อมบ�ำรุงรักษาเฉพาะทางแล้ว ยังต้อง ผ่านการอบรมการปฏิบตั งิ านบนกังหันลม การปฐมพยาบาล การช่วยชีวติ เบือ้ งต้น รวมถึงการตรวจเช็กสภาพร่างกายและ สภาพจิตใจให้มีความพร้อมก่อนที่จะ ขึน้ ปฏิบตั ภิ ารกิจทุกครัง้ และสิง่ ทีส่ ำ� คัญ ที่สุด คือ การท�ำงานร่วมกันเป็นทีม ไม่ว่าจะเป็นทีมภาคพื้นดินที่ท�ำหน้าที่ ควบคุ ม ระบบและที ม บ� ำ รุ ง รั ก ษา กังหันลมในแต่ละส่วน ซึง่ ต้องช่วยเหลือ กันและกันระหว่างการปฏิบตั งิ าน รวมถึง เหตุสุดวิสัยที่ไม่อาจคาดเดาได้

การขึน้ ปฏิบตั งิ านบนกังหันลมบนความสูงเสียดฟ้าถึง 94 เมตร ไม่ใช่วา่ จะสามารถขึน้ เวลาใดก็ได้ เพราะต้องปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนด ความปลอดภั ย บนกั ง หั น ลม ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านบ� ำ รุ ง รั ก ษากั ง หั น ลม ต้องสวมใส่ชุดอุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง และตรวจเช็กความ เรียบร้อย สภาพอากาศ สภาพฝน ฟ้าผ่า อีกทั้งความแรงลมอยู่ใน เกณฑ์ทร่ี บั ได้ หรือไม่เกิน 12 เมตร/วินาที แต่หากผูป้ ฏิบตั งิ านพบว่า เกิดฝนตก ลมแรง หรือมีฟ้าผ่า ภายในรัศมีพ้ืนที่ปฏิบัติงาน 200 กิโลเมตร ทีมต้องยุติภารกิจบ�ำรุงรักษาและลงจากกังหันลมทันที ในขณะที่ข้ึนปฏิบัติภารกิจด้านบนกังหันลม ต้องค�ำนึงถึง ความปลอดภัย โดยต้องมีสมาธิในขณะปฏิบัติงาน และติดตั้ง ชุดอุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูงไว้ตามจุดยึดเกาะที่มีอยู่ตลอด เวลา เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานและความเสี่ยงอื่นๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ซึง่ การปฏิบตั งิ านมักต้องใช้เครือ่ งมือขนาดใหญ่ในการ บ�ำรุงรักษา การน�ำเครือ่ งมือขนาดใหญ่ขนึ้ ทีส่ งู และแคบ จ�ำเป็นต้อง อาศัยความเชีย่ วชาญและความระมัดระวังเป็นพิเศษ ถือเป็นความ ท้าทายส�ำหรับผูป้ ฏิบตั งิ านเป็นอย่างมาก ขณะเดียวกันทีมปฏิบตั งิ าน ภาคพืน้ ดินต้องท�ำหน้าทีเ่ ตรียมความพร้อมอุปกรณ์ทกุ อย่างให้เป็น ไปตามขั้นตอนของแผนงานที่ได้วางไว้ก่อนขึ้นท�ำการบ�ำรุงรักษา รวมถึงติดตามสภาพอากาศ ฝน และลม จนกว่าทีมงานบนกังหันลม จะปฏิบตั งิ านจนแล้วเสร็จ เพือ่ ดูแลความปลอดภัยและลดความเสีย่ ง ระหว่างการปฏิบัติงานให้ทีมงาน ทั้งหมดนี้เป็นเพียงหนึ่งในภารกิจการบ�ำรุงรักษากังหันลม พลังงานหมุนเวียนทีเ่ ข้ามามีบทบาทสร้างความมัน่ คงด้านพลังงาน ไฟฟ้าให้แก่ประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ที่ทั้งสูง ทั้งเสียว และ เสี่ยง ถือเป็นภารกิจที่ไม่ธรรมดาของมนุษย์ธรรมดา ซึ่งแม้ภารกิจ ที่ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. เผชิญ จะมีความท้าทายหรือยากเพียงใด แต่ เพือ่ สร้างพลังงาน แสงสว่าง และความสุขให้แก่คนไทย กฟผ. พร้อม มุ่งมั่นที่จะเผชิญกับทุกภารกิจเพื่อผลิตไฟฟ้าสร้างความสุขให้แก่ คนไทย บทความจาก https://www.egat.co.th/index.php?option= com_content&view=article&id=3576:20200813art01&catid= 49:public-articles-egat&Itemid=251 September-October 2020


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

MEA จัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน

รวมพลังปลูกป่าชายเลน เฉลิมพระเกียรติฯ ฟื้นฟูธรรมชาติอย่างยั่งยืน

กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA คณะกรรมการการไฟฟ้านครหลวง คณะผูบ้ ริหารฐานทัพเรือ กรุงเทพ พร้อมด้วยคณะผูบ้ ริหารและพนักงาน MEA รวมประมาณ 200 คน ร่วมจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ประจ�ำปี 2563 ซึง่ จัดต่อเนือ่ ง มาทุกปี ณ ป่าชายเลนป้อมพระจุลจอมเกล้า จ.สมุทรปราการ และ เพื่อน้อมถวายพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชนนีพนั ปีหลวง ส�ำหรับกิจกรรมในวันนี้ นอกจากการปลูกป่าชายเลนเพื่อ เสริมสร้างพื้นที่ป่าชายเลนในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งและ เป็นแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์แล้ว MEA ยังได้เปิดนิทรรศการ สวนหย่อม “ชีวติ ในป่าชายเลน” จัดแสดงสิง่ มีชวี ติ ทีพ่ บเห็นได้ทว่ั ไป ในระบบนิเวศป่าชายเลน พร้อมข้อมูลต่างๆ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ส�ำหรับผู้สนใจได้เข้ามาศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลนในเมืองไทย ซึ่งจะช่วยเสริมความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจเข้ามาท่องเที่ยว หรือนักเรียน นักศึกษาที่เข้ามาศึกษาท�ำรายงาน จะได้มีความเข้าใจและเห็น แบบจ�ำลองสัตว์นานาชนิดอีกด้วย นอกจากนี้ ในช่วงบ่ายคณะผูบ้ ริหารและพนักงานได้เดินทาง ไปมอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และ ครอบครัวประสบปัญหาหรือมีความเปราะบาง รวมจ�ำนวน 24 ทุน ให้แก่โรงเรียนป้อมพระจุลจอมเกล้าและโรงเรียนวัดสาขลา รวมทั้ง พนักงาน MEA ยังได้เข้าไปปรับปรุง ซ่อมแซม และเปลีย่ นอุปกรณ์ ระบบไฟฟ้าทีช่ ำ� รุดในห้องประชุมอเนกประสงค์ และจุดเสีย่ งทีอ่ าจ เกิดขึ้นกับเด็กในโรงเรียนอีกด้วย September-October 2020

ส�ำหรับการปลูกป่าชายเลนในพืน้ ทีป่ อ้ มพระจุลฯ นัน้ ก่อนหน้านี้ MEA ได้น้อมน�ำแนวโครงการพระราชด�ำริฯ การปลูกหญ้าแฝก แก้ปัญหาการพังทลายของหน้าดินโดยวิธีธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ โดยร่วมกับป้อมพระจุลจอมเกล้า ฐานทัพเรือกรุงเทพ ด�ำเนินการ ปลูกป่าชายเลน จ�ำนวน 200 ไร่ เพื่อลดปัญหาการพังทลายของ หน้าดิน แต่ปรากฏว่าต้นกล้าป่าชายเลนทีป่ ลูกใหม่บริเวณริมน�ำ้ นัน้ เสียหายเนือ่ งจากความแรงของคลืน่ และดินตะกอนทีถ่ กู พัดพาออกไป MEA จึงได้ศึกษาและออกแบบการสร้างเขื่อนตะกอน โดยใช้วัสดุ อุปกรณ์เหลือใช้ ได้แก่ เสาไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้งานจากโครงการเปลี่ยน ระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นระบบสายไฟฟ้าใต้ดนิ ท�ำให้มเี สาไฟฟ้า ที่รื้อถอนจ�ำนวนหนึ่ง น�ำมาปักเป็นแนวกันคลื่นแบบสลับฟันปลา มีระยะห่างระหว่างแนวเสา 1.5 เมตร สวมครอบด้วยยางรถยนต์ ที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดักตะกอนและลด แรงปะทะของคลื่น รวมระยะทางประมาณ 2,400 เมตร จากผลการวิจยั ของสถาบันวิจยั ทรัพยากรทางน�ำ้ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ใน พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2558 เพือ่ ศึกษาประสิทธิผล การท�ำแนวป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งของ MEA บริเวณป้อม พระจุลจอมเกล้าทัง้ 2 ครัง้ สรุปผลได้วา่ แนวเขือ่ นดักตะกอนสามารถ ลดแรงปะทะของคลื่นและดักตะกอนได้จริง ส่งผลให้ป่าชายเลน บริเวณด้านหลังแนวเขื่อนสามารถเติบโตได้โดยธรรมชาติ และ ไม่พบว่าแนวเสาไฟฟ้าสวมห่วงยางรถยนต์น้ันมีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด


การไฟฟ้านครหลวง

MEA ต้อนรับ PEA ศึกษาดูงาน

โครงการระบบไฟฟ้าใต้ดิน

เทพศั ก ดิ์ ฐิ ต ะรั ก ษา รองผู ้ ว ่ า การ การไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA เป็นประธาน ต้อนรับ นุกลู ตูพานิช และ มานพ ชอบประดิษฐ์ ผู้ช่วยผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) และคณะฯ ในโอกาสเข้าศึกษาดูงานโครงการ ก่อสร้างระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าใต้ดิน ที่ MEA ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้ระบบไฟฟ้า มี ค วามเพี ย งพอ มั่ น คง มี ค วามปลอดภั ย ทัศนียภาพทีส่ วยงาม เพิม่ ประสิทธิภาพพลังงาน เพื่อวิถีชีวิตเมืองมหานคร Smart Metro โดย เข้าเยี่ยมชมอุปกรณ์ไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า และสวิตช์เกียร์ชนิดฝังดิน (Submersible) พร้อม แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ นโยบาย แผนงาน และการด�ำเนินการต่างๆ เพือ่ พัฒนา คุณภาพและความมั่นคงด้านระบบไฟฟ้า ณ การไฟฟ้านครหลวง ส�ำนักงานใหญ่ คลองเตย

MEA ใช้หม้อแปลงจำ�หน่าย ประสิทธิภาพสูง นวัตกรรมห่วงใยสิ่งแวดล้อม

ผาสุก สัมปุณณะโชติ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายสือ่ สาร องค์กร การไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA เปิดเผยว่า MEA ในฐานะหน่วยงานที่ดูแลระบบจ�ำหน่ายในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ที่มีความ เชี่ยวชาญด้านระบบไฟฟ้า มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพ พลังงานเพือ่ วิถชี วี ติ เมืองมหานคร มีการเตรียมความพร้อม พัฒนาระบบจ�ำหน่ายและให้ความส�ำคัญกับการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ล่าสุด ฝ่ายวางแผนระบบไฟฟ้า MEA ได้ริเริ่มน�า หม้อแปลงจ�ำหน่ายประสิทธิภาพสูงมาใช้งาน ซึง่ เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ลดค่าพลังงานสูญเสียในระบบ และ สามารถลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตอบโจทย์ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีราคาสูงกว่า หม้อแปลงชนิดเดิม 10% อย่างไรก็ดี หม้อแปลงชนิดนี้ สามารถลดค่าความสูญเสียขณะที่ไม่มีโหลด (No Load Loss) 55-60% เมื่อเปรียบเทียบกับหม้อแปลงชนิด แกนเหล็กซิลิกอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ทั้งนี้ MEA ได้น�ำร่องจัดซื้อหม้อแปลงจ�ำหน่าย 3 เฟส ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ชนิ ด แกนเหล็ ก อะมอร์ ฟ ั ส

(หม้อแปลงสีเขียว) แรงดัน 24 กิโลโวลต์ (kV) 500 กิโลโวลต์แอมแปร์ (kVA) จ�ำนวน 50 ชุด เพื่อน�ำมาใช้ในจุดติดตั้งใหม่และทดแทน หม้ อ แปลงเดิ ม ที่ เ สื่ อ มสภาพ พร้ อ มติ ด ตามทดสอบประเมิ น ผล การใช้งานในการปรับปรุงระบบการจ่ายไฟฟ้าในระบบของ MEA โดยหม้อแปลงชนิดแกนเหล็กอะมอร์ฟัส จ�ำนวน 50 ชุดนี้ สามารถ ลดค่าพลังงานสูญเสียขณะทีไ่ ม่มโี หลดทีเ่ กิดขึน้ ตลอด 24 ชัว่ โมงลงได้ ปีละ 179,580 หน่วย ซึง่ สามารถลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลงได้ถงึ 80,631.42 กิโลกรัม โดยเริม่ ติดตัง้ ในพืน้ ทีจ่ ำ� หน่ายของ MEA และริเริ่มติดตั้งในเขตบางเขน นนทบุรี นวลจันทร์ บางกะปิ ธนบุรี และอนาคตพิจารณาน�ำมาใช้ในพืน้ ทีบ่ ริการอืน่ ๆ ต่อไป ซึง่ การพัฒนา คุณภาพระบบไฟฟ้าดังกล่าวจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและความ มั่นคงในการจ่ายไฟฟ้า พร้อมรักษาสิ่งแวดล้อมเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี ของคนเมืองมหานครอย่างยั่งยืน เนื้อหาและภาพประกอบ https://www.mea.or.th September-October 2020


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

PEA HERO

Care & Service

...เรื่องไฟฟ้าเราคือฮีโร่

September-October 2020

เปิดตัว “ฮีโร่นก ั ซ่อม”

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) เป็นหน่วยงานหลักทีใ่ ห้บริการด้าน พลังงานไฟฟ้า อันเป็นโครงสร้างพืน้ ฐานส�ำคัญของประเทศมาตลอด 60 ปี และไม่เคยหยุดนิง่ ในการพัฒนาองค์กรให้กา้ วล�ำ้ น�ำสมัย จึงได้มกี ารพัฒนา รูปแบบเทคโนโลยีการให้บริการด้วยการพัฒนาแอปพลิเคชัน “PEA Hero Care & Service” เพือ่ ให้การให้บริการมีความทันสมัย เข้ากับวิถชี วี ติ ของ คนในยุคนีท้ คี่ นุ้ ชินกับการใช้บริการต่างๆ ในชีวติ ประจ�ำวันผ่านแอปพลิเคชัน กันมากขึ้น จุดดึงดูดทีน่ า่ สนใจทีแ่ อปพลิเคชัน “PEA Hero Care & Service” โดนใจเจ้าของบ้านในยุคดิจทิ ลั นีค้ อื การให้บริการแบบ One-Stop-Service ครบถ้วนในการบริการซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าครบวงจรอยูใ่ นแอปพลิเคชัน เดียว ทั้งการตรวจสอบ (Check List) การปรับปรุงซ่อมแซม (Fixing) และ การบ�ำรุงรักษาระบบไฟฟ้า (Maintenance) รวมถึงการบริการล้างท�ำความ สะอาดเครื่องปรับอากาศ ด้วยจุดมุ่งหมายหลักในการให้บริการที่อำ� นวย ความสะดวก ด้วยความรวดเร็ว อย่างทันสมัย และเป็นไปตามมาตรฐาน ที่น่าเชื่อถือจากการรับรองของ PEA ให้ลูกค้าทุกคน ไม่เพียงเกียรติประวัติอันยาวนานถึง 60 ปี ของ PEA ที่ลูกค้าให้ ความไว้วางใจมาโดยตลอดเท่านั้น PEA ยังการันตีคุณภาพการให้บริการ ด้วยบุคลากรหรือช่างไฟฟ้าจ�ำนวนถึงกว่า 8,000 คนจากทั่วประเทศ ซึ่ง ผ่านการคัดเลือก อบรม และผ่านการรับรองการท�ำงานด้านไฟฟ้าจาก โครงการ 1 ต�ำบล 1 ช่างไฟฟ้า ของ PEA ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนช่ า งไฟฟ้ า ที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถให้ บ ริ ก ารประชาชน การมีแอปพลิเคชัน “PEA Hero Care & Service” จึงเป็นการสานต่อและ ต่อยอดให้ช่างไฟฟ้าเหล่านั้นมีอาชีพและมีรายได้อีกทางหนึ่งด้วย


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

อยากใช้บ้าง...ทำ�อย่างไร จาก 2 จังหวัดนำ�ร่อง ...สู่ทั่วประเทศ แอปพลิเคชันนี้ได้เปิดตัวไปตั้งแต่เมื่อ ปลาย พ.ศ. 2562 โดยได้ให้บริการน�ำร่องใน 2 จังหวัด คือ ปทุมธานี นครปฐม สูก่ ารให้บริการ ทั่วประเทศ ด้วยบริการหลักๆ คือ 1. บริการตรวจสอบระบบไฟฟ้าภายในบ้าน 9 รายการ ได้แก่ การตรวจแผงจ่ายไฟฟ้าหลัก แผงจ่ายไฟฟ้ารอง เบรกเกอร์วงจรย่อย สวิตช์ ไฟฟ้า เต้ารับไฟฟ้า การเดินสายไฟฟ้า เครือ่ งใช้ ไฟฟ้าที่ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันไฟรั่ว เครื่องท�า น�้ำอุ่น และแผงวงจรไฟฟ้านอกบ้าน พร้อม รายงานการตรวจสอบให้ทราบผลด้วย 2. บริการล้างเครื่องปรับอากาศ แบบติดผนัง ทุกรุ่น ทุกขนาด BTU ในส่วนของราคาและโปรโมชัน สามารถ ติดตามได้ในแอปพลิเคชัน ซึ่งมีการจัดกิจกรรม ที่น่าสนใจ รวมถึงมอบสิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้ อีกด้วย

ขั้นตอนในการใช้บริการก็ไม่ยุ่งยาก เพียงโหลดแอปพลิเคชัน “PEA Hero Care & Service” หรือสแกน QR Code เพื่อติดตั้งแอปพลิเคชันนี้ได้ทั้งระบบ iOS และ Android จากนัน้ เลือกรายการทีต่ อ้ งการใช้บริการ ระบุทอ่ี ยูข่ องคุณ เลือกวันเวลา ที่สะดวก หากมีโค้ดรับโปรโมชันส่วนลดต่างๆ ก็อย่าลืมกรอกไปด้วย เพื่อรักษา สิทธิประโยชน์ของคุณ แล้วรอข้อความยืนยันจาก PEA ตรวจสอบให้ถูกต้องก่อน ช�ำระเงิน ซึง่ เลือกวิธกี ารจ่ายเงินได้หลายวิธตี ามทีค่ ณ ุ สะดวก และเพือ่ ความปลอดภัย ว่าจะไม่มีมิจฉาชีพแอบอ้าง และให้ลูกค้ามั่นใจว่าเป็นช่างไฟฟ้าตัวจริงจากทาง PEA ก่อนการเข้าบริการทุกครัง้ คอลเซ็นเตอร์จะโทรเข้ามายืนยันก�ำหนดการบริการของช่าง เพียงเท่านี้ก็จะสบายใจว่าได้ช่างไฟฟ้ามืออาชีพมาให้บริการในราคามิตรภาพ ค�ำว่า “ไฟฟ้า” อาจฟังดูอนั ตราย และท�ำให้ผใู้ ช้รสู้ กึ กลัวและไม่อยากยุง่ เกีย่ วด้วย แต่จริงๆ แล้วไฟฟ้าเป็นเรือ่ งใกล้ตวั ทุกคนมาก ฉะนั้ น ถ้ า ไม่ มี ค วามรู ้ ค วามช� ำ นาญ ด้ า นไฟฟ้ า อย่ า งแท้ จ ริ ง มากพอ โปรดอย่าคิดแก้ไขปัญหาไฟฟ้าด้วย ตนเอง ให้ชา่ งไฟฟ้าผูม้ ปี ระสบการณ์ จัดการให้ดกี ว่า และควรตรวจเช็กระบบ ไฟฟ้าในบ้านเป็นประจ� ำอย่างน้อย ปีละครัง้ เพือ่ ให้มน่ั ใจในความปลอดภัย ของชีวิตและทรัพย์สินของคุณ

for iOS & Android

หากคุณมีปัญหาเกี่ยวกับไฟฟ้า อย่ามัวรอช้​้า แอปพลิเคชัน “PEA Hero Care & Service” ช่วยคุณได้

1. โหลดแอปพลิเคชัน “PEA Hero Care & Service” หรือสแกน QR Code เพื่อติดตั้ง แอปพลิเคชันได้ทั้งระบบ iOS และ Android

2. เลือกรายการ ที่ต้องการใช้บริการ

3. กรอกข้อมูลส่วนตัว เลือกวันเวลาที่ต้องการ ใช้บริการ และโค้ด โปรโมชันส่วนลด

4. รอข้อความยืนยัน บริการที่ต้องการ ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจึงช�ำระเงินผ่าน ช่องทางที่สะดวก

5. คอลเซ็นเตอร์จาก PEA จะโทรมายืนยัน ก�ำหนดการเข้าบริการ ของช่างก่อนทุกครั้ง

September-October 2020


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

เอ็กโก กรุ๊ป ประกาศแต่งตั้ง

เทพรัตน์ เทพพิทก ั ษ์ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการผู้จด ั การใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ ประกาศแต่งตัง้ เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามมติ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2563 เมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน 2563 ทัง้ นี้ เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ จะเข้ารับต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ของเอ็กโก กรุ๊ป ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 โดยจะสานต่อการด�ำเนินธุรกิจ ของเอ็กโก กรุป๊ ตามวิสยั ทัศน์ “เป็นบริษทั ไทยชัน้ น�ำ ทีด่ ำ� เนินธุรกิจพลังงานอย่างยัง่ ยืน ด้วยความใส่ใจ ทีจ่ ะธ�ำรงไว้ซงึ่ สิง่ แวดล้อมและการพัฒนาสังคม” มุ่งเสริมความแข็งแกร่งในธุรกิจผลิตไฟฟ้า ต่อยอด ไปสู่การลงทุนในธุรกิจพลังงานที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้ง ยังแสวงหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจใหม่ทเี่ กีย่ วเนือ่ ง กับธุรกิจหลัก เพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน เทพรัตน์ เทพพิทักษ์ อายุ 54 ปี ปัจจุบัน ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รองผู ้ ว ่ า การพั ฒ นาโรงไฟฟ้ า และ พลังงานหมุนเวียน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2561-ปัจจุบนั ) ก่อนหน้านัน้ ด�ำรงต�ำแหน่งผูช้ ว่ ย ผูว้ า่ การพลังงานหมุนเวียนและพลังงานใหม่ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2560-พ.ศ. 2561) ตลอดจนมี ป ระสบการณ์ ด ้ า นเทคนิ ค วิ ศ วกรรม การพัฒนาและบริหารจัดการโรงไฟฟ้ามาอย่างยาวนาน ส� ำ หรั บ ประวั ติ ด ้ า นการศึ ก ษา เทพรั ต น์ เทพพิ ทั ก ษ์ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท วิ ศ วกรรมศาสตร์ สาขา Electricity Industry Management and Technology มหาวิ ท ยาลั ย สแตรธไคลด์ (University of Strathclyde) ประเทศ สกอตแลนด์ และปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมทั้ง ยังผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงจาก สถาบันชัน้ น�ำทัง้ ในประเทศและต่างประเทศมากมาย

September-October 2020


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

เอ็กโก กรุ๊ป โชว์ผลการดำ�เนินงานครึ่งปีแรก โตตามเป้า รุกสู่ธุรกิจเชื้อเพลิง และ Smart Energy Solution บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป เผยผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2563 เติบโตตาม เป้าหมาย บอร์ดเคาะจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ด�ำเนินงานครึง่ ปีแรกในอัตราหุน้ ละ 3 บาท เดินหน้าต่อยอดการ ลงทุนในธุรกิจพลังงานทีเ่ กีย่ วเนือ่ งทัง้ ต้นน�ำ้ และปลายน�ำ้ ขยายสู่ ธุรกิจเชือ้ เพลิงและระบบสาธารณูปโภค และธุรกิจ Smart Energy Solution เพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอ็กโก กรุป๊ กล่าวว่า “การด�ำเนินงานในช่วงครึ่งปีแรกมีความก้าวหน้าและ เป็ น ไปตามแผนงาน โดยสามารถขยายการลงทุ น และปั ก ธง บนพืน้ ทีใ่ หม่ในไต้หวันอย่างเป็นทางการ จากการซือ้ หุน้ ในโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานลมนอกชายฝัง่ ทะเล “หยุนหลิน” ก�ำลังการผลิต 640 เมกะวัตต์ ได้เป็นผลส�ำเร็จ ซึง่ ท�ำให้สดั ส่วนของพอร์ตพลังงาน หมุนเวียนของเอ็กโก กรุ๊ป เพิ่มขึ้นด้วย” ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานไตรมาสที่ 2 ประจ�ำปี 2563 สิ้นสุด ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2563 บริษัทมีกําไรสุทธิจ�ำนวน 5,075 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 1,127 ล้านบาท หรือคิดเป็น 29% เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2562 โดยสาเหตุหลักมาจาก มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น ในขณะที่ผลการด�ำเนินงาน งวด 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2563 บริษัทมีก�ำไรสุทธิจำ� นวน 4,662 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 3,035 ล้านบาท หรือคิดเป็น 39% เมื่อ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ตาม บริษัทยังมี ศักยภาพทางการเงินที่แข็งแกร่ง ซึ่งสะท้อนจากอัตราส่วนหนี้สิน ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio) อยู่ท่ี 1.19 เท่า ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการบริษัทมีมติให้จ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงานงวด 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2563 ในอัตราหุ้นละ 3 บาท ในวันที่ 17 กันยายน 2563 ด้านโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้าง ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2563 บริษทั มีโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้าง 4 โครงการ ซึง่ มีความ ก้าวหน้าตามแผนงาน ประกอบด้วยโครงการโรงไฟฟ้า 3 โครงการ ได้แก่ โรงไฟฟ้าเซลล์เชือ้ เพลิง “กังดง” ในเกาหลีใต้ ก่อสร้างแล้วเสร็จ 98% ซึ่งคาดว่าจะเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2563 โรงไฟฟ้าพลังงานน�ำ้ “น�ำ้ เทิน 1” ใน สปป.ลาว ก่อสร้าง

แล้วเสร็จ 74% ซึง่ คาดว่าจะเริม่ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2565 และโรงไฟฟ้าพลังงานลมนอกชายฝัง่ ทะเล “หยุนหลิน” ในไต้หวัน ก่อสร้างแล้วเสร็จ 48% ซึ่งคาดว่าจะเริ่มเดินเครื่อง เชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 3 ปี พ.ศ. 2564 นอกจากนีย้ งั มีโครงการ ธุรกิจพลังงานทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง 1 โครงการ ได้แก่ โครงการขยายระบบ ขนส่งน�ำ้ มันทางท่อไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อสร้างแล้วเสร็จ 43% ซึ่งคาดว่าจะเริ่มด�ำเนินการในไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2564 ส�ำหรับทิศทางการลงทุน เทพรัตน์ กล่าวว่า “เอ็กโก กรุป๊ มุง่ มัน่ ขยายขอบเขตการด�ำเนินธุรกิจทัง้ ด้านการผลิตและให้บริการ ด้านพลังงาน ครอบคลุมธุรกิจไฟฟ้ำ ซึ่งยังคงเป็นธุรกิจหลัก ทั้งโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลและพลังงานหมุนเวียน โดย เปิดกว้างเรือ่ งพืน้ ทีก่ ารลงทุนทัง้ ในและต่างประเทศ รวมทัง้ แสวงหา โอกาสการลงทุนใหม่ในธุรกิจพลังงานที่เกี่ยวเนื่อง ได้แก่ ธุรกิจ เชือ้ เพลิงและระบบสาธารณูปโภค โดยได้เริม่ ลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐานด้านเชื้อเพลิง (Fuel Infrastructure) ซึ่งเป็นธุรกิจต้นน�้า ที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ธุรกิจหลัก เช่น โครงการขยายระบบ ขนส่งน�้ำมันทางท่อไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้น และ ธุรกิจ Smart Energy Solution ในฐานะผูใ้ ห้บริการด้านนวัตกรรม พลังงานอย่างครบวงจร เช่น การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเอ็กโก ระยอง ให้เป็น Smart Industrial Estate ซึง่ อยูร่ ะหว่างการจัดท�ำ EIA โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2563 และการพัฒนา โครงการโซลาร์ในรูปแบบ Solar Solution Provider ซึง่ อยูร่ ะหว่าง การเจรจากับลูกค้าอุตสาหกรรมและอาคารพาณิชย์ เป็นต้น” “เอ็กโก กรุป๊ ยังคงมุง่ เน้นเสริมความแข็งแกร่งในธุรกิจไฟฟ้า ซึ่งเป็นความเชี่ยวชาญของบริษัท โดยการบริหารพอร์ตโรงไฟฟ้า ในกลุ่มด้วยการกระจายเชื้อเพลิงที่หลากหลาย ทั้งก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ชีวมวล พลังงานน�้ำ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พิภพ และเซลล์เชื้อเพลิง ในขณะเดียวกัน บริ ษั ท ยั ง เดิ น หน้ า ขยายการลงทุ น ไปยั ง ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ พลังงานทัง้ ต้นน�ำ้ และปลายน�ำ้ แบบครบวงจร เพือ่ เพิม่ มูลค่าและ ส่งเสริมการด�ำเนินธุรกิจในภาพรวม ซึง่ จะสร้างการเติบโตได้อย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืนในอนาคต” เทพรัตน์ กล่าวสรุป

September-October 2020


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ ปิดฉาก 20 ปีกับภารกิจผลิตไฟฟ้า

โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมหินกองรับไม้ต่อ บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) ประกาศหยุดการเดินเครือ่ ง ผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมไตรเอนเนอจี้ หลังสัญญา การซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ครบอายุในวันที่ 30 มิถุนายน 2563 นับเป็นระยะเวลา 20 ปี ที่โรงไฟฟ้าแห่งนี้ได้สนับสนุนภารกิจการผลิตไฟฟ้าเสริมสร้างความ มัน่ คงระบบไฟฟ้าของประเทศ โดยเฉพาะพืน้ ทีภ่ าคตะวันตก ภาคกลาง และภาคใต้ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ด้วยก�ำลังการผลิตตามสัญญา 700 เมกะวัตต์ ใช้ก๊าซธรรมชาติจากพม่าเป็นเชื้อเพลิง ต่อจากนี้ บริษทั ฯ จะด�ำเนินการประเมินมูลค่าทรัพย์สนิ และรือ้ ถอนโรงไฟฟ้า โดยเครื่องจักรและอุปกรณ์ของโรงไฟฟ้าส่วนหนึ่งจะส�ำรองไว้เป็น อะไหล่ของโรงไฟฟ้าในกลุ่มบริษัทฯ ส่วนพื้นที่ของโรงไฟฟ้าขนาด 250 ไร่ ส่วนหนึ่งจะใช้ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมหินกอง ก�ำลังการผลิตตามสัญญารวม 1,400 เมกะวัตต์ กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ เป็น โครงการผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ หรือ IPP ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือก ตามประกาศรับซื้อไฟฟ้าของ กฟผ. รอบปี พ.ศ. 2537 เริ่มผลิต กระแสไฟฟ้าจ�ำหน่ายให้ กฟผ. ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2543 และบริษัทฯ ได้เข้าร่วมลงทุนในโครงการแห่งนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2546 และต่อมาในปี พ.ศ. 2557 ได้เข้าถือหุ้นทั้งหมด ในนามบริษทั ย่อยคือ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ตลอดระยะเวลา 20 ปีทผี่ า่ นมา โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจีไ้ ด้ยดึ ถือภารกิจการผลิตไฟฟ้า เพื่อเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ โดยใส่ใจและให้ความส�ำคัญอย่างจริงจังต่อการจัดการ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างดีท่ีสุด อีกทั้งยังได้เสริมสร้าง เศรษฐกิ จ ท้ อ งถิ่ น และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชนโดยรอบ ผ่านการจ้างงานท้องถิน่ การจ่ายภาษีทอ้ งถิน่ เงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้า และการท�ำกิจกรรมเพือ่ สังคมต่างๆ ตอบสนองประเด็นปัญหาของ ชุมชนอย่างต่อเนื่อง “โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจีไ้ ด้รบั การยอมรับในระดับเอเชียแปซิฟกิ ให้เป็นตัวอย่างของการจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมที่ดี September-October 2020

โดยได้รบั รางวัลด้านความปลอดภัยทัง้ ในประเทศและระดับภูมภิ าค อย่างต่อเนื่อง ขณะที่การจัดการสิ่งแวดล้อมก็เลือกใช้เทคโนโลยี ประสิทธิภาพสูงในขณะนั้น น�ำมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ระดับสากล และระบบการบริหารคุณภาพเพือ่ ความเป็นเลิศในการ ท�ำงานเข้ามาใช้ในการบริหารโรงไฟฟ้า ท�ำให้ปริมาณการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และออกไซด์ของไนโตรเจนสามารถก�ำจัดและ ควบคุมได้ในระดับทีด่ กี ว่ามาตรฐานกฎหมายก�ำหนดไว้ นอกจากนี้ ยังมีการดูแลชุมชนโดยรอบโรงไฟฟ้าต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มการพัฒนา โครงการ มุ่งเน้นการจ้างงานท้องถิ่นเป็นล�ำดับแรก เพื่อเป็นการ พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และเมือ่ ปี พ.ศ. 2550 มีการจัดการกองทุน พัฒนาไฟฟ้า ซึ่งโรงไฟฟ้าแห่งนี้ได้น�ำส่งเงินกองทุนอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ยปีละประมาณ 30-40 ล้านบาท ซึ่งได้น�ำไปใช้พัฒนาคุณภาพ ชีวติ ของประชาชนและสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีร่ อบโรงไฟฟ้า อีกทัง้ ยังได้ น�ำส่งภาษีท้องถิ่นเฉลี่ยปีละ 1-2 ล้านบาท ด้วย” กิจจา กล่าว โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ก�ำหนดหยุดการผลิตกระแสไฟฟ้า อย่างถาวรในวันที่ 30 มิถนุ ายน 2563 ตามสัญญาการซือ้ ขายไฟฟ้า ขณะนีบ้ ริษทั ฯ ได้มอบหมายให้บริษทั ทีไ่ ด้รบั อนุญาตจากส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ท�ำการประเมินมูลค่าทรัพย์สินเรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการ ด�ำเนินการเพื่อจ�ำหน่ายทรัพย์สินและรื้อถอนโรงไฟฟ้า ซึ่งจะต้อง สอดรับกับแผนการใช้พน้ื ทีข่ องโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมหินกอง ขั้นตอนการรื้อถอนโรงไฟฟ้าคาดว่าจะแล้วเสร็จประมาณกลางปี พ.ศ. 2564 “บริษัทฯ ขอขอบคุณชุมชนโดยรอบโรงไฟฟ้า ชาวจังหวัด ราชบุรี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่สนับสนุนโรงไฟฟ้า ไตรเอนเนอจีใ้ ห้ดำ� เนินภารกิจผลิตไฟฟ้า เพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศจนส�ำเร็จในวันนี้ หลังจากนีโ้ รงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม หินกอง จะเข้ามาสานต่อภารกิจดังกล่าวควบคูก่ บั การพัฒนาเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของชุมชนที่ดียิ่งขึ้น รวมทั้งการดูแลสิ่งแวดล้อม ให้ดีที่สุด” กิจจา กล่าวปิดท้าย



Special Scoop > กองบรรณาธิการ

...โอกาสเพื่อการฟื้นตัวของไทย และผลักดันประเทศ

สู่ดิจิทล ั ไทยแลนด์เต็มขั้น

ปัจจุบันผู้น�ำด้านเทคโนโลยีระดับโลกต่างพากันผลักดัน เครือข่าย “5G” ทีน่ อกจากจะมอบความเร็วของการเชือ่ มต่ออย่าง ที่ไม่เคยมีมาก่อน ยังช่วยสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ สร้างรายได้ รวมถึงช่วยให้ภาคธุรกิจในประเทศฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 ได้เร็วขึ้น นี่อาจเป็นค�ำตอบส�ำหรับประเทศไทยในการก้าวเข้าสู่ ไทยแลนด์ 4.0 ได้อย่างสมบูรณ์แบบ รวมทัง้ เป็นโอกาสให้ประเทศไทย ฟื้นตัวกลับมาเป็นผู้นำ� ในภูมิภาคอาเซียนได้อย่างเต็มตัว พุ ท ธิ พ งษ์ ปุ ณ ณกั น ต์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ลั เ พื่ อ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ได้ ก ล่ า วถึ ง ความส� ำ คั ญ ของ เทคโนโลยี 5G ต่อประเทศไทยว่า “5G จะเป็นสิง่ ทีม่ าเปลีย่ นวิถชี วี ติ และวิธีบริหารประเทศของไทย ทั้งหมด โดยจะไม่ได้ขับเคลื่อน พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ เฉพาะเครือข่ายมือถือ รัฐบาลไทย เตรียมน�ำเทคโนโลยีนม้ี าปรับใช้กบั การท�ำสมาร์ทซิต้ี ภาคอุตสาหกรรม การผลิต ภาคการศึกษา และที่สำ� คัญที่สุดคือภาคการเกษตร โดย

September-October 2020

รัฐบาลต้องการพัฒนา 5G ท�ำให้ใช้งานได้ทงั้ ประเทศ เพราะเรามองว่า ข้อมูลคือสิ่งส�ำคัญที่สุดในการแข่งขันทางธุรกิจ ทั้งยังส�ำคัญต่อ ขีดความสามารถด้านการแข่งขันระหว่างประเทศ” รมว.ดีอีเอส ยังกล่าวเพิ่มเติมว่า ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของ การน�ำเทคโนโลยี 5G มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินงานของภาครัฐคือ การใช้งานในภาคสาธารณสุข ซึง่ ช่วงทีเ่ กิดสถานการณ์การระบาดของ โควิด-19 ประเทศไทยได้ใช้โซลูชัน AI จากหัวเว่ยในการช่วยรับมือ กับไวรัสดังกล่าว โดยใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลของผลการตรวจ CT Scan ผู้ป่วยโควิด-19 จากประเทศจีนนับหมื่นราย น�ำมา เปรียบเทียบกับผลตรวจของผู้ป่วยในไทยเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยง ต่อการติดเชื้อโควิด ซึ่งระบบนี้มีความแม่นย�ำในการตรวจถึง 96% และยังช่วยแบ่งเบาภาระ รวมทั้งเพิ่มความปลอดภัยให้แก่บุคลากร ทางการแพทย์ในไทยได้อย่างมาก ทั้งนี้ อุปกรณ์ท่ีสามารถใช้งานได้กับเทคโนโลยี 5G ไม่ได้ จ�ำกัดอยู่เพียงโทรศัพท์มือถือเหมือนในยุคก่อน แต่ยังครอบคลุม ไปถึงอุปกรณ์ไอทีส�ำหรับผู้บริโภค ส�ำหรับการใช้งานในองค์กรและ การใช้งานในภาคการผลิตอีกด้วย


วรกาน ลิขิตเดชาศักดิ์ รองหั ว หน้ า เจ้ า หน้ า ที่ ฝ ่ า ย เทคโนโลยีเครือข่ายโทรคมนาคม บริ ษั ท หั ว เว่ ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ในยุคของ 5G อุปกรณ์ท่ีมีการ รองรับการใช้งาน 5G จะมีความ หลากหลายมากขึน้ ทัง้ สมาร์ทโฟน วรกาน ลิขิตเดชาศักดิ์ ทีร่ องรับ 5G และอุปกรณ์ประเภท 5G CPE ทีท่ ำ� การเปลีย่ นสัญญาณ 5G ให้เป็นสัญญาณไวไฟเพือ่ เพิม่ การเชื่อมต่อ อุปกรณ์แวเรเบิลดีไวซ์ แว่น VR/AR ไปจนถึงอุปกรณ์ 5G Module ที่น�ำไปใช้งานร่วมกับระบบหุ่นยนต์หรือเครื่องจักร อุตสาหกรรมต่างๆ ซึง่ ทัง้ หมดนีจ้ ะช่วยสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ได้อย่างไร้ขีดจ�ำกัด “ภายในปี ค.ศ. 2020 เราจะเห็นผลิตภัณฑ์มือถือที่รองรับ การใช้งานบนเทคโนโลยี 5G มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง และราคาอุปกรณ์ ทีร่ องรับการใช้งาน 5G ก็จะลดลง ซึง่ จะท�ำให้มจี ำ� นวนผูใ้ ช้งาน 5G ในประเทศไทยแพร่หลายยิ่งขึ้น นอกจากเทคโนโลยี 5G จะช่วย ยกระดับด้านเครือข่ายการเชื่อมต่อ และท�ำให้อุตสาหกรรมใน ประเทศไทยมีความชาญฉลาด 5G ยังจะช่วยท�ำให้เกิดการสร้างรายได้ ในอีก 3 มิติ อันได้แก่ มิติการสร้างรายได้จากประสบการณ์ใช้งาน ทีด่ ขี นึ้ อันเกิดจากความเร็วในการเชือ่ มต่อทีส่ งู ขึน้ และมีคา่ ความหน่วง (Latency) ต�ำ่ ลง มิตจิ ากการสร้างรายได้จากปริมาณการใช้งานข้อมูล ที่เพิ่มมากขึ้นจากการใช้งานแอปพลิเคชันและสื่อออนไลน์รูปแบบ ใหม่ๆ และมิตจิ ากการสร้างรายได้ดว้ ยการรองรับปริมาณการเชือ่ มต่อ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็นทวีคณ ู ซึง่ จะช่วยเพิม่ จ�ำนวนลูกค้าผูใ้ ช้งานบนเครือข่าย ให้มากขึ้นกว่าเดิม” นอกจากนี้ วรกาน ยังมองว่าประเทศไทยค่อนข้างก้าวหน้า ในการน�ำเทคโนโลยี 5G มาประยุกต์ใช้ และมีผลงานที่ดีในการ ผลักดัน 5G ในช่วง 6 เดือนหลังจากเสร็จสิน้ การประมูลคลืน่ ความถี่ เห็ น ได้ จ ากการใช้ ง านโซลู ชั น รู ป แบบใหม่ ที่ ห ลากหลายในภาค สาธารณสุขเพื่อรับมือกับสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ไม่วา่ จะเป็นเทคโนโลยี Cloud และ AI บน 5G ส�ำหรับใช้ตรวจวินจิ ฉัย ผู้ป่วยโควิด-19 การติดตั้งเครือข่าย 5G เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ เชือ่ มต่อให้แก่ระบบของโรงพยาบาล หรือการใช้หนุ่ ยนต์ขนส่งอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ผ่านการเชื่อมต่อเครือข่าย 5G เป็นต้น ทั้งนี้ การประยุกต์ใช้ 5G ในภาคสาธารณสุขยังสามารถ ขยายผลไปใช้งานในรูปแบบอืน่ ได้อกี ไม่วา่ จะเป็นการผ่าตัดทางไกล การให้ค�ำปรึกษาทางไกลระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ด้วยกัน หรือระหว่างแพทย์กับคนไข้ หรือแม้แต่การน�ำหุ่นยนต์มาใช้ฆ่าเชื้อ และตรวจผู้ป่วยในอนาคต “ตอนนีเ้ รามีเทคโนโลยีทด่ี อี ยูก่ บั ประเทศไทย หากประเทศไทย สามารถผลักดันอีโคซิสเต็มของ 5G ซึง่ ประกอบด้วย โอเปอเรเตอร์ หรือผูใ้ ห้บริการโครงข่าย ผูใ้ ห้บริการโซลูชนั ภาคอุตสาหกรรมแนวดิง่

พาร์ ท เนอร์ ร ายย่ อ ย และภาครั ฐ หรื อ สมาคมในอุ ต สาหกรรม ให้ชว่ ยกันส่งเสริมการใช้งาน 5G ไปพร้อมกันได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคอุตสาหกรรมซึ่งน่าจะได้ประโยชน์สูงสุดจากเทคโนโลยี 5G รวมทัง้ ผลักดันทักษะด้านดิจทิ ลั ของทรัพยากรบุคคล สิง่ เหล่านีจ้ ะช่วย พาประเทศไทยเข้าสู่ดิจิทัลไทยแลนด์ได้อย่างสมบูรณ์แบบ เพราะ 5G ไม่ได้เป็นเรื่องของคนใดคนหนึ่ง ต้องใช้ความร่วมมือด้วยกัน”

5G สร้างอีโคซิสเต็มยกระดับภาคอุตสาหกรรม

ผูบ้ ริหารหัวเว่ยได้กล่าวว่า ประเทศไทยเป็นหนึง่ ในผูน้ ำ� ด้าน เทคโนโลยี 5G ของภูมภิ าคอาเซียน ซึง่ 5G อีโคซิสเต็มจะช่วยสร้าง โอกาสทางธุรกิจจากคุณภาพและรูปแบบของบริการใหม่ๆ มากขึน้ ทีส่ ำ� คัญ 5G ยังช่วยให้อตุ สาหกรรมท่องเทีย่ วและบริการฟืน้ ตัวจาก วิกฤตโควิด-19 ได้ดขี น้ึ จากการประยุกต์ใช้แอปพลิเคชันและบริการ รูปแบบใหม่ซึ่งเกิดจากเครือข่ายความเร็วสูงแห่งอนาคต อาเบล เติ้ ง ประธาน กรรมการบริหาร บริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่ า วในงานสั ม มนาส� ำ หรั บ สื่ อ มวลชนภายใต้ หั ว ข้ อ “5G อี โ คซิ ส เต็ ม และอนาคตของ ประเทศไทย” ว่า “ประเทศไทย เป็นหนึง่ ในประเทศทีม่ ศี กั ยภาพ อาเบล เติ้ง ด้ า นเทคโนโลยี 5G ในระดั บ แนวหน้า โดยเทคโนโลยีดงั กล่าวจะเป็นตัวขับเคลือ่ นหลักทีช่ ว่ ยผลักดัน ภาคเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยในทุกๆ ด้าน การมาถึงของ 5G อีโคซิสเต็มจะช่วยพัฒนาทั้งคุณภาพชีวิตของผู้ใช้งานทั่วไป รวมทัง้ ยกระดับสังคมดิจทิ ลั อย่างเต็มรูปแบบ ซึง่ ภารกิจของหัวเว่ย ประเทศไทยคือการเติบโตไปพร้อมกับประเทศไทย เรามุง่ มัน่ สนับสนุน การน�ำเทคโนโลยี 5G มาใช้พฒ ั นาธุรกิจต่างๆ เพราะเป็นกุญแจส�ำคัญ ต่อการฟืน้ ฟูและสร้างการเติบโตทัง้ ต่อเศรษฐกิจและสังคมของไทย ซึ่งจะช่วยเพิ่มผลิตผล ลดค่าใช้จ่าย และยกระดับคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น ยิ่งกว่านั้น เราจ� ำ เป็ น ต้ อ งสร้ า งอี โ คซิ ส เต็ ม เพื่ อ รองรั บ การใช้ ง านในภาค อุตสาหกรรม โดยเทคโนโลยี 5G จะไม่เพียงช่วยพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูใ้ ช้งานทัว่ ไป แต่จะช่วยยกระดับสังคมดิจทิ ลั อย่างเต็มรูปแบบ อีกด้วย ซึ่งประเทศไทยนับว่ามีความก้าวหน้าอย่างมาก เพราะ เป็นหนึ่งในประเทศแรกๆ ของอาเซียนที่เป็นผู้น�ำเทคโนโลยีน้ีมา ประยุกต์ใช้แล้ว” นอกจากนี้ วรกาน ลิขิตเดชาศักดิ์ รองหัวหน้าเจ้าหน้าที่ ฝ่ายเทคโนโลยีเครือข่ายโทรคมนาคม บริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าองค์ประกอบของ 5G อีโคซิสเต็ม ประกอบไปด้วย 4 ปัจจัยหลัก ได้แก่

September-October 2020


• นวัตกรรมในภาคธุรกิจ (Business Mode Innovation) การเกิดรูปแบบการบริการใหม่ๆ ที่มีความหลากหลายมากขึ้น ซึ่ง จะไม่จ�ำกัดเพียงการให้บริการด้านความเร็วบนอุปกรณ์มือถือ โดย นอกจากการให้บริการระหว่างธุรกิจองค์กรกับผูบ้ ริโภค (Businessto-Consumer) 5G จะท�ำให้เกิดการใช้งานระหว่างธุรกิจองค์กร ด้วยกัน (Business-to-Business) • พาร์ทเนอร์ในอีโคซิสเต็ม (Local Ecosystem Integration) การจะสร้างเครือข่ายส�ำหรับทุกภาคอุตสาหกรรมให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด จ�ำเป็นต้องมีพาร์ทเนอร์จากทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ ผูใ้ ห้บริการเครือข่าย ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมแบบแนวดิง่ ผู้ให้บริการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อย่างหัวเว่ย และผู้จัดท�า โซลูชันในประเทศ • 5G ทีใ่ ช้งานได้จริง (Real Use Cases) 5G ในปี ค.ศ. 2020 จะเป็นเรื่องที่จับต้องได้ มีเครือข่ายที่สามารถใช้งานได้จริง โดย เทคโนโลยี 5G จะไม่ได้เป็นเพียงการทดสอบในห้องแลปหรือกรณี ศึกษาแบบในปีที่ผ่านมา แต่จะเป็นการน�ำไปประยุกต์ใช้จริง • ประสบการณ์และความส�ำเร็จจากทัว่ โลก (Global Best Practices) เนือ่ งจากหัวเว่ยท�ำงานร่วมกับโอเปอเรเตอร์และพาร์ทเนอร์ ชั้นน�ำทั่วโลก จึงท�ำให้เราสามารถน�ำประสบการณ์ท่ีหลากหลาย และตัวอย่างความส�ำเร็จจากตลาดอื่นมาปรับใช้กับประเทศไทยได้

September-October 2020

โดย อาเบล กล่าวเสริมว่า “5G จะช่วยยกระดับด้าน การเชื่อมต่อ (Connectivity) ในขณะที่ AI จะช่วยยกระดับ ด้านความชาญฉลาด (Intelligence) เมื่อน�ำนวัตกรรมทั้ง 2 มาผสานกันจะท�ำให้เกิดโอกาสใหม่ๆ ที่ไร้ขีดจ�ำกัด (Infinite Possibilities) โดยอีโคซิสเต็มจากเทคโนโลยี 5G จะท�ำให้ ทุกภาคอุตสาหกรรมในอนาคตน�ำทัง้ เทคโนโลยี Cloud, AI และ Big Data ไปประยุกต์ใช้ร่วมกับ 5G จนเกิดความ “อัจฉริยะ” ในทุกกระบวนการท�ำงาน ไม่วา่ จะเป็นภาคอุตสาหกรรมการผลิต อัจฉริยะ (Smart Manufacturing) อุตสาหกรรมสาธารณสุข อัจฉริยะ (Smart Healthcare) หรือแม้แต่ระบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ซึง่ จะช่วยเพิม่ ศักยภาพในการด�ำเนินธุรกิจให้แก่ องค์กรในประเทศไทย รวมถึงสร้างโอกาสการต่อยอดรายได้ และเปิดโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ มากขึ้น” รูปแบบธุรกิจใหม่ๆ จาก 5G ส�ำหรับผู้บริโภค ได้แก่ การให้บริการในรูปแบบ Virtual Reality (VR), Augment Reality (AR), การเล่นเกมแบบ Cloud Gaming ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเต็มรูปแบบ การถ่ายทอดสดออนไลน์ (LiveStreaming) ด้วยความละเอียดระดับ 4K หรือผ่าน VR/AR เป็นต้น ส�ำหรับภาคธุรกิจองค์กร 5G จะเข้าไปมีบทบาทได้ทั้ง ในด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดยสามารถพัฒนา โซลูชันเพื่อตอบโจทย์ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การเพิ่มจ�ำนวน ผลผลิ ต ลดจ� ำ นวนสิ น ค้ า หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ต� ำ หนิ ห รื อ ไม่ได้มาตรฐาน และลดต้นทุนให้แก่กระบวนการผลิตและ การด�ำเนินการ นอกจากนี้ 5G ยังจะช่วยยกระดับ Digital Society ของ ประเทศไทย ได้แก่ การต่อยอดมาตรฐานของภาคสาธารณสุข การสนับสนุนภาคการศึกษาออนไลน์ และการสร้างความ เท่าเทียมทางดิจทิ ลั ให้ทว่ั ถึงทุกพืน้ ที่ ซึง่ จะช่วยพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศ พร้อมกันนี้ 5G ก็ยังมีบทบาทในการ ผลักดัน Digital Economy ของประเทศ ได้แก่ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคอีคอมเมิร์ซ และภาคการท่องเที่ยว เป็นปัจจัยส�ำคัญทีจ่ ะช่วยผลักดันภาคเศรษฐกิจในประเทศไทย ให้เดินหน้าต่อได้ภายใต้ความท้าทายที่เกิดขึ้น ดังจะเห็นได้ จากการที่หลายประเทศหันมาใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อช่วย ผลักดันเศรษฐกิจในขณะนี้ “ภาคอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วและการบริ ก าร นับเป็นหนึง่ ในอุตสาหกรรมทีส่ ำ� คัญมากส�ำหรับประเทศไทย และสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 5G ได้ในช่วงเวลา ของความท้ า ทายเช่ น นี้ โดยรู ป แบบการใช้ ง านแบ่ ง เป็ น 2 แนวทางหลัก ได้แก่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 5G เพือ่ ช่วย โปรโมตภาคการท่องเที่ยวของไทย และการประยุกต์ใช้ 5G เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ภาคการท่องเทีย่ วของไทย” วรกาน กล่าวเสริม


เทคโนโลยี ICT เสริมแกร่งโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

ในงานประชุม Huawei Global Power Summit จัดขึ้นเป็น ครั้งที่ 7 ในหัวข้อ “บิตขับเคลื่อนวัตต์ สร้างโครงข่ายไฟฟ้า อัจฉริยะที่เชื่อมต่อครบวงจร” (Bits Drive Watts, Building a Fully Connected Smart Grid) ผ่านช่องทางออนไลน์ เพือ่ พูดคุย เกี่ยวกับผลกระทบและวิธีรับมือกับสถานการณ์โรคระบาด รวมถึง ความไม่แน่นอนทางการเมืองและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปีนี้ การสัมมนาครัง้ นีม้ กี ารกล่าวถึงตลาดพลังงานไฟฟ้าทีย่ งั คงมี ศักยภาพสูง จึงเกิดค�ำถามว่าภาคอุตสาหกรรมจะสามารถสร้างและ พัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะทีม่ คี วามเสถียร ประสิทธิภาพสูง คุ้มค่าต่อการลงทุน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยใช้ทรัพยากร พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและสมเหตุสมผลได้อย่างไร บริษทั พลังงานไฟฟ้าทัว่ โลกก�ำลังเฟ้นหาวิธกี ารในการพัฒนา คุณภาพและประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน ผ่านการสร้างศูนย์ขอ้ มูล และการปฏิรปู แพลตฟอร์มการจัดการต่างๆ โดยมุง่ ผลิตพลังงานที่ เสถียร มีประสิทธิภาพ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และมีความปลอดภัย ต่อโครงข่าย พร้อมมอบบริการทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ มากขึน้ ผ่านเครือข่าย ระบบพลังงานไฟฟ้าทีเ่ ชือ่ มโยงถึงกันเพือ่ ขับเคลือ่ นการพัฒนาของ สังคม อย่างไรก็ตาม โมเดลการท�ำงานและเทคโนโลยีแบบดั้งเดิม ไม่สามารถส่งเสริมการปฏิรูปอุตสาหกรรมในลักษณะนี้ได้ ฉะนั้น อุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้าระดับโลกจึงจ�ำเป็นที่จะต้องทบทวน เกี่ยวกับการปรับตัวเพื่อรับมือกับเทรนด์ความท้าทายใหม่ๆ เช่น โครงข่ายไฟฟ้าจะสามารถตรวจจับปัญหาด้านความปลอดภัยและ รับมืออย่างทันท่วงทีได้อย่างไร เราจะสามารถใช้พลังงานสะอาด ให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ และลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ได้อย่างไร และเครือข่ายพลังงานจะสามารถตอบสนองต่อสถานี จ่ายไฟฟ้าที่มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและการจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพได้อย่างไร ในขณะเดียวกัน ความท้าทายย่อมหมายถึงโอกาส หัวเว่ย ได้ผสานเทคโนโลยี 5G, IoT, Optical, IP, Cloud, Big Data และ AI เข้ากับระบบพลังงานไฟฟ้าอย่างไร้รอยต่อ โดยร่วมมือกับ

พาร์ทเนอร์เพื่อเปิดตัวโซลูชันสมาร์ทเซอร์วิสหลายรูปแบบ อาทิ การตรวจสอบระบบโครงข่ายไฟฟ้าโดยใช้ขุมพลังของ AI และ การจ่ายไฟด้วย IoT ซึ่งจะครอบคลุมทั้งการผลิตพลังงาน การส่ง สัญญาณ การแปลงพลังงาน การจ่ายไฟ รวมไปถึงการใช้ไฟฟ้า สิ่งเหล่านี้ช่วยท�ำให้เกิดเซนเซอร์ที่ครอบคลุม เชื่อมต่อถึงกันได้ และยังท�ำให้เทอร์มินัลพลังงานหลายตัวสามารถส่งมอบบริการ อันชาญฉลาดได้ ปัจจุบนั บริษทั ด้านพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับกลยุทธ์ ด้านการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในการ ประชุมครั้งนี้ ผู้น�ำในภาคอุตสาหกรรมหลายรายได้กล่าวถึงความ ส�ำคัญของเทคโนโลยี 5G, AI, Big Data และการประมวลผล Cloud Computing ทีม่ ผี ลต่อกระบวนการเปลีย่ นผ่านดังกล่าว ทัง้ นี้ เทคโนโลยีการจัดแบ่ง (Slicing Technology) แบบ 5G ที่ล�้ำสมัย ของหัวเว่ย สามารถท�ำให้เกิดการสื่อสารแบบต้นสายถึงปลายสาย บนโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ซึ่งท�ำให้เครือข่ายการจ่ายพลังงานมี ความปลอดภัยและเสถียร ทั้งยังมีประสิทธิภาพการท�ำงานที่สูงขึ้น ส่วนเทคโนโลยี Huawei Cloud และแพลตฟอร์มข้อมูล จะช่ ว ยจั ด เตรี ย มแหล่ ง ความจุ ข ้ อ มู ล และความสามารถด้ า น การประมวลผลคอมพิวเตอร์จำ� นวนมหาศาล ผสานข้อมูลจากหลาย ระบบในโครงข่ายไฟฟ้าของบริษทั หนึง่ ๆ เข้าด้วยกันเป็นแพลตฟอร์ม เดียว โดยการประมวลผลและการแบ่งปันข้อมูลด้วยความเร็วสูงของ แพลตฟอร์มดังกล่าว จะช่วยท�ำให้งานทีท่ า้ ทายหลากหลายรูปแบบ ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ นอกจากนี้ เทคโนโลยี AI ของหัวเว่ยที่ฝังเข้าไป ในกล้องและหุน่ โดรนต่างๆ ยังช่วยให้ทมี ปฏิบตั งิ านและบ�ำรุงรักษา อุปกรณ์สามารถตรวจสอบสายส่งไฟฟ้าและจุดบกพร่องต่างๆ จาก ระยะไกลได้ นอกจากนี้ การให้บริการด้านดิจิทัลด้วยการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรด้านสายใยแก้วน�ำแสง ไซต์เครือข่าย และนวัตกรรม โซลูชันไอซีทีที่มีอยู่มากมาย ยังถือเป็นอีกหนึ่งเทรนด์ส�ำคัญของ การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัลส�ำหรับบรรดาบริษัทด้านพลังงานไฟฟ้า ทั่วโลกอีกด้วย September-October 2020


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

จากพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป ได้มีการ ส�ำรวจการใช้ 5G โดยอีริคสัน ซึ่งคาดว่าจ�ำนวนผู้ใช้ ระบบเครือข่าย 5G ทั่วโลกภายในสิ้น พ.ศ. 2563 จะ สูงถึง 190 ล้านราย และจะเพิ่มเป็น 2.8 พันล้านราย ภายในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้และโอเชียเนียจะใช้เทคโนโลยีเซลลูลาร์ผ่าน 5G เป็นอันดับ 2 รองจากเทคโนโลยี LTE และภายใน พ.ศ. 2568 จ�ำนวนผู้ใช้ 5G จะเพิ่มเป็น 270 ล้านราย หรือคิดเป็น 21% ของจ�ำนวนผู้ใช้มือถือทั้งหมด ข้อมูลคาดการณ์ดังกล่าวได้ระบุไว้ในรายงาน Ericsson Mobility Report ประจ�ำเดือนมิถุนายน 2563 รวมไปถึงข้อมูลประมาณการเติบโตของดาต้า อินเทอร์เน็ตและจ�ำนวนผู้ใช้บริการในแต่ละภูมิภาค รายงานดังกล่าวนีย้ งั ท�ำการวิเคราะห์ถงึ บทบาทเครือข่าย และโครงสร้างพืน้ ฐานดิจทิ ลั ในช่วงการแพร่ระบาดของ โควิด-19 ที่หลายคนต้องท�ำงานและใช้ชีวิตอยู่บ้าน โดยเชื่อมต่อกันผ่านอินเทอร์เน็ต นาดี น อั ล เลน ประธาน บริ ษั ท อี ริ ค สั น (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “โควิด-19 ท�ำให้พฤติกรรม การด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันของผูค้ นทัว่ โลกต้องเปลีย่ นไป เช่นเดียวกับปริมาณการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายที่ เปลี่ยนแปลงพื้นที่จากย่านธุรกิจไปสู่ชุมชนที่พักอาศัย อย่างรวดเร็ว เมื่อผู้คนต้องท�ำงานหรือเรียนที่บ้าน โดยรายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด แสดงให้เห็นว่า การใช้เครือข่ายมือถือและเครือข่าย อิ น เทอร์ เ น็ ต บ้ า นก� ำ ลั ง เพิ่ ม บทบาทส� ำ คั ญ มากขึ้ น ในฐานะโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ”

นาดีน อัลเลน September-October 2020

บทบาทส�ำคัญ

ของเครือข่าย 5G ในช่วงโควิด-19 ต่อสังคม

ขณะที่ ต ลาดผู ้ ใช้ เ ครื อ ข่ า ย 5G บางแห่ ง เติ บ โตแบบชะลอตั ว อันเป็นผลมาจากการแพร่ระบาดใหญ่ของโควิด-19 เมื่อเทียบกับตลาด อื่นๆ ส่วนใหญ่ที่กำ� ลังเร่งพัฒนาเครือข่าย 5G ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณให้ อีริคสันปรับเพิ่มประมาณการผู้ใช้ 5G ทั่วโลก ณ สิ้น ค.ศ. 2020 “นอกเหนือไปจากการเพิม่ ยอดผูใ้ ช้ 5G แล้ว 5G ยังมอบประโยชน์ มหาศาลให้แก่ท้ังภาคธุรกิจและภาคประชาชน 5G ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ ต่อยอดพัฒนานวัตกรรมต่างๆ และวิกฤติการณ์นไ้ี ด้แสดงถึงคุณค่าทีแ่ ท้จริง ของระบบการสือ่ สาร รวมถึงบทบาทส�ำคัญในการพลิกฟืน้ เศรษฐกิจอีกด้วย” นาดีน กล่าวเพิ่มเติม คาดการณ์ ว ่ า ปริ ม าณการใช้ ง านอิ น เทอร์ เ น็ ต ต่ อ สมาร์ ท โฟน 1 เครือ่ งในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนียจะสูงถึง 25GB ภายใน พ.ศ. 2568 หรือเติบโตเฉลีย่ 33% ต่อปี โดยอัตราการเติบโตเกิด จากพื้นที่ใช้งานและการใช้สัญญาณเครือข่าย 4G และการใช้สมาร์ทโฟน ทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมถึงอัตราเฉลีย่ การใช้ดาต้าต่อสมาร์ทโฟน คาดว่าการใช้งาน โมบายล์ดาต้าในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะสูงถึง 25 EB ต่อเดือน จากปกติที่ 3.2 EB ต่อเดือน หรือมีอัตราเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 40% ต่อปี การเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคเนื่องจากมาตรการล็อกดาวน์ ส่งผลให้การใช้งานเครือข่ายมือถือและอินเทอร์เน็ตบ้านเปลี่ยนแปลง ไปเช่นกัน โดยในย่านที่พักอาศัยมีปริมาณการใช้ดาต้าอินเทอร์เน็ตผ่าน


วุฒิชัย วุฒิอุดมเลิศ

เครือข่ายบรอดแบนด์เติบโตราว 20-100% แต่ขณะเดียวกันผู้ให้บริการ ก็สังเกตเห็นความต้องการใช้งานเครือข่ายมือถือเพิ่มขึ้นเช่นกัน ผลวิจัยล่าสุดโดย Ericsson Consumer Lab ระบุ 83% ของ ผูต้ อบแบบส�ำรวจจาก 11 ประเทศ ทีใ่ ช้งานเทคโนโลยี ICT อย่างมีนยั ส�ำคัญ ช่วงล็อกดาวน์ เผยว่า ในช่วงล็อกดาวน์คนเหล่านัน้ เปิดใช้บริการเทคโนโลยี ICT ต่างๆ มากขึ้น อาทิ แอปฯ เรียนออนไลน์และแอปฯ ดูแลสุขภาพ ทีช่ ว่ ยให้พวกเขาปรับตัวเข้ากับการใช้ชวี ติ วิถใี หม่ผา่ นการเชือ่ มต่อเครือข่าย ขณะที่ 57% ระบุวา่ พวกเขาจะเก็บเงินเพือ่ ความมัน่ คงทางการเงิน ในอนาคต โดย 1 ใน 3 มีแผนใช้เงินไปกับเครือข่าย 5G และพร้อมปรับปรุง ระบบเครือข่ายบรอดแบนด์ทบี่ า้ นให้รองรับการใช้งานได้ดขี นึ้ เพือ่ เตรียม รับมือหากเกิดการระบาดรอบ 2

โอกาสทางธุรกิจของ 5G

การแพร่ระบาดของโควิด-19 ย�ำ้ ให้เห็นถึงความส�ำคัญของการน�า เทคโนโลยีดิจิทัลมาเสริมการด�ำเนินธุรกิจทั่วโลก นอกจากเปิดโอกาสให้ องค์กรเชือ่ มต่อกับลูกค้าหรือด�ำเนินธุรกรรมทางการเงินผ่านอินเทอร์เน็ต ได้อย่างไม่สะดุดแล้ว ระบบเครือข่าย 5G และเทคโนโลยีดิจิทัลยังสร้าง โอกาสการขยายธุรกิจไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ๆ แก่ผู้ให้บริการเครือข่าย อาทิ สุขภาพ ยานยนต์ และการผลิต

วุฒิชัย วุฒิอุดมเลิศ หัวหน้าฝ่ายเน็ตเวิร์ก โซลูชนั บริษทั อีรคิ สัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “อีริคสันมีผลิตภัณฑ์และบริการ 5G ที่ครอบคลุมและ เหมาะสม พร้อมให้ลกู ค้าน�ำไปปรับใช้กบั เครือข่าย 5G ในทุ ก ย่ า นความถี่ ห ลั ก ทั่ ว โลกได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และ มีประสิทธิภาพสูงสุด เรามั่นใจว่าจะได้เห็นนวัตกรรม ทีข่ บั เคลือ่ นและสร้างขึน้ จาก 5G ส�ำหรับธุรกิจ รวมถึง กรณีศกึ ษาในเรือ่ ง IoT ทัง้ นี้ 5G จะเข้าไปช่วยปลดล็อก โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ให้แก่ผู้ให้บริการ” ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ทเี่ ปิดใช้ระบบเครือข่าย 5G เชิงพาณิชย์ เมื่อเดือนมีนาคมปีนี้ มีการประเมินว่า ใน พ.ศ. 2568 ระบบเครือข่าย 5G จะสร้างรายได้ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ราว 4.1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ อนึ่ง อีริคสัน สนับสนุนผู้ให้บริการด้านการ สื่อสารในการสร้างมูลค่าสูงสุดจากการเชื่อมต่อ กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ของบริษัทครอบคลุมเครือข่าย (Networks) การบริการดิจิทัล (Digital Services) การบริหารจัดการ เครือข่าย (Managed Services) และธุรกิจเกิดใหม่ ทีก่ ำ� ลังเติบโต (Emerging Business) และมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะช่วยเหลือลูกค้าให้มงุ่ สูร่ ะบบดิจทิ ลั เพิม่ ประสิทธิภาพ และมองหารายได้รูปแบบใหม่ การลงทุนเพื่อพัฒนา นวั ต กรรมของอี ริ ค สั น ได้ ม อบประโยชน์ จ ากระบบ โทรศัพท์และเครือข่ายเคลื่อนที่ให้แก่ผู้คนหลายพัน ล้านคนทัว่ โลก อีรคิ สันจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ NASDAQ ในกรุ ง สต็ อ กโฮล์ ม และใน NASDAQ นครนิวยอร์ก

September-October 2020


Scoop

> กองบรรณาธิการ

อีริคสันและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบัน การศึกษาชัน้ น�ำของประเทศไทย ประกาศความร่วมมือ ล่าสุดในงาน “Chula 5G for Real Exhibition” โดย จัดแสดงและน�ำเสนอนวัตกรรมที่พัฒนาร่วมกันจาก เทคโนโลยี 5G ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ IoT อาทิ รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ (Autonomous Vehicles) ทันตแพทย์ทางไกล (Tele-Dentistry) ทีต่ อบรับสังคมสูงวัย และบริการตรวจรักษาทางไกล (Tele-Medical Services) ให้แก่ประชาชนผ่านเทคโนโลยีเอไอ ศ. ดร.วาทิต เบญจพลกุล ประธานโครงการ ทดสอบบริการโทรคมนาคมไร้สาย 5G กล่าวว่า “ตัง้ แต่ พ.ศ. 2562 ศูนย์ 5G Innovation Center ในจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้พฒ ั นานวัตกรรมต่างๆ มากมาย ร่วมกับ พันธมิตรอืน่ จากหลากหลายอุตสาหกรรม ซึง่ รวมถึงอีรคิ สัน ด้วย ศูนย์ฯ แห่งนี้ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ จากส�ำนักงาน กสทช. (คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ) โดยมี พันธกิจหลักคือ เพือ่ พัฒนารูปแบบการใช้งานต่างๆ ทีม่ ี คุณประโยชน์แก่สังคมและขับเคลื่อนให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ ขึน้ 1 ปีเต็มๆ ทีพ่ วกเรามุง่ มัน่ ท�ำงานกันอย่างหนัก วันนี้ เราพร้อมแสดงให้ทุกภาคส่วนได้เห็นความส�ำเร็จและ ความคืบหน้าของการพัฒนานวัตกรรมด้วยเทคโนโลยี 5G ในประเทศไทยแล้ว” September-October 2020


เทคโนโลยี 5G จะช่วยขับเคลื่อนธุรกิจให้ก้าวไกลไปสู่ยุค ดิจิทัลได้อย่างรวดเร็ว พร้อมตอบสนองความต้องการและสร้าง ความน่าเชื่อถือได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสร้างโอกาสใหม่ๆ ไปสู่กลุ่ม ธุรกิจที่หลากหลาย ประกอบด้วย กลุ่มดูแลสุขภาพ (Healthcare) กลุ่มยานยนต์ (Automotive) และกลุ่มการผลิตด้านอุตสาหกรรม (Manufacturing) ทัง้ นี้ ประเทศไทยคาดการณ์วา่ ภายใน พ.ศ. 2573 มูลค่าของรายได้รวมจากธุรกิจดิจิทัลที่เปิดใช้งานเทคโนโลยี 5G จะอยู่ที่ประมาณ 7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ด้าน นาดีน อัลเลน ประธาน บริษทั อีรคิ สัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “ถือเป็นความภาคภูมใิ จเป็นอย่างยิง่ ทีอ่ รี คิ สันได้เป็น ส่ ว นหนึ่ ง ในความร่ ว มมื อ ครั้ ง นี้ กั บ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เพือ่ ตอกย�ำ้ ให้เห็นถึงศักยภาพของเทคโนโลยี 5G ทีเ่ ข้ามาช่วยเสริม และสร้างนวัตกรรมเพื่อเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิตที่ดีกว่าในงาน “Chula 5G for Real Exhibition” “เราทราบกันดีวา่ เทคโนโลยี 5G นัน้ ไม่ใช่เป็นเพียงเทคโนโลยี ด้านเครือข่ายรุน่ ถัดไปเท่านัน้ แต่ยงั เป็นแพลตฟอร์มทีช่ ว่ ยสร้างสรรค์ นวัตกรรมมากมายให้เกิดขึ้นและเป็นจริงได้ พร้อมกับผลักดันทั้ง ภาคอุตสาหกรรมและสังคมเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคใหม่ พร้อมน�ำพา เทคโนโลยี IoT ให้ก้าวไปสู่อีกขั้นหนึ่งที่จ�ำเป็นต้องมีการเชื่อมต่อ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงเพือ่ รองรับการท�ำงานทัง้ หมด ตัง้ แต่แอปพลิเคชัน บนสมาร์ทโฟน ไปจนถึงการท�ำงานร่วมกันระหว่างมนุษย์กบั หุน่ ยนต์ แบบเรียลไทม์ภายในโรงงาน” นาดีน กล่าวเสริม ด้วยประสบการณ์และการด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทยกว่า 100 ปี อีริคสันมุ่งมั่นสนับสนุนผู้ให้บริการโทรคมนาคมเปิดใช้ เทคโนโลยี 5G เพื่อรับประโยชน์อย่างเต็มที่จากเทคโนโลยีการ เชือ่ มต่อ พร้อมมอบประสบการณ์ออนไลน์ทเ่ี หนือกว่าให้แก่ผใู้ ช้งาน โดยอีริคสันมีการลงทุนอย่างจริงจังด้านการวิจัยและพัฒนามา อย่างต่อเนื่องในระดับโลกเพื่อพัฒนาพอร์ตโฟลิโอ 5G ให้มีความ

ครอบคลุมและโดดเด่น อันประกอบไปด้วยแพลตฟอร์ม 5G ครบวงจร ทีค่ รอบคลุมโซลูชนั เทคโนโลยีขนั้ สูง อาทิ Ericsson Spectrum Sharing และ 5G-Ready (Hardware) Radios นอกจากนี้ อีรคิ สันยังร่วมมือกับผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคมชัน้ น�ำ รวมถึงมหาวิทยาลัยและสถาบันทางด้านเทคโนโลยีมากกว่า 40 แห่ง และพันธมิตรในอุตสาหกรรมอีก 30 ราย เพือ่ สร้างความเข้าใจการ พัฒนานวัตกรรมและสร้างระบบนิเวศ 5G ให้เติบโตอย่างแข็งแกร่ง “การแพร่ระบาดของ COVID-19 ส่งผลให้เครือข่ายโทรคมนาคม ทั้งเครือข่ายมือถือและเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบ้านส�ำคัญอย่าง ยิง่ ยวดต่อการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศ พร้อมย�ำ้ ให้เห็น ความส�ำคัญของเทคโนโลยีการเชื่อมต่อคุณภาพสูงที่จะมีบทบาท ต่อการด�ำเนินธุรกิจและขับเคลื่อนผลิตภาพของประเทศ โดยการ เชือ่ มต่อเครือข่ายมือถือความเร็วสูงอย่าง 5G จะเป็นองค์ประกอบ ส�ำคัญในการน�ำเสนอแพลตฟอร์มทีม่ เี สถียรภาพส�ำหรับสร้างสรรค์ นวัตกรรมและสร้างการเติบโตให้แก่เศรษฐกิจของประเทศไทย” นาดีน กล่าว ปัจจุบนั อีรคิ สันได้ลงนามในสัญญาทางการค้ากับลูกค้าต่างๆ ไปแล้วถึง 99 ราย โดยมีผใู้ ห้บริการถึง 55 รายได้เปิดใช้งานเครือข่าย 5G แล้วใน 5 ทวีป อีริคสันสนับสนุนผู้ให้บริการด้านการสื่อสารในการสร้าง มูลค่าสูงสุดจากการเชื่อมต่อ กลุ่มผลิตภัณฑ์ของบริษัทครอบคลุม เครือข่าย (Networks) การบริการดิจทิ ลั (Digital Services) การบริหาร จัดการเครือข่าย (Managed Services) และธุรกิจเกิดใหม่ท่ีก�ำลัง เติบโต (Emerging Business) และมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะช่วยเหลือลูกค้า ให้มงุ่ สูร่ ะบบดิจทิ ลั เพิม่ ประสิทธิภาพ และมองหารายได้รปู แบบใหม่ การลงทุนเพื่อพัฒนา นวัตกรรมของอีริคสันได้มอบประโยชน์จาก ระบบโทรศัพท์และเครือข่ายเคลื่อนที่ให้แก่ผู้คนหลายพันล้านคน ทั่วโลก

วุฒิชัย วุฒิอุดมเลิศ

รองประธานและหัวหน้าฝ่ายเน็ตเวิร์คโซลูชันส์ บริษัท อีริคสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ศ. ดร.บุญไชย สถิตมั่นในธรรม หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ร้อยโท ดร.เจษฎา ศิวรักษ์

หัวหน้างานฝ่ายรัฐกิจและธุรกิจสัมพันธ์ บริษัท อีริคสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด

September-October 2020


Article

> Opensignal

ในประเทศไทย บนคลื่นความถี่ 2600 MHz Opensignal ผู้ด�ำเนินการวิเคราะห์ ระบบมือถือและก�ำหนดมาตรฐานระดับโลก เผยการวิเคราะห์ภาพรวมต�ำแหน่งคลืน่ ความถี่ ของผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ทั้ ง 3 ราย ในประเทศไทย ได้ แ ก่ DTAC, AIS และ TrueMove H ช่วงก่อนและหลังการประมูล คลื่น 5G เพื่อท�ำความเข้าใจถึงการน�ำคลื่น ความถีใ่ หม่มาปรับใช้จะส่งผลต่อประสบการณ์ เครือข่ายมือถือในประเทศไทยอย่างไร เพราะ คลื่ น ความถี่ ถื อ ว่ า มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมากต่ อ คุณภาพของประสบการณ์เครือข่ายมือถือ ตามที่ กสทช. (คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ) ได้จัดงานประมูลคลื่น 5G ขึน้ เมือ่ 16 กุมภาพันธ์ทผี่ า่ นมา เพือ่ ปูทาง ไปสูก่ ารเปิดใช้ 5G โดยในการประมูลนัน้ AIS ได้คลื่นความถี่แบนด์ 41 (TDD, 2600 MHz) ได้ ร วม 100 MHz (10 ใบอนุ ญ าต) และ TrueMove H ได้รวม 90 MHz (9 ใบอนุญาต) Opensignal พบว่า ระหว่างวันที่ 1 เมษายน ถึง 30 มิถุนายน ที่ผ่านมา ทั้ง AIS และ TrueMove H ได้ใช้คลื่น 2600 MHz ที่ได้มำ ใหม่น้ี 20-40 MHz ส�ำหรับ 4G โดยขึน้ อยูก่ บั พื้นที่ September-October 2020

การนำ�คลื่นความถี่ 2600 MHz มาใช้งานำ ส่งผลต่อความเร็วการดาวน์โหลด 4G อย่างไร?

เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการน�ำคลื่นความถี่ 2600 MHz มาใช้ เราได้วิเคราะห์ประสบการณ์ความเร็วดาวน์โหลดจากผู้ใช้งานของเราบนเครือข่าย 4G ทีแ่ ตกต่างกันในประเทศไทยพบว่า ผูใ้ ช้คลืน่ ความถี่ Band 41 ได้รบั ประสบการณ์ ความเร็วในการดาวน์โหลด 4G ดีกว่าอย่างเห็นได้ชดั ทัง้ บนเครือข่ายของ AIS และ TrueMove H มีความเร็วดาวน์โหลดเฉลีย่ ที่ 14.1 Mbps และ 18.4 Mbps ตามล�ำดับ โดยผู้ใช้ท่ีเชื่อมต่อบนคลื่นความถี่สูงกว่ามักจะได้รับประสบการณ์การใช้งาน ที่รวดเร็วกว่าผู้ใช้ในย่านความถี่ต�่ำ เนื่องจากมีแบนด์วิดท์มากกว่ำ


AIS และ TrueMove H กำ�ลังปรับใช้ แบนด์วิดท์ 4G มากกว่า DTAC

เราประเมินการถือครองคลืน่ ความถีข่ องผูใ้ ห้บริการ โทรศัพท์มือถือแต่ละราย และพบว่าก่อนการประมูล คลืน่ ความถีเ่ มือ่ เดือนกุมภาพันธ์นน้ั DTAC ใช้คลืน่ ความถี่ สูงสุด (90 MHz) ส�ำหรับบริการ 4G ตามด้วย AIS (80 MHz) และ TrueMove H (70 MHz) ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม หลังการประมูลสิน้ สุด AIS และ TrueMove H น�ำคลืน่ ความถี่ Band 41 ใหม่ไปใช้ใน 4G เพิม่ เติมระหว่าง 20-40 MHz (ปริมาณขึ้นอยู่กับพื้นที่) ท�ำให้ปริมาณการใช้คลื่น 4G สูงขึน้ เป็น 120 MHz และ 110 MHz ตามล�ำดับ แต่คลืน่ 4G ของ DTAC ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ จากการตรวจสอบเพิ่มเติม Opensignal พบว่ำ ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์มอื ถือน�ำคลืน่ ความถีใ่ หม่ไปใช้ในบาง พืน้ ทีเ่ ท่านัน้ ซึง่ AIS น�ำคลืน่ ความถี่ 40 MHz ไปใช้เฉพาะ ในจังหวัดที่มีประชากรหนาแน่น เช่น กรุงเทพมหานคร และใช้คลื่นความถี่ 20 MHz ในพื้นที่ที่เหลือ ในขณะที่ การใช้งานคลืน่ 40 MHz ของ TrueMove H มีขอบเขตที่ กว้างกว่ำ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในระยะยาวต่อประสบการณ์ ใช้งานอุปกรณ์เคลือ่ นทีน่ นั้ ยังไม่มคี วามชัดเจน เนือ่ งจาก ทุกอย่างเพิง่ เริม่ ต้นและขึน้ อยูก่ บั จ�ำนวนผูใ้ ช้ รวมถึงปริมาณ การใช้ขอ้ มูลทัง้ หมด แต่หากในอนาคตเมือ่ คลืน่ Band 41 มีการน�ำมาใช้งานอย่างแพร่หลายมากขึ้น ประสบการณ์ การใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ของผู้ใช้ย่อมดียิ่งขึ้น หาก การใช้งานนั้นไม่ได้ล้�ำหน้า การใช้งานบนคลื่นความถี่ท่ี ปรับใช้เพิ่มเติมโดยผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ

5G ดึงศักยภาพการใช้คลื่นความถี่ประสิทธิภาพสูง ที่จะช่วยลดความแออัด

นี่เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของยุค 5G ในประเทศไทย ดังนั้นจึงเร็วเกินไป ทีจ่ ะสรุปอนาคตของ 5G อย่างไรก็ตาม การใช้งานเครือข่ายอย่างหนักหน่วง ยังเป็นปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ความเร็วในการดาวน์โหลดต�ำ่ เนือ่ งจากคลืน่ ความถี่ เป็นทรัพยากรที่มีจ�ำกัด ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือไทยจึงจ�ำเป็นต้องสร้าง สมดุลการใช้ทรัพยากรนี้ระหว่างผู้ใช้ 5G ใหม่กับผู้ใช้ 4G ที่เป็นกลุ่มผู้ใช้ ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการใช้อุปกรณ์ 5G มากขึ้น เทคโนโลยี 5G ช่วยให้สามารถเข้าถึงคลื่นความถี่ใหม่สมรรถนะสูง ทีส่ ามารถบรรเทาความแออัดของการใช้งานเครือข่ายได้ ตัวอย่างเช่น ผูใ้ ห้บริการ โทรศัพท์มอื ถือในประเทศไทยยังได้รบั คลืน่ ความถีแ่ บบ mmWave ในย่านความถี่ 26 GHz ซึ่งมีสมรรถนะและความเร็วสูงมากแต่ครอบคลุมพื้นที่ไม่กว้าง ซึ่ง ท�ำให้เหมาะส�ำหรับย่านใจกลางเมืองทีม่ ปี ระชากรหนาแน่นมาก แต่ไม่เหมาะกับ การน�ำไปกระจายใช้งานในพืน้ ทีก่ ว้างขวาง หมายความว่าผูใ้ ช้ 5G ในประเทศไทย ส่วนใหญ่มักจะใช้คลื่นความถี่ระดับกลาง เช่น คลื่นความถี่ 2600 MHz เพื่อ เชื่อมต่อกับ 5G แทนที่จะเป็น mmWave Opensignal เป็นบริษทั ผูด้ ำ� เนินการ วิ เ คราะห์ ร ะบบมื อ ถื อ และก� ำ หนด มาตรฐานระดั บ โลกโดยอิ ส ระ เพื่ อ ท�ำความเข้าใจสถานะที่แท้จริงของ เครือข่ายมือถือโลก โดยอิงจากการ วั ด ประสบการณ์ ผู ้ ใช้ จ ริ ง รายงาน อุตสาหกรรมของบริษทั สามารถใช้เป็น แนวทางทีช่ ดั เจนเพือ่ เข้าใจประสบการณ์จริง ที่ผู้บริโภคได้รับจากเครือข่ายไร้สาย และ เราท�ำการวัดนี้กับผู้ให้บริการเครือข่ายรายใหญ่ ทุกรายทั่วโลก September-October 2020


Article

> ฟรีดเฮล์ม เบสท์ รองประธานประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก บริษัท ฮีมา (HIMA)

ความจำ�เป็น ที่ต้องพิจารณา

ประการ

เมื่อต้องยกระดับ ความปลอดภัยของ โรงงานอุตสาหกรรม ให้ทน ั สมัย ประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคเอเชียเริม่ ผ่อนปรนข้อจ�ำกัด และมีการกลับมาด�ำเนินธุรกิจเพิม่ มากขึน้ ท่ามกลางการระบาด ของโควิด-19 บรรดาผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม ก็ก�ำลังวางแผนกลยุทธ์ที่จะกลับคืนสู่ภาวะปกติ ท่ามกลาง การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อย่างมากด้วยเช่นกัน “สุขอนามัย” กลายเป็นสิง่ ส�ำคัญสูงสุดส�ำหรับทุกภาคส่วนธุรกิจ ณ ปัจจุบนั เพื่อป้องกันพนักงานและลูกค้าของตนให้ปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับองค์กรธุรกิจ เช่น ผูป้ ระกอบการ โรงงาน จ�ำเป็นต้องมัน่ ใจตลอดเวลาถึงความปลอดภัยในการ ท�ำงาน แม้แต่มาตรการความปลอดภัยใหม่ท่ีเกี่ยวข้องกับ สุขอนามัยใหม่ก็จะต้องปฏิบัติตามด้วย ขณะที่ ค นงานกลั บ เข้ า สู ่ โ รงงานอุ ต สาหกรรม เพื่อปฏิบัติงานอีกครั้ง กิจกรรมประจ�ำวัน เช่น การวางแผน ปรับปรุงระบบให้ทันสมัย ที่ถูกพักไว้ช่ัวคราวในระหว่างการ ระบาดครั้งใหญ่ ก็ดำ� เนินการต่อตามเดิม งานดังกล่าวต้องมี การพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยเฉพาะเมื่อมีเรื่องต่อไปนี้ เข้ามาเกีย่ วข้อง ได้แก่ การบังคับใช้มาตรฐานอุตสาหกรรมใน กระบวนการท�ำงาน ภาวะที่อาจหยุดท�ำงานของระบบ และ การชักชวนของผู้ให้บริการ อะไรคือเรื่องที่ส�ำคัญที่ควรพิจารณาว่าระบบควบคุม ความปลอดภัย (Safety Instrumented System : SIS) ใน โรงงานของคุณเป็นไปตามงานทีว่ างไว้ คือระบบ SIS ของคุณ สามารถติดตามตรวจสอบสภาวะที่เป็นอันตรายของหน่วย ปฏิบัติงานภายในโรงงาน และสามารถด�ำเนินการเมื่อเกิด สภาวะที่เป็นอันตรายได้หรือไม่ September-October 2020

ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน

การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งพิจารณา อย่างต่อเนื่องส�ำหรับผู้ประกอบการโรงงาน ไม่เพียงแต่พจิ ารณาถึงการปรับปรุงหรือปรับเปลีย่ น SIS ให้ทันสมัยเท่านั้น บรรทัดฐานด้านความปลอดภัยใน การใช้งานสามารถให้ความมั่นใจทางกฎหมายในกรณีท่ีเกิด ความรับผิดชอบ และใช้เป็นแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดระหว่าง วงจรชีวิตของระบบ มาตรฐาน IEC 61511 Edition 2 ก�ำหนดให้ประเมิน ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยเป็นระยะ พนักงานต้องมี คุณสมบัติเหมาะสมตลอดวงจรการผลิตของโรงงาน มีการ ประเมินผลเป็นประจ�ำและปรับปรุงคุณสมบัติใหม่ รวมถึง การวัดด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อระบุช่องโหว่ด้าน ความปลอดภัยด้วย ข้อมูลดังกล่าวจะช่วยเผยให้เห็นถึงความ แตกต่างทีเ่ กิดขึน้ ภายในระบบ และเน้นให้เห็นจุดส�ำคัญทีต่ อ้ ง ปรับปรุงให้ทันสมัย เมื่อการวางแผนปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุงระบบ SIS ให้ทนั สมัย บริษทั ต่างๆ ต้องแน่ใจว่าฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ ที่ ไ ด้ รั บ การอั ป เกรดนั้ น เป็ น ไปตามมาตรฐานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง หากมีข้อขัดแย้งเกิดขึ้น แต่ยังคงมีการติดตั้งระบบอยู่ ก็อาจ ส่งผลกระทบต่อใบอนุญาตการด�ำเนินงานของโรงงานและ อาจน�ำไปสู่บทลงโทษได้ เมือ่ มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่น ระบบความปลอดภัย ที่โปรแกรมได้ ความเสี่ยงและมาตรการใหม่ๆ ก็อาจเข้ามามี บทบาท ซึง่ ถือเป็นสิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าระดับ ความเสี่ยงได้เปลี่ยน เพราะได้แปลงสภาพหรือการทดแทน ส�ำหรับบริษทั ทีพ่ สิ จู น์วา่ ระบบ SIS เป็นไปตามมาตรฐาน IEC 61511 ที่ครอบคลุมทั้งการติดตั้งและการใช้งานแล้ว ผู้ประกอบการโรงงานจะต้องจัดเตรียมเอกสารด้านความ ปลอดภัยและการบ�ำรุงรักษาที่เกี่ยวข้องทั้งหมดให้พร้อม เป็นล�ำดับต่อไป ซึง่ รวมถึงเอกสารประกอบทีใ่ ช้ในการบันทึก ข้อมูลและเหตุการณ์ต่างๆ ในการนี้ HIMA ขอแนะน�ำใช้ระบบทีม่ รี ะดับความสมบูรณ์ ของความปลอดภัย (SIL) ระดับ 3 เพือ่ ทดแทนและติดตัง้ ระบบ ตามมาตรฐาน IEC 61511 สิง่ นีท้ ำ� ให้มน่ั ใจได้วา่ ข้อมูลจ�ำเพาะ เป็นไปตามทีค่ วรจะเป็น และการทดสอบการใช้งานของอุปกรณ์ ที่เปลี่ยนแปลงนั้นสามารถท�ำได้


หลีกเลี่ยงภาวะหยุดทำ�งานเป็นเวลานาน

เมื่อเกิดกระบวนการปรับระบบให้ทันสมัย การหยุดท�ำงานก็ย่อมเกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะแอปพลิเคชันของ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่และก้าวกระโดดด้านเทคโนโลยีท่ีมากขึ้น ส่งผลให้เกิดภาวะหยุดท�ำงานที่ยาวนาน ยิ่งกว่าเดิม เราขอแนะน�ำให้ด�ำเนินการวางแผนระยะยาวเสมอ โดยใช้ผลิตภัณฑ์ที่สามารถท�ำงานร่วมกันได้ พร้อมทั้งเตรียมรับมือกับการหยุดท�ำงานของระบบซ�้ำแล้วซ�้ำเล่าอย่างระมัดระวัง เพือ่ ลดระยะเวลาทีต่ อ้ งหยุดท�ำงานให้นอ้ ยลง ผูป้ ระกอบการควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าเทคโนโลยีทใ่ี ช้งานอยูม่ คี วามทันสมัย ตลอดเวลา เวอร์ชันที่อัปเดตอาจมาพร้อมการแก้ไขบั๊ก และขยายความสามารถที่เสริมสร้างระบบความปลอดภัยมากขึ้น เครือ่ งมือทางวิศวกรรมของฮีมา และระบบปฏิบตั กิ ารรุน่ ใหม่ของเราสามารถน�ำไปปรับใช้ได้โดยไม่ตอ้ งหยุดกระบวนการผลิต หากคุณใช้ระบบทีม่ กี ารเชือ่ มต่อระหว่างกัน โซลูชนั ของเราพร้อมให้คณ ุ ทดแทนระบบดังกล่าวได้ตลอดเวลา โดยทีร่ ะบบเก่ายังคง สามารถสื่อสารกับระบบใหม่ได้อย่างปลอดภัย

หาผู้ช่วยที่เหมาะสม

การปรับปรุงระบบให้ทันสมัยจ�ำเป็นต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ เมื่อคิดพิจารณาอย่างละเอียดแล้ว พบว่า การสนับสนุนช่วยเหลือที่ได้รับจากวิศวกรและที่ปรึกษาซึ่งมีความเป็นกลางนั้น น�ำไปสู่โอกาสที่ดีที่สุดของ การท�ำงานที่มีประสิทธิภาพและเป็นไปอย่างราบรื่น ตัวอย่างเช่น การเริ่มต้นด้วยระบบ SIS : การประเมินผลเป็นระยะๆ แสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ใดที่ยังคงมีการใช้งานอยู่ ใช่หรือไม่ คุณทราบไหมว่ามีการใช้งานอุปกรณ์เหล่านัน้ นานเท่าไรแล้ว อะไรคือข้อก�ำหนดส�ำคัญและขัน้ ตอนเริม่ ต้นในกระบวนการ บ้าง หากคุณต้องใช้ความพยายามเพื่อค้นหาค�ำตอบให้กับค�ำถามข้างต้น ขอแนะน�ำให้ลองขอรับการสนับสนุนจากภายนอก การค้นหาผู้เชี่ยวชาญที่สามารถช่วยเหลือให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างราบรื่นและท�ำให้ระบบสามารถท�ำงานร่วมกัน ได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้สถานการณ์ทตี่ อ้ งหยุดท�ำงานนัน้ มีโอกาสเกิดขึน้ ได้นอ้ ยมาก จะเห็นได้วา่ เทคโนโลยีบางอย่างเข้ามา ช่วยให้การแก้ปัญหาและการติดตั้งสามารถด�ำเนินการได้ผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งช่วยลดระยะเวลาที่ต้องหยุดท�ำงานได้เพิ่มเติม

มุ่งหน้าสู่การผลิตที่พร้อมรองรับอนาคต

เป็นเวลาหลายปีแล้วทีภ่ าคอุตสาหกรรมต่างๆ ได้เดินหน้าเข้าสูก่ ารแปรรูปกระบวนการท�ำงานของตนให้เป็นระบบดิจทิ ลั ซึง่ การระบาดของไวรัสโคโรนาเป็นเพียงตัวช่วยกระตุน้ ให้เกิดการเคลือ่ นไหวเท่านัน้ โปรดระลึกไว้เสมอว่าการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน คือสิง่ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ในอุตสาหกรรมทีส่ ำ� คัญ การดูแลองค์กรธุรกิจให้ดำ� รงอยูภ่ ายใต้มาตรฐานปัจจุบนั ทัง้ หมดจะช่วยให้คณ ุ พร้อม รับมือเมื่อต้องด�ำเนินกระบวนการปรับปรุงระบบให้ทันสมัย และขอแนะน�ำให้เก็บรวบรวมเอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับระบบ ที่มีอยู่เดิมของคุณ ตลอดจนพัฒนากลยุทธ์ที่สอดคล้องและเป็นรูปธรรมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่คุณได้วางไว้ September-October 2020


> Friedhelm Best, VP Asia Pacific, HIMA

Essential Considerations

When Modernizing the Safety System of Industrial Facilities

As countries in Asia start to ease restrictions and more businesses return to operation in the midst of the COVID-19 pandemic, industrial plant operators are strategizing a return to normality in the midst of changes. Hygiene is top of mind for all businesses today, to protect the safety of workers and customers. However, for businesses such as plant operators, functional safety needs to be assured at all times; even as new hygiene-related safety measures are adhered to. As workers re-enter industrial facilities, routine activities such as planning a system modernization – likely placed on hold during the pandemic – re-enter the frame. This task requires careful consideration, especially where mandatory process industry standards, potential downtime, and soliciting service providers are involved. What are the key considerations for ensuring that the Safety Instrumented System (SIS) of your facilities is always up to the task; can your SIS effectively monitor dangerous conditions in a plant operation unit, and take actions when a dangerous condition occurs?

Conform to Standards

Standards conformity is an ongoing consideration for plant operators, not only when considering SIS modernization or modification. Functional safety norms can provide legal certainty in case of liability cases and serve as guidelines for best practices during the system lifecycle. IEC 61511 Edition 2 mandates periodical security risk assessments, qualified staff for the entire plant lifecycle, regular assessment and refresh of qualifications and cybersecurity measures to identify any security vulnerabilities. This can reveal discrepancies in systems and highlight where modernization is necessary. When planning an SIS modernization or modification, companies must ensure that the upgraded hardware or software will adhere to the relevant standards. If there are discrepancies but the system is installed anyway, a plant’s operating license could be affected, and penalties could be incurred. When new technologies, such as a programmable safety system is introduced, new risks and measures may come into play. It is important to ascertain whether the risk level has changed because of conversion or replacement. For a company to prove that the SIS was IEC 61511 – compliant through installation and operation, then all relevant safety and maintenance documentation will be provided by the plant operator. This includes materials to record data and document incidents. HIMA recommends using a SIL 3 – certified system for replacing and implementing a system procedure according to IEC 61511. This ensures specifications are as they should be, and functional tests of the changed equipment can be carried out. September-October 2020

Avoid Lengthy Downtime

With any modernization process, downtime is a possibility. In large-scale industrial applications, and the greater the technological leap, the longer the downtime. We recommend always planning for the long term, using compatible products, and preparing iterative shutdowns carefully. To minimize downtime, operators should make sure technology is current, as updated versions may include bug fixes and enhancements which lead to a more fortified safety system. HIMA engineering tools and new versions of our operating systems can be implemented without halting production. If you use interconnected systems, Our solutions allow you to replace them at any time, and the old system can safely communicate with the new one.

Get the Right Assistance

Modernization requires expertise. With so much to think about, support from impartial engineers and consultants presents the best chance of a smooth and efficient process. For example, starting with the SIS itself: do your periodical reviews reveal which devices are stil in use? Do you know how long they have been in use? What are the critical requirements and initial steps in the process? If you struggle to answer any of the above, seek external support. Finding experts who can assist a seamless and compatible transition can help keep downtime to a minimum. Some technologies enable online troubleshooting and installation, reducing downtime even further.

Set Course for Future-Proof Production

For years, different industrial sectors have digitally transformed their processes. The coronavirus pandemic has only served to catalyze the move. Always remember that conformity is king in critical industries. Staying current on all standards will put you in good stead for whatever modernization process is decided on. Compile all of the documentation related to your existing systems and develop a concrete, compliant strategy to reach your end goals


Article

> ดาร์เรลล์ อดัมส์ หัวหน้าประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย บริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอท

เมือ่ หุน่ ยนต์รว่ มปฏิบตั งิ าน หรือโคบอทส์ ได้ปรากฏตัวขึน้ ณ ศูนย์กลางท�ำงานในชัน้ ทีเ่ ป็น พื้นที่อันทันสมัยของโรงงาน และเรื่องเล่าและ ความเข้าใจผิดบางอย่างก็ได้เกิดขึน้ เช่น การย้าย คนงานและความเสี่ ย งต่ อ ความปลอดภั ย เรือ่ งเล่าไหนเป็นของจริง และอะไรคือความเข้าใจผิด

1.

โคบอทส์มาแทนที่งาน

นั บ ว่ า เป็ น เวลานานจนถึ ง ทุ ก วั น นี้ ข้อความทีเ่ กิดขึน้ ภายในโรงงานผลิต ก็คอื หุน่ ยนต์ได้มาขโมยงาน ซึง่ ไม่เป็นความจริง ในกรณีของโคบอทส์ เพราะโคบอทส์จะมาแบ่งเบา คนงานจากงานทีต่ อ้ งท�ำงานหนักและท�ำงานซ�ำ้ ๆ เพื่ อ ให้ พ วกเขาสามารถมี บ ทบาทที่ ดี ขึ้ น และ น่าตืน่ เต้นมากขึน้ ภายในบริษทั และด้วยโคบอทส์ ทีช่ ว่ ยเพิม่ ผลผลิต บริษทั เหล่านีม้ กั จ้างคนมากขึน้ ดังนั้นการสร้างงานไม่ใช่การก�ำจัดพวกเขา งานเพียง 10% เท่านั้นที่สามารถท�ำงาน แบบอัตโนมัติได้ ด้วยโคบอทส์ท�ำให้การผลิตได้ เพิม่ ขึน้ 50% โดยไม่สญ ู เสียงาน ตัง้ แต่ พ.ศ. 2560 -พ.ศ. 2563 หุน่ ยนต์ได้สร้างงานมากกว่า 2 ล้าน ต� ำ แหน่ ง ทั่ ว โลก ไม่ มี เ ครื่ อ งจั ก รใดที่ ส ามารถ ทดแทนความช�ำนาญของมนุษย์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ และความคิดสร้างสรรค์ได้

เรื่องเล่า ที่กลายเป็นตำ�นาน ประการ

2.

ของหุ่นยนต์ โคบอทส์ ระบบอัตโนมัติของหุ่นยนต์สำ�หรับการทำ�งาน ที่ซบ ั ซ้อนและมีขนาดใหญ่

เมื่อคนส่วนใหญ่นึกถึงหุ่นยนต์ ภาพของกล่องไม้ขนาดใหญ่ที่ใช้อยู่บน สายการประกอบก็เกิดขึ้นอยู่ในใจ แต่ในความเป็นจริงแล้วด้วยความยืดหยุ่นของ โคบอทส์ บริษทั เหล่านีส้ ามารถท�ำงานอัตโนมัตแิ ม้วา่ จะเป็นงานทีง่ า่ ยทีส่ ดุ ไม่วา่ จะมี ขนาดของเอาต์พตุ เท่าไร โคบอทส์สามารถน�ำใช้กระบวนการทีท่ ำ� งานซ�ำ้ ๆ ใช้มอื หรือ อาจเป็นงานหนักส�ำหรับคนงาน เช่น ยกและวาง การบรรจุภณ ั ฑ์และการจัดเรียงสินค้า การขันสกรู การติดกาว การจ่ายและการเชื่อมโลหะ ระบบยานยนต์ของบริษัท BAI Lear ในกรุงปักกิ่งมีความเชี่ยวชาญในการ ออกแบบและผลิตระบบทีน่ งั่ ในรถยนต์ ได้ผลิตเบาะ 1,500 ชุด และขันสกรู 6,000 ตัว ต่อวัน ส�ำหรับสถานทีท่ มี่ ปี ริมาณงานสูง การหยุดท�ำงานเป็นไปไม่ได้ บริษทั จึงตัดสินใจ ที่จะค้นหาโซลูชันอัตโนมัติท่ีมีประสิทธิภาพและยืดหยุ่น ซึ่งจะช่วยลดเวลาพนักงาน ที่ต้องท�ำความคุ้นเคยกับอุปกรณ์ใหม่และลดความล่าช้าในการผลิต หลังจากการประเมิน BAI Lear ถือว่าโคบอทส์เหมาะสมกว่าหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรม ให้พื้นที่จ�ำกัดในการท�ำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบดั้งเดิม มีต้นทุนสูง และมีความ ยืดหยุ่นต�ำ่ ที่ปรับให้เข้ากับความต้องการในอนาคต ในที่สุด BAI Lear ได้ใช้โคบอทส์ ของยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ หรือยูอาร์ 38 ตัว พนักงานพบว่าโคบอทส์ของยูอาร์นั้น ง่ายต่อการตัง้ ค่า ใช้งานง่าย คุม้ ค่า และเชือ่ ถือได้ ลดเวลาในการรวมระบบและทดสอบ วงจร และลดความเสี่ยงในการปรับใช้ September-October 2020


4. 3.

การติดตั้งและ บำ�รุงรักษาหุ่นยนต์ เป็นเรื่องยุ่งยาก

เป็นเรื่องจริงที่หุ่นยนต์ บางตัวมีขนาดใหญ่ ยุ่งยาก และใช้งานยาก บางคนถึงกับ บอกว่ า ต้ อ งการคนระดั บ ปริญญาเอกมาใช้งาน แต่ไม่ใช่ ส�ำหรับโคบอทส์ เพราะโคบอทส์ ง่ายต่อการติดตั้ง ใช้งาน และ บ�ำรุงรักษา เนือ่ งจากโคบอทส์ มีขนาดกะทัดรัดและน�ำ้ หนักเบา มาก จึงไม่จ�ำเป็นต้องเปลี่ยน สายการผลิ ต เมื่ อ ต้ อ งสลั บ โคบอทส์ระหว่างงาน อีกทัง้ ยัง ง่ายต่อการตั้งโปรแกรม หรือ ปรับใช้ใหม่ได้งา่ ย และซ่อมบ�ำรุง น้อยที่สุด

September-October 2020

โคบอทส์เป็นอันตราย

ส� ำ หรั บ หุ ่ น ยนต์ อุ ต สาหกรรม แบบดัง้ เดิม เป็นไปไม่ได้เลยทีจ่ ะ ท� ำ งานแบบเคี ย งข้ า งกั น กั บ คนโดยไม่ ต ้ อ ง ค�ำนึงถึงความปลอดภัยอย่างจริงจัง หุ่นยนต์ แบบดั้ ง เดิ ม เหล่ า นี้ ส ามารถรองรั บ วั ส ดุ ที่หนักกว่าและมีขนาดใหญ่กว่า และต้องการ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านความปลอดภัยเพือ่ ดูแลมนุษย์ ออกจากพื้นที่ท�ำงานของหุ่นยนต์ โ ค บ อ ท ส ์ แ ต ก ต ่ า ง จ า ก หุ ่ น ย น ต ์ อุ ต สาหกรรมทั่ ว ไป ถู ก สร้ า งขึ้ น ด้ ว ยความ ค�ำนึงถึงความปลอดภัย ลดความเสี่ยงด้าน ความปลอดภัยส�ำหรับคนงาน ออกแบบมาเพือ่ ท�ำงานร่วมกับคนท�ำงานโดยเฉพาะ หุ่นยนต์ เหล่านี้ทำ� งานได้ดีที่สุดภายใต้การแก้ปัญหาที่ ไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งความปลอดภัย ด้วยฟังก์ชนั ความปลอดภัยในตัว โคบอทส์และคนสามารถ ท�ำงานควบคู่โดยไม่ต้องใช้กรง (ขึ้นอยู่กับการ ประเมิน) มี บ ริ ษั ท หนึ่ ง ที่ เชื่ อ มั่ น ความสามารถ และท� ำ งานอย่ า งใกล้ ชิ ด กั บ โคบอทส์ คื อ บริษัท พีแอลซี อินดัสตรีส์ (PLC Industries) ในสิงคโปร์ บริษทั พีแอลซี อินดัสตรีส์ ให้ความ ส�ำคัญกับความปลอดภัยของพนักงานเป็น อันดับต้น เนื่องจากพนักงานต้องท�ำงานใกล้ กับหุน่ ยนต์ บริษทั ต้องการให้แน่ใจว่าหุน่ ยนต์ สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัยภายในพืน้ ทีจ่ ำ� กัด หลังจากการประเมิน ทีค่ รอบคลุมอุตสาหกรรม พีแอลซี อินดัสตรีส์ ได้พจิ ารณาว่าหุน่ ยนต์ UR10 ของ ยูนิเวอร์ซัล โรบอท ตอบสนอง ความต้ อ งการดั ง กล่ า ว โดยไม่จำ� เป็นต้องมีการ ดูแลความปลอดภัย

“การเห็นว่าเพื่อนร่วมงานของเรารู้สึก สบายใจที่ จ ะท� ำ งานร่ ว มกั บ หุ ่ น ยนต์ นั บ ว่ า เป็นเรือ่ งทีด่ เี ป็นอย่างยิง่ ความสามารถในการ ท�ำงานโดยปราศจากความกลัวเป็นข้อดีอย่าง แน่นอนส�ำหรับเราทุกคน การมุ่งเน้นที่ได้รับ การปรั บ ปรุ ง ที่ ทุ ก คนมี ใ นขณะนี้ นั้ น มาจาก ความเหนือ่ ยล้าทีล่ ดลงและระดับความเข้มข้น ทีส่ งู ขึน้ สิง่ นีช้ ว่ ยลดโอกาสทีจ่ ะเกิดอุบตั เิ หตุได้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ” เยียว ฮอค ลี ผูจ้ ดั การฝ่าย วิศวกรรม บริษทั พีแอลซี อินดัสตรีส์ กล่าว

5.

หุ่นยนต์มีราคาแพง

มี ค วามจริ ง บางอย่ า งส� ำ หรั บ การเล่าขานนี้ หุน่ ยนต์อาจมีราคา แพง แต่นั่นไม่เป็นความจริงส�ำหรับหุ่นยนต์ ทุกประเภท ส�ำหรับโคบอทส์นั้นค่าใช้จ่าย ล่วงหน้ามักจะเป็นเพียง 20% ของหุน่ ยนต์แบบ ดั้งเดิม โดยมีระยะเวลาคืนทุนโดยเฉลี่ยสั้น เพียง 6-8 เดือน โคบอทส์นั้นคุ้มค่าและการ ติ ด ตั้ ง ต้ อ งการการลงทุ น เพี ย งเล็ ก น้ อ ย เนือ่ งจากพวกเขาไม่ตอ้ งการการเปลีย่ นแปลง โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญ และไม่เหมือนหุน่ ยนต์ แบบดั้งเดิม พวกเขายังสามารถปรับใช้กับ ฟังก์ชนั ต่างๆ ในสายการผลิตและใช้ได้ตลอด เวลา ในยุคของความท้าทายระดับโลก เช่น การระบาดของโรค สงครามการค้า ความวุน่ วาย ทางการเมือง และอื่นๆ บริษัทจ�ำเป็นต้องลด ความเสี่ยงและสร้างผลก�ำไรอย่างยั่งยืนและ ปลอดภัย การท�ำงานอย่างอัตโนมัตดิ ว้ ยค�ำนึงถึง ความเป็ น มนุ ษ ย์ ไ ม่ เ พี ย งเป็ น ไปได้ เ ท่ า นั้ น แต่ยังยั่งยืนและปลอดภัยด้วยการใช้หุ่นยนต์ ที่ ท� ำ งานร่ ว มกั น กั บ มนุ ษ ย์ ห รื อ โคบอทส์ ยุคของหุน่ ยนต์จะอยูท่ น่ี เ่ี พือ่ สิง่ ทีด่ กี ว่าส�ำหรับ พวกเราทุกคน


> Darrell Adams, Head of Southeast Asia & Oceania, Universal Robots

Demystify Collaborative Robots (cobots) have emerged to the centerstage in modernising the factory floor. But some myths and misconceptions have emerged, such as displacing human workers and safety risks. Which of the myths are real and which are pure misconceptions?

1.

Cobots replace jobs

For a long time now, the message within manufacturing has been that robots steal jobs. However, it is not true in the case of cobots. Cobots actually relieve workers from strenuous and repetitive tasks so that they can take on better, more exciting roles within the company. And, with the cobots helping to increase productivity, companies often find themselves in a position to hire more people, thus creating jobs, not eliminating them. Only 10 percent of jobs can be fully automated. With cobots, the production rises 50% – without job losses. From 2017-2020, robots will create upwards of 2 million jobs globally, but no machine wil ever replace human dexterity, critical thinking, decision-making, and creativity.

Cobot

2.

Myths

Robotics automation is for complex, large-scale operations

When most people think of robots, the image of a large, lumbering box used on assembly lines often comes to mind. But the reality is, with the flexibility of cobots, companies can automate even the simplest of tasks. Regardless of the scale of output, cobots can be deployed for processes that are repetitive, manual, or potentially strenuous for workers – such as pick and place, packaging and palletising, screw driving, gluing, dispensing, and welding. The BAI Lear Automotive System in Beijing specialises in the design and manufacturing of car seat systems, producing 1,500 sets of seats and tightening 6,000 screws a day. For a facility that has such high throughput, downtime is unacceptable. The company decided to search for an efficient and flexible automation solution that would reduce the time for workers to be acquainted with new equipment and reduce potential delays to production. After an evaluation, BAI Lear deemed cobots would be more suitable than industrial robots, given the tight spaces in its workshops, the high costs of traditional industrial robots and their low flexibility to adapt to future needs. Eventually, BAI Lear deployed 38 Universal Robots (UR) cobots. The workers found the UR cobots easy to configure, user-friendly, cost effective, and reliable, greatly shortening the integration and commissioning cycle, and reducing deployment risks. September-October 2020


3.

It’s a hassle to implement and maintain robots

It is true that some robots are large, cumbersome, and difficult to operate. One might say they practically require a PhD to run them. But not cobots. Cobots are easy to implement, operate, and maintain. And, because cobots are so compact and lightweight, there is no need to change the production layout when switching the cobot between tasks. They are easily programmed or re-deployed and require minimal maintenance.

4.

Cobots are dangerous

With traditional industrial robots, it is impossible to work with them side-by-side without some serious safety concerns. These traditional robots can handle heavier, larger materials and require safety sages to keep humans out of the workspaces. Cobots are different from traditional industrial robots. They are created with safety in mind, reducing safety risks for workers. Specifically designed to work in conjunction with human workers, they perform best as a minimally disruptive solution to safety concerns. Given their built-in safety functions, cobots and individuals can work in tandem without needing cages (subject to assessment). One company that relies heavily on the ability to work closely with cobots is PLC Industries in Singapore. PLC Industries places employee safety as a top priority, since workers need to work in close proximity of the robots. The company wanted to ensure that the robots were able to operate efficiently and safely within confined spaces. After extensive evaluation, PLC Industries determined that the Universal Robots’ UR10 cobots meet such requirements, with no need for safety guarding. “Seeing my colleagues being totally at ease working alongside the robots is very encouraging. Being able to work without fear is a definite plus for all of us. The improved focus that everyone now posseses comes from lower fatigue and higher concentration levels. This significantly reduces the chance of an accident from occurring”. says Yeo Hock Lee, Engineering Manager, PLC Industries. September-October 2020

5.

Cobots are costly

There is some truth to this myth – robots can be expensive. But that is not true for every kind of robot. For cobots, upfront costs are typically only 20% of traditional robots, with an average payback period as short as six to eight months. Cobots are cost-effective and their installation requires minimal investment, given they do not need major infrastructure changes. And, unlike traditional robots, they can also be redeployed to different functions in the production line and used around-the-clock. In the age of global challenges such as the pandemic, trade wars, political turmoil, and more, companies need to reduce risks and profit in a sustainable and safe manner. Automation with humanity in mind is not just possible, but sustainable and safe, with the use of collaborative robots or cobots humming along with humans. The age of robots is here to stay, for the better of us all.


Interview > กองบรรณาธิการ

ดร.ยศพงษ์ ลออนวล นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย (EVAT)

...อำ�ลาตำ�แหน่งนายกสมาคมฯ พร้อมรับตำ�แหน่งใหม่ และส่งไม้ต่อให้คณะกรรมการชุดใหม่... ในช่วงเวลาเกือบ 5 ปีทผี่ า่ นมา อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ของไทยก้าวหน้าขึ้นเป็นอย่างมาก หนึ่งในผู้มีส่วนขับเคลื่อนการ ส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทยก็คอื ดร.ยศพงษ์ ลออนวล ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งเเละนายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทยคนแรก Interview ฉบับนีม้ าร่วมพูดคุยถึงเเนวทางการด�ำเนินงานของสมาคมฯ ตั้งเเต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งแนวคิดในการผลักดันยานยนต์ ไฟฟ้าในประเทศไทยให้เกิดขึน้ อย่างเป็นรูปธรรม รวมไปถึงมุมมอง ในอนาคตของยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยหลังจากสถานการณ์ การเเพร่ระบาดของโควิด-19 ชะลอตัวลง

ในฐานะนายกสมาคมฯ ได้ร่วมผลักดันเรื่องยานยนต์ ไฟฟ้าให้เกิดขึน ้ ในประเทศไทยอย่างเต็มกำ�ลัง สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย เริม่ ก่อตัง้ อย่างเป็นทางการตัง้ เเต่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) เป็นความร่วมมือระหว่าง กลุ่มคนจากภาควิชาการกับภาคเอกชน ภายใต้การสนับสนุนของ ภาครัฐ โดยในช่วงต้นปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ดร.ยศพงษ์ ได้มี โอกาสเข้าไปเป็นหนึง่ ในทีป่ รึกษาคณะอนุกรรมาธิการปฏิรปู พลังงาน ทดแทน พลังงานหมุนเวียน และอนุรกั ษ์พลังงาน ในคณะกรรมาธิการ ปฏิรปู พลังงาน สภาปฏิรปู แห่งชาติ ซึง่ ได้จดั ท�ำข้อเสนอการส่งเสริม ยานยนต์ไฟฟ้าให้ทางรัฐบาล และเป็นช่วงเวลาที่เริ่มมีนโยบายใน

การส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าอย่างเป็นทางการ เเละมองว่า ณ ช่วงเวลา ดังกล่าวถือเป็นการเริ่มต้นที่ดี เพราะในฐานะนักวิชาการ รู้ปัญหา ของประเทศไทย โดยเฉพาะเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลที่มีปัญหามลพิษจากการจราจรที่ติดขัด รวมทั้งปัญหา การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทีเ่ ป็นตัวการให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของ ภูมอิ ากาศ หรือทีร่ จู้ กั กันว่าโลกร้อน ซึง่ เป็นปัญหาและความท้าทาย ระดับโลก การส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าจะช่วยบรรเทาปัญหา ดังกล่าว นอกจากนั้น ประเทศไทยเป็นหนึ่งในฐานการผลิตยานยนต์ ที่ส�ำคัญของโลก การส่งเสริมให้เกิดการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและ ชิ้นส่วนส�ำคัญ เช่น แบตเตอรี่ภายในประเทศ การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในประเทศ พร้อมด้วยการ ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยให้สามารถไปแข่งขันในระดับโลกได้ ในอนาคต โดยหวังว่าประเทศไทยจะเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ของโลก ซึ่งจะช่วยท�ำให้ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สูงขึ้น น�ำไปสู่ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และเป็นการเติบโตของ อุตสาหกรรมยานยนต์ทยี่ งั่ ยืนทีม่ คี วามต้องการใช้ยานยนต์สมัยใหม่ และสามารถแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก�ำลังเผชิญในระดับโลกได้ ซึ่ง แนวคิดดังกล่าวภายหลังน�ำมาเป็นเป้าหมายหลักในการด�ำเนินงาน ของสมาคมฯ ในเวลาต่อมาอย่างต่อเนื่อง September-October 2020


สมาคมฯ ยังได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับ ทุกภาคส่วนในการผลักดันโครงการและ กิจกรรมในหลายเรื่อง อาทิ การสนับสนุน ให้ เ กิ ด โครงสร้ า งพื้ น ฐาน เช่ น สถานี อัดประจุไฟฟ้า การส่งเสริมการวิจัยและ พั ฒ นายานยนต์ ไ ฟฟ้ า ของประเทศ การท�ำงานในเชิงวิชาการในเรือ่ งมาตรฐาน ยานยนต์ไฟฟ้า หรือหลักสูตรในสถาบัน การศึ ก ษา การให้ ค วามรู ้ แ ก่ ป ระชาชน การส่งเสริมให้เกิดการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า และอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ในประเทศไทยควบคู ่ กั น และได้ จั ด ท� ำ 8 ข้อเสนอการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าต่อ ภาครัฐ ในการผลักดันยานยนต์ไฟฟ้าให้เป็น รูปธรรม ได้แก่ การจัดท�ำ EV Roadmap อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมการผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า สนับสนุนให้มีการจัดท�ำมาตรฐาน ของยานยนต์ไฟฟ้าเเละชิน้ ส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ส่งเสริมการออกมาตรการกระตุ้นการใช้ ยานยนต์ไฟฟ้า รวมถึงส่งเสริมศักยภาพ เเละพั ฒ นาบุ ค ลากรไทยด้ า นการผลิ ต ยานยนต์ไฟฟ้า เป็นต้น รวมทั้งได้จัดพิมพ์ ข้อเสนอเหล่านี้ลง EVAT Directory 2020 อีกด้วย ซึ่งทางสมาคมฯ จะยังคงยึดมั่น เป้าหมายในการส่งเสริมการใช้ยานยนต์ ไฟฟ้าให้แพร่หลายมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ลดปัญหา มลพิษอย่างฝุน่ ละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ที่ส่งผลต่อสุขภาพประชาชนตามที่ทราบ กันดีนน้ั ซึง่ ทีผ่ า่ นมาทางสมาคมฯ ได้มกี าร ท�ำงานร่วมกับภาครัฐตามข้อเสนอดังกล่าว อย่างต่อเนื่อง

จากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผล ให้อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ต้องเร่งปรับตัว ดร.ยศพงษ์ กล่าวว่า ในระยะนี้ เศรษฐกิ จ ของประเทศย่ อ มมี ผ ลกระทบ เป็นเรือ่ งทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ และลักษณะของ อุตสาหกรรมยานยนต์มีห่วงโซ่อุปทานที่ ยาว ย่อมมีผลกระทบต่อเนือ่ งกันเป็นลูกโซ่ ซึง่ พอเกิดผลกระทบ การฟืน้ ตัวอาจจะต้อง ใช้เวลาพอสมควร

September-October 2020

อย่างไรก็ดี เนื่องจากข้อจ�ำกัดในเรื่องการลงทุนในช่วงนี้ ท�ำให้ผู้ผลิตต้อง พิจารณาการลงทุนอย่างรอบคอบ ทีส่ ามารถตอบโจทย์ได้ในระยะยาว กระเเสยานยนต์ ไฟฟ้าก�ำลังจะกลายเป็นกระเเสหลัก ซึง่ เชือ่ ว่าอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยจะมุง่ ไปทาง ยานยนต์ไฟฟ้าด้วย โดยเฉพาะหากภาครัฐสนับสนุนเรื่องนี้อย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยใช้งบประมาณหรือทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัด มุง่ เน้นในการแก้ปญ ั หาเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน หากมีการชะลอในเรื่องที่เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม สุดท้ายจะย้อนกลับเป็นปัญหาในระยะยาว ดังนัน้ มองว่า แม้ชว่ งนีจ้ ะมีผลกระทบกับอุตสาหกรรมยานยนต์ทม่ี ผี ลประกอบการ ตกต�ำ่ แต่หากมองในภาพใหญ่และในระยะยาว ยานยนต์ไฟฟ้าเป็นค�ำตอบอย่างแน่นอน ดังนั้นที่เราคิดว่าไกลตัว อาจจะเริ่มใกล้ตัวเรามากขึ้น เพราะเป็นเรื่องของการ เปลีย่ นเเปลงทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ ภาคเอกชนทีเ่ ปลีย่ นเเปลงตัวได้ทนั เวลา จะท�ำให้รอดพ้น วิกฤตและเปลีย่ นเป็นโอกาสในการเปลีย่ นแปลงครัง้ นี้ และมองว่าในช่วงปี ค.ศ. 2025 -ค.ศ. 2030 ตลาดของยานยนต์ไฟฟ้าจะมีสัดส่วนไม่น้อยกว่า 30% และแน่นอน ในตลาดแห่งการแข่งขัน ผูป้ รับตัวได้กอ่ นจะสามารถยืนหยัดอยูไ่ ด้ และผูท้ ไี่ ม่สามารถ ปรับตัวได้ทนั ย่อมอาจจะต้องเป็นผูส้ ญ ู เสียตลาดนีไ้ ป ขณะเดียวกันก็จะพบผูเ้ ล่นใหม่ ในตลาดเช่นกัน อีกทั้งในอนาคตยานยนต์สมัยใหม่จะไม่ได้มีเเค่เรื่องยานยนต์ไฟฟ้า เเต่จะมีเรือ่ งการขับขีอ่ ตั โนมัติ การเชือ่ มต่อสือ่ สารกับภายนอกยานยนต์ เเละเกิดรูปแบบ ธุรกิจยานยนต์ใหม่ เช่น การเเบ่งปัน (Mobility Sharing) เรือ่ งนีเ้ ป็นแนวโน้มของยานยนต์ สมัยใหม่ ไม่มีใครสามารถคาดการณ์ได้ทั้งหมด แต่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน ต้องพร้อม ปรับตัวและก้าวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงนี้


เริ่มบทบาทใหม่ในฐานะหัวหน้า ศูนย์วิจย ั MOVE พร้อมนำ� MOVE ก้าวไปเป็นผู้นำ�ด้าน ยานยนต์สมัยใหม่ หลั ง จากอ� ำ ลาต� ำ แหน่ ง นายก สมาคมยานยนต์ไฟฟ้า ดร.ยศพงษ์ ได้เริม่ บทบาทใหม่ ใ นฐานะหั ว หน้ า ศู น ย์ วิ จั ย Mobility and Vehicle Technology Research Center มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า MOVE (มูฟ) โดยมีวสิ ยั ทัศน์นำ� MOVE ให้ ก ้ า วเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นยานยนต์ ส มั ย ใหม่ ทีย่ ง่ั ยืน ผ่านการวิจยั นวัตกรรมและการศึกษา และมีพันธกิจการพัฒนาเทคโนโลยีเเละ นวัตกรรมด้านยานยนต์สมัยใหม่ ถ่ายทอด เทคโนโลยี ใ ห้ แ ก่ ผู ้ ป ระกอบการเพื่ อ ใช้ ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้ รวมไปถึงการ พั ฒ นาเเละสร้ า งห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย ที่ทันสมัยเพื่อรองรับการวิจัย โดยจะช่วย ขับเคลื่อน มจธ. สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดย เสนอแนวคิด “การขนส่งแบบไร้มลพิษ เพื่อก้าวไปสู่การเดินทางที่ย่ังยืน” โดย การใช้ ม หาวิ ท ยาลั ย เป็ น สนามทดสอบ (Test Bed) และแหล่งเรียนรู้และวิจัยใน วิถชี วี ติ (Living Lab) ซึง่ ในปัจจุบนั ศูนย์วจิ ยั นี้ ได้มกี ารด�ำเนินงานร่วมเป็นพันธมิตรทัง้ กับ ภาครัฐเเละภาคเอกชนหลายภาคส่วน ในขณะเดียวกันยังไปช่วยในส่วน ของงานบริหารมหาวิทยาลัยด้วย ล่าสุด ดร.ยศพงษ์ เพิ่งได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วย อ ธิ ก า ร บ ดี ฝ ่ า ย พั ฒ น า ค ว า ม ยั่ ง ยื น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดย มจธ. มี น โยบายพั ฒ นา มหาวิทยาลัยทีย่ ง่ั ยืน โดยเป็นมหาวิทยาลัย สี เขี ย วและการเป็ น Entrepreneurial University และการสร้ า งผู ้ น� ำ แห่ ง การ เปลี่ยนแปลงออกสู่สังคม (Social Change Agent) โดยมหาวิทยาลัยมุ่งมั่นที่จะเป็น ผู้น�ำการพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุกกิจกรรม ตั้งแต่การด�ำเนินงาน การเรียนการสอน การท�ำวิจยั และนวัตกรรม จนถึงการบริการ วิ ช าการเพื่ อ ชุ ม ชนและผู ้ ป ระกอบการ และมี 5 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ในการ ขับเคลื่อน ได้แก่

เป้าหมายที่ 1 ฝึกฝนทักษะการเป็นผู้นำ� ของนักศึกษา เป้าหมายที่ 2 สร้างผลกระทบจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม เป้าหมายที่ 3 สร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน เป้าหมายที่ 4 สร้างโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมายที่ 5 สร้างสรรค์ระบบการบริหารที่ยั่งยืน สิง่ เหล่านีถ้ อื เป็นพันธกิจส�ำคัญของมหาวิทยาลัยเเละผูบ้ ริหารทีจ่ ะต้องเดินหน้าเเละ สานต่อไปพร้อมกัน

สุดท้าย ดร.ยศพงษ์ ลออนวล ได้กล่าวทิง้ ท้ายไว้วา่ การสิน้ สุดต�ำแหน่งไม่ได้หมายถึง การสิ้นสุดการท�ำงาน เพราะเรื่องเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าหรือยานยนต์ท่ีเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ทีจ่ ะมีแนวโน้มของยานยนต์สมัยใหม่ เป็นสิง่ ทีต่ นท�ำมาเป็นเวลามากกว่า 10 ปี ก่อนจะเกิดสมาคมฯ หรือมีตำ� แหน่งใดๆ ดังนัน้ ยังท�ำงานในเชิงวิชาการอย่างต่อเนือ่ งแน่นอน นอกจากนี้ ในฐานะทีย่ งั ท�ำหน้าทีก่ รรมการผูท้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการนโยบายยานยนต์ ไฟฟ้าแห่งชาติ จะช่วยผลักดันให้เกิดการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าอย่างต่อเนื่องได้อีกด้วย ส�ำหรับการส่งไม้ต่อให้แก่กรรมการชุดใหม่น้ัน ดร.ยศพงษ์ กล่าวว่า ที่ผ่านมาการ ท�ำงานของสมาคมฯ เน้นการมีสว่ นร่วมของสมาชิกทุกคน ผ่านกระบวนการท�ำงานในรูปแบบ คณะท�ำงานและผ่านการกลั่นกรองและมติของกรรมการสมาคมฯ มาโดยตลอด ดังนั้น การด�ำเนินงานของนายกสมาคมหรือกรรมการใหม่ย่อมต้องสานต่อความต้องการของ สมาชิกสมาคมฯ และข้อเสนอ 8 ข้อของสมาคมฯ ยังเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งติดตามและท�ำงานร่วมกับ ทุกภาคส่วนเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายของสมาคมฯ นอกจากนี้ การมีคนใหม่ถอื เป็นโอกาสทีด่ ี ที่สมาคมฯ จะได้มีการพัฒนาที่ต่อเนื่องและเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกเข้ามาสานต่อ การท�ำงานของสมาคมฯ และการมีสว่ นร่วมในการผลักดันและส่งเสริมให้ประเทศไทยมีการใช้ ยานยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อมาบรรเทาปัญหามลพิษของประเทศ รวมทั้ง การส่งเสริมการพัฒนาระบบนิเวศของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าทีม่ นั่ คงเเละยัง่ ยืนต่อไป September-October 2020


Scoop

> กองบรรณาธิการ

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) พร้อมเดินหน้าจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยี พลังงานแห่งชาติ (National Energy Technology Center : ENTEC) ตามแผน กลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ 6.2 (พ.ศ. 2562พ.ศ. 2566) ภายหลังได้รบั การเห็นชอบ อนุมตั จิ ากคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมือ่ วันที่ 9 มิถนุ ายน 2563 ให้จดั ตัง้ ศูนย์ดงั กล่าว ขึ้น เพื่อให้เป็นหน่วยงานหลักในการ สร้ า งความเป็ น เลิ ศ ในการเป็ น ผู ้ น� า ด้านเทคโนโลยีพลังงานของประเทศ เกิดการเชื่อมโยงงานวิจัยและพัฒนา ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงาน ทีม่ บี ทบาทเกีย่ วข้องต่างๆ เพือ่ ขับเคลือ่ น แผนพลังงานไปสูก่ ารปฏิบตั ิ พร้อมเกิด ฐานองค์ความรูท้ บี่ รู ณาการร่วมกันมาก ขึ้น เพื่อน�ำประเทศสู่อิสรภาพทางด้าน เทคโนโลยี

ศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน แห่งชาติ (ENTEC) ...มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงาน ของประเทศ

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล

ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล

September-October 2020

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. มีแนวคิดจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน แห่งชาติ หรือ National Energy Technology Center (ENTEC) ซึ่งอยู่ในแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ 6.2 (พ.ศ. 2562-พ.ศ. 2566) เพื่อให้เป็นหน่วยงานหลักในการสร้าง ความเป็นเลิศในการเป็นผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีพลังงานของประเทศ (Power to Lead) ให้เกิด การเชื่อมโยงงานวิจัยและพัฒนาร่วมกับกระทรวงพลังงานและภาคส่วนต่างๆ ในการ ขับเคลือ่ นแผนพลังงานไปสูก่ ารปฏิบตั แิ ละเกิดการใช้งานจริง เพือ่ ลดการพึง่ พิงเทคโนโลยี จากต่างประเทศ และช่วยแก้ปัญหาในอุตสาหกรรมพลังงานของประเทศ โดยได้เริ่ม ด�ำเนินการศึกษาเชิงนโยบายการจัดตัง้ ศูนย์ฯ ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2562 และได้หารือ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในช่วงเวลาต่อมา ดังนั้นหากนับตั้งแต่การศึกษาในเชิงวิชาการ จนได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) รวมเป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี 4 เดือน เพือ่ เดินหน้าในเรือ่ งการวิจยั และพัฒนา พร้อมบูรณาการเชือ่ มโยงเทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้อง ในทุกภาคส่วนเข้ามา เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องใช้ทรัพยากรหลายประเภท หนึง่ ในทรัพยากรทีส่ ำ� คัญ คือเรื่องพลังงาน ในสมัยก่อนอุตสาหกรรม ธุรกิจการท่องเที่ยวและการเกษตร มีเรื่อง พลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องจ�ำนวนมาก ความมั่นคงทางพลังงานเป็นเรื่องจ�ำเป็น ที่ผ่านมา ประเทศไทยน�ำเข้าพลังงานประมาณ 70% และส่งออกพลังงานชีวมวล (Biomass Energy) ไปจ�ำนวนมาก สิง่ เหล่านีถ้ อื เป็นโอกาสส�ำหรับประเทศไทย เพราะเรามีชวี มวลจ�ำนวนมาก


ตั้งแต่ปศุสัตว์ การท�ำก๊าซชีวภาพ (Biogas) หรือแม้กระทั่งในภาค เกษตรกรรม ที่สามารถน�ำส่วนหนึ่งของชีวมวลเหล่านี้มาใช้ในเรื่อง ของพลังงานได้ รวมถึงต้องให้ความส�ำคัญกับกระบวนการรวบรวม แหล่งของพลังงานชีวมวล ในด้านเชิงนโยบายและโลจิสติกส์ เพราะ เรามีพื้นที่ที่เกี่ยวข้องจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ เทคโนโลยีทางด้าน พลังงาน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ การผลิตในประเทศทีผ่ า่ นมา ยังไม่ได้เกิดขึน้ อย่างจริงจัง สิง่ ทีต่ อ้ งท�ำต่อคือ เทคโนโลยีทไ่ี ปข้างหน้า มีมากกว่าเทคโนโลยีในปัจจุบนั หรือไม่ ถ้ามี เราจะสามารถน�ำ (Lead) อุตสาหกรรมโซลาร์เซลล์ (Solar Cell) ได้ในอนาคต เนื่องจากเรามี หลายเทคโนโลยีทอี่ ยูร่ ะหว่างการศึกษาวิจยั หรือแม้กระทัง่ เทคโนโลยี ทีเ่ กีย่ วข้องกับการสังเคราะห์แสง เพราะในความจริงพลังงานชีวมวล เกิดขึ้นจากการใช้น�้ำ แสงแดด คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) ในการ ผลิต เป็นต้น เราอาจสามารถสร้างแหล่งพลังงานใหม่ในอนาคต ในเชิงขั้นสูงระดับ Technology Globalization เพื่อให้ประเทศไทย มีอิสรภาพทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งเหมาะสมและเฉพาะเจาะจงกับ พลังงานชีวมวลที่อยู่ในบ้านเราด้วย เมือ่ พูดถึงพลังงาน จะมีเรือ่ งระบบการกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) เช่น แบตเตอรี่ ยานยนต์ไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ หรือ อุปกรณ์ที่ต้องเคลื่อนที่ ซึ่งวัตถุดิบในการผลิตที่เรียกว่าแร่หายาก (Rare Earth) และต้องน�ำเข้า ขณะที่บ้านเรามีแร่จ�ำนวนหนึ่งที่อยู่ ในประเทศไทยหรือที่เห็นจากในสมัยโบราณ มีการใช้สังกะสีเป็น จ�ำนวนมาก น�ำมาท�ำภาชนะ หลังคา เป็นต้น สังกะสีถอื เป็นส่วนหนึง่ ของวัตถุดิบในการผลิตเป็นแบตเตอรี่ได้ การวิจัยที่ผ่านมา สวทช. ได้รว่ มกับจุฬาฯ พัฒนาให้แบตเตอรีด่ งั กล่าวมีความเสถียร และต้อง ไม่ระเบิด เป็นการสร้างเสถียรภาพในยามที่เกิดปัญหาเราสามารถ ผลิตแบตเตอรี่ชดเชยในประเทศได้ ฉะนั้นการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้ จึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญ และสิง่ เหล่านีเ้ มือ่ ผลิตแล้วต้องมีการบริหารจัดการ ในตัวแบตเตอรี่ที่เราเห็นเป็นก้อน ภายในจะมีแบตเตอรี่ก้อนเล็ก เรียก แบตเตอรี่เซลล์ (Battery Cell) เมื่อน�ำแบตเตอรี่เซลล์มาเกาะ รวมกันจะเรียก แบตเตอรีแ่ พ็ค (Battery Pack) ทีเ่ ป็นก้อนทีเ่ ราพบเห็น พวกนี้เป็นก้อนขนาดเล็ก เมื่อมีการเสื่อมต้องมีการบริหารจัดการ

ตัวอย่างเทคโนโลยี ระบบการกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) เช่น แบตเตอรี่

มีซอฟต์แวร์ในตัวเองว่าจะชาร์จ (Charge) ไปที่เซลล์ใด ปล่อยจาก เซลล์ใด เพื่อยืดอายุการใช้งานของเซลล์ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ฉะนั้นการจัดตั้งศูนย์ ENTEC จึงเป็นเรื่องที่ต้องลุกขึ้นมาท�า อย่างจริงจัง เพราะเรื่องความมั่นคงทางด้านพลังงานจะเป็นโจทย์ ท้าทายในอนาคต ด้าน ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์เทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. และในฐานะผู้บริหาร ทีด่ แู ลการจัดตัง้ ศูนย์ ENTEC ในเบือ้ งต้น กล่าวว่า ส�ำหรับการวาง เป้าหมายของศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ จะเป็นไปตามหลักคิด ของ สวทช. สิง่ ทีเ่ ราลงทุนสร้างขีดความสามารถทางเทคโนโลยีตา่ งๆ ผ่านการวิจยั และพัฒนา จะเกิดผลงานวิจยั ทีจ่ ะสร้างผลกระทบในทาง เศรษฐกิจและสังคม มูลค่า 4-5 เท่าขึน้ มา เช่น ถ้ามองถึงเทคโนโลยี ในเรือ่ งของพลังงานชีวมวล ต่อไปเราจะต้องมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับบ้านเราในการแปลงวัตถุดิบที่มีศักยภาพ มาเป็นพลังงานหมุนเวียน ในรายละเอียดจะมีการหารือให้สอดรับ กับแผนนโยบายของประเทศ ซึ่งกระทรวงพลังงานดูแลอยู่ รวมถึง ในเรือ่ งอืน่ ๆ เช่น สัดส่วนของพลังงานหมุนเวียนควรจะใช้ประมาณ ร้อยละเท่าใด จะมีแนวทางเพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการเกษตร เป็นการสร้างเทคโนโลยี สร้างอุตสาหกรรม สร้างกิจการ สร้างงาน รองรับขึน้ มาอย่างไร ตลอดจนทางด้านเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงาน จะมีการพัฒนาระบบกักเก็บพลังงานที่เหมาะกับการใช้ในประเทศ เขตเมืองร้อน เพือ่ ให้เรามีเทคโนโลยีทม่ี คี วามเหมาะสมกับลักษณะ อากาศทีร่ อ้ นชืน้ สูง ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ส่วนไหน ที่อาจใช้วัตถุดิบในประเทศหรือภูมิภาคเข้ามาเป็นวัสดุประกอบได้ ก็จะเป็นโอกาสในการเพิม่ มูลค่าให้สงิ่ ทีเ่ ป็นวัตถุดบิ ต้นทางเหล่านัน้ ข้อส�ำคัญในอนาคตคือความมั่นคงทางพลังงาน หากเกิดกรณีท่ีมี ปัญหาเกิดขึน้ ความสามารถในการฟืน้ ตัวและสามารถผลิตพลังงาน ขึ้นมาใช้เองในภาวะวิกฤตต่างๆ ตรงนี้จะเป็นหัวใจในการรักษา กิจกรรมทางเศรษฐกิจในทุกภาคส่วนให้เดินหน้าต่อไปได้ “ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติท่ีจะจัดตั้งขึ้น ในเบื้องต้น ผมจะช่วยดูแลในระยะแรก และจะรวบรวมบุคลากรวิจัย สวทช. ที่ท�ำงานด้านพลังงานมาท�ำงานร่วมกัน จะมีการสร้างเครือข่าย การวิจัยและพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ ภาพรวมที่จะเกิดขึ้นคือ ประเทศไทยจะมีศูนย์แห่งชาติทางด้านเทคโนโลยีพลังงานที่เป็น แกนหลักในการบูรณาการงานของภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงพลังงาน กระทรวง อุตสาหกรรม และหน่วยงานทีม่ บี ทบาทเกีย่ วข้องต่างๆ ในการท�ำงาน ที่จะติดต่อกับต่างประเทศก็ดี และท�ำงานกับภาคอุตสาหกรรมก็ดี จุดนี้จะเกิดความชัดเจนขึ้น และลักษณะส�ำคัญของการเป็นศูนย์ฯ คือ มีองค์ความรู้ในหลากหลายสาขาวิชา ทั้งวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เคมี ฟิสกิ ส์ วัสดุศาสตร์ วิศวกรรมไฟฟ้า และด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ในการท�ำงาน ซึ่งฐานความรู้ในแต่ละศาสตร์จะมีการเชื่อมโยงเพื่อ ให้เกิดการบูรณาการกันมากขึ้น” ดร.จุลเทพ กล่าว ศูนย์แห่งนี้จะเป็นส่วนส�ำคัญในการผลักดันให้ประเทศไทย มีความมั่นคงด้านพลังงานดียิ่งขึ้นอย่างแน่นอน

September-October 2020


Special Area > บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

September-October 2020


Static V a

Static Var Generator

SVG SVG A solu t A solution for buildings i o n fo r buildin and industrial facilities with a n gs d i n penalties for both inductive d u s tr i a l f a c i l i ti and capacitive loads. p e n a l ti e s w i th e s fo r b ot h i n d a n u c t i ve d c a pac i t ďƒź Compensation i v e l o ad s continues ensuring . that you achieve the target cosĎ• nsation Compe n s u ri n g ues e c o n ti n a c h ieve th e u th a t y o s co ta rg e t

September-October 2020

r Gen er

ator


September-October 2020


การควบคุมแอคทีฟฟิลเตอร์แบบวงรอบเปิด (Open Loop / Load Side)

การควบคุมแอคทีฟฟิลเตอร์แบบวงรอบปิด (Close Loop / Main Side)

September-October 2020


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

Monitoring Relays (RPN)

เพือ่ ความปลอดภัยของอุปกรณ์ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม ที่ อ าจมี ค วามเสี่ ย งของการเสี ย หายอั น เนื่ อ งมาจากความร้ อ น กระแสไฟฟ้า หรือแรงดันไฟฟ้า เป็นต้น ดังนั้น จึงมีรีเลย์ส�ำหรับท�ำหน้าที่ตรวจตราความบกพร่อง และส่งสัญญาณไปตัดการท�ำงานก่อนที่จะเกิดความเสียหายขึ้น ซึ่งเรียกว่า Monitoring Relays Relpol ผู้ผลิตรีเลย์ชั้นน�ำจากประเทศโปแลนด์ ได้พัฒนา Monitoring Relays ชนิดประหยัดแต่คณ ุ ภาพสูง รองรับทุกการใช้งาน ใช้งานง่าย มีหลอดไฟ LED แสดงสถานะการท�ำงาน โดยมีรนุ่ ต่างๆ ดังนี้ • AC Current Monitoring ใช้สำ� หรับตรวจสอบกระแสไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส • Motor Temperature Monitoring ใช้ส�ำหรับตรวจสอบ อุณหภูมิของขดลวดในมอเตอร์ด้วย Thermistor • AC Voltage Monitoring ใช้สำ� หรับตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 4 สาย (3 x 230/400 V) รีเลย์เป็นชนิดตัง้ บนราง DIN ขนาด 35 มิลลิเมตร โดยทีน่ ยิ ม ใช้กนั มากคือ AC Voltage Monitoring Relays (รุน่ RPN-1VFT-A400) เนื่ อ งจากใช้ ส� ำ หรั บ ตรวจแรงดั น ไฟฟ้ า ของระบบไฟฟ้ า เช่ น แรงดันไฟตก แรงดันไม่สมดุลเฟส โดยไม่ต้องใช้ไฟเลี้ยง และ มีหน้าคอนแทค 1 C/O September-October 2020

สรุปฟังก์ชน ั ของรุ่น AC Voltage Monitoring (RPN-1VFT-A400) ฟังก์ชัน

LOST D ASYM D SEQ D

LOST

รีเลย์ท�ำงานเมื่อแรงดันต�่ำกว่า 175 VL-N (ปรับค่าไม่ได้) รีเลย์ไม่ท�ำงานเมื่อแรงดันกลับมาที่ 180 VL-N (ปรับค่าไม่ได้)

ASYM

รีเลย์ท�ำงานเมื่อแรงดันแต่ละเฟสต่างกัน 5-80 VL-N ปรับค่าที่ปุ่มด้านหน้ำ รีเลย์ไม่ท�ำงานเมื่อแรงดันแต่ละเฟสกลับมาที่ 5-75 VL-N ขึ้นอยู่กับการตั้งค่าปุ่มด้านหน้ำ

SEQ

รีเลย์ท�ำงานเมื่อต่อสายหรือแรงดันมาไม่ตรงเฟส รีเลย์ไม่ท�ำงานเมื่อต่อสายหรือแรงดันมาตรงเฟส

D

หน่วงเวลา ปรับตั้งได้ ตั้งแต่ OFF, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 วินาที


ตัวอย่าง Timing Diagram (RPN-1VFT-A400) LOST D - Phase failure monitoring (with delayed disconnection of contact R)

ASYM D - Asymmetry monitoring (with delayed disconnection of contact R)

Features (RPN-1VFT-A400)

บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com

September-October 2020


Special Area

> บริษัท เร้นท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Power Ball รุ่น ISK-PB203

ปั ญ หาหลั ก ที่ ผู ้ รั บ เหมำ ติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า ต้ อ งพบเจอ ขณะท�ำการเดินสายไฟภายในอาคาร และโรงงานอุตสาหกรรม มักเกิดจาก การใช้แรงงานคนในการเดินสายไฟ ซึ่งต้องใช้แรงงานคนจ�ำนวนมาก ด้วยแรงดึงที่ไม่เท่ากันของแต่ละ บุคคล ท�ำให้การเดินสายไฟเป็นไป อย่างไม่ราบรื่น ทั้งนี้ แรงดึงกระชากยังอาจท�ำให้ สายไฟเสียหายได้งา่ ยอีกด้วย เร้นท์ ประเทศไทย มองเห็นความส�ำคัญของปัญหาและอุปสรรค ในการท�ำงานของผูร้ บั เหมา เราท�ำการน�ำเข้าอุปกรณ์ชว่ ยในการเดินสายไฟ ยอดนิยมจากประเทศญีป่ นุ่ ทีม่ ชี อื่ ว่า Power Ball หรือ เครือ่ งดันสายไฟ อัตโนมัติ ที่ใช้คอนเซปต์ “การดัน” แทนการดึงสายไฟ ซึ่งจะช่วยถนอม สายไฟไม่ให้เกิดความเสียหาย ลดจ�ำนวนคนท�ำงานลง แต่สามารถท�ำงาน ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยแรงส่งที่สม�่ำเสมอ จึงสามารถ จัดเรียงสายไฟให้เป็นระเบียบได้ ไม่จ�ำกัดรูปแบบของการวางสายไฟ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดตั้งสายไฟในอาคารส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นการ เดินสายไฟแนวเส้นตรงเพียงอย่างเดียว แต่มักจะมีลักษณะเป็นทางโค้ง ต้องติดตัง้ บนทีส่ งู หรือแม้แต่การติดตัง้ ลงใต้ดนิ ซึง่ เป็นงานทีค่ อ่ นข้างยาก ส�ำหรับการใช้แรงคน ประกอบกับความปลอดภัยในการท�ำงานที่มากขึ้น ท�ำให้เครื่องดันสายไฟอัตโนมัติ นับเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ดีส�ำหรับ ผู้รับเหมางานติดตั้งระบบไฟฟ้าในประเทศไทย Power Ball หรือ เครื่องดันสายไฟอัตโนมัติ ท�ำงานด้วยการ บังคับแผงควบคุม (Inverter) โดยแผงควบคุม 1 เครือ่ ง สามารถใช้ ควบคุม Power Ball ได้สงู สุดถึง 18 เครือ่ ง รวมเป็นระยะทาง ทั้งหมดประมาณ 720 เมตร สามารถปรับระดับความเร็ว ของแรงดันได้ตง้ั แต่ 3-20 เมตรต่อนาที และรองรับสายไฟ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่สุดที่ 100 มิลลิเมตร โดย ตัวเครือ่ งถูกออกแบบมาอย่างกะทัดรัดท�ำให้ประหยัดพืน้ ที่ ใช้งาน มีขนาดความกว้าง 192 มิลลิเมตร ยาว 300 มิลลิเมตร และสูง 470 มิลลิเมตร น�้ำหนักเบาเพียงเครื่องละ 26 กิโลกรัมเท่านั้น September-October 2020

Inverter for Power Ball รุ่น ISK-V200


ตัวอย่างการใช้ Power Ball ในการติดตั้งสายไฟ

นอกจากนี้ ไม่เพียงแต่ Power Ball ที่จะช่วยให้งานติดตั้งสายไฟเป็นเรื่องง่าย ขึ้น เรายังน�ำเข้าอุปกรณ์ช่วยในการติดตั้ง สายไฟอื่ น ๆ เพื่ อ เสริ ม การใช้ ง านของ Power Ball อาทิ Cable Pulling Winch, Cable Roller, Hanging Quadruple Cable Roller, Square Roller, Corner Roller, Safety Block ฯลฯ เพื่อรองรับการเดิน สายไฟหลากหลายรูปแบบตามลักษณะของ หน้างาน และมุง่ ตอบโจทย์การท�ำงานของ ผูร้ บั เหมา ภายใต้คอนเซ็ปต์ Speed, Safety, Satisfy

บริษัท เร้นท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมกับผู้เชี่ยวชาญ หรือนัดเข้าชมการสาธิตการใช้งาน Power Ball (เครื่องดันสายไฟอัตโนมัติ) ติดต่อ : Mr.Sone (Japanese) Mobile : 065-523-2990 Mr.Sutthipong (Thai) Mobile : 062-649-2645 E-mail : contact@rent.co.th Website : www.rent.co.th September-October 2020


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

Innovation for Smart Asset Management System (AMS)

Power facility and asset management solutions refers to the business of maximizing overall business efficiency by systematically managing performance, risk, and maintenance costs according to the project life cycle (PLC) of various products and providing customized asset management solutions tailored to the requirement.

AMS Management Solution Assets

By linking with the ICT platform, Hyundai Electric collects key information from major power facilities and analyzes it to forecast product lifecycle and possible malfunctions as well as manage operation performance. In doing so, we provide services that enable optimal business results by enabling improvement of overall facility performance and preparation for any challenges, followed by maintenance and efficient management of parts inventory. HYUNDAI ELECTRIC Asset Management Solution

515110, India

September-October 2020


05

INTEGRICT-AMS Definition

INTEGRICT-AMS Definition Electric power facility asset management solution

Based on abundant knowhow of our company’s 40 years of electric power facility design

and manufacturing technique, systematically manages data such as performance, risk, and maintenance cost during product entire lifecycle, provides appropriate asset management information for electric power facility operating condition, and supports customers to establish optimum maintenance strategy.

Strengths of Hyundai INTEGRICT-AMS

Equipment failure prevention and predictive maintenance service can be provided, using

around a lot of factory and site operating data from delivered electric power facilities of domestic and international electric power equipment market since the establishment of 1978.

Strengths of Asset Management System

Our company’s own electric power facility life assessment service is provided, utilizing test

4

data of big data level, secured through electric power facility reliability test center built in 2018.

1 | Manufacturing cost reduction with optimized facility management 2 | Maintenance cost reduction through stable operation 3 | Maintenance and inventory component management cost reduction 4 | Quality and reliability of electric power facility improvement 5 | Securing maximum productivity by real-time monitoring management 6 | Minimizing downtime through failure pre-estimation and prevention 7 | Real-time optimum performance management

2 1

3

4

5 6 7

1 | Manufacturing cost reduction with optimized facility management

2 | Maintenance cost reduction through stable operation

5 | Securing maximum productivity by real-time monitoring management

6 | Minimizing downtime through failure pre-estimation and prevention

3 | Maintenance and inventory component management cost reduction 7 | Real-time optimum performance management

4 | Quality and reliability of electric power facility improvement

September-October 2020



Cloud Based Motor Management Solution

Edge Gateway

Mobile

13

Mobile Mobile

บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com September-October 2020


IT Article > การ์ทเนอร์ อิงค์

การ์ทเนอร์ อิงค์ ชี้ 10 อันดับเทรนด์เทคโนโลยีดา้ นการวิเคราะห์และจัดเก็บ ข้อมูล พ.ศ. 2563 ช่วยผูบ้ ริหารฝ่ายข้อมูลพาองค์กรฝ่าวิกฤติโควิด-19 พร้อมเตรียม พลิกฟื้นกิจการหลังจากนี้ ริตา้ ซัลแลม รองประธานฝ่ายวิจยั การ์ทเนอร์ อิงค์ กล่าวว่า “อีกหนึง่ แนวทางส�ำคัญเพือ่ พลิกฟืน้ และวางแผนธุรกิจรับมือกับความผกผันของเศรษฐกิจ หลังโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การผลักดันกลยุทธ์องค์กรทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยดาต้า ผู้บริหารฝ่ายข้อมูลขององค์กรจึงต้องอาศัยโซลูชันที่ตอบโจทย์เรื่อง การเข้าถึงข้อมูลและการประมวลผลที่รวดเร็วแม่นย�ำ พร้อมทั้งความสามารถ ในการสเกลระบบวิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ รองรับรูปแบบการท�ำงานใหม่ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตได้”

อันดับเทรนด์ของดาต้าและเทคโนโลยี

การวิเคราะห์ข้อมูล ในปี 2563 รายงานจากการ์ทเนอร์ อิงค์ เผย 10 เทรนด์ของดาต้า และเทคโนโลยีการวิเคราะห์ขอ้ มูล เพือ่ ให้ผบู้ ริหารฝ่ายข้อมูล พิจารณาใช้เป็นแนวทางเร่งพลิกฟื้นกิจการ และสร้างความ ได้ เ ปรี ย บทางการแข่ ง ขั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งหลั ง สถานการณ์ โควิด-19 คลี่คลายดังนี้

1

AI ที่ฉลาดขึ้น เร็วขึ้น มาพร้อมกับ หน้าที่เยอะขึ้น (Smarter, Faster, More Responsible AI)

ภายในสิ้น พ.ศ. 2567 องค์กร 75% จะเปลี่ยนไปใช้ ปัญญาประดิษฐ์ หรือเอไอ (AI) อย่างจริงจัง ส่งผลให้เกิดการ สตรีมข้อมูลและการวิเคราะห์โครงสร้างพืน้ ฐานเพิม่ ขึน้ 5 เท่า จากการระบาดของไวรัสทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั เราได้เห็น ความส�ำคัญของการน�ำเทคโนโลยี AI เช่น ระบบการเรียนรู้ พฤติกรรม หรือแมชชีนเลิร์นนิ่ง (ML) มาเพิ่มประสิทธิภาพ และการประมวลผลภาษาธรรมชาติ/มนุษย์ (NLP) ให้ข้อมูล เชิงลึกและช่วยคาดการณ์การแพร่กระจายของไวรัสได้อย่างมี ประสิทธิผล รวมถึงวัดผลมาตรการการรับมือการแพร่ระบาด ของไวรัสดังกล่าว September-October 2020

เทคโนโลยีอจั ฉริยะอืน่ ๆ ทีข่ บั เคลือ่ นด้วย AI อาทิ การเรียนรูแ้ บบ เสริมก�ำลัง (Reinforcement Learning) หรือการก�ำหนดเงื่อนไขบางอย่าง ให้แมชชีนได้เรียนรู้และปิดช่องโหว่ที่พบเพื่อบรรลุเงื่อนไขที่ก�ำหนดไว้ และการเรียนรู้แบบกระจาย (Distributed Learning) หรือแนวคิดในการ เชือ่ มโยงองค์ประกอบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในกระบวนการเรียนรูผ้ า่ นการใช้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สิง่ เหล่านีท้ ำ� ให้เกิดการสร้างระบบทีม่ สี เกลได้และ ยืดหยุน่ เพือ่ จัดการกับสถานการณ์ทางธุรกิจทีซ่ บั ซ้อนได้ดยี งิ่ ขึน้ เช่น ระบบ Agent-Based ที่ใช้โมเดลเป็นตัวแทนในแบบจ�ำลองและวิเคราะห์ระบบ ที่มีความซับซ้อน

2

แดชบอร์ดยังจำ�เป็นอยู่หรือไม่? (Decline of the Dashboard)

การรายงานผลแบบไดนามิกที่เน้นมอบประสบการณ์แก่ ผูใ้ ช้งานจริงได้อตั โนมัติ จะเข้ามาแทนทีค่ อนเทนท์บนแดชบอร์ดรูปแบบเดิม จากทีเ่ คยโชว์สรุปผลแบบรูปภาพ Point-and-Click และผลส�ำรวจการใช้งาน ด้วยเทคโนโลยี Augmented Analytics หรือ NLP จะเข้าวิเคราะห์ข้อมูล เชิงลึกอ้างอิงจากบทบาทหน้าทีแ่ ละประสบการณ์ใช้งานจริง และจะสตรีม คอนเทนท์ทตี่ อบโจทย์การใช้งานไปยังผูใ้ ช้แต่ละรายได้อตั โนมัติ ส่งผลให้ ผู้ใช้ใช้เวลาบนแดชบอร์ดที่กำ� หนดค่าไว้ล่วงหน้าน้อยลง


3

บริหารจัดการข้อมูลแบบสมาร์ท เร่งกระบวนการตัดสินใจได้เร็วและดีขึ้น (Decision Intelligence)

ใน พ.ศ. 2566 องค์กรขนาดใหญ่มากกว่า 33% จะมีทีม นักวิเคราะห์ขอ้ มูลปฏิบตั งิ านในด้าน Decision Intelligence รวมถึง Decision Modeling โดยการท�ำงานในด้าน Decision Intelligence จะน�ำไปสู่การก�ำหนดเกณฑ์การวิเคราะห์มากมาย ประกอบด้วย การจัดการการตัดสินใจ (Decision Management) และการสนับสนุน การตัดสินใจ (Decision Support) ซึง่ ช่วยก�ำหนดกรอบการปฏิบตั งิ าน ด้านการออกแบบ จัดวาง ด�ำเนินการ ตรวจสอบ และปรับแต่งรูปแบบ การตัดสินใจให้แก่ผบู้ ริหารฝ่ายข้อมูล รวมถึงกระบวนการอืน่ ๆ ทีส่ ร้าง ผลลัพธ์ในเชิงธุรกิจและเรียนรู้พฤติกรรมผู้บริโภค

4

X Analytics

ทฤษฎี “X Analytics” ของการ์ทเนอร์เป็นค�ำศัพท์ทใี่ ช้ กันอย่างแพร่หลาย โดย X ถูกก�ำหนดให้เป็นตัวแปล ข้อมูลด้านการวิเคราะห์ของช่วงเนื้อหาที่แตกต่างกัน ครอบคลุม ทั้งข้อมูลดิบและข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลพร้อมใช้งาน เช่น การวิเคราะห์ข้อความ วิดีโอ เสียง และข้อมูลอื่นๆ ช่วงการระบาดของโควิด-19 เทคโนโลยี AI มีความส�ำคัญ อย่างยิ่งต่อการประมวลผลและจัดการข้อมูลต่างๆ หลายพันเรื่อง ทัง้ งานวิจยั แหล่งข้อมูลข่าวสาร ข้อความทีถ่ กู โพสต์บนโซเชียลมีเดีย รวมถึงข้อมูลการทดลองทางคลินกิ เพือ่ ช่วยผูเ้ ชีย่ วชาญทางการแพทย์ และสาธารณสุขคาดการณ์การแพร่กระจายของโรค อีกทัง้ ยังสามารถ ช่วยวางแผน ค้นหาแนวทางการรักษาใหม่ๆ พร้อมระบุประชากรทีม่ ี ความเสีย่ ง นอกจากนี้ ทฤษฎี “X Analytics” ของการ์ทเนอร์ยงั ถูกน�า ไปใช้รว่ มกับ AI และเทคนิคอืน่ ๆ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการวิเคราะห์

เช่น น�ำ AI ใช้รว่ มกับเทคนิคการวิเคราะห์ดว้ ยกราฟ ช่วยเพิม่ ความ แม่นย�ำในการระบุ คาดการณ์ และวางแผนรับมือภัยธรรมชาติและ วิกฤตอื่นๆ ในอนาคตได้ดียิ่งขึ้น

5

กระบวนการปรับแต่งข้อมูลอัตโนมัติ (Augmented Data Management)

Augmented Data Management หรือกระบวนการ ปรับแต่งข้อมูลอัตโนมัติโดยใช้แมชชีนเลิร์นนิ่งและเอไอ ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและพัฒนาศักยภาพไปสูก่ ารวิเคราะห์ ข้อมูลอภิพนั ธุ์ (Metadata) ทีใ่ ช้ในการตรวจสอบบัญชี ความสัมพันธ์ของข้อมูล และ การรายงานในรูปแบบไดนามิกซิสเต็มส์ ผลิตภัณฑ์ของ Augmented Data Management สามารถ ตรวจสอบตัวอย่างข้อมูลการปฏิบัติงานจ�ำนวนมาก ประกอบด้วย การค้นหาจริง (Actual Queries) ข้อมูลเชิงปฏิบตั งิ าน (Performance Data) และโครงสร้างข้อมูล (Schemas) โดยใช้ขอ้ มูลจากการใช้งาน จริง และข้อมูลเวิรก์ โหลด Augmented Engine สามารถช่วยปรับแต่ง ประสิทธิภาพและก�ำหนดค่าความปลอดภัยได้

September-October 2020


6

Cloud เป็นของที่ต้องมี (Cloud is a Given)

ภายใน พ.ศ. 2565 คลาวด์สาธารณะ หรือ Public Cloud จะมีบทบาทส�ำคัญต่อการคิดค้นนวัตกรรมทางด้านการวิเคราะห์ และข้อมูลถึง 90% เนื่องจากข้อมูลและการวิเคราะห์ถูกย้ายขึ้นไป อยูบ่ นคลาวด์ โดยผูบ้ ริหารฝ่ายข้อมูลยังมีความท้าทายส�ำคัญในการ มองหาบริการที่เหมาะสมและสอดรับกับรูปแบบการใช้งานต่างๆ เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่จะเกิดจากการใช้โซลูชันที่ไม่รองรับการสเกล ระบบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ท�ำให้วันนี้ค�ำถามที่เกิดขึ้นเมื่อต้องการซื้อบริการด้านดาต้า และการวิเคราะห์ขอ้ มูล เปลีย่ นจากความสนใจเรือ่ งค่าบริการไปเป็น บริการนี้มีความสามารถอะไรบ้าง? ตอบโจทย์ความต้องการด้าน การท�ำงานหรือไม่ อย่างไร? ขณะเดียวกันผูบ้ ริหารทีด่ แู ลด้านดาต้า และการวิเคราะห์จ�ำเป็นต้องจัดล�ำดับความส�ำคัญของเวิร์กโหลด ทีอ่ าจท�ำให้ประสิทธิภาพการท�ำงานของคลาวด์ถกู ลดทอนไปได้ และ ให้ความส�ำคัญไปที่การบริหารความคุ้มค่าเมื่อต้องเปลี่ยนรูปแบบ การด�ำเนินธุรกิจไปสู่คลาวด์

7

การปะทะกันของโลกแห่งข้อมูลและ การวิเคราะห์ (Data and Analytics Worlds Collide)

โดยปกติ ก ารเลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี ด าต้ า และอนาไลติ ก ส์ จะแตกต่างกันไปในแต่ละองค์กร โดยใช้อัตลักษณ์และรูปแบบการ บริหารจัดการของแต่ละองค์กรมาพิจารณาเลือกเทคโนโลยีให้ เหมาะกับการใช้งาน ผู้จ�ำหน่ายโซลูชันจะเสนอขายเวิร์กโฟลว์ แบบครบวงจรโดยเปิดใช้งานการวิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติด้วย เทคโนโลยี Augmented Analytics ซึ่งยากต่อการแยกแยะความ แตกต่างของ 2 ตลาด

การชนกันของข้อมูลและระบบวิเคราะห์จะเพิ่มการโต้ตอบ และการท�ำงานร่วมกันระหว่างข้อมูลเก่าที่ถูกส่งออกและระบบ การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นไม่เพียงต่อเทคโนโลยี และความสามารถทีม่ อี ยูใ่ นโซลูชนั แต่เกิดขึน้ กับคนและกระบวนการ สนับสนุนและใช้งาน ตัวอย่างการท�ำงานคล้ายกับเกิดเป็นรูปแบบ การท�ำงานของสเปกตรัม โดยเริ่มขยายจากข้อมูลดิบเดิมสู่การ วิเคราะห์ข้อมูล และส่งต่อไปยังนักวิเคราะห์ข้อมูลและนักพัฒนา ทั่วๆ ไป

8

ตลาดและการแลกเปลี่ยนข้อมูล (Data Marketplaces and Exchanges)

9

บล็อกเชนที่อยู่ในดาต้าและการวิเคราะห์ ข้อมูล (Blockchain in Data and Analytics)

ใน พ.ศ. 2565 องค์กรขนาดใหญ่ราว 35% จะกลายเป็นทั้ง ผู้ซื้อและผู้ขายข้อมูลผ่านออนไลน์มาร์เก็ตเพลส โดยโตจาก 25% ใน พ.ศ. 2563 ซึ่งแพลตฟอร์มการแลกเปลี่ยนข้อมูลและดาต้า มาร์เก็ตเพลสจะกลายเป็นแหล่งรวมข้อมูลออนไลน์เดียวที่จัดเก็บ ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ไว้สำ� หรับน�ำไปใช้และลดต้นทุนให้กบั องค์กร

เทคโนโลยีบล็อกเชนชี้ให้เห็นความท้าทายส�ำคัญ 2 สิ่ง เกี่ยวกับดาต้าและการวิเคราะห์ อย่างแรกคือ บล็อกเชนรวบรวม ข้อมูลสินทรัพย์และธุรกรรมทั้งหมด และอย่างที่ 2 คือ บล็อกเชน มีความโปร่งใสแม้เครือข่ายมีความซับซ้อนและผู้ใช้หลากหลาย นอกจากกรณีการใช้ Bitcoin และ Smart Contract ยังมี ระบบจัดการฐานข้อมูลบัญชีแยกประเภท (หรือ DBMSs) ทีน่ ำ� เสนอ ตัวเลือกน่าสนใจในการตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งทีม่ าได้หลากหลาย ผ่าน Single-Enterprise Auditing การ์ทเนอร์คาดการณ์ว่าใน พ.ศ. 2564 บล็อกเชนได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ส่วนใหญ่จะถูกแทนที่ด้วยผลิตภัณฑ์ DBMS

10

ความสัมพันธ์สร้างรากฐานแก่ขอ้ มูล และเพิ่มคุณค่าในการวิเคราะห์ (Relationships form the Foundation of Data and Analytics Value)

ใน พ.ศ. 2566 องค์กรต่างๆ ทัว่ โลกราว 30% จะใช้เทคโนโลยี กราฟในการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจได้ อย่างรวดเร็ว การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยกราฟเป็นเทคนิคหนึ่งในการ วิเคราะห์ข้อมูลที่ข้อมูลนั้นถูกจัดให้อยู่ในรูปแบบเชิงความสัมพันธ์ โดยใช้วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ของรายละเอียดต่างๆ เช่น องค์กร คน และธุรกรรมต่างๆ มันช่วยให้ผบู้ ริหารฝ่ายข้อมูลค้นพบความสัมพันธ์ ของข้อมูลใหม่ๆ และตรวจสอบข้อมูลทีไ่ ม่สามารถวิเคราะห์ได้ดว้ ย วิธีการแบบเดิม September-October -October 2020


IT Article

> แอนดรูว์ แฮปกู๊ด ผู้อ�ำนวยการอาวุโสและหัวหน้าฝ่ายหุ้นส่วนและพันธมิตร เร้ดแฮท เอเชียแปซิฟิก

https://pixabay.com/illustrations/network-earth-block-chain-globe-3537401/

แอนดรูว์ แฮปกู๊ด

เร้ ด แฮท ผู ้ น� ำ ระดั บ โลกด้ า นโซลู ชั น โอเพ่นซอร์ส จัดงานประชุมพันธมิตรในภูมิภาค เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก ในเดื อ นสิ ง หาคมนี้ ในรู ป แบบ เวอร์ชวล ธีมการประชุมในปีนี้คือ “The Future is OPEN” ซึ่งมีการน�ำเสนอประเด็นส�ำคัญจาก ผู้บริหาร การอภิปราย และการประชุมกลุ่มย่อย ต่างๆ เกีย่ วกับเทคโนโลยีโอเพ่นซอร์สทีส่ ามารถ ช่ ว ยให้ ต ลาดฟื ้ น ตั ว จากสถานการณ์ โ ควิ ด -19 ได้เร็วขึน้ ด้วยการเน้นไปทีแ่ อปพลิเคชันทีท่ นั สมัย และการท� ำ งานร่ ว มกั น ระบบไอที อั ต โนมั ติ คอนเทนเนอร์ ไฮบริดคลาวด์ และนวัตกรรมด้าน โอเพ่นซอร์ส แอนดรูว์ แฮปกู๊ด ผู้อ�ำนวยการอาวุโส และหัวหน้าฝ่ายหุน้ ส่วนและพันธมิตร เร้ดแฮท เอเชียแปซิฟิก ได้กล่าวถึงวิกฤตต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลานีว้ า่ เป็นตัวเร่งให้ดจิ ทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน ด�ำเนินไปอย่างรวดเร็ว

“การศึกษาของ Harvard Business School เมือ่ เร็วๆ นี้ พบว่า 95% ของผูบ้ ริหารในเอเชียแปซิฟกิ ระบุวา่ การเปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั นัน้ “มีความส�ำคัญ มาก” รายงานฉบับนีย้ งั เน้นให้เห็นถึงวิธกี ารทีอ่ งค์กรในเอเชียแปซิฟกิ ก้าวล�ำ้ หน้า ภูมภิ าคอืน่ ๆ ของโลกทัง้ หมด (40% vs 23%) ในการพัฒนาและส่งมอบแอปพลิเคชัน ใหม่ๆ ออกสูต่ ลาดได้อย่างรวดเร็ว เร้ดแฮททราบดีวา่ พันธมิตรของเราอยูแ่ ถวหน้า ของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ และเราได้รับทราบเรื่องราวที่น่าทึ่งของพันธมิตร ของเราทุกวัน ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ท่ียากล�ำบากหรือไม่ก็ตาม เร้ดแฮทพร้อม เคียงบ่าเคียงไหล่และให้ความช่วยเหลือพันธมิตรและลูกค้าของเราเสมอ ด้วย จุดมุง่ หมายเดียวคือเพือ่ ช่วยแก้ปญ ั หาทีซ่ บั ซ้อนต่างๆ ให้แก่พนั ธมิตรและลูกค้า ทุกราย พันธมิตรของเร้ดแฮทประกอบด้วย ISVs, OEMs ผูจ้ ดั จ�ำหน่าย ผูใ้ ห้บริการ ติดตั้งระบบ และพันธมิตรด้านคลาวด์ เรายินดีทไี่ ด้เห็นพันธมิตรใหม่ๆ ติดต่อมายังเราเช่นกัน ส�ำหรับ พ.ศ. 2563 ณ เวลานี้ ในระบบ Red Hat Online Partner Enablement Network (OPEN) ยอดการขายและการรับรองทางเทคนิค (Sales and Technical Accreditations) ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีจำ� นวนใกล้เคียงกับ พ.ศ. 2562 ทั้งปีแล้ว!”

ต้องขจัดข้อจ�ำกัดต่างๆ

การตอบสนองต่ อ ความท้ า ทายที่ เ กิ ด ขึ้ น ของเร้ ด แฮทคื อ เปิ ด กว้ า ง ให้มากกว่าเดิม นั่นหมายความว่าอย่างไร? Cloudera ซึ่งเป็นหนึ่งในพันธมิตรของเราได้ให้ความหมายของค�ำว่า ‘เปิดกว้าง’ ว่าหมายถึง ‘การท�ำงานร่วมกันอย่างเปิดเผยโดยไร้ข้อจ�ำกัดใดๆ ทั้งสิ้น’ “เราก�ำลังท�ำงานเพื่อขจัดข้อจ�ำกัดต่างๆ ทุกวัน” วันนี้เราเผชิญความท้าทายที่ไม่สามารถจัดการประชุมร่วมกับพันธมิตร และลูกค้าของเราแบบพบหน้าพบตากันเหมือนที่เราเคยท�ำมาได้ แต่นั่นไม่ใช่ September-October 2020


อุปสรรค เราก�ำลังปรับตัวและใช้ทุกวิถีทางที่จะสามารถท�ำได้เพื่อ ให้การสนับสนุนพันธมิตรและลูกค้าในรูปแบบต่างๆ เราให้ความรู้ แก่พันธมิตรของเราว่าท�ำอย่างไรจึงจะบริหารจัดการวิกฤตในแต่ละ ช่วงเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เราท�ำงานร่วมกับพันธมิตรเพื่อ ช่วยให้ลกู ค้าปรับตัวรับสิง่ ทีเ่ ข้ามากระทบต่อธุรกิจและอุตสาหกรรม ของพวกเขาอย่างรวดเร็ว รุนแรง ไม่วา่ จะเป็นการปรับขนาดการให้ บริการเพิม่ ขึน้ หรือลดลง เพือ่ ให้ตรงต่อความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา หรือเน้นเจาะจงแก้ไขความท้าทายเป็นเรื่องๆ ไป เช่น การจ�ำกัดต้นทุนในอุตสาหกรรมค้าปลีก และการท่องเที่ยว “เร้ ด แฮทจะอยู ่ เ คี ย งข้ า งพั น ธมิ ต รตลอดช่ ว งเวลาวิ ก ฤต เราก้าวเข้าสู่ ‘ความปกติวิถีใหม่’ ซึ่งเป็นการเร่งให้เกิดโอกาสต่างๆ อีกครั้ง” แอนดรูว์ กล่าวย�า้

ความร่วมมือเพื่อพลิกเกมทางธุรกิจ

การเปิดกว้างมากขึ้นยังหมายถึงการขจัดข้อจ�ำกัดให้กับ ทุกพันธมิตรที่อยู่ในระบบนิเวศเดียวกับเรา เราต้องการการท�ำงาน ร่วมกันอย่างเปิดเผย เพื่อดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลายร้อยรายเข้ามา ร่วมในแนวทางเดียวกัน เพือ่ แก้ปญ ั หาความท้าทายส�ำคัญๆ ให้กบั ลูกค้าของเรา เราภูมใิ จในความส�ำเร็จในวันนีท้ ไี่ ด้เห็น Red Hat OpenShift ได้รบั การน�ำเสนอให้ลกู ค้าโดย Microsoft Azure, IBM Cloud และ AWS ล่าสุด ในขณะที่ HPE และ Microsoft ก�ำลังท�ำงานร่วมกับเรา เพื่อน�ำเสนอ SQL Server on Red Hat Enterprise Linux (RHEL) ให้กบั ลูกค้า และเราร่วมเป็นพันธมิตรกับ Adobe และ IBM เพือ่ ช่วย ส่งเสริมให้ลูกค้าเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัลได้อย่างรวดเร็ว สิ่ ง ที่ ก ล่ า วมานี้ คื อ ตั ว อย่ า งความร่ ว มมื อ ที่ เราต้ อ งการ สร้างร่วมกับพันธมิตรของเรา เราได้เห็นแล้วว่าพันธมิตรของเรา น่าประทับใจและน่าทึ่งแค่ไหน ในระหว่างการตัดสินรางวัลด้าน พันธมิตรในงานประชุม Red Hat Partner Conference Asia Paficic ทีก่ ำ� ลังจะมาถึง เพราะมีเรือ่ งราวของพันธมิตรต่างๆ ทีก่ ระตุน้ ความ สนใจมากมาย ทัง้ ทีเ่ กีย่ วกับโซลูชนั ทีเ่ ป็นนวัตกรรม มีความคล่องตัว และเป็ น โซลู ชั น ที่ จ ะพลิ ก เกมการแข่ ง ขั น และอนาคตทางธุ ร กิ จ ซึ่งท�ำให้เราตัดสินใจคัดเลือกผู้ชนะได้ยาก ความสวยงามของการตัดสินรางวัลนีค้ อื แต่ละกรณีเป็นผลงาน จากความร่วมมือกัน ไม่มีใครที่จะสามารถท�ำสิ่งเหล่านี้ให้ส�ำเร็จได้ เพียงล�ำพัง และนัน่ คือความหมายของ ‘การเปิดกว้าง’ ส�ำหรับเร้ดแฮท ส�ำหรับพันธมิตร และส�ำหรับเราทุกคน สิ่งนี้เป็นสิ่งจ�ำเป็นในเวลาที่ต้องใช้ความพยายามมากที่สุด ไม่วา่ จะเป็นในวันนีห้ รือในอนาคต เพราะในทีส่ ดุ แล้ว ‘การเปิดกว้าง’ นี้เองที่จะช่วยให้เราให้บริการลูกค้าได้ดีที่สุด Advent One ซึง่ เป็นหนึง่ ในพาร์ทเนอร์ของเร้ดแฮทได้กล่าว ไว้ว่า “สิ่งที่เร้ดแฮทน�ำมาให้เราคือความสามารถในการผสานความ ร่วมมือเข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์ เพือ่ สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ให้กบั สินค้า และบริการของเรา และเพื่อมอบคุณค่าให้กับลูกค้าของเรา” September-October 2020

ผลการศึกษาที่จัดท�ำโดย

Harvard Business Review Analytic Services ในนามของเร้ดแฮท

บริษัท เร้ดแฮท อิงค์ (Red Hat, Inc) ได้ประกาศ ผลการศึกษาทีจ่ ดั ท�ำโดย Harvard Business Review Analytic Services ในนามของเร้ดแฮท เกี่ยวกับการเปลี่ยนผ่านและ เส้นทางการใช้นวัตกรรมของธุรกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (APAC) เปรียบเทียบกับความเป็นไปในระดับโลก การศึกษา ภายใต้หวั ข้อ “ความเข้าใจต่อความส�ำเร็จในการเปลีย่ นผ่าน สู่ดิจิทัลในเอเชียแปซิฟิก” โดยได้ท�ำการส�ำรวจผู้บริหาร ธุรกิจ จ�ำนวน 143 คน จากอุตสาหกรรมต่างๆ ในภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟิก ในกลุ่มภาคบริการด้านการเงิน ไอที และการผลิต ผลการศึ ก ษาระบุ ว ่ า บริ ษั ท ในเอเชี ย ได้ จั ด ให้ ก าร เปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั เป็นกลยุทธ์ทจี่ ำ� เป็นกลยุทธ์หนึง่ ทีไ่ ม่เพียง สร้างการเติบโตเท่านั้น แต่เพื่อความอยู่รอดขององค์กรด้วย ความแตกต่างของประสิทธิภาพในการเปลี่ยนผ่านของธุรกิจ ในภูมิภาคนี้ ได้แปรเปลี่ยนเป็นประโยชน์ทางธุรกิจที่ส�ำคัญ ให้กับบริษัทในภูมิภาค เช่น ช่วยให้บริษัทส่งผลิตภัณฑ์และ บริการใหม่ๆ ออกสู่ตลาดได้เร็วกว่าธุรกิจประเภทเดียวกัน ในภูมิภาคอื่นทั่วโลก ไฮไลต์สำ� คัญของรายงานนีร้ ะบุวำ่ ผูบ้ ริหารใน APAC 95% กล่าวว่า การปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลตลอดช่วงระยะเวลา 18 เดือนทีผ่ า่ นมาทวีความส�ำคัญมากขึน้ ผูน้ ำ� ธุรกิจใน APAC 80% ได้จดั อันดับให้การเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมองค์กรมีความ ส�ำคัญเท่าเทียมกับการปรับเทคโนโลยีให้ทันสมัยเพื่อการ เปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั และผูบ้ ริหารใน APAC 40% สามารถพัฒนา และเปิดตัวแอปพลิเคชันใหม่ๆ ออกสู่ตลาดได้อย่างรวดเร็ว ซึง่ เมือ่ เทียบกับผูบ้ ริหารทัว่ โลกแล้วมีเพียง 23% เท่านัน้ ทีท่ ำ� ได้ เช่นนี้ ผูบ้ ริหารใน APAC เห็นว่า การเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรม องค์กรเป็น 1 ใน 3 รากฐานของการปรับเปลี่ยนให้ทันสมัย ทีจ่ ะต้องท�ำไปพร้อมๆ กับเรือ่ งเทคโนโลยีและกระบวนการทาง ธุรกิจ ซึ่งจะสร้างแรงผลักดันที่ส�ำคัญต่อความส�ำเร็จในการ เปลี่ยนผ่าน ผู้ตอบแบบส�ำรวจได้กล่าวถึงวัฒนธรรมองค์กร ของบริษทั ในปัจจุบนั ว่าประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น การท�ำงาน ร่วมกัน (44%) การเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมโดยไม่มี การกีดกัน (42%) ความสามารถในการปรับตัว (41%) และ ความโปร่งใสในการท�ำงาน (40%)


นอกจากนี้ ผลการศึกษายังระบุวา่ บริษทั ต่างๆ ทีต่ อ้ งการ ประสบความส�ำเร็จในการเปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั นัน้ จะต้องสนับสนุน ความคิดริเริ่มด้านการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร พร้อมกับ ความพยายามในการปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานและสถาปัตยกรรม แอปพลิเคชันให้ทนั สมัย ซึง่ เมือ่ รวมความคิดริเริม่ ทัง้ 2 ประการนี้ ไว้ด้วยกัน จะช่วยให้บริษัทใน APAC กระท�ำสิ่งต่างๆ ได้ดังนี้ • ผูต้ อบแบบสอบถาม 75% เห็นว่า การใช้วธิ กี ารในการ ให้บริการแบบบูรณาการอย่างต่อเนือ่ งเป็นเรือ่ งส�ำคัญ • พัฒนาและช่วยให้เปิดตัวแอปพลิเคชันใหม่ๆ ออกสูต่ ลาด ได้อย่างรวดเร็ว (40%) • ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว (39%) • อัปเดตระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ (39%) • ควบคุมค่าใช้จ่ายในการบ�ำรุงรักษาได้ (39%)

อนึง่ ผูบ้ ริหารใน APAC มีแนวความคิดทีช่ ดั เจนเกีย่ วกับ สิ่งที่จะต้องลงทุนในอีก 12-18 เดือนข้างหน้า เพื่อรักษาความ ต่อเนื่องในการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัล พวกเขาวางแผนที่จะลงทุน ด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ Machine Learning (40%) รวมถึง เพิม่ การลงทุนด้านแอปพลิเคชันธุรกิจทีท่ ำ� งานบนคลาวด์ 8% และ ด้านเครื่องมือระบบอัตโนมัติสำ� หรับกระบวนการทางธุรกิจ 6% งานวิจัยนี้ด�ำเนินการโดยได้รับมอบหมายจากเร้ดแฮท และเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับโลกที่ชื่อว่า “Rethinking Digital” โดย Harvard Business Review (HBR) Analytic Services ได้ทำ� การส�ำรวจจากผูอ้ า่ น HBR จ�ำนวนทัง้ หมด 690 คน (ผูอ้ า่ น นิตยสาร/จดหมายข่าว ลูกค้า ผูใ้ ช้งาน HBR.org) ซึง่ มาจากเอเชีย แปซิฟกิ 143 คน ผูต้ อบแบบสอบถามอยูใ่ นต�ำแหน่งทีห่ ลากหลาย หน้าทีใ่ นอุตสาหกรรมต่างๆ รวมถึงการผลิต บริการด้านการเงิน เทคโนโลยี และบริการให้คำ� ปรึกษา September-October 2020


สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.)

EECi ...เมืองนวัตกรรม เพื่อผลิกโฉมนวัตกรรม ของประเทศสู่เชิงพาณิชย์

ศ. (พิเศษ) ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) ลงพื้นที่ตรวจความคืบหน้าการก่อสร้าง อาคารส�ำนักงานใหญ่ EECi และเยีย่ มชมสถาบันวิทยสิรเิ มธี (VISTEC) และโรงเรียนก�ำเนิดวิทย์ (KVIS) รวมถึงเยี่ยมชม สวนทุเรียนใน อ.วังจันทร์ จ.ระยอง ซึ่งได้รับการสนับสนุน และส่งเสริมด้วยการน�ำเทคโนโลยี IoT มาพัฒนาเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตแก่เกษตรกร โดยมีผบู้ ริหารส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ให้การต้อนรับและน�ำเยี่ยมชมกิจกรรมดังกล่าว ศ. (พิเศษ) ดร.เอนก กล่าวว่า “จากการติดตามและ ลงพื้นที่พบว่า EECi มีความคืบหน้าอย่างน่าพอใจ โดย ทุกอย่างเป็นไปตามแผนทีว่ างไว้ และคาดว่าเมืองนวัตกรรม EECi จะพร้อมเปิดด�ำเนินการได้ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2564 นี้ ได้อย่างแน่นอน ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นผลงานของหน่วยงานที่ รับผิดชอบทีร่ ว่ มมือท�ำงานกันอย่างแข็งขัน โดยมีเป้าหมาย เพือ่ ผลักดันให้ EECi เป็นเมืองนวัตกรรมทีจ่ ะช่วยยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน และจะช่วยพลิกโฉมการท�า นวัตกรรมของประเทศสู่เชิงพาณิชย์อย่างแท้จริง ช่วยให้ ประเทศหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง ยกระดับและ พัฒนาอุตสาหกรรมเดิม รวมถึงสร้างให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ตลอดจนน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไปในอนาคต” September-October 2020

ขณะนี้การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ส�ำคัญ ทีส่ ามารถรองรับการท�ำวิจยั ขยายผลทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตของ EECi คืบหน้าไปกว่าร้อยละ 40 แล้ว ทั้งโรงงานต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี โรงเรือนฟีโนมิกส์ ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยัง่ ยืน นอกจากนัน้ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบได้เร่งหาพันธมิตรทั้งในและต่างประเทศจากหน่วยงาน รัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจยั โดยขณะนีม้ พี นั ธมิตรกว่า 70 รายแล้ว นอกจากนี้ EECi ยังด�ำเนินกิจกรรมพัฒนาชุมชนด้วย การน� ำ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละนวั ต กรรมเข้ า ไปส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ภาคการเกษตร ภาคการศึกษา และวิสาหกิจชุมชนบนพื้นที่ EEC (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง) เพื่อตอบโจทย์การใช้งานของผู้ใช้ ประโยชน์ด้วย เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi) จะเป็นเมือง นวัตกรรมแห่งใหม่ของจังหวัดระยองและของประเทศ บนพืน้ ที่ EEC เป็นแหล่งพัฒนางานวิจัยขยายผล (Translational Research) และ เป็นแหล่งปรับแปลงเทคโนโลยีข้ันสูงจากต่างประเทศ (Technology Localization) ให้เข้ากับบริบทของประเทศไทยและภูมภิ าคอาเซียน เพือ่ ปิดช่องว่างทางเทคโนโลยีของไทย รวมทัง้ การพัฒนาและใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพของไทยที่มีอย่างหลากหลายออกสู่ตลาดโลก ทีด่ า้ นหนึง่ มีขดี ความสามารถสร้างผลงานแล้วในระดับห้องปฏิบตั กิ าร แต่ผลงานที่ได้ส่วนใหญ่ยังส่งไม่ถึงผู้ใช้ประโยชน์ เพราะที่ผ่านมา ประเทศไทยไม่ได้ลงทุนกับโครงสร้างพื้นฐานและกลไกขยายผลงาน วิจัย และอีกด้านหนึ่งก็ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีขั้นสูง


จากต่างประเทศได้มากนัก เพราะขาดโครงสร้างพื้นฐานและกลไก ที่จะรองรับการปรับแปลงเทคโนโลยีให้เข้ากับบริบทของไทย นอกจากนี้ ยั ง ได้ ด� ำ เนิ น งานการขยายผลและสนั บ สนุ น ถ่ายทอดเทคโนโลยีพร้อมใช้ ตลอดจนองค์ความรู้ด้านการจัดการ เกษตรสมัยใหม่ ร่วมกับพันธมิตรทัง้ ภาคเกษตรกร หน่วยงานภาครัฐ ภาคสถาบันการศึกษา และภาคเอกชนในพื้นที่ ในการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะทัง้ ในด้านพืชผัก ผลไม้ และประมง ได้แก่ เทคโนโลยี โรงเรื อ นเพาะปลู ก และการบริ ห ารจั ด การครบวงจร เพื่อการจัดการการปลูกพืชผักครบวงจร ตั้งแต่การผลิตเมล็ดพันธุ์ การเพาะปลูกในโรงเรือน การผลิตสารชีวภาพเพื่อควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชผัก ระบบการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ และปลอดภัยได้มาตรฐาน เทคโนโลยีโรงเรือนอัจฉริยะพร้อมระบบ ติดตามและควบคุม เพื่อสาธิตและถ่ายทอดการปลูกพืชมูลค่าสูง เพื่อส่งต่อภาคอุตสาหกรรมแปรรูปในกลุ่ม อาทิ มะเขือเทศ พริก เทคโนโลยีระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อ การจัดการและควบคุมอัตโนมัติ ส�ำหรับการจัดการแปลงเพาะปลูก และเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้� ได้อย่างเหมาะสมและแม่นย�ำ เทคโนโลยีระบบ การให้นำ�้ ตามสภาวะความต้องการของพืชในระบบแปลงเปิด เพื่อ การประยุกต์ใช้ในการจัดการทรัพยากรน�ำ้ ในสวนทุเรียน สวนมังคุด ให้มปี ระสิทธิภาพและคุม้ ค่า โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่เกษตรกร 29 ชุมชน รวมถึงเกษตรกรแกนน�ำ และ Young Smart Farmer รวม 29 ราย และร่วมพัฒนาศูนย์เรียนรู้เพื่อการขยายผลการถ่ายทอด เทคโนโลยีร่วมกับภาคเอกชนและภาคการศึกษา 3 แห่ง

พร้อมทัง้ จัดกิจกรรมการเตรียมพร้อมเพือ่ รองรับอุตสาหกรรม ฐานชีวภาพ จากงานวิจยั ขยายผล (Translational Research) มีการ พัฒนาและติดตั้งต้นแบบแพลตฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะเพื่อ เกษตรสมัยใหม่ในพืน้ ที่ ได้แก่ ระบบเกษตรแม่นย�ำ ฟาร์มอัจฉริยะ (Handy Sense) ติดตัง้ ในฟาร์มเกษตรกร รวม 34 แห่ง ระบบติดตาม แจ้งเตือนสภาพทัง้ กายภาพ เคมี และชีวภาพ พร้อมระบบเฝ้าระวัง และติดตามการระบาดของโรค ส�ำหรับประมงอัจฉริยะ (Aqua IoT) ขยายผลการใช้งานในฟาร์มของผูป้ ระกอบการเลีย้ งสัตว์นำ�้ เศรษฐกิจ (กุง้ ปลา) รวม 15 แห่ง และอยูใ่ นระหว่างการพัฒนาระบบบ่อไร้ดนิ ส�ำหรับการเลี้ยงกุ้งแนวใหม่ท่ีมีการควบคุมคุณภาพน�้ำ มีระบบ หมุนวนน�ำ้ เติมออกซิเจน ประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต�ำ่ เป็นแหล่งข้อมูล การควบคุมสภาพแวดล้อมและการจัดการอาหารตลอดระยะเวลา การเลี้ ย งกุ ้ ง เพื่ อ การพั ฒ นาระบบปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ใ นอนาคต อีก 1 ต้นแบบ เพื่อยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตภาคเกษตรกร ในพื้นที่ EEC ให้เทียบเท่ากลุ่มการบริการและภาคอุตสาหกรรม ด้วย วทน. เพื่อหนุนให้การบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม EECi เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศต่อไป สมบูรณ์ งามเสงีย่ ม เกษตรกรเจ้าของสวนทุเรียนบัวแก้ว ในเขตพื้นที่บ้านวังจันทร์ อ.วังจันทร์ จ.ระยอง มีพื้นที่ปลูกทุเรียน ประมาณ 50 ไร่ ในแต่ละปีต้องเสียค่าใช้จ่ายในการสูบน�้ำส�ำหรับ รดต้นทุเรียนประมาณ 560,000 บาท ที่ค่าใช้จ่ายสูงเพราะไม่ สามารถทราบได้วา่ เวลานัน้ พืน้ ดินต้องการน�ำ้ หรือไม่ ท�ำให้บางครัง้ สูบน�้ำรดต้นทุเรียนโดยไม่จ�ำเป็น จึงสูญเสียค่าใช้จ่ายจ�ำนวนมาก ทางเกษตรกรจึงได้นำ� เทคโนโลยีการให้นำ้� อัจฉริยะส�ำหรับเกษตรกร แปลงใหญ่ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สก.) สวทช. มาใช้ในสวน นริชพันธ์ เป็นผลดี ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. เจ้าของผลงาน Handy Sense (ระบบเก็บข้อมูลเซนเซอร์และ Application ในการควบคุมสภาวะแวดล้อม) ได้น�ำผลงานวิจัยไป ถ่ายทอดให้แก่เกษตรกร โดยใช้เซนเซอร์อุณหภูมิความชื้นอากาศ ร่วมกับเทคโนโลยีระบบให้นำ้� อัจฉริยะ โดยจะมีเซนเซอร์วดั อุณหภูมิ ภาคและความชื้นอากาศ และแจ้งเตือนแบบ Real Time ไปยัง เกษตรกรทาง Line เซนเซอร์นใี้ ช้ควบคุมการให้นำ�้ ตามความต้องการ ของพืช นอกจากนี้ เซนเซอร์ยงั ใช้วดั ความเข้มแสงได้อกี ด้วย ท�ำให้ เกษตรกรสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการดูแลพืชได้อีกทางหนึ่ง ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีการให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับ เกษตรแปลงใหญ่ ท�ำให้ลดปริมาณการให้น�้ำ ลดการสูญเสียปุ๋ย ลดความสูญเสียของผลผลิต ประหยัดพลังงานไฟฟ้า และลงทุนต�า่ เพราะใช้ปั๊มน�ำ้ ตัวเล็กลงนั่นเอง ซึ่งการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวท�ำให้ สมบูรณ์ สามารถลด ค่าใช้จา่ ยได้จำ� นวนมาก จาก 560,000 บาทต่อปี เหลือเพียง 250,000 บาทต่อปีเท่านั้น ถึงแม้ในปีแรกต้องลงทุนติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ประมาณ 700,000 บาท แต่สามารถถึงจุดคุ้มทุนได้ในระยะ 3 ปี เท่านัน้ นอกจากนัน้ ยังใช้คนงานน้อยลง ท�ำให้มรี ายรับเพิม่ ขึน้ กว่า เท่าตัวอีกด้วย September-October 2020


Movement

นักวิทย์ฯ ซินโครตรอน คว้ารางวัล Gold Award ในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ ประจ�ำปี 2563

ดร.พิ นิ จ กิ จ ขุ น ทด นั ก วิ ท ยาศาสตร์ สถาบั น วิ จั ย แสงซินโครตรอน คว้ารางวัลใหญ่ Thailand Research Expo 2020 Award ประเภท Gold Award ถ้วยรางวัลจากนายกรัฐมนตรี ในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ ประจ�ำปี 2563 (Thailand Research Expo 2020) ในผลงาน “แก้วขัน้ สูงส�ำหรับการประยุกต์ใช้กกั เก็บ พลังงานสะอาดแห่งอนาคต” งานวิจัยแก้วขั้นสูงส�ำหรับการประยุกต์ใช้กักเก็บพลังงาน สะอาดแห่ ง อนาคตนี้ เกิ ด จากการคิ ด ค้ น และพั ฒ นาวั ส ดุ แ ก้ ว วานาเดตบอเรตให้มปี ระสิทธิภาพเหมาะสมในการใช้เป็นขัว้ แคโทด ส�ำหรับแบตเตอรีช่ นิดลิเทียมไอออน แม้แบตเตอรีช่ นิดลิเทียมไอออน ทีใ่ ช้งานในปัจจุบนั จะมีขอ้ ดีหลายประการ เช่น สามารถประจุไฟฟ้า ให้เต็มแล้วน�ำกลับใช้ซำ้� ได้ (Rechargeable) มีนำ�้ หนักเบา พกพาสะดวก และมีความเป็นพิษต่อสิง่ แวดล้อมต�ำ่ อย่างไรก็ตาม แบตเตอรีช่ นิดนี้ ยังมีจำ� นวนรอบการใช้งานทีต่ ำ่� มีขอ้ จ�ำกัดหากต้องการใช้กระแสไฟฟ้า ในปริมาณมาก นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยจึงมุ่งเน้นพัฒนาวัสดุ ส�ำหรับประกอบเป็นแบตเตอรีช่ นิดลิเทียมไอออนให้มปี ระสิทธิภาพ ความจุไฟฟ้า และความปลอดภัยสูงขึ้น

September-October 2020

ทีมนักวิจัยสถาบันฯ ได้ท�ำการสังเคราะห์แก้วแมงกานีส ลิเทียมบอเรต ที่มีลักษณะแข็ง ทึบ มีความวาวเล็กน้อย และ มีการกระจายตัวของธาตุ ออกซิเจน โบรอน แมงกานีส และลิเทียม กระจายอยูท่ ว่ั ทัง้ วัสดุแก้ว และเมือ่ ทดสอบโครงสร้างเชิงลึกในระดับ อะตอมของแก้วโดยเทคนิคการดูดกลืนรังสีเอกซ์ดว้ ยแสงซินโครตรอน พบว่า แก้วแมงกานีสลิเทียมบอเรตชนิดนี้มีคุณสมบัติเหมาะสม สามารถน�ำไปต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้เป็นวัสดุขั้วแคโทดส�ำหรับ แบตเตอรีช่ นิดลิเทียมไอออนต่อไปได้ในอนาคต ข้อดีของแก้วชนิดนี้ คือ มีความทนทานต่อการกัดกร่อนจากสารละลายอิเล็กโทรไลต์ทอี่ ยู่ ในแบตเตอรี่ ท�ำให้เพิม่ รอบการใช้งานได้มากขึน้ อีกทัง้ แก้วเป็นวัสดุ ที่ทนต่อความร้อนได้ดี จึงสามารถน�ำเอาแบตเตอรี่ชนิดนี้ไปใช้ใน งานอุตสาหกรรมทีท่ นความร้อนสูงได้ นอกจากนี้ งานวิจยั ดังกล่าว ยังได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจัยระดับนานาชาติและได้มีการ ยื่นเสนอขออนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์เรียบร้อยอีกด้วย ส� ำ หรั บ หลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณารางวั ล นี้ ประกอบด้ ว ย แนวคิดและความคิดสร้างสรรค์ของผลงาน รวมถึงวิธกี ารผลิตผลงาน การน�ำไปขยายผลการใช้ประโยชน์ทง้ั ในมิตเิ ชิงวิชาการในระดับชาติ และนานาชาติ ด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาชุมชน ตลอดจนการ ต่อยอดขยายผลให้มีคุณค่าเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรม เป็นต้น


เชลล์ ประเทศไทย เปิดตัว “ออฟฟิศ แห่งอนาคต” ปรับโฉมที่ทำ� งานใหม่

บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ปรับโฉม ที่ท�ำงานใหม่ ชูแนวคิด Good Health & Well-Being Workplace รั บ การเปลี่ ย นแปลงหลั ง COVID-19 มุ่งเสริมสร้างพลังกายพลังใจที่ดี เพื่อให้พนักงานดูแล ห่วงใยซึง่ กันและกัน เน้นเปิดใจเรียนรูส้ ง่ิ ทีจ่ ะสร้างคุณค่า ให้แก่ตนเอง ลูกค้า และสังคม พร้อมปรับตัวน�ำการ เปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะต่อสภาวการณ์ใหม่ แนวคิด ดังกล่าวมุง่ เน้นด�ำเนินการผ่านโครงการ “ออฟฟิศแห่ง อนาคต” ซึง่ นอกจากการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรแล้ว ยังปรับโฉมทีท่ ำ� งานใหม่ ประกอบด้วย 3 ด้านหลัก คือ สุขภาพและสุขอนามัยที่ดีในส�ำนักงาน สภาพการ ท�ำงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการส่งเสริม ศักยภาพบุคลากรและการเปิดใจเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ ทัง้ นี้ เป็นการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะ ฟืน้ ฟู และการเปลีย่ นผ่านสูอ่ นาคตหลังการระบาดของ โรคโควิด-19 โดยเป็นการด�ำเนินการทีย่ กระดับมาตรการ ด้านความปลอดภัยจากภายในสู่ภายนอก

CyberPower เครื่องส�ำรองไฟฟ้า ฉลองก้าวสู่ปีที่ 11 บุกตลาด เมืองไทย

บริษทั ไซเบอร์ เพาเวอร์ ซิสเต็มส์ อิงค ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งส� ำ รองไฟฟ้ า แบรนด์ ช้ั น น� ำ จาก สหรัฐอเมริกา ที่ได้รับการยอมรับว่ามีคุณภาพ มาอย่างยาวนานในระดับสากล ฉลองก้าวสู่ ปี ท่ี 11 รุ ก ตลาดในเมื อ งไทย จั ด แคมเปญ “เครื่องส�ำรองไฟฟ้า CyberPower แจกจุกๆ ลุ้นทุกเดือน” แจกรางวัลคืนก�ำไรให้ลูกค้ากว่า 66 รางวัล มูลค่ารวมกว่า 500,000 บาท พร้อม เตรียมขยายฐานลูกค้าจากกลุม่ องค์กรขนาดใหญ่ ไปสู่กลุ่มผู้บริโภคในวงกว้าง ตั้งเป้าขยายเพิ่ม 30% ภายใน พ.ศ. 2563 โดยมีบริษทั เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชัน่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (SIS) เป็นผูจ้ ดั จ�ำหน่ายเครือ่ งส�ำรองไฟฟ้า CyberPower แต่ เ พี ย งผู ้ เ ดี ย วในประเทศไทย โดยการั น ตี ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภคมาอย่างยาวนาน กว่า 11 ปี September-October 2020


Industry News

สนพ. สรุปสถานการณ์พลังงาน 6 เดือนแรกของ พ.ศ. 2563 และเผยทิศทางพลังงานปี ’63 วัฒนพงษ์ คุโรวาท ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กล่าวว่า สถานการณ์พลังงานในช่วง 6 เดือนแรกของ พ.ศ. 2563 พบว่า การใช้พลังงานขัน้ ต้นลดลงร้อยละ 10.1 จากการใช้ น�้ ำ มั น และก๊ า ซธรรมชาติ ที่ลดลง เนื่องจากผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ท�ำให้ วัฒนพงษ์ คุโรวาท ห่วงโซ่การด�ำเนินธุรกิจได้รับผลกระทบ อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ความต้องการใช้พลังงานและการเติบโตทาง เศรษฐกิจภายในประเทศหยุดชะงัก ในขณะที่ไฟฟ้าน�ำเข้ามีการใช้ เพิ่มขึ้นและพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ส�ำหรับสถานการณ์พลังงานรายเชือ้ เพลิงในช่วง 6 เดือนแรก ของ พ.ศ. 2563 สรุปได้ดังนี้ การใช้นำ�้ มันส�ำเร็จรูป ลดลงร้อยละ 12.6 ทั้งการใช้น�้ำมันดีเซล น�้ำมันเบนซิน และแก๊สโซฮอล์ การใช้ น�ำ้ มันเครือ่ งบิน และการใช้ LPG เป็นผลกระทบจากการแพร่ระบาด ของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ซึง่ ส่งผลต่อทุกภาคส่วนธุรกิจนัน่ เอง การใช้ ก๊าซธรรมชาติ ลดลงร้อยละ 8.5 โดยลดลงทุกสาขาเศรษฐกิจ ทั้ง การใช้เป็นเชือ้ เพลิงในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี การใช้เพือ่ ผลิตไฟฟ้า การใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว ด้านการใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับรถยนต์ (NGV) ลดลงร้อยละ 28.8 จากผู้ใช้รถยนต์ NGV บางส่วนเปลี่ยนมาใช้น�้ำมัน เนื่องจากราคา อยูใ่ นระดับไม่สงู มากนัก อีกทัง้ ผลจากการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส

โควิด-19 ท�ำให้การใช้ NGV ในการเดินทางลดลง การใช้ถ่านหิน/ ลิกไนต์ ลดลงร้อยละ 0.3 ตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ด้าน การใช้ไฟฟ้า ลดลงร้อยละ 3.9 โดยลดลงในเกือบทุกสาขา โดยเฉพาะ สาขาอุตสาหกรรมและธุรกิจ จากปัญหาการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส โควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ และภาคการท่องเที่ยว โดยกลุ่มธุรกิจหลักที่มีการใช้ ไฟฟ้าลดลงอย่างชัดเจน ซึง่ มีผลมาจากมาตรการ Lock Down ได้แก่ โรงแรมและห้างสรรพสินค้า อย่างไรก็ตาม ภาคครัวเรือนมีการใช้ไฟฟ้า เพิ่มขึ้นค่อนข้างสูง และอุณหภูมิที่สูงขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ประกอบกับมาตรการอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และมาตรการ ท�ำงานที่บ้าน (Work from Home) ในกรณีทอี่ ตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปีนปี้ รับตัวลดลง รุนแรงถึงร้อยละ (-9.0)-(-10.0) คาดว่าจะส่งผลให้การใช้พลังงานของ ประเทศลดลงร้อยละ 7.9 โดยการใช้นำ้� มันเบนซินลดลงร้อยละ 6.3 การใช้น�้ำมันดีเซลลดลงร้อยละ 4.0 การใช้น�้ำมันเครื่องบินลดลง ร้อยละ 43.5 การใช้ LPG ลดลงร้อยละ 10.9 การใช้นำ�้ มันเตาลดลง ร้อยละ 10.0 และการใช้ไฟฟ้าลดลงร้อยละ 3.0 อย่างไรก็ตาม สนพ. ยังคงจับตาสถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 และปัจจัยอืน่ ๆ ทีจ่ ะส่งผลต่อการใช้พลังงาน ของประเทศอย่างใกล้ชดิ อาทิ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ราคา น�้ำมันดิบตลาดโลก มาตรการในการป้องกันโควิด-19 ทั้งในและ ต่างประเทศ

ปตท. ไตรมาส 2 ปรับเพิ่มขึ้นจากนโยบาย 4R’s

อรรถพล ฤกษ์พบ ิ ลู ย์

อรรถพล ฤกษ์พบิ ลู ย์ ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) (ปตท.) กล่าวว่า ผลประกอบการ ในช่วงครึง่ แรกของ พ.ศ. 2563 ปตท. และ บริษัทย่อยมี EBITDA จ�ำนวน 86,593 ล้านบาท ลดลง 67,734 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 43.9 จากช่วงครึง่ แรกของ พ.ศ. 2562 เนื่องจากสงครามราคาน�้ำมัน

September-October 2020

สภาวะอุปทานล้นตลาดของน�ำ้ มันดิบ ประกอบกับความต้องการใช้ ผลิตภัณฑ์น�้ำมันส�ำเร็จรูปและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีลดลงจากการ ชะลอตัวของเศรษฐกิจ เนือ่ งจากการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ซึ่งน�ำไปสู่มาตรการปิดเมืองในหลายประเทศ ส่งผลให้ ปตท. และบริษทั ย่อยมีกำ� ไรสุทธิในครึง่ แรกของ พ.ศ. 2563 เป็นจ�ำนวน 10,499 ล้านบาท ลดลง 44,751 ล้านบาท หรือร้อยละ 81.0 จากในครึ่งแรกของ พ.ศ. 2562 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และสงครามราคา น�ำ้ มัน ได้สง่ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมพลังงานทัว่ โลกอย่างหลีกเลีย่ ง


ไม่ได้ ตลอดช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา กลุ่ม ปตท. ยังคงไว้ซึ่งภารกิจหลัก ด้านความมัน่ คงทางพลังงานและขับเคลือ่ นเศรษฐกิจให้กบั ประเทศ ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องทุกคนในด้านการบริหารองค์กร กลุ่ม ปตท. ได้ประเมินผลกระทบและติดตามสถานการณ์ พร้อม วางแผนการด�ำเนินการทั้งระยะสั้นและระยะยาว ผ่านศูนย์ PTT Group Vital Center ด้วยแนวคิด 4 R’s เริ่มจาก Resilience สร้าง ความยืดหยุน่ พร้อมด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง สร้างความปลอดภัยให้ พนักงาน ประเมินสุขภาพองค์กร ลด-ละ-เลือ่ น ค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่จำ� เป็น โดยคาดว่าจะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานกลุ่ม ปตท. ใน พ.ศ. 2563 ได้ 10-15% พร้อมทั้งจัดความส�ำคัญของโครงการ ลงทุน Restart เตรียมความพร้อมในการน�ำธุรกิจ พนักงาน ลูกค้า และคู่ค้า กลับสู่ภาวะปกติให้เร็วที่สุด และรักษาความสามารถ ทางการแข่งขัน Re-Imagination เตรียมออกแบบธุรกิจเพือ่ รองรับ การเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดเป็น Next Normal ทัง้ การเติบโตในธุรกิจเดิม

และธุรกิจใหม่ และ Reform พิจารณาปรับเปลีย่ นโดยจัดโครงสร้าง องค์กรหรือรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจใหม่ให้สอดคล้องกับทิศทาง ในอนาคต พร้อมรองรับทุกสถานการณ์ที่ไม่คาดว่าจะเกิดขึ้น นอกจากนัน้ ยังมีนโยบายในการบริหารการเงินอย่างเคร่งครัด ทั้งการรักษาสภาพคล่องและความแข็งแกร่งทางการเงินของกลุ่ม ปตท. โดยในช่วงที่ผ่านมา ปตท. ได้เสนอขายหุ้นกู้จำ� นวน 3 ครั้ง เพื่อใช้ในการลงทุนเป็นเงินทุนหมุนเวียนและช�ำระคืนเงินกู้ที่ครบ ก�ำหนด ซึง่ ได้รบั ผลตอบรับเป็นอย่างดี และสะท้อนความเชือ่ มัน่ ของ นักลงทุนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ วงเงินรวม 35,000 ล้านบาท และในจ�ำนวนนี้ รวมการออกหุน้ กูอ้ นุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม หรือกรีนบอนด์ จ�ำนวน 2,000 ล้านบาทด้วย ซึง่ ปตท. ถือเป็นองค์กรแรกในประเทศไทย ทีเ่ สนอขายกรีนบอนด์ให้แก่นกั ลงทุนทัว่ ไป และกรีนบอนด์ของ ปตท. ดังกล่าวเป็นหุน้ กูท้ ไ่ี ด้รบั Certification ด้านอนุรกั ษ์ปา่ จาก Climate Bond Institution (CBI) เป็นครั้งแรกของโลกอีกด้วย

ครึ่งปีแรก SPCG ก�ำไรแตะ 1,584 ล้านบาท พร้อมประกาศจ่ายปันผลระหว่างกาล ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ ประธานกรรมการและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั เอสพีซจี ี จ�ำกัด (มหาชน) หรื อ SPCG เปิ ด เผย ผลประกอบการงวด 6 เดือนหรือครึง่ ปี แรก สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2563 บริษทั มีกำ� ไรสุทธิกว่า 1,584.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 จากงวดเดียวกันของ ดร.วันดี กุญชรยาคง ปีกอ่ น และรายได้รวมกว่า 2,629.2 ล้าน จุลเจริญ บาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1 จากงวดเดียวกัน ของปีก่อน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลจากงวดผลด�ำเนินงานวันที่ 1 มกราคม-30 มิถุนายน 2563 ในอัตราหุ้นละ 0.55 บาท ทั้งนี้ บริษัทได้ก�ำหนดรายชื่อ ผูถ้ อื หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลระหว่างกาล (Record Date) ในวันที่ 25 สิงหาคม 2563 และก�ำหนดจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในวันที่ 4 กันยายน 2563 ดร.วันดี กล่าวว่า ภาพรวมธุรกิจในครึง่ ปีแรกนี้ บริษทั ฯ เติบโต อย่างมีเสถียรภาพ โดยมีปจั จัยสนับสนุนหลักจากธุรกิจผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ หรือโซลาร์ฟาร์ม ทั้ง 36 โครงการ รวมก�ำลัง การผลิตกว่า 260 เมกะวัตต์ โดยในช่วงครึง่ ปีแรกของปี พ.ศ. 2563 มีจำ� นวนกระแสไฟฟ้าทีผ่ ลิตและจ�ำหน่ายได้จำ� นวน 200.3 ล้านหน่วย เพิม่ ขึน้ จากปี พ.ศ. 2562 (199.8 ล้านหน่วย) จ�ำนวน 0.5 ล้านหน่วย

คิดเป็นร้อยละ 0.2 ในขณะทีบ่ ริษทั โซลาร์ เพาเวอร์ รูฟ จ�ำกัด (SPR) ซึง่ ด�ำเนินธุรกิจติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Roof) ส�ำหรับบ้านพักอาศัย ส�ำนักงาน อาคารธุรกิจขนาดเล็ก ธุรกิจขนาดกลาง และธุรกิจขนาดใหญ่ รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรม ในปี พ.ศ. 2563 มีรายได้จ�ำนวน 308.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2562 (262.6 ล้านบาท) จ�ำนวน 46.3 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 18 ส�ำหรับความคืบหน้าของโครงการโซลาร์ฟาร์ม Ukujima ประเทศญี่ปุ่น ขนาดก�ำลังการผลิตรวม 480 เมกะวัตต์ ซึ่งมีผู้ร่วม ลงทุน ได้แก่ Kyocera Corporation, Kyudenko Corporation, Tokyo Century Corporation, Furukawa Electric Company Limited, Tsuboi Corporation และผูถ้ อื หุน้ รายย่อยอืน่ ๆ งบการลงทุนทัง้ หมด 178,758,689,000 เยน หรือประมาณ 53,379,489,639 บาท (อัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 29.8612 บาทต่อ 100 เยน ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2563) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 17.92 เป็นเงินจ�ำนวน ทั้งสิ้น 9,000,000,000 เยน ปัจจุบันบริษัทฯ ได้ช�ำระทุนไปแล้ว จ�ำนวน 2 ครัง้ เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2563 และวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 เป็นจ�ำนวนเงิน 2,289,680,925 เยน และ 1,924,187,000 เยน ตามล�ำดับ และมีแผนจะช�ำระทุนงวดที่ 3 จ�ำนวน 64,828,000 เยน หรือประมาณ 19,358,418 บาท ภายในเดือนกันยายน 2563 นี้ ปัจจุบนั โครงการดังกล่าวอยูร่ ะหว่างขัน้ ตอนการก่อสร้าง และคาดว่า จะสามารถรับรู้รายได้ในปี พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป

September-October 2020


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนกันยายน - ตุลาคม พ.ศ. 2563 บริษัท

โทรศัพท์

ABB POWER GRIDS (THAILAND) LTD.

0-2665-1000

LSIS

08-3149-9994

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2194-8738-9

METALEK

-

โทรสาร

ประเภทสินค้า

0-2324-0502 อุปกรณ์ไฟฟ้า -

ผู้น�ำด้านระบบสั่งจ่ายและ ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าครบวงจร

0-2003-2215 อุปกรณ์ไฟฟ้า -

งานแสดงสินค้า

หน้า ปกหลังนอก ปกหน้าใน 6 10

PD SOLUTIONS CO., LTD.

0-2314-1341-2

0-2314-1343 บริการตรวจวัดอุปกรณ์ไฟฟ้า

13

PLAN MARKET GOLD CO., LTD.

0-2314-1341-2

0-2314-1343 ตัวแทนจ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้า และเครื่องมือ ABCHANCE

11

RENT (THAILAND) CO., LTD.

0-2136-7104

-

เครื่องมือซ่อมในการดึงสายไฟ

ปกหลังใน

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

038-559-002

038-559-003 จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์

5

เจริญชัยหม้อแปลงไฟฟ้า บจก.

0-2409-6655

0-2409-6613 หม้อแปลง

3

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97 0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า

15

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3

7

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์

0-2441-6059

0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า -

-

27

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า

9

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727-8

0-2476-1711 Couplings

4

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-0581-8

0-2377-5937 ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

27

0-2074-4400 อุปกรณ์ไฟฟ้า

8

เอวีร่า บจก.

0-2074-4411

September-October 2020



TURNING CHALLENGES INTO A SPECTRUM OF SOLUTIONS. POWERING GOOD FOR SUSTAINABLE ENERGY. We’re never blinded by the scale of a challenge. Uniting the talents and expertise of two pioneers, our unique perspective turns the world’s energy issues into a spectrum of solutions – leveraging our digital and energy capabilities for a stronger, smarter and greener future: www.hitachiabb-powergrids.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.