Electricity & Industry Magazine Issue May - June 2021

Page 1







Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM






CONTENTS MAY-JUNE

2021

SCOOP 40 ห้องทดสอบความปลอดภัยและประสิทธิภาพ

16 18 20 22 24

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

SPECIAL SCOOP

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

26 ซินโครตรอนโชว์นวัตกรรมสู้วิกฤตโควิด-19 ARTICLE 28 MG10 อุปกรณ์มือจับระบบแม่เหล็กขั้นเทพ

30

32

36

38

เพื่อหุ่นยนต์ที่ต้องใช้ความแม่นย�ำและปลอดภัยสูง ออนโรบอต (OnRobot) โครงการโซลาร์ลอยน�ำ้ แห่งแรกของกรีน เยลโล่ ในประเทศไทย บริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 10 อันดับแนวโน้มเทคโนโลยีพลิกโฉมกิจการภาครัฐ แห่งปี พ.ศ. 2564 การ์ทเนอร์ อิงค์ การเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในไทย ผลักดันการใช้หุ่นยนต์โคบอทในปี พ.ศ. 2564 ยูนิเวอร์ซัล โรบอท (ยูอาร์) อนาคตโครงสร้างพื้นฐานธุรกิจค้าปลีก ขึ้นอยู่กับ เครือข่ายที่ยืดหยุ่น และเอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ ราเจช ธานการาจ, ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

พลังงานของเครือ่ งปรับอากาศทีใ่ ช้สารท�ำความเย็น ธรรมชาติ กองบรรณาธิการ

COVER STORY

LS Electric Co., Ltd.

43 หม้อแปลงไฟฟ้า Cast Resin Transformer

SPECIAL AREA 48 Programmable Digital Meter

บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด 50 Applications of DC Circuit Breaker บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 54 TATA Steel in Thailand Moves Closer to its Vision of Zero Failures Hitachi ABB Power Grids 56 Spectrum’s Versatile Digital I/O Card Shrinks Size and Cost Spectrum Instrumentation IT ARTICLE 58 The State of Enterprise Open Source 2021...

4 ผลลัพธ์ที่อาจท�ำให้คุณประหลาดใจ กอร์ดอน ฮัฟฟ์, เร้ดแฮท 62 ซัพพลายเชนที่ทันสมัยต้องอยู่บนคลาวด์ ฟาบิโอ ทิวิติ, บริษัท อินฟอร์ อาเชียน 66 68 70 73

PRODUCT MOVEMENT INDUSTRY NEWS IT NEWS


¤µ ³¤ n³ ¨µ©¨ ¤¤¢Â i³

Á¬n ¤µ ³¤ ³ m®«¤n³ « ³ þ i³¤± ¿¤ ²  i³ ¾ ¨¶ ¿¦± ¤² ¤¹ « ³ þ i³ Á¬n ¤µ ³¤ m®«¤n³ «³£«m ¤± ¾ ¨¶ ³ ² ¬³¿¦± µ ²Ç ¤± «¸Æ®«³¤ ¤± ,QWHUWULS ¿¦±¤± 7HOHSURWHFWLRQ ³ ² ¬³¿¦± µ ²Ç ¤± «¸Æ®«³¤ ¿¦±¾«n Á£¿ n¨ ´¿«

® ¤µ ³¤¨µ©¨ ¤¤¢¤± «m ³¤Â i³«m¨ ¡º¢µ¡³ ³¢¨ ©q¨³ ¿ ¨ ¦³ £³¨ ¾ ¹ ² ¤ ¤¹ ¾ ° À ¤©² q À ¤«³¤ (PDLO egs@pea.co.th

http://sbu.pea.co.th


EDITOR TALK

MAY-JUNE

2021

วิกฤตการระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงไปทัว่ โลก ประเทศไทยเคยได้รบั ค�ำชมเชยจากทัว่ โลกว่าสามารถควบคุม การแพร่ระบาดได้ดี แต่ในทีส่ ดุ ด้วยความไม่รกั ษาวินยั ของคนกลุม่ หนึง่ ท�ำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วจนมีผตู้ ดิ เชือ้ นับพันรายต่อวัน จ�ำนวน ผู้เสียชีวิตก็เพิ่มสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ ณ เวลานี้ปลายเดือนเมษายนแล้วจ�ำนวนผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตก็ยังไม่มีแนวโน้มลดลง ขอให้คนไทย ทุกคนด�ำเนินชีวิตด้วยความระมัดระวัง ถึงแม้ไวรัสนี้จะสามารถรักษาหายได้ แต่สุขภาพร่างกายคุณจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป Electricity & Industry Magazine ฉบับนี้ยังคงเนื้อหาที่น่าสนใจมากมายเช่นเดิม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยประกาศ เข้าร่วมในธุรกิจอีวีอย่างเต็มตัว โดยเปิดธุรกิจใหม่ “EGAT EV Business Solutions” ได้แก่ สถานีอัดประจุไฟฟ้า (EV Charging Station) ตูอ้ ดั ประจุไฟฟ้า (EV Charger) แอปพลิเคชัน (Mobile Application) และระบบบริหารจัดการเครือข่ายสถานีอดั ประจุไฟฟ้า (Network Operator Platform) เพือ่ รองรับเทคโนโลยีและธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้าโดยเฉพาะ และ กฟผ. ได้ดำ� เนินการคืบหน้าอย่างไรบ้างนัน้ ติดตามอ่านได้ในฉบับนี้ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ได้โชว์นวัตกรรมสู้โควิด-19 เพื่อรับมือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดย นวัตกรรมเด่นอันเป็นผลงานทีพ่ ฒ ั นาโดยนักวิจยั สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน ได้แก่ การประยุกต์ใช้แสงซินโครตรอนในการวิจยั และพัฒนา หน้ากากผ้าไหมเพือ่ ทดแทนหน้ากากทางการแพทย์ โดยใช้แสงซินโครตรอนวิเคราะห์โครงสร้างสามมิตเิ พือ่ ออกแบบหน้ากากผ้าไหมปักธงชัย ส�ำหรับทดแทนหน้ากากทางการแพทย์ นอกจากนั้นก็มีนวัตกรรมอื่นๆ ที่น่าสนใจอีกหลายชิ้น คอลัมน์ Article ในฉบับนี้ล้วนน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเรื่องของหุ่นยนต์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมที่มีการน�ำมาใช้งานมากขึ้น ออนโรบอต (OnRobot) ได้ผลิตหุ่นยนต์มือจับ MG10 เพื่อหุ่นยนต์ที่ต้องใช้ความแม่นย�ำและปลอดภัยสูง และบทความจากยูนิเวอร์ซัล โรบอท (ยูอาร์) ที่กล่าวถึงการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในไทย ที่ช่วยผลักดันให้การใช้หุ่นยนต์โคบอทในปี พ.ศ. 2564 นี้เติบโตขึ้น ส่วนบทความของบริษทั กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ได้กล่าวถึงโครงการโซลาร์ลอยน�ำ้ แห่งแรกของกรีน เยลโล่ ในประเทศไทย และ บทความเรื่อง 10 อันดับแนวโน้มเทคโนโลยีพลิกโฉมกิจการภาครัฐแห่งปี พ.ศ. 2564 โดย การ์ทเนอร์ อิงค์ ก็น่าสนใจเช่นกัน IT Article ในฉบับนี้มี 2 เรื่องที่น่าสนใจ คือ บทความจาก กอร์ดอน ฮัฟฟ์ ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายการตลาดผลิตภัณฑ์หลัก เร้ดแฮท เรื่อง The State of Enterprise Open Source 2021...4 ผลลัพธ์ที่อาจท�ำให้คุณประหลาดใจ เป็นการรายงานการส�ำรวจการใช้งานและ ความคิดเห็นเกีย่ วกับเอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สของบริษทั ต่างๆ ใน พ.ศ. 2564 ซึง่ มีผลลัพธ์ทนี่ า่ สนใจมาก ส่วน ฟาบิโอ ทิวติ ิ รองประธาน บริษัท อินฟอร์ อาเชียน ได้เขียนถึง ซัพพลายเชนที่ทันสมัยต้องอยู่บนคลาวด์ โดยองค์กรด้านซัพพลายเชนจะต้องมั่นใจว่าขั้นตอน การท�ำงานต่างๆ ก�ำลังด�ำเนินไปอย่างเหมาะสม และมีการใช้เครื่องมือที่ดีที่สุดในทุกขั้นตอนการท�ำงานนั่นเอง พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ เรืองติก / ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของ ผู้เขียน ไม่มีส่วนผูกพันกับ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด แต่อย่างใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่า มีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือได้ผ่านการตรวจทานอย่างถี่ถ้วนเพื่อให้เกิดความถูกต้องและ สมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์



สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟผ. ปักธงรุก

ธุรกิจอว ตอบโจทย์ ผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้า

เทรนด์ ร ถยนต์ ไ ฟฟ้ า หรื อ อี วี (EV : Electric Vehicle) ที่ก�ำลังมาแรงและขยายตัว อย่างรวดเร็วทั่วโลก ท�ำให้คาดการณ์ว่าภายใน 4 ปี รถอีวจี ะมีราคาเท่ากับรถยนต์ทวั่ ไป และอีก ประมาณ 10 ปีขา้ งหน้าประเทศไทยจะมีการผลิต รถอีวีคิดเป็น 30% ของการผลิตรถยนต์ทั้งหมด หรือประมาณ 750,000 คัน ดังนั้นในขณะที่ โลกทั้งใบก�ำลังเปลี่ยนโหมดเข้าสู่ยานยนต์ไฟฟ้า ไทยซึ่ ง มี จุ ด แข็ ง ในด้ า นการขนส่ ง และห่ ว งโซ่ การผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ จึงต้องช่วงชิง โอกาสทองสร้างความพร้อมสูก่ ารเป็นฮับยานยนต์ ไฟฟ้าแห่งอาเซียนในอนาคต โดยอาศัยความร่วมมือ จากทั้งภาครัฐ เอกชน และค่ายรถยนต์ต่างๆ

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. เป็นอีกหนึ่งองค์กร ที่ประกาศตัวพร้อมสนับสนุนการสร้างระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทย ให้มีความมั่นคง และเดินหน้าเปิดธุรกิจใหม่ “EGAT EV Business Solutions” ได้แก่ สถานีอัดประจุไฟฟ้า (EV Charging Station) ตู้อัดประจุไฟฟ้า (EV Charger) แอปพลิเคชัน (Mobile Application) และระบบบริหารจัดการเครือข่ายสถานี อัดประจุไฟฟ้า (Network Operator Platform) เพือ่ รองรับเทคโนโลยีและธุรกิจยานยนต์ ไฟฟ้าโดยเฉพาะ บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร หัวเรือใหญ่ของ กฟผ. เปิดเผยว่า กฟผ. พัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการด้านอีวีเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตการเดินทางในอนาคต และ ร่วมสร้างสรรค์สงิ่ แวดล้อมให้ดยี งิ่ ขึน้ กว่าเดิม โดย กฟผ. จะเป็นผูช้ ว่ ยและเป็นผูเ้ ชือ่ มโยง ธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมนี้

นำ�ร่องสถานีอีวีแบบชาร์จเร็ว 120 kW

กฟผ. เปิดให้บริการสถานีชาร์จอีวี “EleX by EGAT” ซึง่ ชาร์จไฟฟ้าได้รวดเร็ว ปลอดภัย โดยภายในสถานีประกอบด้วยเครื่องชาร์จ 2 แบบ คือ แบบชาร์จเร็ว (DC Fast Charge) สามารถจ่ายก�ำลังไฟฟ้าได้ถึง 120 กิโลวัตต์ จึงใช้เวลาชาร์จ ประมาณ 15-30 นาที ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั ความจุแบตเตอรีแ่ ละระบบไฟของรถ นอกจากนี้ ยังมีระบบ Smart Load Management จึงสามารถชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าได้พร้อมกัน 2 คัน และแบบชาร์จปกติ (AC Normal Charge) เป็นอุปกรณ์ชาร์จของ Wallbox ซึง่ ได้รบั การรับรองมาตรฐานยุโรป สามารถรองรับรถยนต์ได้ทกุ ค่าย ซึง่ ปัจจุบนั กฟผ. ได้ติดตั้งไปแล้ว 13 สถานี และตั้งเป้าขยายสถานีเพิ่มเป็น 48 สถานี ภายในสิ้นปี พ.ศ. 2564 เพือ่ ให้ครอบคลุมทุกเส้นทางหลักทัว่ ประเทศ โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า สนามกอล์ฟ รองรับทุกการเดินทางส�ำหรับผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้าทั่วประเทศ ส่วน อัตราค่าบริการ กฟผ. จะเปิดให้บริการชาร์จฟรีจนถึงสิน้ เดือนเมษายน 2564 จากนัน้ จะคิดค่าบริการชาร์จประมาณ 6-8 บาทต่อหน่วย ซึง่ ปัจจุบนั มีผสู้ นใจเข้ามาใช้บริการ อย่างต่อเนื่อง


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อผู้ใช้รถอีวีทุกค่าย

แอปพลิเคชัน “EleXA” ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นผู้ช่วยผู้ใช้รถอีวีทุกคนให้กลาย เป็นเรื่องง่ายและรวดเร็ว ตั้งแต่การค้นหาและจองสถานีชาร์จอีวี การชาร์จ และ การจ่ายเงิน โดย กฟผ. ได้พัฒนาแอปพลิเคชันนี้ให้สามารถเชื่อมโยงทั้งผู้ใช้รถอีวี สถานที่กิน เที่ยว ร้านค้า และผู้ให้บริการต่างๆ ที่อยู่ใกล้สถานีของ กฟผ. เพื่อให้ เป็นประโยชน์แก่กลุ่มเครือข่ายทั้งหมดนี้ และยกระดับคุณภาพชีวิตของทั้งเครือข่าย ไปพร้อมๆ กับการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า โดยสามารถดาวน์โหลด ใช้งานได้แล้ววันนี้ ทั้งระบบ iOS และ Android

อุปกรณ์ชาร์จไฟรถอีวีในราคาที่เอื้อมถึง

เครือ่ งอัดประจุไฟฟ้าทีส่ ามารถชาร์จรถอีวไี ด้อย่างปลอดภัยในราคาทีค่ นไทย เอือ้ มถึง ถือเป็นอีกหนึง่ ปัจจัยส�ำคัญทีช่ ว่ ยกระตุน้ การใช้รถอีวใี นประเทศ โดย EGAT Wallbox เป็นเครื่องอัดประจุไฟฟ้ารถอีวีอัจฉริยะขนาดเล็ก ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกดู ข้อมูลการใช้งานและสัง่ การผ่านแอปพลิเคชัน โดย กฟผ. เป็นผูไ้ ด้รบั สิทธิใ์ นการจ�ำหน่าย เพียงรายเดียวในประเทศ จึงมีราคาที่ต�่ำกว่าท้องตลาด รวมถึงให้ค�ำปรึกษา ติดตั้ง และบ�ำรุงรักษาโดยทีมช่างผู้เชี่ยวชาญของ กฟผ. ท�ำให้ได้รับการตอบรับอย่างดีจาก ผูใ้ ช้รถอีวที งั้ ส�ำหรับติดตัง้ ภายในทีอ่ ยูอ่ าศัยและพืน้ ทีธ่ รุ กิจ ส่วนเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้า แบบชาร์จเร็ว หรือ EGAT DC Quick Charger ขนาด 120 กิโลวัตต์ เป็นเครื่อง อัดประจุไฟฟ้าฝีมอื คนไทยที่ กฟผ. พัฒนาขึน้ เพือ่ ช่วยลดต้นทุนให้กบั ผูป้ ระกอบการ ที่ต้องการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้าได้ ซึ่งคาดว่าจะเริ่มจ�ำหน่ายภายในไตรมาส 3 ของปีนี้

ระบบบริหารจัดการเครือข่ายสถานีชาร์จอีวี

“BackEN” เป็นระบบบริหารจัดการเครือข่ายสถานีชาร์จอีวตี ลอด 24 ชัว่ โมง ที่เปรียบเสมือนผู้ช่วยเจ้าของสถานีชาร์จอีวี ทั้งการจัดการอัตราค่าไฟฟ้าและรายได้ ระบบบริหารจัดการพลังงาน การจัดการระยะไกล ระบบวิเคราะห์ทางเทคนิค โดย BackEN จะเชือ่ มโยงระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าทัง้ หมดเข้าด้วยกัน ทัง้ ระบบผลิตและ ส่งไฟฟ้า สถานีชาร์จ รถอีวี และผู้ใช้รถ ท�ำให้เจ้าของสถานีชาร์จอีวีสามารถบริหาร จัดการในภาพรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งคาดว่าจะเริ่มเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ ได้ภายในเดือนกันยายน 2564 ในอนาคตอันใกล้รถยนต์ไฟฟ้าจะเป็นอีก หนึง่ กลไกส�ำคัญทีช่ ว่ ยกระตุน้ เศรษฐกิจ สร้างรายได้ และยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ กั บ ประชาชน คนไทย ตลอดจนขับเคลื่อนประเทศไทยสู่สังคม คาร์บอนต�่ำ ช่วยให้ทุกลมหายใจของคนไทยได้มี อากาศที่ดี ไร้มลพิษอย่างยั่งยืน

EGAT DC Quick Charger ตู้อัดประจุไฟฟ้าแบบชาร์จเร็ว ขนาด 120 กิโลวัตต์

EGAT Wallbox

อุปกรณ์ชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้าอัจฉริยะขนาดเล็ก


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

MEA รวมพลัง รวมใจ ติดตั้งระบบไฟฟ้ารองรับ รพ.สนามพลังแผ่นดิน เพื่อพิชิตภัย COVID-19

จาตุรงค์ สุรยิ าศศิน รองผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA ในฐานะโฆษก MEA กล่าวว่า ตามที่ พล.ต. นพ.เหรียญทอง แน่นหนา ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ ได้ด�ำเนินการ ก่อสร้างโรงพยาบาลสนามพลังแผ่นดิน ซึ่งเป็นโรงพยาบาลสนาม ระดับ 3 ตั้งอยู่ในซอยแจ้งวัฒนะ 14 เพื่อรองรับการดูแลผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และได้ประสานขอให้ MEA ช่วยติดตั้งระบบไฟฟ้านั้น MEA ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานดู แ ลระบบไฟฟ้ า ในพื้ น ที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ได้ตระหนักถึงวิกฤต จากภัย COVID-19 นี้ จึงได้ระดมก�ำลังให้การสนับสนุนการติดตั้ง อุปกรณ์ไฟฟ้าเร่งด่วนอย่างทันท่วงที เพื่อรองรับการใช้ไฟฟ้าจาก จ�ำนวนผู้ป่วยของโรงพยาบาลสนาม ซึ่งมีจ�ำนวนกว่า 300 เตียง โฆษก MEA กล่าวเพิ่มเติมว่า วันนี้ได้น�ำทีมผู้บริหาร MEA อาทิเช่น ไพฑูรย์ กุหลาบแก้ว ผู้ช่วยผู้ว่าการ ชัยพงษ์ พูลขันธ์ ผูอ้ ำ� นวยการไฟฟ้าเขตนนทบุรี สุเทพ ช้างทอง ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายธุรกิจบริการและคุณภาพไฟฟ้า ร่วมลงพื้นที่เพื่อให้ก�ำลังใจ ผู้ปฏิบัติงานและตรวจสอบการติดตั้งระบบไฟฟ้า ประกอบด้วย การพาดสายไฟฟ้าแรงดัน 24 kV การติดตั้งชุดหม้อแปลงไฟฟ้า

ขนาด 1,000 kVA ตูแ้ ผงเมนสวิตช์แรงต�ำ่ จ�ำนวน 2 ชุด พร้อมติดตัง้ เครือ่ งวัดหน่วยไฟฟ้าขนาด 400 A 3 เฟส 4 สาย จ�ำนวน 2 เครือ่ ง เพื่ อ ให้ เ พี ย งพอต่ อ การใช้ ไ ฟฟ้ า ของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ภายใน โรงพยาบาลสนาม ได้แก่ ระบบแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ ระบบ ปัม๊ น�ำ้ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ตา่ งๆ และยังได้วางแผนเตรียมการ รองรับการจ่ายไฟฟ้าที่อาจมีจ�ำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ให้มีความเพียงพออีกด้วย ทั้ ง นี้ MEA มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก่ โรงพยาบาลสนามทุกแห่ง ทัง้ ด้านการออกแบบและการติดตัง้ ระบบ ไฟฟ้า พร้อมจัดให้มีเจ้าหน้าที่ดูแลความมั่นคงระบบไฟฟ้าและ ให้บริการแก้ไขไฟฟ้าขัดข้องตลอด 24 ชั่วโมง ผูใ้ ช้ไฟฟ้าสามารถติดต่อสอบถาม รวมถึงแจ้งเหตุได้ที่ MEA Smart Life Application หรือช่องทางโซเชียลมีเดียต่างๆ ได้แก่ Facebook : การไฟฟ้านครหลวง MEA Line : MEA Connect Twitter : @mea_news และศูนย์บริการข้อมูลผูใ้ ช้ไฟฟ้าการไฟฟ้า นครหลวง MEA Call Center 1130 เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการ แก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดที่เกิดขึ้น และช่วยให้ประชาชน ได้ผ่านพ้นวิกฤตครั้งนี้ไปพร้อมๆ กัน


การไฟฟ้านครหลวง


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

แนะน�ำผู้ใช้ ไฟฟ้ำ ใช้บริการของ PEA ทาง Online ผ่านแอปพลิเคชัน

ในรูปแบบ One Touch Service

PEA แนะน�ำผู้ใช้ไฟฟ้าใช้บริการ ของ PEA ทาง Online ผ่านแอปพลิเคชัน PEA Smart Plus ในรูปแบบ One Touch Service การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) ห่วงใย ผู้ใช้ไฟฟ้าในสถานการณ์การแพร่ระบาด เชือ้ โควิด-19 แนะน�ำให้ผใู้ ช้ไฟฟ้าใช้บริการ ของ PEA หรือช�ำระค่าไฟฟ้าทาง Online ผ่านแอปพลิเคชัน PEA Smart Plus ใน รูปแบบ One Touch Service เพือ่ เป็นการ ลดการแพร่ระบาดและป้องกันการติดเชื้อ โควิด-19 ผูใ้ ช้ไฟฟ้าไม่ตอ้ งเดินทางมาติดต่อ ที่ส�ำ นัก งานการไฟฟ้ าส่ วนภูมิ ภ าค โดย สามารถตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ผ่าน Smart Phone หรือ Tablet ด้วยตนเอง ซึง่ มีฟงั ก์ชนั การให้บริการที่หลากหลาย ดังนี้

• ตรวจสอบค่าไฟฟ้า • ช�ำระเงินค่าไฟฟ้าผ่านบัตรเครดิตและบัญชีธนาคาร • ค้นหาสถานที่ช�ำระเงินค่าไฟฟ้า • สร้าง QR Code และ Barcode เพือ่ น�ำไปช�ำระเงินทีจ่ ดุ รับช�ำระเงินค่าไฟฟ้า • แจ้งไฟฟ้าขัดข้อง • แจ้งข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน • ติดต่อ PEA ผ่านทาง E-mail, PEA Website, Facebook, Twitter, Youtube, Instagram • สมัคร หรือยกเลิก SMS การแจ้งข้อมูลข่าวสารที่เป็นบริการเสริมของ PEA เช่น แจ้งค่าไฟฟ้าก่อนก�ำหนดช�ำระเงินค่าไฟฟ้า 2 วัน ส�ำหรับผู้ใช้ไฟฟ้ารายย่อย แจ้งค่าไฟฟ้าก่อนหักบัญชีเงินฝากธนาคาร หรือบัญชีบัตรเครดิต 2 วัน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน PEA Smart Plus ได้ที่ App Store (ส�ำหรับมือถือระบบปฏิบัติการ iOS) และ Google Play (ส�ำหรับมือถือระบบ ปฏิบัติการ Android)


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

เรียนรู้เรื่องพลังงานไฟฟ้าวิถีใหม่ผ่าน

“นิทรรศการเสมือนจริงศูนย์เรียนรู้โรงไฟฟ้าขนอม” ต้อนรับวิถใี หม่ในการเรียนรู้ พร้อมกับการรับมือสถานการณ์ โควิด-19 ด้วยการยกการ์ดสูงเฝ้าระวังไม่ให้กลับมาระบาดซ�ำ้ ดังนัน้ พื้นที่ออนไลน์จึงเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ตอบโจทย์ได้เป็นอย่างดี แม้ แ ต่ ก ารเยี่ ย มชมนิ ท รรศการหรื อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ก็ ส ามารถท� ำ ได้ จากทีบ่ า้ นแล้ว หนึง่ ในนัน้ คือ “นิทรรศการเสมือนจริงศูนย์เรียนรู้ โรงไฟฟ้าขนอม (Virtual Exhibition)” ที่พัฒนาโดย บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ ทีม่ อบพืน้ ทีก่ ารเรียนรู้ เรื่องพลังงานไฟฟ้าและสิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชน และผูส้ นใจ เข้าถึงได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ผ่านคอมพิวเตอร์ แทบเล็ต และสมาร์ทโฟน เพียงคลิกไปที่เว็บไซต์ www.egco.com/khanomlearningcenter ก่อนอืน่ ขอย้อนกลับไปทีต่ วั สถานทีต่ น้ ทาง นัน่ คือ ศูนย์เรียนรู้ โรงไฟฟ้าขนอม กันก่อน โดยศูนย์เรียนรู้ฯ แห่งนี้พัฒนามาจาก โรงไฟฟ้าขนอม หน่วยที่ 1 ซึ่งท�ำหน้าที่ผลิตไฟฟ้าเพื่อตอบสนอง ความต้องการใช้ไฟฟ้าในภาคใต้ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2554 และ ปัจจุบันหมดสัญญาการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้ว โรงไฟฟ้าขนอม หน่วยที่ 1 มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า “โรงไฟฟ้าเรือลอยน�้ำ” เพราะเป็น โรงไฟฟ้าแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยที่ก่อสร้างบนเรือ ขนาดใหญ่ ถูกประกอบส�ำเร็จรูปจากประเทศญีป่ นุ่ แล้วใช้เรือลากจูง มาที่ปากน�ำ้ ขนอม อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช “เอ็กโก กรุป๊ ในฐานะผูเ้ ชีย่ วชาญในธุรกิจไฟฟ้า ตระหนักถึง ความส�ำคัญของการส่งเสริมการเรียนรูด้ า้ นพลังงานและสิง่ แวดล้อม ในเยาวชน ซึ่งเป็นวัยต้นทางที่จะเติบโตไปเป็นก�ำลังส�ำคัญในการ พัฒนาชุมชน สังคม และประเทศ ตามความเชื่อที่ว่า “ต้นทางดี จะก่อก�ำเนิดผลลัพธ์ปลายทางที่ดี” และภายใต้แนวคิด “หยุดโรค ไม่หยุดเรียนรู”้ ดังนัน้ เอ็กโก กรุป๊ จึงมุง่ มัน่ หาแนวทางส่งเสริมการ เรียนรู้รูปแบบใหม่แก่เยาวชนอย่างต่อเนื่อง ด้วยการน�ำเทคโนโลยี และระบบออนไลน์มาสนับสนุนการเรียนรู้” ธงชัย โชติขจรเกียรติ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบริหารองค์กร เอ็กโก กรุ๊ป เล่าถึงที่มาของการพัฒนา Virtual Exhibition ขึ้นมา ส�ำหรับนิทรรศการเสมือนจริงนี้จะพาไปท�ำความรู้จักและ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโลกของพลังงาน ความเป็นมาของไฟฟ้า กระบวนการผลิตไฟฟ้า การรักษาสิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันของ โรงไฟฟ้าและชุมชน ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ของชุมชนใน อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช กับ 7 โซนนิทรรศการ พร้อมกันนี้ ระหว่างการ เข้าชมในแต่ละโซนยังมีเกมสนุกลับสมองที่ช่วยทบทวนความรู้และ กระตุน้ การคิดวิเคราะห์อกี ด้วย แต่ละโซนจะมีอะไรบ้างตามเรามาดู ไฮไลต์กันเลย

โซนที่ 1 ค้นพบเปลี่ยนโลก

น�ำเสนอความรู้เรื่องการค้นพบไฟฟ้าโดยนักวิทยาศาสตร์ คนส�ำคัญ จุดเริ่มต้นการมีไฟฟ้าใช้ในประเทศไทย การเดินทางของ ไฟฟ้าผ่านระบบการส่งกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้ามาสู่บ้านเรือน นอกจากนี้ยังจะได้สนุกสนานไปกับเกมตัวน�ำไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า มหาสนุก เพื่อจุดประกายการเรียนรู้ก่อนที่จะได้ท�ำความรู้จักกับ เรื่องราวอื่นๆ ในโรงไฟฟ้าเรือลอยน�ำ้ แห่งนี้


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) โซนที่ 2 ย้อนอดีตโรงไฟฟ้าขนอม หน่วยที่ 1

หลังจากเต็มอิ่มกับความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจพื้นฐานกัน ไปแล้ว โซนนี้จะพาย้อนอดีตไปยังจุดเริ่มต้นของโรงไฟฟ้าขนอม หน่วยที่ 1 จากภาพประวัตศิ าสตร์การมาถึงของโรงไฟฟ้าเรือลอยน�ำ้ พร้อมชมห้องควบคุมการท�ำงานของโรงไฟฟ้า ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น ศูนย์บัญชาการที่สำ� คัญที่สุดของโรงไฟฟ้าเลยก็ว่าได้ ปิดท้ายโซนนี้ ยังมีเกม “ลากจูงโรงไฟฟ้าเรือลอยน�้ำ” ที่ให้ทุกคนได้ลองลาก โรงไฟฟ้าเรือลอยน�้ำจากประเทศญี่ปุ่นเดินทางไปสู่ท่าเรือขนอม จ.นครศรีธรรมราช จะเป็นอย่างไรต้องไปทดลองในโซนที่ 2 นี้

โซนที่ 5 รักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นมากกว่าหน้าที่

มาร่วมเรียนรู้กระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้า ขนอม และความส� ำ คั ญ ของการสร้ า งสมดุ ล พลั ง งาน ที่ โซนนี้ จะท�ำให้ได้เรียนรู้มากขึ้นเกี่ยวกับของเสียที่เกิดจากการผลิตไฟฟ้า และวิธีการก�ำจัดอย่างถูกต้อง

โซนที่ 6 บ้านของเรา

โซนนี้ตกแต่งให้เป็นสะพานตามแบบสะพานไม้ยุคดั้งเดิม ซึง่ เมือ่ ข้ามจากโรงไฟฟ้าก็จะเข้าสูช่ มุ ชนขนอม ทีพ่ าทุกคนไปเรียนรู้ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของชาวขนอม ผ่านค�ำบอกเล่าของตัวแทนชุมชนหลากหลายอาชีพ โดยมีเกม สุดสนุกในชื่อ “จับคู่วิถีชีวิตของขนอม” ให้ได้ทำ� ความรู้จัก ทบทวน วิถีชีวิตของขนอมไปพร้อมกัน

โซนที่ 7 แหล่งเรียนรู้อำ�เภอขนอม โซนที่ 3 เราผลิตไฟฟ้าได้อย่างไร

โซนนี้จะได้เรียนรู้กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากเครื่องผลิต ไฟฟ้ากังหันไอน�ำ้ ซึง่ เป็นหัวใจส�ำคัญของโรงไฟฟ้าขนอม หน่วยที่ 1

โซนที่ 4 ป่า เขา ทะเล คือเสน่ห์ของขนอม

จุดแวะพักชมทัศนียภาพที่สวยงามรอบโรงไฟฟ้า ธรรมชาติ และชุมชนรอบโรงไฟฟ้าขนอม ที่อยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืน จุดนี้ หากมาจังหวะดีๆ จะมองเห็น “โลมาสีชมพู” แห่งท้องทะเลขนอมด้วย ที่โซนนี้มาร่วมสนุกไปกับเกม “พาน้องกลับบ้าน” ที่ชวนเยาวชน มาส�ำรวจสรรพสัตว์น้อยใหญ่รอบโรงไฟฟ้า

โซนสุดท้ายนีจ้ ะช่วยให้รจู้ กั อ�ำเภอขนอมมากขึน้ ผ่าน “แผนที่ แหล่งเรียนรู้อำ� เภอขนอม” ซึ่ง เอ็กโก กรุ๊ป ลงพื้นที่ร่วมกับเยาวชน และชุมชนขนอม ช่วยกันเลือกจุดเรียนรู้ต่างๆ มารวมไว้เป็นแผนที่ แหล่งเรียนรูอ้ ำ� เภอขนอม โดยในนิทรรศการเสมือนจริงนีไ้ ด้สง่ เสริม การมีส่วนร่วมผ่านการน�ำเสนอโดยใช้สื่อที่จัดท�ำโดยเยาวชนและ ชุมชนในพื้นที่ ท�ำให้ศูนย์เรียนรู้โรงไฟฟ้าขนอมแห่งนี้เป็นพื้นที่ แห่งการเรียนรูแ้ ละเชือ่ มโยงชุมชนขนอมเข้าด้วยกัน นอกจากนีย้ งั ได้ ร่วมลุน้ กันว่ารูจ้ กั ขนอมดีแค่ไหนผ่านเกม “แฟนพันธุแ์ ท้อำ� เภอขนอม” ด้วย เรียกได้ว่าศูนย์เรียนรู้โรงไฟฟ้าขนอมในรูปแบบ Virtual Exhibition เป็นการพาเราไปร่วมเปิดโลกพลังงานไฟฟ้าทีส่ ง่ ตรงถึงบ้าน หรือหากใครยังชมไม่จใุ จ ขอเชิญเดินทางลงใต้ไปสัมผัสสถานทีจ่ ริง ด้วยตนเองทีศ่ นู ย์เรียนรูโ้ รงไฟฟ้าขนอม อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช ที่พร้อมเปิดรับผู้เข้าชมด้วยมาตรการคัดกรองและป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่มั่นใจได้และปลอดภัยส�ำหรับทุกคน โดยสามารถลงทะเบี ย นจองคิ ว เข้ า ชมล่ ว งหน้ า หรือติดตามข้อมูลเกี่ยวกับศูนย์เรียนรู้โรงไฟฟ้า ขนอมเพิม่ เติมได้ที่ Facebook Fanpage : Khanom Learning Center


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

ปัจจุบนั หลายประเทศทัว่ โลกก�ำลังให้ความส�ำคัญและ มีนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟ้า เพื่อลดการพึ่งพาการใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยมี เป้ า หมายส� ำ คั ญ ในการลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ตัวการหลักที่ท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิที่สูงขึ้น สภาพอากาศ ที่แปรปรวนจนเกิดภัยพิบัติต่างๆ เช่น ภาวะอุทกภัย ภาวะ ภัยแล้ง ฯลฯ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อโลกและเราทุกคน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

พลัง งานแสงอาทิตย์เ ป็นแหล่ง พลังงานหมุนเวียน ทีม่ ศี กั ยภาพสูงในการน�ำมาใช้ประโยชน์เพือ่ ผลิตไฟฟ้า โดยมี แนวโน้มสูงขึน้ เรือ่ ยๆ เนือ่ งจากเป็นพลังงานสะอาด ไม่มมี ลพิษ ต่อสิง่ แวดล้อม และยังเป็นพลังงานทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ ใช้ได้ไม่มีวันหมด ส�ำหรับประเทศไทยถือว่ามีศักยภาพด้าน พลังงานแสงอาทิตย์ค่อนข้างสูง ด้วยภูมิประเทศที่ตั้งอยู่ใน เขตศูนย์สูตรท�ำให้ได้รับแสงแดดค่อนข้างคงที่ตลอดทั้งปี โดยค่าความเข้มรังสีรวมรายวันเฉลี่ยต่อปีโดยเฉลี่ยทุกพื้นที่ ทัว่ ประเทศ พบว่ามีคา่ เท่ากับ 18.0 เมกะจูล/ตารางเมตร-วัน (MJ/m 2-day) หรื อ 5 กิ โ ลวั ต ต์ / ชั่ ว โมง/ตารางเมตร-วั น (kWh/m 2-day) นั บ ได้ ว ่ า ประเทศไทยมี พื้ น ที่ รั บ พลั ง งาน แสงอาทิตย์อ ยู่ในระดับค่อ นข้างสูง เมื่อ เทียบกับ หลายๆ ประเทศ ซึ่งเพียงพอส�ำหรับการพัฒนาในการผลิตไฟฟ้า แต่ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปไม่หยุดยั้ง ท�ำให้การติดตั้ง แผงโซลาร์เซลล์สามารถด�ำเนินการบนทุกพืน้ ที่ แม้กระทัง่ บน ผิวน�้ำ หรือที่รู้จักกันว่า โซลาร์ลอยน�ำ้ (Floating Solar) ท�ำให้ การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ไร้ข้อจ�ำกัดเรื่องพื้นที่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) โดย บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ได้รว่ มกันพัฒนา “โครงการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์บนผิวน�้ำ” (Solar Floating Project) ในโรงไฟฟ้าราชบุรี เพือ่ ตอบสนอง ต่อนโยบายการพัฒนาความยัง่ ยืนขององค์กรในมิตสิ งิ่ แวดล้อม ด้านการจัดการก๊าซเรือนกระจกของบริษัทฯ นอกเหนือจาก มิติเศรษฐกิจด้วย


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวถึงทีม่ าของโครงการฯ ว่า เนือ่ งจาก โรงไฟฟ้าพลังความร้อนราชบุรี 2 หน่วยก�ำลังผลิตติดตัง้ รวม 1,470 เมกะวัตต์ ถูกสั่งเป็นก�ำลังผลิตส�ำรอง หรือ Reserved Shutdown จึงต้องหยุดเดินเครื่องจนกว่าจะมีค�ำสั่งให้ผลิตไฟฟ้า แต่โรงไฟฟ้า ยังต้องการไฟฟ้าให้กับระบบต่างๆ ของโรงไฟฟ้า รวมทั้งอาคาร ปฏิบัติงานต่างๆ จึงต้องมีการใช้ไฟฟ้าจากระบบของการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส่งผลให้มีต้นทุนที่เพิ่มขึ้น และ ยังท�ำให้ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทางอ้อม (Scope 2) ของโรงไฟฟ้าราชบุรียังเพิ่มขึ้นอีกด้วย โรงไฟฟ้าราชบุรีจึงมีแนวคิด ที่จะพัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้าส�ำหรับใช้ ภายในโรงไฟฟ้า โดยพิจารณาพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ ดิบทีใ่ ช้สำ� หรับการผลิต ไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ซึ่งมีขนาดพื้นที่กว้างถึง 200 ไร่ โครงการนี้ได้เริ่มศึกษาศักยภาพ ค่าความเข้มรังสีรวมรายวันเฉลีย่ ต่อปีในพืน้ ทีเ่ มือ่ ปี พ.ศ. 2561 โดย ค่าอยู่ที่ 1,793 กิโลวัตต์ต่อตารางเมตร และได้ด�ำเนินการก่อสร้าง ติดตั้ง ทดสอบระบบ และได้รับใบอนุญาตการผลิตกระแสไฟฟ้า อย่างเป็นทางการเมื่อเดือนมีนาคม 2564 โครงการฯ ดังกล่าวใช้เงินลงทุน 78 ล้านบาท มีขนาดก�ำลัง การผลิต 2.138 เมกะวัตต์ โดยได้ตดิ ตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ (Photovoltaic Module) ชนิด Polycrystalline ขนาด 330 วัตต์ จ�ำนวน 6,480 แผง บนผิวน�ำ้ ของอ่างเก็บน�ำ้ ดิบ ใช้พนื้ ที่ 14 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7 ของพืน้ ที่ อ่างเก็บน�ำ้ ดิบทัง้ หมด ปริมาณพลังงานไฟฟ้าทีค่ าดว่าจะผลิตได้ปลี ะ 3,121,500 กิโลวัตต์-ชัว่ โมง จากก�ำลังการผลิตติดตัง้ ปัจจุบนั กระแส ไฟฟ้าจากโครงการได้นำ� ไปใช้ในอาคารปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ อาคาร คลังพัสดุ อาคารส�ำนักงาน อาคารฝึกอบรม อาคารปฏิบัติการ รวมทั้งระบบไฟฟ้าสาธารณะด้วย

“โครงการนี้ ไ ด้ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ทั้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยโรงไฟฟ้าราชบุรีสามารถลดค่าไฟฟ้าได้ ปีละ 9.96 ล้านบาท ที่อัตราค่าไฟฟ้า 3 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง ขณะเดียวกันปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกยังลดลงได้ประมาณ ปีละ 1,774 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี ซึ่งส่งผลดีต่อ ชุมชนและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ อีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยั ง ได้ น� ำ โครงการผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า จากแสงอาทิ ต ย์ บ นผิ ว น�้ ำ ยืน่ จดทะเบียนโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program : T-VER) ประเภทพลังงานทดแทน กับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. และได้รับการขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 โครงการฯ ประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจก ทีป่ ล่อยออกสูช่ นั้ บรรยากาศลดลงได้ 1,774 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อปี และตลอดระยะเวลา 7 ปี (พ.ศ. 2563-พ.ศ. 2570) ของโครงการฯ ลดลงได้ 12,418 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โครงการนีไ้ ด้รบั โล่ประกาศเกียรติคณ ุ จาก อบก. ในงาน “ร้อยดวงใจ ร่วมใจลดโลกร้อน” ประจ�ำปี 2562 ซึง่ มอบให้แก่องค์กรทีต่ ระหนักถึง การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และมุ่งมั่นส่งเสริม การบริหารจัดการ และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในองค์กร ถือเป็นรางวัลแห่งความภูมิใจที่สะท้อนความมุ่งมั่นตั้งใจจริงของ บริษัทฯ และเป็นก�ำลังใจให้เราพัฒนาโครงการอื่นๆ ในการลดก๊าซ เรือนกระจก เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถเจริญเติบโตไปพร้อมกับสังคม สิง่ แวดล้อม และประเทศชาติได้อย่างยัง่ ยืนต่อไป” กิจจา กล่าว


Special Scoop

> สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) จัดแสดง นวัตกรรมเพือ่ รับมือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ระหว่าง ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ตรวจเยีย่ ม โรงพยาบาลสนาม โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ชูหน้ากากอนามัยจากผ้าไหมโคราช การใช้กล้องความเร็วสูงทดสอบ คุ ณ สมบั ติ ก ารป้ อ งกั น ละอองไอจามซึ ม ผ่ า นหน้ า กากอนามั ย การผลิตชุด PPE ใช้เองในประเทศ และการพัฒนาตูค้ วามดันบวกความดันลบ เพื่อใช้คัดกรองและป้องกันเชื้อจากผู้ป่วย ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ตรวจเยี่ยมความพร้อมของโรงพยาบาลสนาม ณ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี จังหวัดนครราชสีมา เมือ่ วันพฤหัสบดี ที่ 22 เมษายน 2564 โอกาสนีส้ ถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การ มหาชน) หรือ สซ. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) ได้ร่วมจัดแสดงนวัตกรรมเพื่อรับมือสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือโควิด-19

ภายในอาคารบริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) ส�ำหรับนวัตกรรมเด่นเพือ่ รับมือการแพร่ระบาดของโควิด-19 อันเป็นผลงานที่พัฒนาโดยนักวิจัยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ได้แก่ การประยุกต์ใช้แสงซินโครตรอนในการวิจยั และพัฒนาหน้ากาก ผ้าไหมเพือ่ ทดแทนหน้ากากทางการแพทย์ โดยใช้แสงซินโครตรอน วิเคราะห์โครงสร้างสามมิติเพื่อออกแบบหน้ากากผ้าไหมปักธงชัย ส�ำหรับทดแทนหน้ากากทางการแพทย์ ซึง่ ผลจากการทดสอบพบว่า หน้ากากผ้าไหมทีไ่ ด้สามารถป้องกันฝุน่ ละออง PM2.5 และ PM0.3 ได้มากกว่า 80% และป้องกันการกระจายของละอองฝอยน�้ำลาย ได้ดีกว่าหน้ากากผ้าชนิดอื่น อีกทั้งแข็งแรงไม่ขาดง่าย นวัตกรรมนี้ นอกจากช่วยแก้ปญ ั หาขาดแคลนหน้ากากอนามัยแล้ว ยังเป็นการน�า วิทยาศาสตร์ขนั้ สูงมาช่วยยกระดับสิง่ ทอจากเส้นใยธรรมชาติทเี่ ป็น วัสดุในท้องถิ่น และส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา นวัตกรรมถัดมาเป็นการพัฒนาชุดทดสอบการซึมผ่านของ อนุภาคส�ำหรับหน้ากากของบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งประยุกต์ใช้ กล้องความเร็วสูงในการทดสอบการซึมผ่านของละอองไอจามผ่าน หน้ากากของบุคลากรทางการแพทย์ ซึง่ ตามปกติสถาบันฯ น�ำกล้อง ความเร็วสูงมาใช้ในงานซ่อมบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันส�ำหรับการ


ตรวจสอบการท�ำงานและวิเคราะห์การสั่นสะเทือนของอุปกรณ์ เครื่องมือ และเครื่องจักรกลต่างๆ ภายในสถาบันฯ เนื่องจากเป็น เทคโนโลยีการตรวจสอบการสั่นสะเทือนแบบไม่สัมผัส และกล้อง มีความไวในการตรวจวัดการสัน่ สะเทือนและวิเคราะห์การเคลือ่ นไหว ได้มากกว่าทีต่ าเปล่ามองเห็น จึงช่วยให้เกิดความสะดวกและสามารถ ตรวจจับความผิดปกติได้อย่างรวดเร็วและซ่อมบ�ำรุงได้อย่างทันท่วงที โดยกล้องความเร็วสูงนี้สามารถบันทึกภาพด้วยอัตราเร็วสูง ได้ถงึ 1,300 เฟรมต่อวินาที แต่ในการทดสอบการซึมผ่านของละออง ไอจามนั้น บันทึกภาพที่ความเร็ว 200 เฟรมต่อวินาที ซึ่งเพียงพอ ต่อการวิเคราะห์ภาพส�ำหรับการทดสอบหน้ากาก และสามารถขยาย การเคลือ่ นไหวในภาพและวิดโี อได้ ท�ำให้เห็นละอองไอจามได้อย่าง ชัดเจน ช่วยในการทดสอบคุณสมบัตปิ อ้ งกันการซึมผ่านของอนุภาค ส�ำหรับหน้ากากอนามัยได้ ซึ่งผลการทดสอบปรากฏว่าหน้ากาก ผ้าไหมป้องกันการแพร่กระจายของละอองฝอยน�้ำลายได้ดีกว่า หน้ากากทางการแพทย์ นอกจากนี้ สถาบันฯ ยังร่วมพัฒนาอุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคล หรือชุด PPE ร่วมกับ พ.ท. นพ.บุระ สินธุภากร จากโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยน�ำความเชี่ยวชาญทางด้าน

การออกแบบวิศวกรรม การออกแบบระบบควบคุมและการแสดงผล มาใช้ทดสอบการซึมผ่านของของเหลวเพื่อพัฒนาชุด PPE ให้มี ประสิทธิภาพเทียบเท่าชุดน�ำเข้าจากต่างประเทศ และด้วยความ เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีสุญญากาศของสถาบันฯ ที่สะสม มานานกว่า 20 ปี รวมทัง้ องค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีวศิ วกรรมต่างๆ เช่น เทคโนโลยีแหล่งจ่ายก�ำลัง เทคโนโลยีระบบควบคุม สถาบันฯ จึงได้สร้างและออกแบบตู้ส�ำหรับตรวจและคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อ แบบความดันบวก มอบให้แก่โรงพยาบาลปักธงชัย อ�ำเภอปักธงชัย จั ง หวั ด นครราชสี ม า แคปซู ล ส� ำ หรั บ เคลื่ อ นย้ า ยผู ้ ป ่ ว ยติ ด เชื้ อ ความดันลบ มอบให้แก่โรงพยาบาลขามทะเลสอ อ�ำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา และตูส้ ำ� หรับครอบเตียงผูป้ ว่ ยแบบความดันลบ มอบให้แก่โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา นวัตกรรมต่างๆ เหล่านี้ส ะท้อ นให้เ ห็นว่า สถาบันวิจัย แสงซินโครตรอนสามารถประยุกต์ใช้ความเชีย่ วชาญและองค์ความรู้ เดิมที่มีอยู่เพื่อช่วยประเทศรับมือวิกฤติได้


Article

> ออนโรบอต (OnRobot)

...มื อ จั บ แม่ เ หล็ ก แบบปฏิ วั ติ ว งการจากออนโรบอต เพื่ออุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และอากาศยาน... ...สมาชิ ก ใหม่ ใ นกลุ ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มื อ จั บ ระบบไฟฟ้ า ที่ใช้งานและติดตั้งง่าย แตกต่างจากมือจับระบบไฟฟ้าทั่วไป เพราะ MG10 ตั้งโปรแกรมปรับระดับแรงกดได้ พร้อมส่วน ก้านจับและเซ็นเซอร์ตรวจจับชิ้นส่วนแบบบิลท์อิน... ออนโรบอต (OnRobot) เปิดตัว MG10 อุปกรณ์มอื จับ ระบบแม่เหล็กประสิทธิภาพสูงที่ใช้ง่ายและรองรับการท�ำงาน ได้แบบอเนกประสงค์ ส�ำหรับงานหยิบจับวัสดุ งานประกอบ ชิน้ ส่วน และการล�ำเลียงด้วยเครือ่ งจักรในภาคอุตสาหกรรมการ ผลิต ยานยนต์ และอากาศยาน สามารถติดตั้งเข้ากับหุ่นยนต์ ของแบรนด์ชั้นน�ำได้ทุกรุ่นผ่าน One System Solution ของ ออนโรบอต นอกจากนี้ MG10 ยังมีฟีเจอร์ปรับระดับแรงกด และการตรวจจับการหยิบวัตถุทโี่ ดดเด่น ท�ำให้ผใู้ ช้งานสามารถ ควบคุมการท�ำงานได้อย่างแม่นย�ำมากกว่ามือจับรุ่นอื่นๆ มือจับระบบแม่เหล็กรุ่นมาตรฐานทั่วไปมักมีฟังก์ชัน เพียงเปิด/ปิดการใช้งานเท่านัน้ และถ้าต้องการปรับระดับแรงกด ผู้ใช้ต้องติดตั้ง “แผ่นยางรอง” เพิ่มเติม เพื่อเพิ่มระยะห่าง ระหว่างแม่เหล็กกับชิน้ ส่วนทีต่ อ้ งการหยิบจับ ซึง่ ถือเป็นขัน้ ตอน ทีน่ า่ เบือ่ หน่ายและขาดความแม่นย�ำ เพราะไม่สามารถรับประกัน ได้เลยว่าจะได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการทุกครั้ง โดยเฉพาะการ ท�ำงานกับแผ่นโลหะบางๆ หรือชิน้ งานโลหะขนาดจิว๋ ซึง่ มือจับ ระบบแม่เหล็กทัว่ ไปมักพลาดจับขึน้ มากกว่าหนึง่ ชิน้ หรือหนึง่ แผ่น เสมอ เพราะไม่สามารถปรับระดับแรงกดได้อย่างแม่นย�า

“มือจับแม่เหล็กรุ่นมาตรฐานทั่วไปถือเป็นความยุ่งยากอย่าง แท้จริง เพราะเกือบทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการท�ำงาน หรือลักษณะชิ้นงาน คุณจะต้องลงมือปรับแต่งตัวอุปกรณ์เองเพื่อแก้ไข ประสิทธิภาพการท�ำงานที่มือจับนั้นไม่สามารถให้คุณได้” มร.เอนริโก คร็อก ไอเวอร์เซน ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยบริหาร ออนโรบอต กล่าว “อุปกรณ์มือจับแม่เหล็กประสิทธิภาพสูงรุ่น MG10 ของออนโรบอต ช่วยขจัดความยุง่ ยากทัง้ หมดนัน้ ออกไปด้วยฟีเจอร์การปรับระดับแรงกด ซึ่งช่วยให้คุณสามารถรับมือกับการหยิบจับชิ้นงานที่ต้องการความ แม่นย�ำสูงได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย”

ฟีเจอร์ใหม่ช่วยลดการตกหล่นของชิ้นส่วน

อุปกรณ์มือจับแม่เหล็กรุ่น MG10 แตกต่างจากมือจับแม่เหล็ก รุน่ มาตรฐานทัว่ ไป เพราะมาพร้อมฟังก์ชนั ก้านจับและเซ็นเซอร์ตรวจวัด ชิ้นส่วนแบบบิลท์อิน ส�ำหรับการท�ำงานกับแผ่นโลหะ ยกตัวอย่างเช่น เครื่องล�ำเลียงที่ต้องใช้หุ่นยนต์ยกแผ่นโลหะขึ้นจากแท่นเพื่อวางบน เครือ่ งพับ/ดัดโลหะ และหยิบชิน้ ส่วนนัน้ ออกไปเมือ่ เครือ่ งจักรเสร็จงาน แล้ว การมีฟงั ก์ชนั ข้างต้นจะช่วยให้งานราบรืน่ สม�ำ่ เสมอ และปลอดภัย ในกรณีที่หุ่นยนต์เกิดสูญเสียแรงกดหรือจ�ำเป็นต้องสั่งหยุดการท�ำงาน กะทันหันในขณะด�ำเนินการ ฟีเจอร์นี้ช่วยสร้างความมั่นใจว่าจะไม่มี ความเสี่ยงที่ชิ้นส่วนนั้นจะตกหล่นลงมา อุปกรณ์มือจับแม่เหล็ก MG10 รุ่นใหม่นี้ ยังสามารถรองรับงาน ล�ำเลียงด้วยเครื่องจักร การประกอบชิ้นส่วน และการรับมือกับชิ้นงาน ทีแ่ ต่เดิมต้องใช้มอื จับระบบอัดอากาศทีซ่ บั ซ้อนและต้นทุนสูง “ในขณะที่ ระบบอันซับซ้อนแบบเดิมๆ จ�ำเป็นต้องมีการอัดอากาศเข้าจากภายนอก การเดินสายไฟ และการดูแลรักษาทีต่ อ่ เนือ่ ง แต่ MG10 สามารถแกะออก จากกล่องแล้วพร้อมใช้งานทันที จึงช่วยลดต้นทุนการติดตั้งได้อย่าง


มหาศาลเมือ่ เปรียบเทียบกับมือจับแม่เหล็กรุน่ อืน่ ๆ ทีม่ รี ะบบซับซ้อน” มร.เอนริโก คร็อก ไอเวอร์เซน กล่าว

การรับมือกับพื้นผิวขรุขระ หยาบ หรือมีรูพรุน

อุปกรณ์มอื จับแม่เหล็กรุน่ MG10 สามารถรับมือกับวัตถุทมี่ ี พื้นผิวหยาบ ขรุขระ หรือมีรูพรุนได้อย่างแม่นย�ำและมั่นคง ท�ำให้ เป็นมือจับที่สมบูรณ์แบบส�ำหรับการใช้งานหลากหลายประเภทใน ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ยานยนต์ และอากาศยาน ยิง่ ไปกว่านัน้ ชุดแม่เหล็กรวมของ MG10 ยังท�ำให้มือจับรุ่นนี้สามารถรับมือกับ วัตถุที่มีความแตกต่างกันทั้งในเรื่องขนาด น�้ำหนัก และรูปทรง ที่ไม่สมมาตรได้อย่างดีเยี่ยม

การติดตั้งเทคโนโลยีหุ่นยนต์ในเอเชีย มีอัตราพุ่งสูงขึ้น

ภูมิภาคเอเชียถือเป็นตลาดหุ่นยนต์ส�ำหรับอุตสาหกรรม ที่ใหญ่ที่สุดของโลก นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2014-ค.ศ. 2019 อัตราการ ติดตั้งหุ่นยนต์เพิ่มขึ้นราว 13% ในแต่ละปี1 การใช้งานหุ่นยนต์ ส่วนใหญ่จะเป็นการล�ำเลียงและประกอบชิ้นส่วน ซึ่งอุตสาหกรรม ที่ใช้หุ่นยนต์มากเป็นอันดับต้นๆ คือ อิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์ ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศไทย2 และประเทศไทยเอง ก็ถือเป็นผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ที่สุด3 และมีฐานการผลิตอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ใหญ่ที่สุด4 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มร.เจมส์ เทย์เลอร์ ผู้จัดการทั่วไป ออนโรบอต ประจ�า ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก กล่าวว่า “เราก�ำลังวางแนวทางสู่หุ่นยนต์ รุ่นใหม่ผ่านเครื่องมืออัจฉริยะที่ใช้งานง่ายและมีความยืดหยุ่นสูง ระบบอัตโนมัติเพื่อการท�ำงานร่วมกับมนุษย์เริ่มกลายเป็นโซลูชัน

ส�ำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ในอุตสาหกรรมสมัยใหม่ และเป้าหมาย ของเราคือ การสร้างความมัน่ ใจว่าบริษทั ทุกขนาดจะสามารถเข้าถึง เทคโนโลยีนี้ได้” ออนโรบอต (OnRobot) น�ำเสนออุปกรณ์ปลายแขนหุน่ ยนต์ เพื่อการท�ำงานร่วมกับมนุษย์หลากหลายประเภท ซึ่งรวมถึงมือจับ ระบบไฟฟ้า มือ จับสุญ ญากาศ มือ จับแม่เ หล็ก รวมถึงมือจับ เจ้าของรางวัลรุน่ Gecko Gripper เซ็นเซอร์รบั แรงกระท�ำและแรงบิด อุปกรณ์มองภาพระบบ 2.5D Vision System อุปกรณ์ไขควง และ อุปกรณ์สลับเครื่องมือรูปแบบต่างๆ การน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ หลากหลายของออนโรบอตท�ำให้การท�ำงานของระบบอัตโนมัติมี ความรวดเร็วและเรียบง่ายกว่าเดิม อาทิ งานบรรจุภณ ั ฑ์ การควบคุม คุณภาพ การขนถ่ายวัสดุ การล�ำเลียงด้วยเครื่องจักร การประกอบ ชิน้ ส่วน และการเคลือบพืน้ ผิว ปัจจุบนั บริษทั มีสำ� นักงานใหญ่ทเี่ มือง โอเดนเซ เดนมาร์ก นอกจากนี้ยังมีส�ำนักงานทั้งในลอสแองเจลิส ดัลลัส โซสท์ (เยอรมนี) บาร์เซโลนา วอร์ซอ เซี่ยงไฮ้ โตเกียว โซล สิงคโปร์ และบูดาเปสต์ 1

https://ifr.org/img/worldrobotics/Executive_Summary_WR_ 2020_Industrial_Robots_1.pdf 2 https://www.enterprisesg.gov.sg/overseas-markets/asia pacific/thailand/market-profile 3 https://www.boi.go.th/upload/content/BOI-brochure% 202015-automotive-20150325_70298.pdf 4 https://www.boi.go.th/upload/content/TIR_Newsletter_ February2019_AW_5c908cc7bf8e5.pdf


Article

> บริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

โครงการ

โซลาร์ลอยน�้า แห่งแรกของกรีน เยลโล่ ในประเทศไทย

บริษทั กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน ระบบการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และการเพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน (Energy Efficiency) โดยน�ำเสนอโซลูชนั ด้านเทคนิค และสนับสนุนเรื่องการลงทุน โดยลูกค้าไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ และ ยังช่วยลดภาระค่าไฟฟ้าได้อีกด้วย บริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เป็นบริษัทในเครือกรีน เยลโล่ มีสาขา 16 ประเทศทั่วโลก ประกอบด้วย ฝรั่งเศส ไทย กัมพูชา เวียดนาม โคลัมเบีย บราซิล มาดากัสการ์ แอฟริกาใต้ เซเนกัล โมร็อกโก มอริเชียส ปานามา ตูนเิ ซีย มอริเตเนีย บูรก์ นิ าฟาโซ เบนิน และมีพนักงานกว่า 500 คน

ทั่วโลก รวมแล้วด�ำเนินโครงการพลังงานแสงอาทิตย์มากกว่า 330 MWp บริษทั กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ก่อตัง้ ในปี พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) ได้ดำ� เนินโครงการโซลาร์เซลล์ไปแล้วกว่า 85 เมกะวัตต์ (MWp) ทั่วประเทศไทย บริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ติด 3 อันดับแรกของบริษัทผู้พัฒนาโครงการระบบการผลิตไฟฟ้ำ พลังงานแสงอาทิตย์ในรูปแบบ Private PPA (Power Purchase Agreement) มีการลงทุนมากกว่า 1,500 ล้านบาท ในประเทศไทย


เมื่อเร็วๆ นี้ บริ ษั ท กรี น เยลโล่ (ไทยแลนด์) ได้ประกาศ เปิ ด ตั ว โครงการโซลาร์ ลอยน�ำ้ (Floating Solar) แห่งแรก ของกรี น เยลโล่ ในประเทศไทย ขนาดก�ำลังการผลิตติดตัง้ กว่า 2 เมกะวัตต์ (MWp) ตั้งอยู่ที่โรงงานบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด ผูน้ ำ� หลักในกลุม่ อุตสาหกรรม อาหารสัตว์ในประเทศไทย แผงโซลาร์ เซลล์ จ� ำ นวนมากกว่ า 6,000 แผง คิดเป็นพืน้ ทีข่ นาดกว่า 10 ไร่ ถูกติดตัง้ บนบ่อน�ำ้ ขนาด 27 ไร่ โครงการโซลาร์ ล อยน�้ ำ แห่ ง นี้ จ ะสามารถลดการปล่ อ ย คาร์บอนไดออกไซด์ (Low Carbon Electricity) ได้มากถึง 2.8 กิกะวัตต์ตอ่ ชัว่ โมง (GWh) ในทุกๆ ปี หรือสามารถจ่าย ไฟฟ้าได้ถงึ 1,500 หลังคาเรือนตลอดทัง้ ปี อีกทัง้ ครอบคลุม การใช้พลังงานของโรงงานประมาณ 20% สามารถช่วยลด ภาระค่าไฟฟ้าในระยะยาวให้กบั ทางบริษทั เอส พี เอ็ม จาก การใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นพลังงานทดแทน ทีย่ งั่ ยืน และยังได้รบั การบริการจากกรีน เยลโล่ ในด้านการ เดินระบบและบ�ำรุงรักษา (Operation and Maintenance) รวมถึงระบบมอนิเตอร์รงิ่ (Monitoring System) ควบคุมโดย ทีมงานวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ โดยไม่มีค่าใช้จา่ ยเพิ่มเติม โครงการโซลาร์ลอยน�้ำนี้ยังสามารถผลิตพลังงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น เนื่องจากน�้ำจะช่วยระบาย ความร้อนของระบบโซลาร์ นอกจากนี้ยังเป็นการใช้บ่อน�้ำ ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

“ในช่วง 2-3 ปีทผี่ า่ นมา เรามองเห็นแนวโน้มตลาดพลังงานแสงอาทิตย์ ที่มากขึ้น โดยกลุ่มลูกค้าเชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมเลือกใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ในรูปแบบสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับบริษัทเอกชน หรือที่เรียกว่า Private PPA (Power Purchase Agreement) ซึ่งลูกค้าจะประกาศสรรหา ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (IPPs : Independent Power Producer) เช่น บริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ให้เป็นผูเ้ สนอการลงทุนแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร ดูแลรับผิดชอบทั้งในส่วนของการบริการด�ำเนินการและบ�ำรุงรักษาระบบ ของโรงไฟฟ้าในระยะยาว รวมถึงลดความซับซ้อนและความเสี่ยงใดๆ ในการด�ำเนินงาน ซึ่งช่วยให้ลูกค้าที่ทำ� Private PPA นั้นสามารถประหยัด ค่าพลังงานไฟฟ้าได้เป็นจ�ำนวนมาก พร้อมทัง้ ช่วยให้ลกู ค้ามัน่ ใจเมือ่ ท�ำสัญญา Private PPA กับผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านพลังงาน ลูกค้าสามารถทุม่ เทเงินและ เวลาไปกับธุรกิจหลักของตนได้” แฟรงค์ คลุค ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) และภูมิภาคเอเชีย กล่าว ในปัจจุบันบริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด มีความเชี่ยวชาญ ด้ า นระบบผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ค รอบคลุ ม ครบทุ ก รู ป แบบ ทั้งแบบติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop) พื้นดิน (Solar Farm) โรงจอดรถ (Solar Carport) และตอกย�้ำความแข็งแกร่งทางธุรกิจในประเทศไทยด้วย โครงการโซลาร์ลอยน�ำ้ (Floating Solar) โดยมีผลงานทีไ่ ด้รบั การรับรองและ พิสจู น์แล้วว่าได้มาตรฐานความปลอดภัยมากกว่า 110 โครงการ ในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมำ ส่วนบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด เป็นผู้น�ำในธุรกิจ อุตสาหกรรมเกษตรในประเทศไทยทีใ่ ห้บริการด้านอาหารสัตว์และเนือ้ สัตว์ แบบครบวงจร ปัจจุบันธุรกิจของบริษัทฯ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ อาหารสัตว์ ฟาร์ม ปศุสตั ว์ เนือ้ สัตว์ พลังงานทางเลือก บริการการตรวจสอบ และวิเคราะห์ (Lab Service) กระบวนการผลิตทัง้ หมดของบริษทั เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด ได้รบั การควบคุมตามมาตรฐานสากล เช่น มาตรฐาน ในการผลิตอาหาร (GMP) และ ISO 9001


Article

> การ์ทเนอร์ อิงค์

มร.ริค ฮาวเวิร์ด

การ์ทเนอร์ อิงค์ เผย 10 แนวโน้มเทคโนโลยีในกิจการภาครัฐใน พ.ศ. 2564 ทีม่ ศี กั ยภาพเร่งกระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจทิ ลั และสามารถน�ำมาปรับใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หรือเปลี่ยนโฉมการให้บริการสาธารณะ 10 อันดับแนวโน้มเทคโนโลยีนี้เกิดมาจากความท้าทายต่างๆ ที่หน่วยงาน ภาครัฐต่างๆ ต้องเผชิญระหว่างการแพร่ระบาด และความต้องการรูปแบบการ ด�ำเนินงานทีย่ ดื หยุน่ เพือ่ รับมือกับการเปลีย่ นแปลงทีม่ ผี ลกระทบใหญ่หลวงต่างๆ มร.ริค ฮาวเวิร์ด รองประธานฝ่ายวิจัยของการ์ทเนอร์ อิงค์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 กระตุน้ ให้องค์กรภาครัฐทัว่ โลกเร่งพัฒนานวัตกรรมดิจทิ ลั ซึง่ ท�ำให้ผบู้ ริหารภาครัฐมองเห็นโอกาสใหม่ๆ ในการใช้ขอ้ มูลและเทคโนโลยีมาสร้าง ความไว้วางใจ เสริมความคล่องตัว และเพิ่มความยืดหยุ่นด้านการด�ำเนินงานใน หน่วยงาน ในขณะที่ความท้าทายจากการแพร่ระบาดจะยังมีต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่ก็มีแนวโน้มของเทคโนโลยีที่ช่วยรับมือความท้าทายระดับวิกฤตเกิดขึ้น อาทิ เทคโนโลยีด้านความปลอดภัย เทคโนโลยีการควบคุมต้นทุน และเทคโนโลยีเพื่อ ให้ประสบการณ์ทดี่ สี ำ� หรับประชาชนผูต้ ดิ ต่อหรือใช้บริการจากหน่วยงานราชการ”

อันดับแนวโน้มเทคโนโลยี

พลิกโฉมกิจการภาครัฐ แห่งปี พ.ศ. 2564 ...10 อันดับเทคโนโลยีสำ�หรับภาครัฐที่โดดเด่น ประกอบด้วย เทคโนโลยีดา้ นความปลอดภัย การควบคุมค่าใช้จา่ ย และการจัดการ ความท้าทายด้านประสบการณ์ของประชาชนต่อภาครัฐ... เทคโนโลยีทงั้ หมดนีล้ ว้ นเชือ่ มโยงโดยตรง กับการบริหารงานของภาครัฐและการก�ำหนด นโยบายที่ผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ในรัฐบาล ต้องจัดการและให้ความส�ำคัญ ผูบ้ ริหารด้านไอที ของภาครัฐสามารถพิจารณาเพือ่ ก�ำหนดทิศทาง ในการน�ำเทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อวางแผนการ ฟื้นตัวหลังการระบาดของโรค พร้อมก�ำหนด เงื่อนไข ระยะเวลา และจัดล�ำดับความส�ำคัญใน การลงทุนด้านเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สุด

การเร่งปรับปรุงระบบให้ทน ั สมัย

หน่วยงานภาครัฐต่างๆ ประสบกับข้อจ�ำกัดและความเสีย่ งทีเ่ กิดจากโครงสร้าง พืน้ ฐานและระบบหลักๆ ทีใ่ ช้สบื ต่อกันมานับ 10 ปี เพือ่ การเตรียมความพร้อมรับมือ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ กับการหยุดชะงักครัง้ ต่อไป ซีไอโอภาครัฐควรเร่งผลักดันการเปลีย่ นผ่านไปสู่ สถาปัตยกรรมโมดูลาร์ทที่ นั สมัย ในขณะทีค่ วามจ�ำเป็นในการปรับปรุงระบบแบบเดิม ให้ทันสมัยไม่ใช่เรื่องใหม่ส�ำหรับซีไอโอของรัฐบาล แต่คือความท้าทายที่เกี่ยวกับการ แพร่ระบาดของโรคทีค่ วรตระหนักให้มากขึน้ ถึงการป้องกันยับยัง้ และความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ การ์ทเนอร์คาดว่าภายใน พ.ศ. 2568 หน่วยงานภาครัฐกว่า 50% จะปรับปรุง พัฒนาแอปพลิเคชันหลักทีส่ ำ� คัญให้ทนั สมัย เพือ่ ให้มคี วามยืดหยุน่ และความคล่องตัว ในการใช้งาน


เทคโนโลยีเพื่อความปลอดภัยที่ปรับตัวได้ตาม สภาวการณ์

แนวทางการรักษาความปลอดภัยแบบปรับได้มองว่าความ เสีย่ ง ความไว้วางใจ และความปลอดภัย เป็นกระบวนการทีต่ อ่ เนือ่ ง และปรับได้ ซึง่ เป็นการเตรียมการและบรรเทาภัยคุกคามทางไซเบอร์ ทีไ่ ม่เคยหยุดอยูก่ บั ที่ แนวทางนีน้ ำ� เสนอองค์ประกอบต่างๆ เพือ่ การ คาดการณ์ ป้องกัน ตรวจจับ และตอบสนอง โดยมองข้ามขอบเขต ของแนวคิดเดิมๆ ด้วยสมมุติฐานว่า เรื่องของความปลอดภัยและ ไม่ปลอดภัยนั้นไม่มีขอบเขตสิ้นสุด ซึ่งนี่เป็นแนวคิดส�ำคัญในการ โยกย้ายไปสู่การบริการคลาวด์ การ์ทเนอร์คาดการณ์วา่ ภายใน พ.ศ. 2568 75% ของซีไอโอ ภาครั ฐ จะมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงต่ อ ความปลอดภั ย ที่ อ ยู ่ นอกเหนือขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการปฏิบตั กิ าร และภารกิจที่ส�ำคัญยิ่งยวดต่อสภาพแวดล้อมด้านเทคโนโลยี

การให้บริการทุกๆ อย่างแบบ XaaS (Anything as a Service) การให้บริการทุกๆ อย่างแบบ XaaS (Anything as a Service) คือ กลยุทธ์การ จัดหาบริการต่างๆ บนคลาวด์โดยเฉพาะ ซึ่งรวบรวมบริการทางธุรกิจและไอทีแบบ ครบวงจรในรูปแบบของการสมัครสมาชิก (Subscription Basis) การตอบสนองต่อ โรคระบาดและความจ� ำ เป็ น เชิ ง วิ ก ฤตต่ อ บริการดิจทิ ลั ท�ำให้เกิดแรงกดดันมหาศาลในการ

ปรับปรุงแอปพลิเคชันและโครงสร้างพื้นฐานเดิมให้ทันสมัย XaaS ให้ทางเลือกในการปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานแบบเดิมๆ ให้ทนั สมัย เพิม่ ความสามารถในการปรับขนาดและย่นระยะเวลาในการส่งมอบ บริการดิจิทัลต่างๆ ภายใน พ.ศ. 2568 การ์ทเนอร์คาดการณ์ว่า 95% ของการ ลงทุนใหม่ๆ ไปกับเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานภาครัฐจะถูก ก�ำหนดให้เป็นรูปแบบของโซลูชันการบริการ

บริการสำ�หรับการจัดการเป็นรายกรณี (Case Management as a Service)

งานบริการสังคม (Case Work) เป็นรูปแบบการท�ำงานหลักๆ ของรัฐบาลด้วยรูปแบบโซลูชนั การจัดการรายกรณีแบบเดิมๆ พบได้ ในหลายหน่วยงาน การจัดการเป็นรายกรณี (CMaaS) เป็นรูปแบบ การท�ำงานใหม่ที่เพิ่มความคล่องตัวของหน่วยงาน โดยใช้หลักการ และแนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจแบบผสมผสานเพือ่ แทนทีร่ ะบบการจัดการ เคสแบบโบราณ ด้วยโซลูชนั ประกอบรวมเข้าด้วยกันหรือแยกส่วน และประกอบใหม่ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการทางธุรกิจที่เปลี่ยนไป การ์ทเนอร์คาดว่าภายใน พ.ศ. 2567 หน่วยงานภาครัฐต่างๆ ทีม่ สี ถาปัตยกรรม แอปพลิ เ คชั น การจั ด การรายกรณี แ บบ ผสมผสาน จะน�ำฟีเจอร์ใหม่ๆ มาใช้ได้เร็วกว่า หน่วยงานทีไ่ ม่มสี ถาปัตยกรรมดังกล่าวอย่างน้อย 80%


การบริการสาธารณะแบบ ไฮเปอร์คอนเนค (Hyperconnected)

การเชื่อมต่อสาธารณะแบบไฮเปอร์คอนเนค คือ การใช้เทคโนโลยีหลากหลายที่ภาครัฐใช้ทั้งหมด รวมถึง เครื่องมือหรือแพลตฟอร์มที่ท�ำให้กระบวนการทางธุรกิจ และไอทีเป็นอัตโนมัติมากที่สุด ซีอีโอของภาครัฐสามารถ ใช้หลักการผสานรวมเทคโนโลยี (Hyperautomation) และ แนวปฏิบัติแบบไฮเปอร์คอนเนคเพื่อพัฒนากระบวนการ ทางธุรกิจและบริการสาธารณะแบบต้นน�้ำถึงปลายน�้า ในรูปแบบอัตโนมัตมิ ากทีส่ ดุ โดยลดการใช้แรงงานคนให้นอ้ ย ที่สุด ภายใน พ.ศ. 2567 การ์ทเนอร์คาดการณ์ว่า 75% ของภาครั ฐ จะเปิ ด ตั ว หรื อ ด� ำ เนิ น การโครงการริ เริ่ ม หลักการผสานรวมเทคโนโลยี (Hyperautomation) ทั่วทั้งองค์กรอย่างน้อย 3 โครงการ

ข้อมูลประจำ�ตัวประชาชนแบบดิจิทล ั

ข้อมูลประจ�ำตัวประชาชนแบบดิจิทัล คือ ความสามารถ ในการระบุอัตลักษณ์ของบุคคลผ่านช่องทางดิจิทัลของภาครัฐที่มี ให้ประชาชน ซึง่ มีความส�ำคัญอย่างมากในการเข้าถึงและได้รบั บริการ ต่างๆ ของรัฐ ระบบนิเวศข้อมูลประจ�ำตัวดิจทิ ลั ก�ำลังพัฒนาไปอย่าง รวดเร็วและจะน�ำพาให้ภาครัฐไปสูบ่ ทบาทและความรับผิดชอบใหม่ๆ หัวข้อนี้เป็นวาระการเมืองขั้นสูง ดังนั้นซีไอโอภาครัฐต้องเชื่อมโยง ข้อมูลประจ�ำตัวดิจิทัลกับกรณีที่สำ� คัญ ภายใน พ.ศ. 2567 การ์ทเนอร์คาดการณ์มาตรฐานการระบุ อัตลักษณ์อย่างแท้จริงจะเป็นแบบกระจายศูนย์ การเก็บข้อมูล มีความสะดวก เรียกใช้ได้จากทุกที่และเคลื่อนย้ายได้ ทั้งนี้เพื่อ จัดการกับกรณีการใช้งานในระดับธุรกิจ บุคคล สังคม และการระบุ แบบไร้ตัวตน

การผสานรวมองค์กรภาครัฐ

การผสานรวมขององค์กรภาครัฐ คือ หน่วยงานภาครัฐใดๆ ที่ใช้หลักการออกแบบผสมผสาน ซึ่งช่วยให้เพิ่มความสามารถด้าน การท�ำงานซ�้ำและปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของกฎระเบียบ กฎหมาย และความคาดหวังของประชาชนได้อย่างต่อเนือ่ ง ซีไอโอ ก�ำลังน�ำการผสานรวมภาครัฐมาใช้เพือ่ เอาชนะวิธกี ารจัดการบริการ ระบบและข้อมูลที่มีอยู่ ซึ่งจ�ำกัดความสามารถของรัฐบาลในการ ปรับตัวให้เข้ากับความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม ดิจิทัลที่ก�ำลังเกิดขึ้น

ภายใน พ.ศ. 2566 การ์ทเนอร์คาด 50% ของบริษทั เทคโนโลยี ที่จัดหาผลิตภัณฑ์และบริการให้กับภาครัฐ จะเสนอความสามารถ ทางธุรกิจแบบแพ็กเกจเพื่อรองรับแอปพลิเคชันการผสานรวม

สร้างโปรแกรมการแบ่งปันข้อมูล

ภาครั ฐ มั ก แบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล แบบเฉพาะกิ จ โดยเน้ น เรื่ อ งที่ ประชาชนให้ความสนใจสูง เช่น เหตุการณ์การคุ้มครองเยาวชน หรือเหตุความรุนแรงทางเพศที่มีความ ละเอียดอ่อนและมีความซับซ้อน ซึ่ง การสร้างโปรแกรมแบ่งปันข้อมูล (Data Sharing as a Program) ท� ำ ใ ห ้ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ม า ร ถ ปรับขนาดได้ตามต้องการ โดย สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ ในหลายรูปแบบ ซึ่งสนับสนุน ก า ร ใ ห ้ บ ริ ก า ร ภ า ค รั ฐ เ พื่ อ ขับเคลื่อนไปสู่แนวทางที่ท�ำงาน แบบผสมผสานกันได้มากขึ้น ภายใน พ.ศ. 2566 การ์ทเนอร์ คาด 50% ขององค์กรภาครัฐจะสร้างโครงสร้าง การแบ่งปันข้อมูลที่มีความรับผิดชอบอย่าง เป็นทางการ รวมถึงมาตรฐานโครงสร้างข้อมูล คุณภาพ และความตรงต่อเวลา


https://pixabay.com/illustrations/banner-header-monitor-head-digital-935470/

การมีสว่ นร่วมของประชาชนในหลากหลายช่องทาง

ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรงกับกิจการภาครัฐมากขึ้น และแตะ จุดสูงสุดใน พ.ศ. 2563 จากการร่วมกันรับมือภัยการแพร่ระบาดครัง้ ใหญ่ เหตุการณ์ไฟป่า พายุเฮอริเคน และเหตุการณ์อื่นๆ การมีส่วนร่วมของ ประชาชนในหลากหลายช่องทางเป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่งมีส่วนร่วมแบบ 2 ทิศทางตามขอบเขตขององค์กร ในขณะเดียวกันก็สง่ มอบประสบการณ์ ส่วนบุคคลโดยใช้ช่องทางที่ต้องการและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการ เข้าถึงประชาชน การ์ทเนอร์คาดการณ์วา่ รัฐบาลกว่า 30% จะใช้มาตรการชีว้ ดั การมี ส่วนร่วมเพื่อติดตามปริมาณและคุณภาพการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อน�ำมาใช้ตัดสินใจวางแผนด้านนโยบายและงบประมาณภายใน พ.ศ. 2567

การวิเคราะห์เชิงปฏิบัติการ

การวิเคราะห์เชิงปฏิบัติการ คือ การน�ำเทคโนโลยีที่ขับเคลื่อนด้วย ข้อมูลมาใช้อย่างมีกลยุทธ์และเป็นระบบ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) การเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine Learning) และการวิเคราะห์ขั้นสูง (Advanced Analytics) โดยในแต่ละขั้นตอนของกิจกรรมภาครัฐเป็นไป เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และช่วยการตัดสินใจให้ดีขึ้น ซึ่ง ผู้มีอ�ำนาจสามารถตัดสินใจด�ำเนินงานตามบริบทได้ดีขึ้นแบบเรียลไทม์ เพื่อพัฒนาคุณภาพของประสบการณ์ประชาชนให้ดีขึ้น ภายใน พ.ศ. 2567 การ์ทเนอร์คาดการณ์ 60% ของการลงทุนด้าน การวิเคราะห์ขอ้ มูลและ AI ของภาครัฐมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ สร้างแรงกระเพือ่ ม โดยตรงต่อผลลัพธ์และการตัดสินใจแบบเรียลไทม์

สามารถคลิกอ่านรายงานเพิ่มเติมได้ที่ “Top Technology Trends in Government for 2021” และในรายงานควบคู่กัน “Top Business Trends in Government for 2021” บริ ษั ท การ์ ท เนอร์ (Gartner, Inc.) (NYSE: IT) คือบริษทั วิจยั และให้คำ� ปรึกษาชัน้ น�า ของโลก และมีรายชื่ออยู่ในดัชนี S&P 500 บริษทั ฯ ให้ขอ้ มูลเชิงลึก ค�ำแนะน�ำ และเครือ่ งมือ ต่างๆ แก่ผบู้ ริหารองค์กรธุรกิจ เพือ่ รองรับการ ด�ำเนินภารกิจส�ำคัญทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั และสร้าง องค์กรให้ประสบความส�ำเร็จในอนาคต การ์ทเนอร์นำ� เสนองานวิจยั ทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยข้อมูล ด�ำเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญ และ ใช้แหล่งข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงานจริง เพื่อชี้น�า ลูกค้าส�ำหรับการตัดสินใจที่ถูกต้องเหมาะสม ในเรื่องที่ส�ำคัญที่สุด การ์ทเนอร์ท�ำหน้าที่เป็น แหล่งข้อมูลทีเ่ ป็นกลางและเป็นทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจจากองค์กรต่างๆ กว่า 14,000 แห่ง ในกว่า 100 ประเทศทัว่ โลก ครอบคลุมทุกส่วนงาน ส�ำคัญๆ ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรมและองค์กร ทุกขนาด


Article

> ยูนิเวอร์ซัล โรบอท (ยูอาร์)

...โคบอทได้ตด ิ ตัง้ ไปแล้ว 126,000 ตัว ในทุกภาคส่วน ซึ่งอุตสาหกรรมยานยนต์เป็นผู้ใช้รายใหญ่ที่สุดในโลก... ยูนเิ วอร์ซลั โรบอท (ยูอาร์) ผูน้ ำ� ตลาดหุน่ ยนต์รว่ มปฏิบตั งิ าน (โคบอท) จากประเทศเดนมาร์ก พร้อมหนุนผู้ผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย เปิดโอกาสใหม่ส�ำหรับการใช้โซลูชันหุ่นยนต์ในโรงงานผลิตรถยนต์ ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์เป็นหัวใจส�ำคัญในโมเดลไทยแลนด์ 4.0 ด้วย ไทยแลนด์ 4.0 รัฐบาลได้มงุ่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจโดยขับเคลือ่ นด้วยนวัตกรรม และเพิม่ การลงทุนในภาคหุน่ ยนต์ ในความเป็นจริงการผลิตยานยนต์ถอื เป็นหนึง่ ในอุตสาหกรรมหลักที่เร่งการเติบโตของระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ จากข้อมูล ของสถาบันยานยนต์ (TAI) คาดว่าการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ ของไทยจะมีจ�ำนวนประมาณ 1.4 ล้านคัน ในปี พ.ศ. 2564 ด้วยการสนับสนุน อย่างต่อเนือ่ งในการใช้งานหุน่ ยนต์และประสิทธิภาพของมาตรการรับมือโควิด-19 คาดว่าภาคยานยนต์ในประเทศไทยจะฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นหนึง่ ในผูท้ ใี่ ช้หนุ่ ยนต์อตุ สาหกรรมแบบดัง้ เดิม มากทีส่ ดุ และเป็นหนึง่ ในผูใ้ ช้โคบอททีแ่ พร่หลายมากทีส่ ดุ “ปัจจุบนั ระบบอัตโนมัติ แทรกซึมเข้าไปในเกือบทุกด้านของการผลิตรถยนต์ ตั้งแต่ชิ้นส่วนและการผลิต ชิ้นส่วนย่อยที่ซัพพลายเออร์ระดับที่ 1 และ 2 ไปจนถึงผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายที่


ออกจากสายการผลิตของโรงงานผลิต โคบอทของยูนเิ วอร์ซลั โรบอท ได้เพิ่มการผลิตยานยนต์ เนื่องจากความยืดหยุ่น มีขนาดเล็ก ผลตอบแทนจากการลงทุนอย่างรวดเร็วและประสิทธิภาพทีส่ ม�ำ่ เสมอ” เจมส์ แมคคิว ผูอ้ ำ� นวยการประจ�ำภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ บริษทั ยูนิเวอร์ซัล โรบอท กล่าว อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ นประเทศไทยยั ง คงมุ ่ ง มั่ น อย่ า ง ต่อเนือ่ งในปี พ.ศ. 2564 ประเด็นปัญหาการผลิตยานยนต์ทนี่ า่ กังวล ระหว่างผู้ผลิตรถยนต์และระบบอัตโนมัติมีมานานหลายทศวรรษ แล้ว แต่ในปี พ.ศ. 2562 ตามข้อมูลของสหพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติ พบว่า ที่โคบอทเติบโตมากกว่าหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบเดิม แมคคิว ได้กล่าวถึงประเด็นปัญหาในการผลิตยานยนต์ซงึ่ ท�ำให้ความ ต้องการโคบอทเติบโตขึ้น แมคคิว กล่าวว่า การผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์เป็นระบบอัตโนมัติ มีมานานหลายทศวรรษ แต่งานด้านการประกอบยังคง “ขึน้ อยูก่ บั การใช้แรงงานคนเป็นอย่างมาก” อาทิ การขันสกรู ซึง่ ความยืดหยุน่ และขนาดเล็กของโคบอทของยูอาร์จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้ผลิต รถยนต์ การผลิตรถยนต์จ�ำนวนมากมักเกิดขึ้นในพื้นที่เมือง ซึ่ง เป็นไปไม่ได้ที่จะหาพื้นที่เพิ่มอีก 100,000 ตารางเมตร เพื่อขยาย “ประโยชน์อนั งดงามอย่างหนึง่ ของโคบอทคือ ความยืดหยุน่ สามารถ ติดตัง้ ในทิศทางใดก็ได้ และสามารถติดตัง้ ร่วมกับมนุษย์ได้โดยไม่ตอ้ ง มีกรงนิรภัย (เมื่อประเมินความเสี่ยง)” ในภาคส่ ว นที่ มี ก ารควบคุ ม สู ง เช่ น การผลิ ต ยานยนต์ การตรวจสอบย้อนกลับเป็นสิ่งส�ำคัญ โคบอทยังช่วยผู้ผลิตในการ ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิตทีส่ ำ� คัญ เช่น แรงบิดทีแ่ ม่นย�า ที่ใช้กับสกรูเมื่อติดตั้งเข้ากับกุญแจรถ “เราเห็นว่าโคบอทของเราถูกน�ำไปใช้ในภาคยานยนต์เพื่อ การตรวจสอบคุณภาพ การประกอบชิน้ ส่วนขนาดเล็ก การจ่าย และ การใช้งานขั้นสุดท้าย โดยเป้าหมายของเราคือเพื่อให้อุตสาหกรรม ยานยนต์สามารถปรับใช้โคบอทของเราได้ในทุกส่วนของกระบวนการ ผลิต” แมคคิว กล่าวเพิ่มเติม ด้วยการพัฒนาอย่างรวดเร็วของตลาดยานยนต์ บริษัท Beijing BAI Lear Automotive System Co., Ltd. ซึ่งเป็นผู้ผลิตใน ประเทศจีนได้เห็นว่าก�ำลังการผลิตขยายตัวอย่างต่อเนื่องในช่วง ไม่กี่ปีที่ผ่านมา โซลูชันระบบอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพหมายถึง ความล่าช้าในการผลิตน้อยที่สุด โดยมีระยะเวลาการปรับตัวที่สั้น

ที่สุดระหว่างคนงานและอุปกรณ์ใหม่ ด้วยความร่วมมือระหว่าง ยูนิเวอร์ซัล โรบอท และ BAI Lear ได้ใช้ประโยชน์จากการท�ำงาน ร่วมกันระหว่างมนุษย์กบั เครือ่ งจักรและระบบอัตโนมัตใิ นอุตสาหกรรม ด้วยการใช้งานโคบอท รุ่น 38UR ที่น�ำมาใช้ส�ำหรับการขันสกรู ทีเ่ บาะรถยนต์ การตรวจสอบระบบไฟฟ้า การหยิบ และวางชิน้ ส่วน ตลอดจนกระบวนการอื่นๆ “ในฐานะองค์กรด้านการผลิต เราได้รบั ความต้องการทีม่ ากขึน้ จากลู ก ค้ า ของเราทุ ก ปี ดั ง นั้ น เราจึ ง ต้ อ งปรั บ ปรุ ง การควบคุ ม กระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง รับประกันการผลิตที่มั่นคง และ ปรับปรุงความสอดคล้องของการผลิต การแนะน�ำโคบอทของยูอาร์ ได้ตอบสนองความต้องการข้างต้นในขณะที่ได้ปรับปรุงการผลิต ในโรงงานและความยืดหยุน่ ของบุคลากร” ซอง เซียวหุย่ ผูจ้ ดั การ ทั่วไปของ BAI Lear กล่าว ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยมีการเปลี่ยนแปลง อย่างมาก ส�ำหรับผู้ผลิตและซัพพลายเออร์ภายในประเทศจ�ำเป็น ต้องเตรียมพร้อมส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิต เพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงใหม่ ดังนัน้ ความ แม่นย�ำของประสิทธิภาพและความยืดหยุน่ จึงกลายเป็นปัจจัยส�ำคัญ ในอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ความยืดหยุ่นไม่ถือเป็นความ สามารถหลักของหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมแบบดั้งเดิมที่อยู่ในกรง ซึ่งมักจะท�ำงานเดียวเท่านั้น ดังนั้นการน�ำโคบอทมาใช้อาจเป็น แนวทางแก้ปญ ั หาดังกล่าวและส่งเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรม ยานยนต์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2564 ยูนิเวอร์ซัล โรบอท หรือยูอาร์ (Universal Robots : UR) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2548 เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยี หุน่ ยนต์ได้งา่ ยยิง่ ขึน้ ด้วยการพัฒนาหุน่ ยนต์ขนาดเล็ก หรือทีเ่ รียกว่า “โคบอท” (Cobots) ทีใ่ ช้งานง่าย ราคาสมเหตุสมผล มีความยืดหยุน่ และสามารถท�ำงานร่วมกับมนุษย์ได้อย่างปลอดภัย นับตัง้ แต่เปิดตัว โคบอทครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2551 บริษทั ฯ ได้เดินหน้าพัฒนาหุน่ ยนต์ ที่เป็นมิตรกับผู้ใช้และจัดจ�ำหน่ายไปแล้วทั่วโลก ทั้งนี้ บริษัทฯ เป็น ธุรกิจในเครือของบริษทั เทราไดน์ อิงค์ ซึง่ มีสำ� นักงานใหญ่ในเมือง โอเดนเซ ประเทศเดนมาร์ก และมีสำ� นักงานภูมภิ าคในสหรัฐอเมริกา เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐเช็ก โปแลนด์ ฮังการี โรมาเนีย รัสเซีย ตุรกี จีน อินเดีย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และเม็กซิโก


Article

> ราเจช ธานการาจ Edge Solutions Evangelist หน่วยธุรกิจ Secure Power ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

สิง่ ทีเ่ กิดในปี ค.ศ. 2020 ได้เปลีย่ นแนวทางการปฏิสมั พันธ์ กับลูกค้าในอุตสาหกรรมค้าปลีก ด้วยข้อจ�ำกัดทีย่ งั คงเปลีย่ นแปลง อยู่อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนความไม่แน่นอนที่อาจท�ำให้เกิด การล็อกดาวน์ขึ้นอีกในอนาคต ท�ำให้เห็นได้ชัดเจนว่าผู้ค้าปลีก ไม่สามารถพึง่ พาแค่การขายหน้าร้านอย่างเดียวเพือ่ สร้างยอดขาย ได้อีกต่อไป โดยเฉพาะผูบ้ ริโภคในช่วงเวลานีต้ า่ งก�ำลังมองหาทางเลือก อื่นในการช้อปปิ้ง เช่น การสั่งซื้อทางออนไลน์ ที่มีบริการจัดส่ง ให้ถงึ บ้าน หรือการคลิกซือ้ และไปรับสินค้าทีร่ า้ นค้า หรือดูสนิ ค้า จากเว็บฯ และไปช้อปปิง้ ทีร่ า้ นค้า ผูบ้ ริโภคล้วนต้องการหาทางเลือก

ที่มอบประสบการณ์ที่ดีที่สุด และให้ความสะดวกสบายสูงสุด ในการจับจ่ายสินค้า การจะประสบความส�ำเร็จได้ ผู้ค้าปลีกต้องน�ำเทคโนโลยี ดิจิทัลและทางเลือกเรื่องของระบบออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับการ สร้างตัวตนในระบบดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งผู้ค้าปลีก สามารถขยายกลุม่ เป้าหมายได้มากกว่าฐานลูกค้าทีม่ อี ยูต่ ามปกติ โดยใช้โฆษณาดิจิทัลเพื่อมุ่งเป้าไปยังผู้บริโภคที่ต้องการเจาะจง และเข้าถึงฐานข้อมูลในรถเข็น (Cart) ทีไ่ ม่เคยได้ใส่ใจดู และอืน่ ๆ อีกมากมาย เพราะความเป็นไปได้นั้นมีอยู่อย่างไม่สิ้นสุด


นำ�เสนอในร้านค้าให้มากกว่า

การน�ำเสนอทีค่ รอบคลุมและสอดคล้องกันในทุกภาคส่วน เป็นสิ่งที่ลูกค้าต้องการ และเพื่อให้ได้ผลที่ดีเยี่ยม ร้านค้าปลีก จ�ำต้องลงทุนในเทคโนโลยี เช่น IoT, AR และ AI เนื่องจากลูกค้ากลายเป็นผู้ซื้อที่ฉลาดขึ้น พื้นที่ในร้าน ค้าปลีกจึงจ�ำเป็นต้องน�ำเสนอมากกว่าแค่การโชว์สินค้า ร้านค้า ต้องน�ำเสนอประสบการณ์ดา้ นแบรนด์สนิ ค้าทีน่ า่ ประทับใจและ เป็นที่จดจ�ำ ประสบการณ์ของแบรนด์เหล่านี้อาจเกิดจากการ สร้างความผูกพันของลูกค้าด้วยตัวคน (Human Touch) หรือ เทคโนโลยี เช่น VR และ AR ลองนึกภาพร้านค้าที่คุณสามารถ เล่นเกมบาสเกตบอลด้วยรองเท้าคู่ใหม่ของคุณ หรือคุณได้ลอง เสื้อผ้าผ่านกระจก AR โดยไม่ต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าจริงๆ พืน้ ทีค่ า้ ปลีกทีค่ ดิ ค้นขึน้ ใหม่นี้ จะต้องใช้โครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านไอทีที่แข็งแกร่งยิ่งขึ้น แต่ก็ไม่ได้อยู่บนคลาวด์เสียทั้งหมด

ประโยชน์ของเอดจ์ (Edge)

...ท�ำไมต้องใช้เอดจ์ คอมพิวติ้ง (Edge Computing) ...ท�ำไมไม่ใช่แค่ระบบคลาวด์ แม้ ก ารประมวลผลแบบคลาวด์ ใ ห้ ป ระโยชน์ ต ่ า งๆ มากมาย รวมถึงศักยภาพในการปรับขยายระบบ พร้อมให้ความ ยืดหยุ่นก็จริง อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีข้อจ�ำกัดในเรื่องการเชื่อมต่อ เครือข่ายและความล่าช้าในการตอบสนอง (Latency) ในขณะที่ การประมวลผลแบบเอดจ์ให้ประสิทธิภาพและการเชื่อมต่อ ที่น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ช่วยให้ระบบท�ำงานต่อไปได้แม้ว่าเครือข่าย จะล้มเหลวก็ตาม ส�ำหรับผูป้ ระกอบการร้านค้าปลีกแบบดัง้ เดิมเกือบ 90% ของรายได้ทว่ั โลก ยังคงมาจากการขายในร้านค้าปกติ ด้วยเหตุนี้ ร้านค้าประเภทนีจ้ งึ ลงทุนในเรือ่ งของอุปกรณ์ชว่ ยในการประมวลผล ที่อยู่ใกล้กับผู้ซื้อมากที่สุด ในส่วนของหน้าร้านของร้านค้าปลีก แบบดัง้ เดิม จะมีเครือข่ายทีป่ ระกอบด้วยห้องเซิรฟ์ เวอร์ขนาดเล็ก

และเครื่องบันทึกเงินสด พร้อม UPS หรือเครื่องส�ำรองไฟฟ้า เฉพาะส�ำหรับร้าน ซึ่งสภาพแวดล้อมเอดจ์แบบใหม่ของร้านค้า จะมุ่งเน้นที่การมอบประสบการณ์ดิจิทัลให้กับลูกค้า และต้อง อาศัยแอปพลิเคชันเอดจ์แบบใหม่ที่ให้ข้อมูลที่น�ำไปใช้งานได้ ในการด�ำเนินการดังกล่าวฝ่ายไอทีของร้านค้าปลีกต้องออกแบบ จัดวางอุปกรณ์ไอทีไปไว้ที่เอดจ์ หรือใกล้ต�ำแหน่งการใช้งานที่ มากขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าองค์ประกอบทางกายภาพและในระบบ ดิจิทัลจะผสานการท�ำงานร่วมกันได้อย่างราบรื่น นอกจากนี้ การโฮสต์แอปพลิเคชันเหล่านี้ไว้ที่เอดจ์จะช่วยปรับปรุงเรื่อง การบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ สินค้าคงคลัง และซัพพลายเชน เพื่อช่วยลดต้นทุนได้ด้วย เนื่องจากเอดจ์ได้กลายเป็นจุดเชื่อมต่อที่ส�ำคัญส�ำหรับ การรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลในพืน้ ที่ ซึง่ ไมโครดาต้าเซ็นเตอร์ จะให้ระบบโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการที่สามารถตั้งค่า การท�ำงานล่วงหน้าได้ในแบบ Plug and Play ซึง่ โหนดของเอดจ์ เหล่านี้จะถูกบริหารจัดการผ่านซอฟต์แวร์ระยะไกล ช่วยให้ เจ้าหน้าทีไ่ อทีสามารถดูแลให้ระบบท�ำงานต่อไปได้แม้วา่ จะไม่ได้ อยู่ที่หน้างานก็ตาม

เทคโนโลยีช่วยให้ทุกอย่างดำ�เนินต่อไปได้

ไม่มีอะไรเลวร้ายไปกว่าการต้องเสียลูกค้าไปในระหว่าง ขั้ น ตอนการช� ำ ระเงิ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น ร้ า นค้ า ออนไลน์ ห รื อ ในร้านค้าปกติกต็ าม ลูกค้ามักจะไม่อดทนรอในเวลาทีซ่ อฟต์แวร์ ประมวลผลการขายมีปญ ั หา และต้องใช้เวลานานกว่าจะกลับมา ท�ำงานได้ตามปกติ อย่าปล่อยให้เรือ่ งนีเ้ กิดขึน้ กับการขายของคุณ ควรลงทุนในเทคโนโลยีที่จ�ำเป็นเพื่อให้ทุกอย่างใช้งานได้ดีและ ต่อเนือ่ ง เทคโนโลยีอย่างตูแ้ ร็ก หรือระบบไมโครดาต้าเซ็นเตอร์ UPS ระบบรักษาความปลอดภัย ตลอดจนเครือ่ งมือบริหารจัดการ แบบคลาวด์เบส ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของสถาปัตยกรรม เอดจ์ที่แข็งแกร่ง


Scoop

> กองบรรณาธิการ

โครงการ RAC NAMA

การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (สฟอ.) และองค์กร ความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ได้จดั งาน “พิธเี ปิดและการสาธิตห้องทดสอบความปลอดภัยและ ประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องปรับอากาศที่ใช้สาร ท�ำความเย็นธรรมชาติ” ณ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารและมาตรฐาน สฟอ. (นิคมอุตสาหกรรมบางปู) เพื่อเปิดตัวห้องทดสอบ ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศที่ใช้สาร ท�ำความเย็นธรรมชาติ และเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนรับทราบข้อมูลด้านมาตรฐานความ ปลอดภัยของเครือ่ งปรับอากาศฉบับใหม่ (มอก. 1529-2561) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและ การลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศใน อุตสาหกรรมเครือ่ งปรับอากาศและเครือ่ งท�ำความเย็น หรือ RAC NAMA ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากกองทุน NAMA Facility โดยรัฐบาลสหราชอาณาจักรร่วมกับรัฐบาล สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี โครงการฯ ได้ดำ� เนินงานผ่าน องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ร่วมกับรัฐบาลไทย ได้แก่ ส�ำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) และการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในการสนับสนุนทั้งด้านเทคนิค ผลักดันด้านนโยบายและส่งเสริมมาตรการทางการเงินตัง้ แต่ เดือนเมษายน 2559

ภายใต้ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและ การลดก๊าซเรือนกระจกทีเ่ หมาะสมของประเทศในอุตสาหกรรม เครือ่ งปรับอากาศและเครือ่ งท�ำความเย็น (Thailand Refrigeration and Air-Conditioning Nationally Appropriat Mitigation Action : RAC NAMA) ทีด่ ำ� เนินการโดยองค์กรความร่วมมือของเยอรมัน (GIZ) “กองทุน RAC NAMA” ได้ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2560 เพือ่ ส่งเสริมเทคโนโลยีการท�ำความเย็นสีเขียวและสารท�ำความเย็น ธรรมชาติ โดยมีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็น ผูร้ บั ทุนในนามประเทศไทยและท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูจ้ ดั การเงินทุนโครงการ (Project Fund Manager) โดยตลอด 2 ปีผา่ นมา กองทุน RAC NAMA ได้สนับสนุนผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศและเครื่องท�ำความเย็นไทย ให้หนั มาใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติ ตลอดจนสนับสนุนเครือ่ งมือ และอุปกรณ์การฝึกอบรมเพื่อยกระดับฝีมือแรงงานและด้านการ ทดสอบผลิตภัณฑ์ เพือ่ ส่งเสริมความมัน่ ใจด้านความปลอดภัยให้แก่ ทั้งผู้ประกอบการ (Producers) และผู้ใช้ (End-Users)

ความเป็นมาของศูนย์ทดสอบ

เครือ่ งปรับอากาศทีจ่ ำ� หน่ายในประเทศไทยนัน้ จะต้องได้รบั ใบอนุญาตจากส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ซึ่งประเทศไทยมีการก�ำหนดมาตรฐานด้านประสิทธิภาพพลังงาน ทัง้ หมด 2 ประเภท ได้แก่ (1) มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขัน้ ต�ำ่ และ (2) มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นสูงภาคสมัครใจ ภายใต้ โครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ของ กฟผ. นอกจากนัน้ มาตรฐานด้านความปลอดภัยของเครือ่ งปรับอากาศ ฉบับใหม่ (มอก. 1529-2561) ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ 5 ตุลาคม 2563 ที่ผ่านมา ซึ่งมีข้อบังคับมาตรฐานครอบคลุม ถึงสารท�ำความเย็นติดไฟได้ ดังนัน้ เพือ่ เตรียมห้องทดสอบให้พร้อม ส�ำหรับมาตรฐานด้านความปลอดภัยฉบับใหม่นี้ และเพื่อรองรับ ผลิตภัณฑ์เครื่องปรับอากาศที่ใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติที่ก�ำลัง เข้าสู่ตลาดในอนาคต สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (สฟอ.) ซึ่ง เป็นห้องปฏิบตั กิ ารทดสอบในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม จึงร่วมมือ กับกองทุน RAC NAMA เพือ่ ปรับปรุงห้องทดสอบเครือ่ งปรับอากาศ โดยเป็ น การพั ฒ นาต่ อ ยอดจากอุ ป กรณ์ แ ละระบบเดิ ม ที่ มี อ ยู ่ ให้ปลอดภัยต่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล


การสาธิตห้องทดสอบความปลอดภัยและ ประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องปรับอากาศ ที่ใช้สารทำ�ความเย็นธรรมชาติ

เนื่ อ งด้ ว ยประเทศไทยถื อ เป็ น หนึ่ ง ในศู น ย์ ก ลาง อุตสาหกรรมเครือ่ งปรับอากาศและเครือ่ งท�ำความเย็นทีส่ ำ� คัญ ของโลก ในการนีจ้ งึ ถือเป็นโอกาสอันดียงิ่ ที่ สฟผ. กฟผ. และ GIZ ร่วมจัดพิธีเปิดห้องทดสอบดังกล่าวอย่างเป็นทางการ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนรับทราบ ข้อมูลด้านมาตรฐานการทดสอบและความปลอดภัยของ เครื่องปรับอากาศที่ใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติ และเพื่อ เน้นย�ำ้ การมีสว่ นร่วมของภาคอุตสาหกรรมไทยในการประหยัด พลังงานและการลดโลกร้อน

วัตถุประสงค์ของการจัดงานเพื่อเปิดตัวห้องทดสอบผลิตภัณฑ์ ในอุตสาหกรรมเครือ่ งปรับอากาศทีใ่ ช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติ ผ่านการ สนับสนุนทางด้านการเงินจากกองทุน RAC NAMA และเพือ่ ให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนรับทราบข้อมูลด้านมาตรฐานความ ปลอดภัยของเครื่องปรับอากาศฉบับใหม่ (มอก. 1529-2561) ในฐานะที่ ประเทศไทยถือเป็นหนึง่ ในศูนย์กลางอุตสาหกรรมเครือ่ งปรับอากาศและ เครือ่ งท�ำความเย็นทีส่ ำ� คัญของโลก จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ส�ำหรับผูป้ ระกอบการ ไทยที่ต้องพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและเตรียมความพร้อม ในการปรับตัวให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดทีก่ ำ� ลังจะประกาศใช้ อีกทัง้ ยังเป็น โอกาสอันดีในการพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตไปสู่การใช้สารท�ำความเย็น ธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพสูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ดร.ฟิลิปป์ พิชเกอะ ผู้อ�ำนวยการโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานและการลดก๊าซเรือนกระจกทีเ่ หมาะสมของประเทศ ในอุตสาหกรรม เครือ่ งปรับอากาศและเครือ่ งท�ำความเย็น (RAC NAMA) องค์กรความร่วมมือ ระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) กล่าวถึงบทบาทส�ำคัญของประเทศไทย ในอุตสาหกรรมเครือ่ งปรับอากาศของโลกว่า “ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิต เครือ่ งปรับอากาศและเครือ่ งท�ำความเย็นทีส่ ำ� คัญของโลก ด้วยส่วนแบ่งการตลาด กว่าร้อยละ 12 ในปัจจุบันการใช้พลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์ท�ำความเย็นและ ปรับอากาศคิดเป็นกว่าร้อยละ 60 ของการใช้พลังงานทั้งหมดในประเทศ และ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ ด้วยเหตุนี้โครงการ RAC NAMA จึงมีจดุ ประสงค์หลักเพือ่ สนับสนุนประเทศไทยให้สามารถบรรลุเป้าหมาย การลดการใช้พลังงานตามเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ โดยใน ระยะเวลากว่า 4 ปีทผี่ า่ นมา โครงการฯ สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพ การใช้พลังงานสูง และสารท�ำความเย็นธรรมชาติทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ผลักดัน ตลาดทัง้ ด้านอุปสงค์และอุปทาน รวมถึงการพัฒนากลยุทธ์เพือ่ เปิดโอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจ” “ภายในปี พ.ศ. 2564 ประเทศไทยวางแผนทีจ่ ะลงนามในพิธสี ารมอนทรีออล ฉบับแก้ไข (Kigali Amendment) เพื่อจ�ำกัดการใช้สารไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (Hydrofluorocarbons : HFCs) ที่มีค่าศักยภาพในการท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อน (ค่า Global Warming Potentials : GWP) และค่าศักยภาพในการท�ำลาย ชั้นบรรยากาศโอโซน (ค่า Ozone Depletion Potential : ODP) สูง และสนับสนุน การใช้สารท�ำความเย็นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” ดร.ฟิลิปป์ กล่าวเพิ่มเติม


มอก. 1529-2561 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ คุณลักษณะ ที่ต้องการด้านความปลอดภัย

การทดสอบด้านความปลอดภัยและประสิทธิภาพ พลังงานของอุปกรณ์ปรับอากาศและทำ�ความเย็น

มอก. 1529-2561 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันที่ 5 ตุลาคม 2563 เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์เครือ่ งปรับอากาศทีก่ ำ� หนด คุณลักษณะที่ต้องการด้านความปลอดภัยของเครื่องปรับอากาศ รวมถึงได้กำ� หนดวิธีการทดสอบที่เกี่ยวข้อง ขอบข่าย • ครอบคลุมเครือ่ งปรับอากาศทีม่ คี วามสามารถท�ำความเย็นทัง้ หมด ไม่เกิน 18,000 W หรือประมาณ 60,000 BTU • ขอบข่ายรวมถึงเครือ่ งปรับอากาศทีใ่ ช้สารท�ำความเย็นทีต่ ดิ ไฟได้ • รวมถึงเครื่องปรับอากาศที่ไม่ได้มีจุดประสงค์ส�ำหรับใช้ในที่อยู่ อาศัยปกติ แต่อาจจะเป็นสาเหตุกอ่ ให้เกิดอันตรายต่อสาธารณะ อาทิ เครื่องปรับอากาศในโรงงานอุตสาหกรรมเบา หรือฟาร์ม ความส�ำคัญของ มอก. 1529-2561 • สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ IEC 60335-2-40/AMD 1 : 2016 (Edition 5.1) • สมอ. ก�ำหนดให้เป็นมาตรฐานบังคับเพือ่ ความปลอดภัยของผูบ้ ริโภค โดยมีข้อก�ำหนดเพื่อความปลอดภัยในการใช้สารท�ำความเย็น ทีต่ ดิ ไฟได้ เช่น การต้องสร้างให้สารท�ำความเย็นไม่เกิดการรัว่ ไหล สะสมจนเป็นอันตราย การทนทานต่อการสั่นสะเทือน และ การป้องกันท่อที่สัมผัสสารท�ำความเย็น เป็นต้น • เป็นหนึ่งในมาตรการเพื่อลดการใช้สารท�ำลายชั้นบรรยากาศ โอโซน (Montreal Protocol) และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาด้าน เทคโนโลยีสารท�ำความเย็นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ห้องปฏิบัติการทดสอบ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีความพร้อมในการทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องท�ำความเย็นที่ใช้ สารท�ำความเย็นธรรมชาติ เช่น เครื่องปรับอากาศและตู้เย็นต่างๆ โดยสามารถรองรับการทดสอบตามมาตรฐานสากลและข้อก�ำหนด ด้านประสิทธิภาพพลังงานและความปลอดภัยของเครื่องใช้ไฟฟ้า มาตรฐาน (Standards) • TIS 1155, TIS 2134, TIS 2710, TIS 1529 • TIS 2186, TIS 455, TIS 2746, TIS 1235 • ISO 5151, ISO 13252, ISO 15042, ISO 16358 • ISO 15502, IEC 62552, ISO 23953 • IEC 60335-2-40, IEC 60335-2-89 • EGAT Label No.5 Energy Efficiency Programs ห้องปฏิบัติการทดสอบ (Testing Facilitie) • Balanced Ambient Room-Type Calorimeter up to 40,000 btu/hr. • Air-Enthalpy Method (Psychrometric Calorimeter) up to 80,000 btu/hr. • Walk-in Chambers for Household Refrigerating Appliances การทดสอบเครือ่ งปรับอากาศ (Air-Conditioner Testing) • Total Cooling/Heating Capacity • Energy Efficiency Ratio (EER or COP) • Cooling Seasonal Performance Factor (CSPF or SEER) • Heating Seasonal Performance Factor (HSPF) • Annual Performance Factor (APF) • Safety Requirements : Heating, Abnormal Leakage of Flammable Refrigerants, etc. การทดสอบเครื่องท�ำความเย็น (Refrigerating Appliance Testing) • Energy Consumption • Load Processing Efficiency • Total Volume and Energy Efficiency • Storage Temperature, Water Vapor, Condensation, Temperature Rise, Freezing and Ice-Making • Safety Requirements : Heating, Abnormal, Leakage of Flammable Refrigerants, etc.

(Air-Conditioner Safety Requirements)

ภาพรวมมาตรฐานเครื่องปรับอากาศของไทย มาตรฐาน เครื่อง ปรับอากาศ

คุณลักษณะ ส�ำหรับห้อง ประสิทธิภาพ ที่ต้องการ แบบแยกส่วน พลังงาน ด้านความ (ด้านสมรรถนะ) ปลอดภัย

มอก. 1529-2561 มอก. 1375 มาตรฐาน วิธีทดสอบ มอก. 513 และมาตรฐาน มอก. 812 ที่เกี่ยวข้อง ISO 817 ISO 5149 ISO 7010 ISO 14903

มอก. 1155-2557

มอก. 2134-2553

มอก. 812 มอก. 1529 มอก. 2134

มอก. 385 มอก. 812 มอก. 1155

(Energy Efficiency and Safety Testing Laboratory for HVAC Appliances)

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มก�ำหนดมาตรฐาน 4 กองก�ำหนดมาตรฐาน ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม โทร. 0-2202-3307 www.tisi.go.th







Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

Programmable Digital Meter

LUMEL ผู้ผลิตอุปกรณ์ในระบบออโตเมชั่นและเครื่องมือวัด

ทางไฟฟ้า ได้พฒ ั นา Digital Meter ชนิด Programmable ใน Series N32 ซึ่งประกอบไปด้วย • N32H : DC Circuit • N32U : Temperature, Resistance and Standard Signals • N32O : Pulses, Frequency, Rotational Speed • N32P : 1 Phase Power Network Meter

ซึ่งแต่ละรุ่นใช้ส�ำหรับวัดค่าในระบบที่แตกต่างกันไป แต่ทุกรุ่นจะ มีคุณลักษณะเด่นที่เหมือนกัน • หน้าจอเป็นชนิด LCD 2 บรรทัด ชนิดความเข้มสูง • ตัวเลขแสดงค่าจ�ำนวน 6 หลัก (สามารถตั้งค่าทศนิยมได้) • มีหน่วยการวัดให้เลือกได้ 56 แบบ (Unit) • เลือกหน่วยการวัดได้ด้วยตัวเอง • มี Port RS485 Modbus มาด้วยทุกตัว • มี Alarm 1 N/O มาด้วยทุกตัว (5A/250V a.c.) • มีหน่วยความจ�ำค่าสูงสุด-ต�่ำสุด

• สามารถเพิม่ Option Alarm 3 C/O ได้ (6A/250V a.c.) • สามารถเพิ่ม Option Analog Output (4-20mA) + Alarm 3 C/O ได้ • แสดงสถานะ Alarm ผ่านหน้าจอ • มี Real Time Clock • สามารถใส่ Password ป้องกันการเข้าถึงเมนูตั้งค่ำ • สามารถตั้งค่าด้วยปุ่มกดด้านหน้า หรือตั้งด้วย Software eCon (ผ่าน RS485) • ขนาดมาตรฐาน 48x96 มิลลิเมตร • ระดับป้องกันน�้ำ ฝุ่น IP65

ตัวอย่างหน้าจอ


cal Sa

y

 

fe t

Elec

tri

• voltage measurement ±600v (maximum range display ±1200 v), current measurement via shunt, power, energy and capacity measurement of d.c. circuits. • two-line lcd display with high contrast and built-in backlighting. • possibility of displaying the measured value and time simultaneously or an second measured value or unit (automatically displayed unit of measured quantity). • Wide range of voltage measurement at the shunt input up to 1500 mv. • high sampling frequency of measured signals. • programming parameters via buttons or rs-485 interface and free e-con software. • 4 alarm outputs with signaling on led diodes, working in 7 different modes (option). • pulse output to control energy consumption. • conversion of any measured value into an analog signal 0/4...20 ma or 0...10v (option). • memory of minimal and maximal values for all measured quantities. • automatic voltage measurement compensation function.

cat iii

ตัวอย่าง Application การใช้งาน

N30H

eXample of application

N32P

tri

• measurement of single-phase network parameters: voltage, current, active, reactive and apparent power, cos φ, tg φ, frequency, active, reactive and apparent energy, active power 15 minutes, voltage 10 minutes. • Current and voltage harmonics analysis up to 51st (measurements available via rs-485). ac• two-line LCD display with high contrastalarms and built-in backlighting. • possibility of displaying the measured value and time simultaneously or an second measured value N32H ordc unit (automatically displayed unit of measured quantity). • programmable measuring range (current 1 a / 5 a and voltage 100 V /230 V / 400 V). current, voltage, inverter • high sampling frequency of measured signals 8 khz.capacity, poWer, energy • programming parameters via buttons or rs-485 interface and free eCon software. • 4 alarm outputs with signaling on led diodes, working in 7 different modes (option). • possibility to program each of the alarms to react to a different measurements. • the function of the switch-on delay and switch-off delay of the alarm with the alarm event memory. • pulse output to control energy consumption. SCAdA • Conversion of any measured value into an analog signal 0/4...20 ma or 0...10V (option). • memory of minimal and maximal values for all measured quantities. • Choice of period and averaging method with the possibility of synchronizing the average value with the built-in real-time clock.

cal Sa y

V

V V

fe t

Elec

1-phase power network meter

rs-485

CAT III

energy netWorK

www.lumel.com.pl exampLe of appLiCation

energy storage / battery 1

N30P x/1 a x/5 a

RS-485

Modbus

SM61IoT

Data Logger

or x/100 V x/110 V 230 V 400 V

N32P sCaDa LumeL - proCess 0/4...20 mA

บริษทั แม็กซิ ไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

What is DC Circuit Breaker?

DC circuit breakers can be used to protect individual loads that work with direct current, or they can be used to protect main circuits such as those of inverters, solar PV arrays, or battery banks.

Differences Between DC Circuit Breaker and AC Circuit Breaker

DC and AC circuit breakers work with different types of electric current. As explained above, direct current produces a voltage output that has a constant value over time, while alternating current cycles between positive and negative voltage multiple times per second. The number of cycles per second for alternating current is standardized for every country, and it is 60 hertz or 50 hertz in the majority of cases. Electric grids normally provide AC power, while specialized industrial or battery-based applications tend to work with DC power. The following graph illustrates the difference in behavior between an AC voltage supply and a DC voltage supply: Neither type of electric supply is “better” than the other, and each one is suitable for different types of applications: AC is ideal for generation, long distance power transmission and operation of high-power motor devices; while DC is more practical when working with batteries, solar power installations or precision machinery that is easier to control with direct current. Lighting is very versatile, and sometimes different versions of the same lamp are available for direct current and alternating current. DC circuit breakers are frequently used in applications such as:


Application Application Application Application Application

Photovoltaic application Photovoltaic application Photovoltaic Photovoltaicapplication application Photovoltaic Application Photovoltaic application

PV ARRAY PV PVARRAY ARRAY ARRAY PV PV PV ARRAY ARRAY PV ARRAY

Application Application Application ESS Application Application ESS application ESS application ESS ESSapplication application ESS application

PV Combiner PV PVCombiner Combiner Combiner PV PV PV Combiner Combiner PV Combiner box box box box box box box

DC DCbreaker breaker DC DC breaker breaker DC breaker DC breaker /DC Switch /DC /DCSwitch Switch Switch /DC /DC /DC Switch Switch /DC Switch

PV INVERTER PV PVINVERTER INVERTER INVERTER PV PV PV INVERTER INVERTER PV INVERTER

AC ACbreaker breaker AC AC breaker breaker AC breaker AC breaker /AC Switch /AC /ACSwitch Switch Switch /AC /AC /AC Switch Switch /AC Switch


Hyundai DC Circuit Breaker Product Features

The HGP electronic type is equipped with intelligent electronic functions for the new era and has the highest breaking in the whole frame (100 kA at 500 V). In addition, various coordination such as selective breaking is possible, and maximizes energy efficiency through communication and power monitoring function.

Main Feature Features


Accessories

Connection Diagrams Valid

Accessories Certif icates Accessories

IEC Standards Connection diagrams valid Connection diagrams valid

Certificates Certificates

บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

IEC standards IEC standards 22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com


Special Area > Hitachi ABB Power Grids

Steel is a key material for the construction industry

The Challenge

Thailand is aiming to enhance its status as a regional logistics hub and for that it needs to continue investing in transport infrastructure and urbanization; this requires steel. Production of steel is an energy-intensive manufacturing process that needs efficient and reliable electricity supply. The steel-making process starts with melting of iron ore or recycled steel and ends with products such as steel coils, plates, sections or bars. The manufacturing processes requires high currents that enable extremely high tempera-tures and

frequent on-and off-switching for rapid cool down. These huge fluctuations in power consumption create voltage variations, stressing the electrical infrastructure, including transformers, to their limits. Transformers are critical assets in electrical networks. A transformer outage can cause substantial loss in in-dustrial production, for example if a furnace starts to cool down when it is not supposed to. Setting up smart condition monitoring and diagnostics for the transformer fleet and maintaining it efficiently is critical to prevent power outages and avoid loss of production.


gas units to Hitachi ABB Power Grids along with the TXpertTM HUB and APM Edge software.”

Impact

Hitachi ABB Power Grids experts undertook a detailed study to estimate the benefits of the TXpertTM Eco-system for Tata Steel, assuming standard operational conditions. The TXpertTM enabled transformers are expected to reduce downtime and failure rate by about 60% and increase life expectancy by about 35%. A substantial reduction in maintenance costs and time is also expected with the move from time-based maintenance to predictive maintenance practices.

Benefits of TXpertTM Ecosystem[3] :

• ~ 60% reduction in failure rate and asset downtime • ~ 35% increase in transformer lifespan • Reduced maintenance costs and time

The Solution

Tata Steel in Thailand is adopting intelligent devices and asset health management software from Hitachi ABB Power Grids open TXpertTM Ecosystem[1] for transformers in three of its manufacturing facilities[2]. These will provide actionable insights on the operational health of the fleet and help to reduce costs and risks, optimize opera-tions, extend life-expectancy and enhance environmental performance. “Power transformers are crucial for enabling the steelmaking process. It is very important for us to under-stand the condition of the transformer fleet to minimize the loss of revenue prolonging the time-between-failure and avoiding long timeto-repair.” said Dr.Aree Wangsupphaphol, Department Manager–Maintenance Expert Group, Tata Steel Thailand. “The TXpertTM Ecosystem from Hitachi ABB Power Grids immediately caught our attention as it delivers the highperformance characteristics and features needed to digitalize our transformers and achieve our vision of zero failures. To start with we, decided to install the CoreSenseTM M10 in one of our refurbished 72 MVA transformers. We are satisfied with the field performance of the unit and the ease of use. After very stringent assess-ment of several vendors, we decided to award the order for several CoreSenseTM M10 multi gas and CoreSenseTM single

[1] Project scope of Hitachi ABB Power Grids supply to TATA Steel Thailand : The digitalized transformers will be equipped with TXpertTM Hub (CoreTecTM 4), which will analyze data coming from TXpertTM Ready sensors. These sensors include Hitachi ABB Power Grids CoreSenseTM and CoreSenseTM, M10, digital devices for tracking the level of dissolved gases and moisture levels in transformer oil. Intelligence and data col-lected from the above will be collected and further analyzed with help of Hitachi ABB Power Grids APM Edge asset performance-management software, ensuring that these critical assets are always available and utilized optimally. [2] TATA Steel Thailand is one of the largest manufacturing facilities in Thailand and currently operates three manu-facturing plants–The Siam Construction Steel Co., Ltd. (SCSC), The Siam Iron (2001) and Steel Co., Ltd. (SISCO) and Tata Steel Manufacturing (Thailand) PLC. (TSMT). [3] Numbers were calculated specifically for TATA Steel Thailand and can also be calculated to support other cus-tomers according to their needs and operating conditions.


Special Area > Spectrum Instrumentation

A new economical solution for automated logic analysis and pattern generation

The new Digital I/O card with 32 channels and 125 MS/s for logic analysis or pattern generation

The release of a new Digital I/O card from Spectrum Instrumentation offers engineers and scientists a cost-effective way to generate and acquire fast digital signals. The model M2p.7515-x4 is a half-length PCIe card that measures just 168 x 107 mm (6.6 x 4.2 inches) in size. The tiny form factor means that it can be inserted into almost any desktop PC, turning it into a powerful tool for applications such as logic analysis or pattern generation. The card features 32 parallel channels that can be clocked at speeds up to 125 MHz. The channels are accessed from two standard Hirose FX2 connectors located on the front panel. When set for digital acquisition, the channels offer 3.3 V and 5 V TTL compatibility, making them suitable for use with a wide range of digital signals. In generation mode, the cards typically deliver output levels of 0.2 V for low states and 2.8 V for high states into high impedance. Designed for maximum versatility, the cards come with 1 GByte of on-board memory as standard and a variety of different acquisition and replay modes. For example, when generating patterns, the cards can operate in Single-shot, Multiple Replay (Burst), Gated Replay, Sequence and FIFO modes. These modes make it possible to generate almost any signal pattern. It is even possible to load new data to the on-board memory while replaying previously stored signals. Furthermore, the ability of the cards to use FIFO streaming, with a top transfer speed over the PCIe bus of 700 MB/s, enables users to generate constantly changing digital patterns for very long periods of time. Similarly, when acquiring digital signals, the cards support Single-shot, Multiple Recording, Gated Sampling and FIFO modes. Combining the different modes with the large on-board memory makes it easy to capture and monitor long and complex digital


signal patterns. To ensure timing precision, the cards feature a flexible internal clock design with an on-board reference that is accurate to better than 1 ppm. If required, they also support the use of a direct external clock or an external clock reference. The model M2p.7515-x4 is fully programmable and comes with drivers for Windows and Linux operating systems, as well as programming examples for C++, LabVIEW, MATLAB, Visual Basic.NET, Python and other popular programming languages. The choice lets users create their own test programs in whatever language they’re most comfortable with, speeding up development and efficiency. If a turnkey solution is required, Spectrum offers its own control software -- SBench 6 -- that allows signal generation, acquisition, display, processing, storage and reporting. Data can be acquired and stored with SBench 6 and then sent back to the M2p.7515-x4 at a later time for replay. Data sharing with other programs or devices, such as oscilloscopes, is also possible using built in import/export functions for transferring data in Binary, ASCII or Wave formats. Carsten Gralla, Managing Director at Spectrum Instrumentation, says: “The M2p.7515-x4 is our smallest Digital I/O card to date. It’s been designed to deliver a nice balance between price and performance, giving users a cost-effective solution whenever fast digital signals need to be acquired, generated and analysed. It also compliments our analogue signal acquisition and generation products, fitting in perfectly with the mid-range M2p.59xx Digitizer-series with 5 to 125 MS/s and 16-bit, plus the AWGs of the M2p.65xx series with 40 to 125 MS/s and 16-bit. These Digitizers and AWGs of the M2p family offer up to 8 channels per card.”

For applications that require synchronization between multiple cards, the M2p.7515-x4 also supports Spectrum’s unique Star-Hub clock and trigger distribution system. This option allows up to 16 cards of the M2p-family (Digitizers, AWGs and Digital I/O cards) to all share a common clock and trigger. For example, using Star-Hub together with 16 of the new M2p.7515-x4 cards could create a single system with 512 fully synchronized Digital I/O channels!

The M2p family now consists of 24 digitizer models, 14 AWG variants and the new Digital I/O card. Any 16 cards can be synchronized in a PC using the Star Hub option. With over 30 years of knowledge in designing and building fast Digitizers, AWGs and Digital I/O products Spectrum offers an industry-leading 5-year warranty for customer’s peace of mind. This includes free software and firmware updates for each unit’s lifetime. Additionally, customers get support directly from Spectrum’s hardware and software engineers. The M2p.7515-x4 is available now, with typical delivery being 2-3 weeks after the receipt of a purchase order.

About Spectrum Instrumentation

Spectrum Instrumentation, founded in 1989, uses modular design to create a wide range of digitizers and generator products as PC-cards (PCIe and PXIe) and stand-alone Ethernet units (LXI). In 30 years, Spectrum has gained customers all around the world, including many A-brand industry-leaders and practically all prestigious universities. The company is headquartered near Hamburg, Germany, and known for its outstanding support that comes directly from the design engineers.


IT Article

> กอร์ดอน ฮัฟฟ์ ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายการตลาดผลิตภัณฑ์หลัก, เร้ดแฮท

นับเป็นปีที่ 3 แล้ว ที่ เ ร้ ด แฮทจั ด ท� ำ รายงาน The State of Enterprise Open Source Report ซึง่ เป็นการส�ำรวจการใช้งาน และความคิดเห็นเกี่ยวกับเอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สของบริษัท ต่างๆ ใน พ.ศ. 2564 เร้ดแฮทจัดให้มีการสัมภาษณ์ผู้น�ำด้านไอที จ�ำนวน 1,250 คนทัว่ โลก ทีไ่ ม่จำ� เป็นต้องเป็นลูกค้าของเร้ดแฮทและ ไม่ทราบว่าเร้ดแฮทเป็นผูส้ นับสนุนการส�ำรวจนี้ ช่วยให้เร้ดแฮทได้รบั ค�ำตอบทีป่ ราศจากอคติหรือการโน้มน้าวใดๆ โดยค�ำถามส่วนใหญ่จะ เหมือนกับปีทผี่ า่ นมา ท�ำให้สามารถส�ำรวจแนวโน้มต่างๆ ได้ตลอดเวลา ในขณะเดียวกันก็ได้เพิ่มค�ำถามใหม่ๆ 2-3 ข้อไว้ในการส�ำรวจด้วย และ ในจ�ำนวนค�ำตอบทั้งหมด มีค�ำตอบหนึ่งที่สร้างความประหลาดใจมาก ไฮไลต์ส�ำคัญๆ จากรายงาน The 2021 State of Enterprise Open Source: A Red Hat Report มี 4 ผลลัพธ์ที่น่าสนใจ ดังนี้ 1. การเปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั เป็นเหตุผลอันดับต้นๆ ในการเลือกใช้โอเพ่นซอร์ส 2. เอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สเป็นเครื่องมือในการสร้างนวัตกรรม 3. คุณสมบัติส�ำคัญของเอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สคือความปลอดภัย 4. การมีส่วนร่วมของผู้ขายเทคโนโลยีในชุมชนโอเพ่นซอร์สเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ

The State of Enterprise Open Source 2021...

4 ผลลัพธ์

ที่อาจทำ�ให้คุณ ประหลาดใจ

ดิจิทล ั ทรานส์ฟอร์เมชันยังคงมีความสำ�คัญ อย่างต่อเนื่อง

จ�ำนวน 54% ของผู้ตอบแบบส�ำรวจกล่าวว่า ขณะนี้ความ ต้องการท�ำดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชันเป็นเหตุผลส�ำคัญในการเลือกใช้ เอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์ส ซึ่งจ�ำนวนนี้เพิ่มขึ้นถึง 11 จุดจากใน ช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้หมวดหมู่ที่คล้ายคลึงกัน เช่น การพัฒนำ แอปพลิเคชัน และ DevOps ก็ได้รับคะแนนที่ใกล้เคียงกันนี้ ทัง้ นีผ้ ตู้ อบแบบส�ำรวจระบุวา่ การท�ำดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน เป็นสิ่งส�ำคัญอันดับแรกในการระดมทุนด้านไอทีที่ไม่ใช่เชิงเทคนิค และ 21% ของผูต้ อบแบบส�ำรวจระบุวา่ ก�ำลังเร่งแผนงานด้านดิจทิ ลั ซึ่งน่าจะเป็นการรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ทีอ่ งค์กรเกือบทุกภูมภิ าคน�ำโอเพ่นซอร์สไปใช้ คือ น�ำไปใช้เพือ่ ปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานไอทีให้ทนั สมัย ถึงแม้วำ่ ในทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา (EMEA) มีการวางแผน จะท�ำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันพร้อมๆ กันก็ตาม ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องที่ น่าประหลาดใจแต่อย่างใด เพราะโอเพ่นซอร์สเป็นรากฐานของการ ปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานไอทีให้ทนั สมัยอยูแ่ ล้ว ทัง้ นีแ้ รงกระเพือ่ ม ของเอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สทีเ่ กีย่ วข้องมากกว่ากับการริเริม่ ทาง ธุรกิจทีส่ ำ� คัญ (เช่น ดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน) อาจคาดการณ์ได้ยาก

การเข้าถึงนวัตกรรมล่าสุดเป็นคุณประโยชน์หลัก ที่สำ�คัญ

แม้ว่าสิ่งส�ำคัญที่สุดในการใช้เอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์ส ยังคงเป็นเรื่องของการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานไอทีให้ทันสมัย แล้ว จะท�ำให้ข้อมูลในอดีตที่เป็นเรื่องของการลดต้นทุนโดยรวม

ถูกลดความส�ำคัญลงมาอยูใ่ นอันดับที่ 5 ของรายการ ในทางกลับกัน เอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สยังคงได้รบั ความนิยมต่อไป จากเหตุผล ที่ผู้ใช้พิจารณาว่ามีราคาถูกกว่าและเป็นทางเลือกที่ดีพอๆ กับ ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ ไปจนถึงจุดที่ผู้ใช้เห็นว่าเป็นเทคโนโลยีที่ดีกว่ำ อย่างแท้จริง โอเพ่นซอร์สดีกว่าในด้านใดบ้าง... ผู้ตอบแบบส�ำรวจระบุว่า สิ่งหนึ่งที่ดีกว่าของโอเพ่นซอร์ส คือ มีคุณภาพสูงกว่า นั่นคือคุณประโยชน์สูงสุดที่พวกเขาเห็นจาก เอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์ส ส่วนการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี โอเพ่นซอร์สได้อย่างปลอดภัยนั้นมาเป็นอันดับที่ 4 สิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนี้เชื่อมโยงกับคุณประโยชน์อันดับที่ 2 คือ ความสามารถในการเข้าถึงนวัตกรรมได้เป็นอย่างดี การที่ผู้น�ำ ด้านไอทีที่ตอบแบบส�ำรวจครั้งนี้ได้กล่าวถึงคุณประโยชน์เหล่านี้ เป็นการชี้ให้เห็นว่า พวกเขาเห็นว่าเอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สคือ แนวทางที่ช่วยให้พวกเขาน�ำซอฟต์แวร์ล้�ำสมัยมาปรับใช้ในธุรกิจ ของตนได้อย่างเชื่อถือได้

นอกเหนือจากคุณภาพคือความปลอดภัย

ความปลอดภั ย ถื อ เป็ น คุ ณ ภาพชนิ ด หนึ่ ง การที่ ผู ้ ต อบ แบบส�ำรวจจัดให้ความปลอดภัยส�ำคัญเป็นอันดับ 3 โดยพิจารณำ จากเหตุผล 2 ประการ ประการแรก ความปลอดภัยเป็นประเด็น ที่ถูกกล่าวถึงกันอยู่แล้ว อีกประการหนึ่งคือ ผลกระทบด้านความ ปลอดภัยของความพร้อมใช้งานซอร์สโค้ดแบบแอนะล็อก ทีใ่ ช้ระบบ การรักษาความปลอดภัยแบบกายภาพทีเ่ คยเป็นประเด็นถกเถียงกัน (และยังคงเป็นประเด็นอยู่ในบางครั้ง)


แต่ในมุมมองที่ว่า โอเพ่นซอร์สโค้ดมีความเสี่ยงลดน้อยลง นั้น ผลส�ำรวจระบุว่า 30% ของผู้ตอบแบบส�ำรวจเห็นว่าการรักษำ ความปลอดภัยทีด่ ขี นึ้ เป็นหนึง่ ในคุณประโยชน์สำ� คัญ 3 อันดับแรก ในขณะที่อีก 87% เห็นว่าเอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์ส “ปลอดภัย กว่า” หรือ “ปลอดภัย” เทียบเท่ากับซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ นอกจากนี้ เรายังได้ส�ำรวจความเห็นในวงกว้างมากขึ้น ซึ่งเราพบว่า 84% ของผู้ตอบแบบส�ำรวจระบุว่า เอ็นเตอร์ไพรส์ โอเพ่นซอร์ส “เป็นส่วนส�ำคัญของกลยุทธ์ด้านความปลอดภัย ขององค์กร” และอีก 75% กล่าวว่าพวกเขาไว้ใจเอ็นเตอร์ไพรส์ โอเพ่นซอร์สเนื่องจากผ่าน “[...] กระบวนการตรวจสอบที่เข้มงวด และการทดสอบเชิงพาณิชย์เพื่อรับรองว่าเป็นโค้ดที่มีคุณภาพ”

ที่มาของนวัตกรรม

ชุมชนโอเพ่นซอร์สซอฟต์แวร์เป็นที่ที่นวัตกรรมจ�ำนวนมาก ข้างต้นเกิดขึน้ ในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ปจั จุบนั การได้เห็นโครงการ โอเพ่นซอร์สทัง้ หมดในรูปแบบของคลาวด์เนทีฟและแมชชีนเลิรน์ นิง่ ให้ความรู้สึกที่ดี ซึ่งเห็นได้จากตัวเลขผลส�ำรวจที่ยืนยันความคิดนี้ และเอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สยังมอบแนวทางให้ธรุ กิจใช้ประโยชน์ จากนวัตกรรมเหล่านั้นได้อย่างปลอดภัย การให้ บ ริ ก ารเอ็ น เตอร์ ไ พรส์ โ อเพ่ น ซอร์ ส ให้ กั บ ลู ก ค้ ำ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จ�ำเป็นต้องมีผขู้ ายเทคโนโลยีทเี่ ข้าร่วม โครงการโอเพ่นซอร์สต่างๆ ตัง้ แต่เริม่ ต้น นัน่ คือวิธที เี่ ร้ดแฮทพัฒนำ ความเชีย่ วชาญทีจ่ ำ� เป็นต่อการรองรับผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ของบริษทั ฯ สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ท�ำให้เร้ดแฮทอยู่ในจุดที่ดีที่สุดในการก�ำหนดทิศทาง ของโครงการเพื่อประโยชน์ของลูกค้า แต่มีค�ำถามว่าผู้น�ำด้านไอที

ทัง้ หลายให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนีห้ รือไม่ และมองเห็นความแตกต่าง ระหว่ า งผู ้ ข ายเทคโนโลยี ที่ น� ำ เสนอโครงการโอเพ่ น ซอร์ ส แบบ เรื่อยเฉื่อย กับผู้ขายที่ช่วยผลักดันโครงการให้เกิดความก้าวหน้ำ อย่างกระตือรือร้นหรือไม่ ตอนที่ตัดสินใจเพิ่มค�ำถามใหม่นี้ เร้ดแฮทคาดว่าจะมีผู้ตอบ แบบส�ำรวจเพียงไม่กี่คนที่จะให้ความสนใจเรื่องนี้ แต่คาดการณ์ผิด และต้องยกความดีความชอบนี้ให้กับผู้ตอบแบบส�ำรวจที่ 38% ระบุวา่ “มีโอกาสมากกว่า” ทีจ่ ะเลือกผูข้ ายเทคโนโลยีทมี่ สี ว่ นร่วม กับชุมชนโอเพ่นซอร์ส ในขณะทีอ่ กี 45% ระบุวา่ “มีโอกาสค่อนข้าง มาก” ที่จะเลือกเช่นนั้น การศึกษาเรื่อ งเอ็นเตอร์ไ พรส์โอเพ่น ซอร์สที่เร้ดแฮทได้ ด�ำเนินการมาเป็นเวลา 3 ปีได้บอกเล่าเรือ่ งราวทัง้ หมดอย่างชัดเจน ผูน้ ำ� ด้านไอทีจำ� นวนมากเห็นว่าโอเพ่นซอร์สซอฟต์แวร์เป็นซอฟต์แวร์ ที่เหนือชั้นด้วยคุณภาพที่สูงกว่า มีนวัตกรรมมากกว่า และมีความ ปลอดภัยมากกว่าทางเลือกอื่นๆ นอกจากนี้ พวกเขายั ง พึ ง พอใจกั บ คุ ณ ค่ า ทั้ ง หมดของ เอ็นเตอร์ไพรส์โอเพ่นซอร์สที่ได้รับบริการจากผู้ขายเทคโนโลยี ที่มีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการพัฒนาโอเพ่นซอร์ส มากกว่าผู้ขาย ที่เพียงแค่น�ำโค้ดที่เป็นโอเพ่นซอร์สมาเรียบเรียงเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อขายเท่านั้น ในภาพรวมเป็นที่ยอมรับกันว่าเอ็นเตอร์ไพรส์ โอเพ่นซอร์สก�ำลังเพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั อนาคตของซอฟต์แวร์ อ่านรายงานฉบับเต็มได้ที่ The State of Enterprise Open Source: A Red Hat Report


> Gordon Haff, Senior Principal Product Marketing Manager, Red Hat

We’re now in the third year of our The State of Enterprise Open Source Report in which we probe the use of and attitudes about enterprise open source. This year we conducted interviews with 1,250 IT leaders worldwide. They were not necessarily Red Hat customers and were unaware that Red Hat was the sponsor of this survey, helping us to avoid biased or influenced responses. Most of the questions were repeats from prior years, allowing us to explore trends over time, but we also threw in a few new ones too and got one answer that even we were not fully expecting. We encourage you to read the whole The 2021 State of Enterprise Open Source: A Red Hat Report. However, here are some highlights: 1. Digital transformation is a top use case for open source 2. Enterprise open source is an innovation engine 3. Security of enterprise open source is an important benefit 4. Vendor participation in open source communities matters

The State of Enterprise Open Source 2021 :

Four results that may surprise you (If you haven’t been paying attention)

Digital transformation continues to gain in importance

The majority (54%) now say that digital transformation is an important use of enterprise open source, a number that’s climbed 11 points over the past two years. Closely related categories like application development and DevOps now score similarly as well. It’s a busy time for digital transformation efforts generally. Our 2021 Global Tech Outlook also found a digital transformation focus. It was the top non-technical IT funding priority for respondents and 21% were accelerating their plans —possibly a reaction to COVID-19. Infrastructure modernization remains the most important use cited for enterprise open source in most geographies, although it’s in a tie with digital transformation in EMEA. Given that the roots of open source often lie in infrastructure modernization, this is not surprising. Enterprise open source’s momentum in categories more associated with important business initiatives (like digital transformation) may have been harder to foresee.

Access to the latest innovations is a key benefit

If infrastructure modernization remains an important use of enterprise open source, the historically associated benefit

of lower total cost of ownership is now well down the list tied for the fifth spot. Instead, enterprise open source continues its march from being seen as a less expensive and good enough alternative to proprietary software to a place where it is seen as genuinely better. Better in what way? For one thing, our respondents say it’s higher quality. That’s the top benefit they see from enterprise open source. Its ability to safely leverage open source technologies comes in at number four. These dovetail nicely with the second-place benefit, access to innovation. Collectively, these benefits cited by the IT leaders in our survey indicate they see enterprise open source as a way to obtain cutting-edge software that they can also deploy responsibly in their businesses.

Beyond quality to security

Security is, in a sense, a form of quality. But this third place benefit cited by our respondents is worth considering on its own for a couple of reasons. For one, security is a white-hot topic. For another, the security impact of source code availability based on analogs with physical security systems used to be a matter of some debate (and occasionally still is). But the view that open source code carries risk is waning. In fact, in addition to the 30% who see better security as a


top three benefit, 87% see enterprise open source as “more secure” or “as secure” as proprietary software. We also explored attitudes more broadly. 84% indicate that enterprise open source “is a key part of my organization’s security strategy.” 75% say they trust enterprise open source because it undergoes “[...] a stringent vetting process and commercial testing to ensure quality code.”

Where the innovation comes from

Open source software communities are the places where much of the aforementioned innovation in today’s software industry happens. A glance at all the open source projects in the cloud-native and machine learning spaces gives a good sense of this; our survey’s numbers confirm it. And enterprise open source provides the path for businesses to safely make use of all that innovation. Delivering enterprise open source to customers most effectively requires a vendor to actively participate in the upstream open source projects. That’s how we develop the expertise needed to best support our products. It’s what puts us in the best position to influence project directions for the benefit of our customers. But do IT leaders care about any of this? Do they see any difference between vendors who passively consume open source projects versus those who actively help push them forward?

Our guess, when we decided to add this new question was that a few would probably care. We were wrong. I guess we weren’t giving enough credit to the IT leaders who took our survey. 38% are “much more likely” to select a vendor who contributes; another 45% are “somewhat more likely” to do so.

Summing it up

Our three years of enterprise open source studies tell a clear story. IT leaders widely view enterprise open source software as a superior form of software with higher quality, more innovation, and even better security than the alternatives. Furthermore, they also widely appreciate that the full value of enterprise open source is provided through vendors who actively participate in the open source development model rather than just repackaging open source code. Collectively, it’s a recognition that enterprise open source is increasingly the future of software.

There are even more details in our survey and we invite you to dive into the full results, The State of Enterprise Open Source: A Red Hat Report.


IT Article

> ฟาบิโอ ทิวิติ รองประธาน บริษัท อินฟอร์ อาเชียน

ซัพพลายเชนที่ทน ั สมัย ต้องอยู่บนคลาวด์ องค์ ก รด้ า นซั พ พลายเชนจะต้ อ งมั่ น ใจว่ า ขั้ น ตอนการท� ำ งานต่ า งๆ ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น ไปอย่ า ง เหมาะสม และมีการใช้เครือ่ งมือดีทสี่ ดุ ในทุกขัน้ ตอน การท�ำงาน ไม่วา่ จะเป็นการคาดการณ์ความต้องการ การจัดซื้อ การผลิต การจัดการสินค้าคงคลัง และ โลจิสติกส์ รวมถึงงานทุกอย่างที่เกิดขึ้นระหว่าง กระบวนการเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ไม่วา่ ความกดดัน จะเกิดจากระบบซัพพลายเชนของโลกมีความซับซ้อน มากขึ้น หรือต้องการสร้างความแตกต่างในตลาด ด้วยอัตราก�ำไรทีล่ ดลงก็ตาม เครือ่ งมือในการบริหาร จัดการซัพพลายเชนรุ่นเก่าก็ไม่สามารถสนองตอบ ต่อเป้าหมายขององค์กรด้านซัพพลายเชนในปัจจุบนั ได้ ซึง่ เป้าหมายดังกล่าวนีก้ าร์ทเนอร์ได้ระบุไว้วา่ คือ “ต้องมัน่ ใจได้วา่ ซัพพลายเชนจะมีประสิทธิผลทีด่ ี คล่องตัว และตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า ถึงแม้จะมีความท้าทายจากความผันผวน ความ ไม่แน่นอน ความซับซ้อน และความคลุมเครือ ก็ตาม” เทคโนโลยี ไ ด้ พั ฒ นาไปถึ ง จุ ด ที่ ส ามารถ สนับสนุนให้เกิดการแบ่งปันข้อมูลอย่างกว้างขวาง ระหว่ า งสมาชิ ก ที่ อ ยู่ในระบบนิเวศซัพ พลายเชน ด้วยกัน รวมถึงช่วยให้องค์กรสามารถรวบรวมข้อมูล เข้าด้วยกัน และตีความข้อมูลนัน้ เพือ่ น�ำไปใช้ในการ ตัดสินใจได้ดีขึ้น แพลตฟอร์มที่ทันสมัยต่างๆ เช่น คลาวด์และเครือ่ งมือทีท่ นั สมัย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และอินเทอร์เน็ตออฟธิงค์ (IoT) ช่วยเสริมศักยภาพ ให้องค์กรด้านซัพพลายเชนสามารถประเมินและ ตัดสินใจด�ำเนินงานด้านต่างๆ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดได้

พัฒนาจากการตั้งรับ เป็นซัพพลายเชนเชิงรุก

ถึงแม้วา่ ระบบนิเวศซัพพลายเชนจะประกอบ ไปด้วย เครือข่ายของซัพพลายเออร์ พันธมิตรทาง

การค้า ผู้ให้บริการด้านการเงิน และลูกค้าทั่วโลก แต่ซพั พลายเชนจ�ำนวนมากก็ยงั คงด�ำเนินงานไปทีละ ขัน้ ตอน งานใครงานมันตามแนวทางทีเ่ คยท�ำกันมา โดยต่างก็ให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษต่อกฎข้อบังคับ ขององค์กรตน แต่เนือ่ งด้วยกระบวนการและข้อมูล ต่างๆ ของซัพพลายเชนมากกว่า 80% เกิดขึน้ ภายนอก องค์กรแต่ละแห่ง การใช้เทคโนโลยีทจี่ ะช่วยให้องค์กร สามารถแบ่งปันข้อมูลและท�ำงานร่วมกันได้ (ทีไ่ ม่ได้ ร่วมงานกันโดยตรง และเป็นการท�ำงานนอกองค์กร) จึงเป็นสิง่ จ�ำเป็น เพราะจะช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ การท�ำงานของซัพพลายเชนทั้งระบบตั้งแต่ต้นทาง จนถึงปลายทางให้กับพันธมิตรและลูกค้า นอกจากนี้ ปริมาณการรวบรวมและแบ่งปัน ข้อมูลจ�ำนวนมากที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมธุรกิจ ปัจจุบัน มักจะเกินขีดความสามารถของระบบและ ซอฟต์แวร์รุ่นเก่าที่จะรองรับได้ แต่การใช้ฟังก์ชันที่ จ�ำเป็นและที่ได้รับการอัปเดตแล้วนั้น จะต้องมีการ อัปเกรดที่ดีและมีค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งยากที่จะจัดการ เองภายในองค์กร โซลูชนั ทีท่ ำ� งานบนคลาวด์จะช่วย ขจัดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานและการลงทุนที่ องค์กรอาจต้องรับภาระเพื่อให้ได้ฟังก์ชันที่จ�ำเป็น ต้องใช้งาน ระบบและซอฟต์ แ วร์ รุ ่ น เก่ า ยั ง หมายถึ ง การทีอ่ งค์กรต่างๆ มักต้องพึง่ พากระบวนการทีล่ า้ สมัย เช่น การใช้สเปรดชีทและอีเมลเพื่อคัดเลือกและ แบ่งปันข้อมูล กระบวนการแบบแมนนวลเช่นนี้ อาจเป็นอุปสรรคต่อการผลิตและการตัดสินใจได้ การบริหารจัดการซัพพลายเชนในปัจจุบันจ�ำเป็น ต้องใช้ระบบอัตโนมัติ ต้องมีประสิทธิภาพและความ รวดเร็วในการท�ำงาน เครื่องมือที่ทำ� งานบนคลาวด์ เช่น แมชชีนเลิรน์ นิง่ (ML), AI, IoT และดิจทิ ลั ทวินส์ (Digital Twins) มีสมรรถนะต่างๆ ทีอ่ งค์กรต้องการใช้ เพื่อเก็บรวบรวมและด�ำเนินการตามการวิเคราะห์ และข้อมูลเชิงลึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ


Photo by ThisIsEngineering from Pexels

การใช้มุมมองแบบองค์รวมของซัพพลายเชนเช่นนี้ ท�ำให้ เกิดการปรับเปลี่ยนการด�ำเนินงานซัพพลายเชนจากแบบ “ดั้งเดิม” ไปเป็นแนวทางที่ “ท�ำงานเชือ่ มโยงกันทัง้ ระบบเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล (Value Chain Orchestration)” ซึ่งสิ่งนี้ไม่เพียงแต่ เกีย่ วข้องกับการปรับเปลีย่ นจากงานแบบแมนนวลไปเป็นกระบวนการ ท�ำงานแบบอัตโนมัติเท่านั้น แต่ยังหมายถึงการก�ำจัดการท�ำงาน แบบไซโลออกไปด้วยแอปพลิเคชันคลาวด์ที่ทันสมัย สามารถมอบ สมรรถนะในการมองเห็นและควบคุมซัพพลายเชนได้ทงั้ ระบบตัง้ แต่ ต้นทางถึงปลายทาง เมือ่ องค์กรสามารถตัดสินใจเชิงรุกได้มากขึน้ ก็จะตอบสนอง ต่อเหตุการณ์ตา่ งๆ ได้รวดเร็วขึน้ เครือ่ งมือต่างๆ บนระบบคลาวด์ สามารถเปลี่ยนซัพพลายเชนรุ่นเก่าให้กลายเป็นซัพพลายเชนที่มี ความยืดหยุน่ และคล่องตัว พร้อมทีจ่ ะปรับเปลีย่ นเมือ่ ต้องการและ ก้าวล�้ำน�ำหน้าคู่แข่งได้

ค้นหาพันธมิตรด้านคลาวด์ที่เหมาะสม

การปรับใช้โซลูชันซัพพลายเชนบนระบบคลาวด์ที่ทันสมัย มักจะสามารถน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย ด้วยโซลูชันใหม่ที่พร้อมใช้งานภายในไม่กี่สัปดาห์ แทนที่จะต้องใช้ เวลานานหลายปีเหมือนกับการใช้งานแบบ On-Premises โดยปกติ โซลูชันบนคลาวด์จะรวมเครื่องมือทั้งหมดที่องค์กรจ�ำเป็นต้องใช้ ในการจัดการ Value Chain ดิจิทัลไว้ทั้งหมด แต่การทรานส์ฟอร์ม สู่ดิจิทัลของการจัดการซัพพลายเชนองค์กรไม่จ�ำเป็นต้องใช้ความ พยายามมากมายรอบด้านขนาดนั้น ดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชันอาจบรรจุอยูใ่ นกระบวนการด้านกลยุทธ์ และแผนงานทีไ่ ด้วางไว้อย่างดี เช่น โครงการเล็กๆ ทีป่ รับให้เหมาะ

กับแบนด์วิดท์ งบประมาณ และความต้องการที่เกิดขึ้นทันทีทันใด ขององค์กร องค์กรต่างๆ ยังสามารถใช้วธิ กี ารแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยแบ่งเป้าหมายที่ใหญ่กว่าออกเป็นส่วนเป็นช่วงๆ ที่สามารถ จัดการได้สะดวก ผลก�ำไรทีไ่ ด้จากแต่ละช่วงยังอาจน�ำไปเป็นทุนให้กบั การท�ำงานช่วงต่อไป นอกจากนี้ ความส�ำเร็จในช่วงแรกๆ จะสร้าง แรงกระเพือ่ มและช่วยให้ได้รบั การสนับสนุนระหว่างการทรานส์ฟอร์ม สู่ดิจิทัลได้ เมื่อเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมเพื่อปรับปรุงซัพพลายเชน ให้ทันสมัยได้แล้ว องค์กรต่างๆ ควรร่วมมือกับผู้ให้บริการคลาวด์ ที่สามารถช่วยให้องค์กร “Go Lives” ระบบได้เร็วขึ้น เพื่อลดเวลา ในการเปลีย่ นแปลงระบบและการหยุดชะงักของธุรกิจให้เหลือน้อย ทีส่ ดุ และถึงแม้จะมีการใช้งานโซลูชนั ใหม่แล้วก็ตาม แต่ผใู้ ห้บริการ คลาวด์ควรให้บริการการอัปเดตฟังก์ชันและฟีเจอร์ที่ราบรื่น โดยมี ดาวน์ไทม์เพียงเล็กน้อยหรือไม่มเี ลย ซึง่ จะช่วยให้องค์กรได้ใช้นวัตกรรม ที่เสถียรและมีการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการทางธุรกิจที่ดีที่สุด

ทรานส์ฟอร์มซัพพลายเชน

การยึดติดอยู่กับเทคโนโลยีและระบบแมนนวลที่ผ่านการ พิสูจน์และใช้งานมานานแล้ว เป็นเรื่องท้าทายที่อาจท�ำให้ลูกค้า เข้ามามีสว่ นร่วมกับองค์กรได้ยาก การเพิกเฉยไม่ใส่ใจต่อเทคโนโลยี ดิจทิ ลั เพียงเพราะองค์กรเห็นว่าสิง่ เหล่านีย้ งั ไม่ได้รบั การรับรองหรือ ยังมีความเสี่ยงสูง จะท�ำให้องค์กรไม่สามารถบรรลุศักยภาพสูงสุด ของตนเองได้ โซลูชนั ทีใ่ ช้ระบบคลาวด์นำ� เสนอวิธกี ารต่างๆ ส�ำหรับ องค์กรที่จะทรานส์ฟอร์มซัพพลายเชนของตน เพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการใหม่ๆ ของระบบซัพพลายเชนที่ก�ำลังพัฒนาทั้งใน ปัจจุบันและในอนาคต


> Fabio Tiviti, Vice President, ASEAN, Infor

Modern Supply Chains Belong in The Cloud Supply chain organizations need to ensure that their processes are performing optimally and that they’re leveraging the best tools to cover every step–from demand forecasting to procurement to manufacturing to inventory handling and logistics, and everything in between. But whether pressure is coming from increasingly complex global supply chains or the need to create differentiation in a market with shrinking margins, yesterday’s supply chain management tools can no longer keep up with the objective of today’s supply chain organizations, which according to Gartner is: “Ensuring supply chain outcomes that are agile and responsive to customers’ expectations, despite the challenges from volatility, uncertainty, complexity and ambiguity.” Technology has evolved to where it can facilitate enhanced information sharing between members of the supply chain ecosystem, as well as allow organizations to effectively synthesize and interpret that information for improved decision-making. Modern platforms, such as the cloud–as well as modern tools, such as artificial intelligence (AI) and the internet of things (IoT)– empower supply chain organizations to evaluate and implement decisions that drive the best possible outcomes.

Evolve from a reactive to a proactive supply chain

Despite being comprised of a global network of suppliers, trading partners, finance providers, and customers, many supply chains

still operate along a linear approach–with organizations focusing almost exclusively on their individual mandates. Yet with more than 80% of supply chain processes and data occurring outside of any single enterprise, adopting technology that allows organizations to share information and collaborate (in a nonlinear manner, beyond an organization’s own “four walls”) is necessary to help improve the performance of the entire supply chain–upstream and downstream, for partners and customers. In addition, the sheer volume of data collection and sharing that occurs in today’s business environment is often beyond the capabilities of aging systems and software. But implementing the needed, updated functionality can require substantial and costly upgrades that are difficult to manage in-house. Cloud-based solutions help remove the operational overhead and capital expenditures with which organizations would otherwise be burdened in order to achieve the necessary level of functionality. Aging systems and software also mean that organizations often rely on antiquated processes, such as spreadsheets and email to extract and share data. Manual processes like these can hamper productivity and hinder decisionmaking. Today’s supply chain management requires automation, efficiency, and speed. Cloudbased tools such as machine learning, AI, IoT, and digital twins can provide the capabilities that organizations need to effectively capture and act upon insightful analytics and information.


Photo by Nataliyahora - www.canva.com

Taking such a holistic view of the supply chain entails transitioning from “traditional” supply chain operations to more of a “value chain orchestration” approach. Not only does this involve a shift from manual tasks to automated processes, it also means the elimination of operational silos. Modern, cloud applications can help deliver the capabilities for end-to-end supply visibility and control. As organizations are able implement more proactive decisioning capabilities, less time is spent reacting. Cloudbased tools can help transform a rigid supply chain into one that possesses flexibility and agility to adjust as needed and stay ahead of the competition.

Find the right cloud partner

A modern, cloud-based supply chain solution deployment can often be implemented easily and quickly–with a new solution up and running in weeks, instead of the years it can take for a traditional, on-premises implementation. Cloud-based solutions typically include all the tools an organization could need to digitally manage its entire value chain. But the digital transformation of an organization’s supply chain management doesn’t need to a monumental and all-encompassing endeavor. Digital transformations can occur through strategic, well-planned processes–in small projects tailored for an

organization’s bandwidth, budget, and immediate needs. Organizations can also adopt a phased approach that breaks the larger goal down into manageable portions. The gains from each phase can even help to fund subsequent phases–early wins can build momentum and generate support during the transformation. When selecting the right tools to modernize supply chains, organizations should partner with cloud providers that can provide quicker “go lives” in order to minimize changeover time and business disruption. And even once a new solution is operational, the cloud provider should be able to seamlessly deliver functionality and feature updates with little to no downtime–allowing the organization to utilize constant innovation and best-in-class business process improvements.

Transform the supply chain

Sticking with time-proven technologies and manual systems can make it challenging for customers to engage with organizations. Ignoring digital technologies because an organization regards them as unproven or high-risk, will keep the organization from achieving its full potential. Cloud-based solutions offer the means for organizations to transform their supply chains to meet the modern demands of today’s and tomorrow’s evolving supply chains.


ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ขยายศักยภาพ

PowerTag Energy Sensor

รองรับกระแสไฟฟ้าสูงถึง 2000A

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric) น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ PowerTag Sensor เพิ่มรุ่นที่รองรับกระแสไฟได้ถึง 2000A ซึ่งเป็นเซนเซอร์ พลังงาน Class 1 แบบไร้สายทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ในโลก ออกแบบมาเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การตรวจสอบการใช้พลังงานไฟฟ้า มาพร้อมการเชื่อมต่อที่ง่ายและกะทัดรัด ส�ำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าโดยใช้การสื่อสารแบบไร้สาย โดย PowerTag Energy ให้การตรวจสอบและการวัดพลังงานที่แม่นย�ำ ทั้งในการใช้พลังงานภาพรวม และระดับโหลด

PowerTag Energy ใหม่ เพิม่ สมรรถนะในการรองรับกระแสไฟสูงขึน้ ด้วยผลิตภัณฑ์ ใหม่ PowerTag Flex ที่รองรับกระแสได้ 160A และ PowerTag Rope รองรับกระแสได้ ตัง้ แต่ 600A ถึง 2000A นับว่า PowerTag Energy ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค มีความสามารถ ในการรองรับกระแสไฟได้อย่างครอบคลุมมากถึง 2000A ไม่ว่าจะเป็น PowerTag Energy รุ่นเดิมในระดับเริ่มต้นที่รองรับกระแสได้ 63A และ PowerTag Energy ชนิดที่ใช้กับ NSX Circuit Breaker ที่รองรับกระแสได้ 250/630A นับเป็นการน�ำเสนอที่ครอบคลุมทุกความ ต้องการใช้งานอย่างแท้จริง PowerTag Energy ถูกออกแบบมาส�ำหรับอาคารและโรงงานทุกประเภท ช่วยตรวจวัด กระแสไฟฟ้า รวมถึงแรงดัน ก�ำลังไฟฟ้า ค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า และค่าพลังงานไฟฟ้า โดยข้อมูลจะถูกส่งผ่านคลื่นวิทยุแบบไร้สายไปยัง Concentrator ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นสัญญาณ Modbus TCP/IP ส่งข้อมูลให้กับระบบบริหารจัดการพลังงาน ระบบบริหารจัดการอาคาร หรือระบบ SCADA ของโรงงานได้ โดยผู้ใช้สามารถดูผา่ นหน้าเว็บเพจ พร้อมปรับแต่งให้มี การแจ้งเตือนผ่านอีเมลและ SMS ได้ (โดยใช้อุปกรณ์เสริม) ทั้งยังช่วยให้ผู้ดูแลระบบไฟฟ้า สามารถตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าได้จากระยะไกล ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่เป็นการสื่อสารผ่าน ระบบไร้สายโดยไร้สิ่งรบกวน สามารถติดตั้งและใช้งานได้อย่างง่ายดายในทันที PowerTag Energy เป็นส่วนหนึง่ ของโซลูชนั EcoStruxureTM POWER ให้ศกั ยภาพ ใหม่ส�ำหรับระบบพลังงานและการด�ำเนินงานต่างๆ เพื่อการบริหารจัดการพลังงานส�ำหรับ ตูจ้ า่ ยไฟฟ้า โดยไม่ตอ้ งเปลีย่ นตูห้ รือเบรกเกอร์ใหม่ เพียงแค่เพิม่ PowerTag Energy เข้าไป ก็เปลีย่ นระบบจ่ายพลังงานแบบธรรมดาให้สามารถมอนิเตอร์ได้ทนั ที เรียกได้วา่ เป็นการท�ำ ดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชันด้านพลังงาน โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยในการเปลีย่ นอุปกรณ์ใหม่ ข้อมูลเพิ่มเติมของ PowerTag Energy คลิก!!! https://www.se.com/th/th/ product-range-presentation/63626-powertag/


เน็กซ์เจน PowerEdge เซิร์ฟเวอร์ แกนพลังขับเคลื่อน AI พร้อมเอดจ์ คอมพิวติ้ง

สายผลิตภัณฑ์ Dell EMC PowerEdge ใหม่ น�ำเสนอระบบ ที่เพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดส�ำหรับเวิร์กโหลดที่ต้องการพลังในการ ประมวลผลสูงในภาคธุรกิจ เพื่อมุ่งสู่เส้นทางของการประมวลผล อัตโนมัติ (Autonomous Computing) เดลล์ เทคโนโลยีส์ มุ่งหน้าสู่เน็กซ์เจนของการประมวลผล ข้อมูลด้วยการเปิดตัวสายผลิตภัณฑ์ Dell EMC PowerEdge ทีท่ รงพลังและมีความปลอดภัยสูงสุด ด้วยเซิรฟ์ เวอร์ทอี่ อกมาใหม่นี้ เดลล์ เทคโนโลยีส์ ได้เปิดเส้นทางเพื่อมุ่งตรงสู่โครงสร้างพื้นฐาน แบบอัตโนมัติ (Autonomous Infrastructure) เพือ่ มอบประสิทธิภาพ ทางด้านไอทีทที่ รงประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ เพือ่ ตอบรับการท�ำงานของ AI และเพือ่ จัดการกับความต้องการใช้งานด้านไอทีเพือ่ การประมวลผล ที่ปลายทาง (Edge) สายผลิ ต ภั ณ ฑ์ เซิ ร ์ ฟ เวอร์ ที่ ข ายดี ที่ สุ ด ในโลกมอบพลั ง ทีจ่ ำ� เป็นในการทีจ่ ะได้มา รวมถึงการด�ำเนินการกับข้อมูลเชิงลึกแบบ เรียลไทม์จากดาต้าทีถ่ กู จัดเก็บอยูต่ ามทีต่ า่ งๆ ตัง้ แต่ดาต้าเซนเตอร์ กลาง ไปจนถึงพับลิคคลาวด์ต่างๆ และพื้นที่จัดเก็บที่ปลายทาง (Edge Locations) ลองนึกภาพใหม่วา่ ด้วย PowerEdge เซิร์ฟเวอร์ ใหม่ท้ัง 17 รุ่นที่มาพร้อมกับสิทธิบัตรที่มากถึง 1,100 สิทธิบัตร ทีเ่ ดลล์เป็นเจ้าของหรือจดทะเบียนในสหรัฐอเมริกา เซิรฟ์ เวอร์ใหม่ ทั้งหมดนี้จะมอบประสิทธิภาพสูงสุดในการท�ำงานให้ในปัจจุบัน การเพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีลา่ สุดจาก AMD และ Intel ท�ำให้ PowerEdge เซิร์ฟเวอร์ใหม่มอบพลังในการประมวลผล ที่จ�ำเป็นให้กับเวิร์กโหลดและแอปพลิเคชันที่มีความส�ำคัญเป็น อย่างยิ่งของลูกค้า ตัวอย่างของความก้าวหน้า ได้แก่ • PowerEdge R6515 ซึ่งมากับ 3rd Generation AMD EPYCTM โพรเซสเซอร์ ที่เร่งความสามารถในการประมวลผลข้อมูล ได้สงู ถึง 60% ในฐานบิก๊ ดาต้าของ Hadoop ซึง่ ช่วยเร่งเวลาส�ำหรับ ข้อมูลในเชิงลึก • PowerEdge R750 ด้วยโพรเซสเซอร์ 3rd Generation Intel® Xeon® Scalable ทีก่ ำ� ลังจะมาถึง มอบประสิทธิภาพทีท่ รงพลัง มากยิ่งขึ้นถึง 43% ในการแก้สมการเชิงเส้นคู่ขนานจ�ำนวนมาก รองรับเวิร์กโหลดที่ต้องใช้การประมวลผลมากที่สุด

ปัจจุบนั PowerEdge เซิรฟ์ เวอร์มาพร้อมกับ PCIe Gen 4.0 ที่เพิ่มประสิทธิภาพของปริมาณงาน (Throughput) ขึ้นเป็น 2 เท่ำ จากรุ่นก่อนหน้า และเพิ่มตัวเร่งความเร็วสูงสุด 6 ตัวต่อเซิร์ฟเวอร์ เพือ่ รองรับเวิรก์ โหลดทีท่ า้ ทายและทีต่ อ้ งการการใช้งานปริมาณดาต้ำ เป็นจ�ำนวนมากทีส่ ดุ เทคโนโลยีเหล่านีเ้ มือ่ ท�ำงานควบคูไ่ ปกับระบบ อัตโนมัตอิ จั ฉริยะของ PowerEdge ท�ำให้สายผลิตภัณฑ์ PowerEdge ทีร่ องรับการท�ำงาน AI ได้สงู ทีส่ ดุ ในปัจจุบนั องค์กรสามารถคาดการณ์ และตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น สายผลิตภัณฑ์ PowerEdge ล่าสุด ประกอบด้วย เซิรฟ์ เวอร์ แบบ Accelerator-Optimized 2 รุน่ ทีเ่ ปลีย่ นโฉมใหม่หมด (All-New) ได้แก่ • PowerEdge XE8545 แหล่งก�ำเนิดพลัง (Powerhouse) ส�ำหรับเวิร์กโหลดด้าน AI เสริมพลังให้กับ HPC Ready Solution ล่าสุดส�ำหรับ AI และ Data Analytics ท�ำให้ง่ายต่อการรัน AI วิเคราะห์และประมวลผลเวิรก์ โหลดในระดับแอดวานซ์ภายในระบบ เดียว ทั้งนี้ PowerEdge XE8545 ประกอบด้วย 3rd Generation AMD EPYC โพรเซสเซอร์ที่มากถึง 128 คอร์ มาพร้อมกับ NVIDIA A100 GPU 4 ตัว และซอฟต์แวร์เสริมประสิทธิภาพ NVIDIA’s vGPU ในซ็อกเก็ตแบบดูอัล 4U Rack เซิร์ฟเวอร์ • PowerEdge R750xa สร้างขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การเร่ ง ความเร็ ว มอบประสิ ท ธิ ภ าพที่ แ น่ น หนาของ GPU (GPU-Dense) ในการเทรนแมชชีนเลิรน์ นิง่ การวินจิ ฉัย ตลอดจน AI ด้วยการสนับสนุนจากชุดซอฟต์แวร์ NVIDIA AI Enterprise ที่เป็น สิทธิ์เฉพาะส�ำหรับ VMware vSphere 7 Update 2 โดยเซิร์ฟเวอร์ 2U แบบ Dual Socket ถูกขับเคลื่อนโดย 3rd Generation Intel® Xeon® Scalable โพรเซสเซอร์ และรองรับ GPU แบบ Double-Wide สูงสุด 4 ตัว และ GPU แบบ Single-Wide 6 ตัว แหล่งข้อมูลเพิม่ เติม บล็อก : Where Will Your Innovation Engine Take You? และบล็อก : The Uncompromised Power of Dell’s AI Infrastructure


Movement

ฮิตาชิ เอบีบี เพาเวอร์ กริดส์ แถลงข่าว ร่วมกับคณะวิศวฯ จุฬาฯ

ดร.ประดิษฐพงษ์ สุขสิริถาวรกุล Director & Vice President บริ ษั ท ฮิ ต าชิ เอบี บี เพาเวอร์ กริ ด ส์ ในประเทศไทย ได้แถลงข่าวร่วมกับภาควิชาวิศวกรรม ไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี รศ. ดร.ธวั ช ชั ย ชริ น พาณิ ช กุ ล รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.แนบบุญ หุนเจริญ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เข้ า ร่ ว มในพิ ธี ดั ง กล่ า วด้ ว ย ณ ห้องประชุมสวนรวมใจ 2 อาคาร 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื้อหาส�ำคัญของการแถลงข่าวครั้งนี้เพื่อด�ำเนินการ จัดนิสิตปี 3 จากภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวฯ จุฬาฯ

จ�ำนวน 16 คน เข้าฝึกงานที่บริษัท ฮิตาชิ เอบีบี เพาเวอร์ กริดส์ เป็น ระยะเวลา 360 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม 2564 ถึงวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างโอกาสให้กับนิสิตของ มหาวิทยาลัยให้ได้เสริมสร้างประสบการณ์การท�ำงานจริง ณ สถานประกอบการ ทั้งยังเป็นการร่วมมือในทางวิชาการ การบูรณาการ พัฒนา และเผยแพร่ องค์ความรูข้ องบริษทั ให้กบั นิสติ ตลอดจนสร้างความร่วมมือและบูรณาการ การท�ำงานร่วมกันระหว่างบริษัทฯ และมหาวิทยาลัยในประเทศไทย

EA ผนึก กฟน. - บิ๊กซี ส่งมอบสถานีชาร์จ ยานยนต์ไฟฟ้าแห่งแรก

จาตุรงค์ สุรยิ าศศิน รองผูว้ า่ การธุรกิจและบริการ การไฟฟ้า นครหลวง สมโภชน์ อาหุนัย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พลังงานบริสทุ ธิ์ จํากัด (มหาชน) หรือ EA และ อัศวิน เตชะเจริญวิกลุ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมเปิดสถานีอัดประจุไฟฟ้าสาขา แรกที่ “บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า สาขาลาดพร้าว 2” ปัจจุบัน EA Anywhere มีสถานีให้บริการอัดประจุไฟฟ้ากว่า 400 สถานี รวมทั้งสิ้นกว่า 1,600 หัวชาร์จ ตั้งแต่ระบบธรรมดา หรือ AC Charger ไปจนถึงระบบชาร์จเร็ว และทันสมัยที่สุด หรือ DC Super-Fast Charge ทีใ่ ช้เวลาเพียง 15-20 นาที รวมทัง้ ยังอ�ำนวยความ สะดวกแก่ผใู้ ช้บริการด้วย Application “EA Anywhere” ระบบออนไลน์ ที่สามารถด�ำเนินการทั้งจอง จ่าย และชาร์จ ในคราวเดียวกัน เพื่อให้ เข้ากับยุคดิจิทัล ซึ่งมีผู้ใช้บริการมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมียอดดาวน์โหลด ใช้งานแล้วกว่า 19,400 ครัง้ EA Anywhere จึงนับเป็นทัง้ ผูบ้ กุ เบิกและ ครองความเป็นผูน้ ำ� ในธุรกิจให้บริการอัดประจุไฟฟ้าแก่ยานยนต์ไฟฟ้า ครบวงจร


แชฟฟ์เลอร์ เปิดตัวโครงการครูอาสาสมัคร สอนภาษาอังกฤษ เพือ่ เสริมสร้างการศึกษาให้กบั โรงเรียน ในชุมชน

ไมก้า เชฟพาร์ด ประธานบริหาร ฝ่ายการตลาดหลังการขาย ประจํา ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และประธานบริหาร บริษัท แชฟฟ์เลอร์ ประจํา ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ธีระยุทธ แสงสุริยจันทร ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนบ้านหุบบอน บุญเพชร วันนา รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 และ สุริยะ เสียงสังข์ ประธาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านหุบบอน จังหวัดชลบุรี ร่วมลงนามในพิธีบันทึกข้อตกลงเปิดตัว โครงการครูอาสาสมัคร (English Volunteer Teaching Project) ร่วมกัน โดยมีคณะครูอาจารย์และนักเรียน โรงเรียนบ้านหุบบอน พร้อมแขกผู้มีเกียรติร่วมเป็นสักขีพยาน ณ โรงเรียน บ้านหุบบอน จังหวัดชลบุรี โครงการครูอาสาสมัครเป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมเพือ่ สังคมของแชฟฟ์เลอร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนในพื้นที่ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารในชีวติ ประจ�ำวัน และการสนับสนุนด้าน อุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ มุ่งเน้นให้นักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ พูดคุยกับ ผู้ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อเสริมสร้างความมั่นใจในการพูดและใช้ภาษาอังกฤษ ให้กับนักเรียน โดยจะมีครูอาสาสมัครของบริษัท แชฟฟ์เลอร์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติมารับหน้าทีใ่ นการสอนภาษาอังกฤษ รวมถึงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอีกด้วย

แอดไวซ์ ควง นิกกี้ ณฉัตร ร่วมบริจาค คอมพิวเตอร์มูลค่ารวมกว่า 2 แสนบาท

จักรกฤช วัชระศักดิศ์ ลิ ป์ รองประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห ารสายงานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ารขายและการตลาด บริษัท แอดไวซ์ ไอที อินฟินิท จ�ำกัด ในฐานะผู้น�า ศูนย์รวมอุปกรณ์ไอทีครบวงจรที่มีสาขาครอบคลุมกว่า 350 สาขาทั่วประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ได้เปิดตัวแบรนด์แอมบาสเดอร์คนใหม่ ของแอดไวซ์ นิกกี้ ณฉัตร ดารา-ศิลปินและยูทปู เบอร์มาด กวน อารมณ์ดี อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2563 ทีผ่ า่ นมา ล่าสุด แอดไวซ์และนิกกี้ ณฉัตร ได้ร่วมบริจาค คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้รวมมูลค่ากว่า 2 แสนบาท เนื่องในวันคล้ายวันเกิดของหนุ่มนิกกี้เมื่อเร็วๆ นี้ โดย ได้บริจาคให้แก่ 2 โรงเรียน และ 1 เรือนจ�ำในภาคเหนือ ได้แก่ โรงเรียนมูลนิธิมหาราช 5 โรงเรียนบ้านราวี และ เรือนจ�ำกลางแม่แตง โดยแอดไวซ์หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คอมพิวเตอร์เหล่านีจ้ ะช่วยเป็นสือ่ กลางในการส่งเสริมและ ช่วยพัฒนาความรู้ให้แก่ผู้ที่ได้รับ


Industry News

กัลฟ์ เอสอาร์ซี เริ่มเดินเครื่อง M701JAC ยูนิตแรก ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่โรงไฟฟ้าในจังหวัดชลบุรี ในขณะที่บริษัท มิตซูบิชิ อิเล็คทริค จะจัดหาเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า โดยไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้จะจ�ำหน่ายให้กบั การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อให้ประเทศมีพลังงานสะอาดจากแหล่งพลังงานที่มี ประสิทธิภาพสูงและไว้วางใจได้

มิตซูบิชิ พาวเวอร์ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือมิตซูบิชิ เฮฟวี่ อินดัสตรี่ส์ กรุ๊ป (MHI) ได้เริ่มใช้งานกังหันก๊าซ M701JAC ยูนิต ใหม่อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ซึ่งกังหันก๊าซนี้จะเป็น ส่วนประกอบหลักในงานก่อสร้างโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ 2 แห่งในประเทศไทย M701JAC ทีเ่ ริม่ ใช้งานใหม่นอี้ ยูใ่ นกังหันก๊าซกลุม่ J-Series และ JAC-Series ซึง่ มีชวั่ โมงการเดินเครือ่ งสะสมมากกว่า 1.3 ล้าน ชัว่ โมง โดยมีการสัง่ ซือ้ ทัว่ โลกแล้ว 83 ยูนติ โครงการนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของการร่วมลงทุนระหว่างบริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) ทีเ่ ป็นหนึง่ ในผูผ้ ลิตไฟฟ้าอิสระ (IPP) รายใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย กั บ บริ ษั ท มิ ต ซุ ย แอนด์ คั ม ปนี จ� ำ กั ด โดย M701JAC เป็นกังหันก๊าซยูนิตแรกจาก 8 ยูนิตที่มีการสั่งซื้อแบบ ครบวงจร (Full-Turnkey) ในปี พ.ศ. 2561 และยังเป็นยูนิตแรกใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กังหันก๊าซทั้ง 8 ยูนิตนี้จะรวมอยู่ ในระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมกังหันก๊าซ (GTCC) ที่มี ก�ำลังการผลิตรวมอยู่ที่ 5,300 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ยังมีสัญญา การให้บริการระยะยาว (LTSA) เป็นเวลา 25 ปีสำ� หรับกังหันก๊าซ เหล่านี้ด้วย งานก่อสร้างของ 7 ยูนิตที่เหลือได้เริ่มขึ้นแล้ว และ มีก�ำหนดเริ่มการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์อย่างเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2567 โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่พิเศษ 2 แห่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ในจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 130 กิโลเมตร โดยโรงไฟฟ้า แต่ละแห่งจะใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นแหล่งเชื้อเพลิงหลัก และมีก�ำลัง การผลิตอยู่ที่ 2,650 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น 4 ชุด โดยแต่ละชุดจะ ประกอบด้วย กังหันก๊าซ กังหันไอน�้ำ เครื่องก�ำเนิดไอน�้ำ และ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าอย่างละ 1 ยูนิต โดยบริษัท มิตซูบิชิ พาวเวอร์ จะผลิตและจัดหากังหันก๊าซและกังหันไอน�้ำรวมทั้งอุปกรณ์เสริม

พรทิพา ชินเวชกิจวานิชย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) ยินดี กับความส�ำเร็จในการเริ่มใช้งานดังกล่าว “เราขอแสดงความชื่นชม และขอบคุณต่อทุกคนทีม่ ติ ซูบชิ ิ พาวเวอร์ ซึง่ ท�ำงานอย่างขยันขันแข็ง เพื่อ ให้ส ามารถเปิด ตัวกัง หันก๊าซยูนิตแรกของโครงการได้ต าม ก�ำหนดเวลา แม้ในช่วงที่ก�ำลังเกิดการระบาดใหญ่ ความส�ำเร็จ ครั้ ง แรกนี้ ส นั บ สนุ น ความคาดหวั ง ของเราที่ ว ่ า บริ ษั ท จะยั ง คง ด�ำเนินการบริหารโครงการที่โดดเด่นเพื่อให้กังหันก๊าซทั้ง 8 ยูนิต สามารถเดินเครื่องเข้าสู่ระบบได้ตามก�ำหนดเวลา” โคจิ นิ ชิ ค าวะ ประธานและกรรมการผู ้ จั ด การของ มิตซูบิชิ พาวเวอร์ (ประเทศไทย) กล่าวถึงความมุ่งมั่นของบริษัท ในการท�ำงานในประเทศไทย “เรายินดีที่จะสนับสนุนการผลักดัน การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของประเทศไทย ผ่านกังหันก๊าซ ที่มีประสิทธิภาพสูงและไว้วางใจได้ของเรา นับจากนี้เราจะสานต่อ ตามความมุ ่ ง มั่ น อั น ยาวนานของเราที่ มี ต ่ อ ประเทศไทยต่ อ ไป โดยจะน�ำกังหันก๊าซอีก 7 ยูนติ ทีเ่ หลือเดินเครือ่ งเข้าสูร่ ะบบ เพือ่ สร้าง การเติบโตด้านการผลิตไฟฟ้าที่มั่นคงในประเทศไทย” M701JAC ที่เริ่มใช้ง านใหม่เ ป็นส่วนประกอบหลักของ โรงไฟฟ้าในจังหวัดชลบุรี ซึ่งด�ำเนินการโดยบริษัท กัลฟ์ เอสอาร์ซี จ�ำกัด* แม้ขณะนี้การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาทั่วโลกจะส่งผล กระทบต่อการส่งมอบอุปกรณ์และการติดตัง้ โดยรวมจากปัญหาด้าน โลจิสติกส์ และความยากล�ำบากในการส่งวิศวกรไปยังพืน้ ทีโ่ ครงการ แต่การเดินเครื่องของกังหันก๊าซยูนิตแรกก็ยังเป็นไปตามก�ำหนด เวลา เนือ่ งจากความพยายามร่วมกันของทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง * โรงไฟฟ้าในจังหวัดระยอง ด�ำเนินการโดยบริษัท กัลฟ์ พีดี จ�ำกัด


โคเวสโตรประสบความส�ำเร็จในการเข้าซื้อธุรกิจเรซินและวัสดุ ส�ำหรับการใช้งานเฉพาะทาง (Resins & Functional Materials) จากดีเอสเอ็ม

โคเวสโตร ประสบความส�ำเร็จในการเข้าซื้อธุรกิจเรซินและ วัสดุสำ� หรับการใช้งานเฉพาะทาง (Resins & Functional Materials : RFM) จากบริษทั ดีเอสเอ็ม ซึง่ เป็นบริษทั สัญชาติดตั ช์ การด�ำเนินงาน ดังกล่าวผ่านการอนุมตั ทิ เี่ ป็นไปตามกฎข้อบังคับ ภายใต้การลงนาม ระหว่างโคเวสโตรและดีเอสเอ็มในข้อตกลงการเข้าซือ้ กิจการในช่วง ปลายเดือนกันยายน 2563 ที่ผ่านมา การเข้าซื้อกิจการในครั้งนี้จะช่วยให้โคเวสโตรสามารถขยาย กลุ่มผลิตภัณฑ์สู่การผลิตวัสดุส�ำหรับสารเคลือบ (Coating Resins) ได้อย่างยั่งยืน พร้อมทั้งสนับสนุนโอกาสของการเติบโตทางธุรกิจ ในการก้ า วไปสู ่ ก ารเป็ น หนึ่ ง ในผู ้ ป ระกอบการชั้ น น� ำ ระดั บ โลก ในภาวะตลาดที่ก�ำลังเติบโตในปัจจุบันนี้ อีกทั้งการรวมธุรกิจ RFM ในครัง้ นีย้ งั คาดว่าจะสามารถเพิม่ รายได้ให้กบั กลุม่ บริษทั ฯ ได้มากถึง 1 พันล้านยูโร และการเพิ่มฐานการผลิตอีกกว่า 20 แห่งส�ำหรับ เครือข่ายการผลิตที่มีอยู่ทั่วโลกอีกด้วย “การควบรวมกิจการธุรกิจ RFM นีม้ สี ว่ นส�ำคัญในการตอบโจทย์ กลยุทธ์ใหม่ของเราได้เป็นอย่างดี และยังถือเป็นอีกก้าวส�ำคัญในการ มุง่ ไปสูค่ วามยัง่ ยืน รวมถึงการสร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจ อีกด้วย โดยเราทุกคนต่างรอคอยที่จะต้อนรับพนักงานใหม่ทุกคน เข้าสู่ครอบครัวโคเวสโตรอย่างอบอุ่นจากการด�ำเนินงานในครั้งนี้ ด้วยเช่นกัน” ดร.มาร์คสุ ชไตเลอแมน ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร โคเวสโตร กล่าว ด้วยการด�ำเนินงานครัง้ ส�ำคัญนี้ โคเวสโตรก�ำลังมุง่ การขยาย ธุรกิจในขอบข่ายอืน่ ๆ เพิม่ เติม ซึง่ กลุม่ บริษทั โคเวสโตรถือเป็นหนึง่ ในผู้ประกอบการชั้นน�ำระดับโลกด้านผลิตภัณฑ์โพลียูรีเทนสูตรน�้ำ (Water-Based Polyurethane Dispersions) ซึ่งการเข้าซื้อกิจการ RFM นี้ จะเข้ามาช่วยเพิม่ ความสมบูรณ์ให้กบั ธุรกิจด้วยกลุม่ ผลิตภัณฑ์

ประเภท Water-Based Polyacrylate Resins ที่เพิ่มเข้ามา รวมถึง การส่งเสริมความแข็งแกร่งด้านความยั่งยืนให้กับแบรนด์สินค้า ของเรา อาทิ แบรนด์ Niaga® โซลูชันส�ำหรับการผลิตสารเติมแต่ง และธุรกิจวัสดุสารเคลือบพิเศษส�ำหรับแผงโซลาร์ (Advanced Solar Coatings Business) นอกจากนี้ โคเวสโตรยังสามารถเพิม่ เติมเทคโนโลยีอนื่ ๆ ของ กลุ่มผลิตภัณฑ์ เช่น เทคโนโลยีสูตรน�ำ้ แบบไฮบริด (Water-Based Hybrid Technologies) สารเคลือบเรซินชนิดผง (Powder Coating Resins) รวมถึงเรซินชนิดบ่มด้วยรังสี (Radiation Curing Resins) เข้ามาได้อีกด้วย สุเชต้า โกวิล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายการพาณิชย์ โคเวสโตร กล่าวว่า “ด้วยการด�ำเนินงานครั้งส�ำคัญนี้ เราก�ำลัง เสริ ม สร้ า งกลุ ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ก� ำ ลั ง ขยายตั ว ให้ มี ค วามแข็ ง แกร่ ง มากยิง่ ขึน้ จากการคิดค้นผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทเี่ ป็นนวัตกรรม ซึง่ จะช่วยให้เราสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่าง ตรงจุดและเหมาะสมมากที่สุดด้วยเช่นกัน โดยในขณะนี้เราก�ำลัง มุง่ ไปทีก่ ารรวมทีมบุคลากรทีเ่ ปีย่ มด้วยความสามารถ และการให้การ สนับสนุนและการบริการทีด่ ที สี่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้สำ� หรับลูกค้าใหม่ และลูกค้าปัจจุบันของเรา” จากการวิเคราะห์และประเมินอย่างรอบด้าน โคเวสโตรคาดว่า ผลการด�ำเนินงานร่วมกันแบบถาวรจะสามารถสร้างรายได้มากถึง 120 ล้านยูโรต่อปี หลังจากการรวมกิจการโดยสมบูรณ์ภายในปี พ.ศ. 2568 ซึ่งจะประกอบด้วยต้นทุนในอัตรา 2 ใน 3 และรายได้ จากการด�ำเนินงานร่วมกันในอัตรา 2 ใน 3 ของการด�ำเนินธุรกิจ โคเวสโตรเป็นผูผ้ ลิตวัสดุโพลิเมอร์ชนั้ น�ำระดับโลก มียอดขาย ในปี พ.ศ. 2563 ถึง 10.7 พันล้านยูโร ธุรกิจของโคเวสโตรให้ความ ส�ำคัญกับการผลิตวัสดุโพลิเมอร์ดว้ ยเทคโนโลยีชนั้ สูง และการพัฒนา นวั ต กรรมที่ ต อบโจทย์ ส� ำ หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใช้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น ส�ำหรับการด�ำเนินงานดังกล่าว โคเวสโตรมุง่ มัน่ อย่างเต็มทีต่ อ่ หลัก เศรษฐกิจหมุนเวียน อุตสาหกรรมหลักที่ใช้ผลิตภัณฑ์และบริการ ของโคเวสโตรคืออุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ก่อสร้าง เฟอร์นเิ จอร์ รวมไปถึงอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และเครือ่ งใช้ ในครัวเรือน นอกจากนี้ ยั ง มี อุ ต สาหกรรมด้ า นกี ฬ าและสั น ทนาการ เครื่องส�ำอาง รวมถึงอุตสาหกรรมเคมีด้วยเช่นกัน โดยโคเวสโตร มีศนู ย์การผลิตอยู่ 33 แห่งทัว่ โลก และมีพนักงานประจ�ำและเทียบเท่า ประมาณ 16,500 คน (ข้อมูล ณ ปลายปี พ.ศ. 2563)


Industry News

สแกนเนียมุ่งมั่นสู่การลดคาร์บอน สแกนเนีย เผยหลัก 3 ประการ เพื่อลดปริมาณการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ผลักดันการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบการ ขนส่งทีย่ งั่ ยืน (Driving the Shift Towards a Sustainable Transport System) แม้สถานการณ์โควิด-19 ทัว่ โลกยังคงส่งผลกระทบต่อธุรกิจ อุตสาหกรรมรถยนต์อย่างต่อเนื่อง แต่เป้าหมายด้านสู่ความยั่งยืน ยังคงเดินหน้าต่อไป โจฮัน คลาสัน ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายขายและการตลาดและหัวหน้างาน ด้านความยั่งยืน บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด กล่าวว่า “ในปี พ.ศ. 2564 คาดว่าจะเป็นปีที่ยากล�ำบากของภาค อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย ต่อเนื่องจากการระบาดของโควิด-19 แต่ “สแกนเนี ย ” ผู ้ ผ ลิ ต รถเพื่ อ การพาณิ ช ย์ ข นาดใหญ่ จ ากสวี เ ดน โจฮัน คลาสัน จะยังคงไม่ทงิ้ เป้าหมายทีจ่ ะสร้างความ เปลี่ยนแปลงสู่ระบบการขนส่งที่ยั่งยืน ด้วยผลิตภัณฑ์ งานบริการ และเทคโนโลยีที่มีความพร้อมส�ำหรับธุรกิจลูกค้า เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมและชุมชนของประเทศไทย ด้วยการน�ำหลักการขนส่ง ที่ยั่งยืน 3 ประการ มุ่งเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งในระดับต่างๆ ได้แก่ 1. ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Efficiency) ซึ่ง หมายถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานเชื้อเพลิง ช่วยท�ำให้ ใช้พลังงานน�้ำมันส�ำหรับการเผาไหม้น้อยลง เมื่อเผาไหม้น้อยลง

ก็ปล่อยมลพิษน้อยลงไปด้วย แน่นอนว่าต้นทุนขนส่งก็ลดลงไปด้วย เป็นการช่วยเพิม่ ผลก�ำไรให้ธรุ กิจไปพร้อมกัน 2. เชือ้ เพลิงทางเลือก และพลังงานไฟฟ้า (Alternative Fuels and Electrification) โดยการพัฒนาการรองรับพลังงานทางเลือกและรถพลังงานไฟฟ้า ซึ่งแน่นอนว่าสามารถลดปริมาณการปล่อยมลพิษได้อย่างชัดเจน และ 3. การขนส่งที่ชาญฉลาดและปลอดภัย (Smart and Safe Transport) โดยสแกนเนียได้พัฒนาระบบการขนส่งอัจฉริยะและ ปลอดภัย เพราะนักขับคือหนึ่งในปัจจัยส�ำคัญที่สุดในธุรกิจขนส่ง ระบบอัจฉริยะทีช่ ว่ ยให้ขบั ขีไ่ ด้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ และปลอดภัย ยิ่งขึ้น นอกจากจะช่วยลดอุบัติเหตุบนสังคมท้องถนนแล้ว ยังช่วย บริหารธุรกิจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งทั้ง 3 หลักการด้านการ ขนส่ง จะสามารถช่วยให้ระบบขนส่งของเราสะอาด ปลอดภัย และ มีประสิทธิภาพมากขึ้น” ดังนัน้ เพือ่ เข้าสูร่ ะบบการขนส่งทีย่ งั่ ยืนในแต่ละปี สแกนเนีย จึงได้ใช้งบประมาณจ�ำนวนมากในการวิจัยและพัฒนาเพื่อความ ยัง่ ยืน พร้อมกับเพิม่ ศักยภาพธุรกิจขนส่งให้กบั ลูกค้า แม้ในสถานการณ์ โควิด-19 จะมีความรุนแรงต่อเนื่องยาวนาน แต่การด�ำเนินงานสู่ ระบบการขนส่งที่ยั่งยืนยังคงเดินหน้าอย่างต่อเนื่อง โดยความ ร่วมมือและท�ำงานร่วมกับลูกค้าเพื่อคงความเป็นผู้น�ำด้านการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมกับช่วยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ และสนับสนุนให้ลูกค้าของเราสามารถสร้าง ความแตกต่าง โดยการท�ำตลาดและให้บริการไปพร้อมกับธุรกิจ ที่ยั่งยืนโดยใช้ผลิตภัณฑ์และบริการของสแกนเนีย


w

มาร์เจ็ท แอนเดรส รองประธานและผู้จัดการทั่วไปประจ�ำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เร้ดแฮท อิงค์

มาร์เจ็ท แอนเดรส เร้ดแฮท อิงค์ ประกาศแต่งตั้ง เดิร์ก-ปีเตอร์ แวน ลีอูเวน เป็นรองประธานอาวุโสและผู้จัดการทั่วไปฝ่ายขายเชิงพาณิชย์ ประจ�ำอเมริกาเหนือ และแต่งตั้ง มาร์เจ็ท แอนเดรส ขึ้นด�ำรง ต�ำแหน่งรองประธานและผูจ้ ดั การทัว่ ไปประจ�ำภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ แทน แวน ลีอูเวน ทั้งนี้ แอนเดรสได้เข้าร่วมงานกับเร้ดแฮทเมื่อ เดือนตุลาคม 2563 ในต�ำแหน่งรองประธานฝ่ายขายประจ�ำภูมภิ าค เอเชีย-แปซิฟิก

การแต่งตัง้ ครัง้ นีม้ ผี ลทันที โดยทัง้ แวน ลีอเู วน และแอนเดรส จะรายงานตรงต่อ ลาร์รี่ สแต็ก รองประธานบริหารด้านการขายและ บริการระดับโลกของเร้ดแฮท มาร์เจ็ท แอนเดรส เข้าร่วมงานกับเร้ดแฮทในปี พ.ศ. 2563 และประสบความส�ำเร็จอย่างรวดเร็วในฐานะผู้น�ำด้านการขาย ที่มีความใส่ใจและมากประสบการณ์ แอนเดรสให้ความส�ำคัญกับ ความพึงพอใจของลูกค้าและการท�ำงานร่วมกันเป็นทีมเพือ่ ผลลัพธ์ ในการท�ำงาน ด้ ว ยประสบการณ์ อั น กว้ า งขวางในอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ มากกว่า 25 ปี เธอมีประวัตกิ ารท�ำงานทีโ่ ดดเด่น และประสบความ ส�ำเร็จในการน�ำทีมที่มีบทบาททั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค ในองค์กรต่างๆ ทั่วทั้งยุโรปและเอเชีย รวมถึงการขยายธุรกิจไปสู่ ตลาดในภูมิภาคใหม่และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ หลังจากการเข้า ซือ้ กิจการ ก่อนร่วมงานกับเร้ดแฮท แอนเดรสเป็นกรรมการผูจ้ ดั การ ประจ�ำภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ของเทลสตรา (Telstra) โดยก่อนหน้านี้ เธอด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้น�ำระดับสูงที่แรนสตัด (Ranstad) บทบาท ของเธอในต�ำแหน่งใหม่นี้ เธอจะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการผลักดันและ ต่อยอดการเติบโตของเร้ดแฮทในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกในระยะ ต่อๆ ไป และริเริม่ แนวทางต่างๆ ทีจ่ ะช่วยให้ลกู ค้าประสบความส�ำเร็จ ด้วยการใช้เทคโนโลยีโอเพ่นไฮบริดคลาวด์

ดร.ชวพล จริยาวิโรจน์ กรรมการผู้จัดการคนใหม่ของบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย)

ดร.ชวพล จริยาวิโรจน์ บริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เสริมแกร่ง ธุรกิจในประเทศไทยทีม่ อี ย่างยาวนาน พร้อมสนับสนุนทิศทางการ ด�ำเนินธุรกิจในปี ค.ศ. 2021 ด้วยการเปิดตัว ดร.ชวพล จริยาวิโรจน์ ผู้บริหารชาวไทยมากประสบการณ์ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม

และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เข้ารับต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การคนใหม่และ เป็นคนไทยคนแรก ภายใต้การน�ำธุรกิจของ อาเบล เติ้ง ประธาน กรรมการบริหาร ดร.ชวพล จริยาวิโรจน์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้เผยถึงบทบาทใหม่ในครัง้ นีว้ า่ “หัวเว่ย ประเทศไทย ถือเป็นบริษัทด้านไอซีทีชั้นน�ำระดับโลกที่มี ความแข็ ง แกร่ ง ในด้ า นเทคโนโลยี แ ละบริ ก ารที่ ห ลากหลาย ครอบคลุมทัง้ ต้นน�ำ้ และปลายน�ำ้ ต�ำแหน่งใหม่ทหี่ วั เว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) นี้ จะเปิดโอกาสที่ดียิ่งในการน�ำประสบการณ์ตลอด 27 ปีที่ผ่านมาในระดับนานาชาติและระดับประเทศในธุรกิจไอซีที มาร่วมเสริมสร้างมูลค่าทางธุรกิจใหม่ๆ ให้แก่หัวเว่ย” การผสมผสานศั ก ยภาพของผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ระหว่ า ง อาเบล เติง้ ประธานกรรมการบริหาร และ ดร.ชวพล จริยาวิโรจน์ กรรมการผูจ้ ดั การคนใหม่ในครัง้ นี้ ถือเป็นการตอกย�ำ้ จุดยืนการเป็น ผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีของหัวเว่ยในประเทศไทย รวมทัง้ เป็นส่วนส�ำคัญ ที่จะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทยอีกด้วย


ใบสมัครสมาชิก

ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE ชื่อ-นามสกุล ........................................................................................................................................................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ..................................................................................................................................................................................................................... ที่อยู่ ........................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท์ ............................................................................................................. แฟกซ์ ........................................................................................................ รหัสสมาชิก ............................................................................................................................................................................................................................. ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” สมาชิกใหม่  1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ  1 ปี 6 ฉบับ 450 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 900 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน ......................................... ปี .................. โดยส่งนิตยสารไปที่  ที่ท�ำ งาน  ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................... บาท (ตัวอักษร ............................................................................................)  เช็คธนาคาร ................................................................................... สาขา ................................................................................................... เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี  กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5  ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 21-2-04080-0  กรุงไทย ถนนศรีอยุธยา 013-0-09071-9 หมายเหตุ : กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพื่อการติดต่อจัดส่งข้อมูล กลับไปยังท่านต่อไป

ดัชนีสินค้าประจ�ำเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. 2564 บริษัท ABB POWER GRIDS (THAILAND) LTD. ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK INTERMACH LED EXPO THAILAND LS ELECTRIC CO., LTD.

โทรศัพท์ 0-2665-1000 0-2036-0564 0-2036-0564 0-2833-5347 0-2053-9133

โทรสาร 0-2324-0502 -

ประเภทสินค้า อุปกรณ์ไฟฟ้า งานแสดงสินค้า งานแสดงสินค้า งานแสดงสินค้า หม้อแปลงไฟฟ้า

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2194-8738-9 0-2003-2215 อุปกรณ์ไฟฟ้า

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD. UNIPOWER ENGINEERING CO., LTD. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-3855-9002 0-2953-8020-3 0-2590-9590 0-2002-4395-97

0-3855-9003 0-2953-8024 0-2590-9598 0-2002-4398

จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์ อุปกรณ์ไฟฟ้า บริการซ่อมติดตั้ง บริการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปตท. น�้ำมันและการค้าปลีก บมจ. เพาเวอร์ เรด บจก. ลีฟเพาเวอร์ บจก. เวอร์ทัส บจก.

0-2239-7847 0-2322-0810-6 0-2130-6371 0-2876-2727-8

0-2239-7898 0-2322-0430 0-2130-6372 0-2476-1711

น�ำ้ มันหล่อลื่นอุตสาหกรรม อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า Couplings

หน้า ปกหลังนอก 8 15 10 ปกหน้า, ปกหน้าใน 6 7 ปกหลังใน 13 5 3 9 11 4



ENHANCING POWER QUALITY For a stronger electrical network. Power quality is key to improving grid availability and reliability. It enables the optimization of operating costs and secures grid code compliance. Power quality supports the integration of renewables into the grid and enhances energy efficiency, leading to lower carbon emissions and minimizing environmental impact. Hitachi ABB Power Grids is a technology leader with a wide range of products, systems and services that improve power quality including capacitors and filters, power electronics-based compensators and software solutions, across the power value chain for low, medium and high-voltage applications, helping to shape a stronger, smarter and greener grid. www.hitachiabb-powergrids.com The Customer Connect Center Tel: +66 2 105 5760 I E-mail: power-grids@hitachi-powergrids.com ABB is a registered trademark of ABB Asea Brown Boveri Ltd. Manufactured by/for a Hitachi Power Grids company.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.