ฺBEDO Magazine 2023 Vol.10 Issue 1

Page 1

MAGAZINE • นิตยสารเบโด้ สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) FUTURE OF THE ORIGIN ISSN 2351-0269 WWW.BEDO.OR.TH BIODIVERSITY ฝ้ายตุ่ย เหนียวนุ่ม สบายผิว INTERVIEW ผอ.สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ SCOOP ชวน ช้อป สินค้าชุมชน BCG เศรษฐกิจใหม่สู่ความยั่งยืน ฉบับที่ 1 ปีที่ 9 เมษายน 2566
บรรณาธิการ : สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ที่ปรึกษา : ดร.ธนิต ชังถาวร จัดท�าโดย : ส�านักงานพัฒนา เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 9 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 7800 แฟกซ์ 0 2143 9202 เว็บไซต์ www.bedo.or.th เฟสบุ๊ค www.facebook/ BedoThailand ผลิตโดย : บริษัท บอสฟอรัส จ�ากัด 61/1 ซอยลาดพร้าว 101 ซอย 44 หมู่บ้านเสรี แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 081 647 3163 Email amybosphorus@gmail.com สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ผู้อ�านวยการ สพภ. EDITOR’S TALK ประเพณีสงกรานต์เพิ่งจะผ่านพ้นไป ดิฉันขอสวัสดีปีใหม่ไทย อวยพรให้ทุกๆ ท่านมีความสุข สดชื่น มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ประสบแต่ความสุขความเจริญ สำ า นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. อยากเห็น ทุกคนมีความสุขที่ยั่งยืน ทำ า มา หาได้ ด้วยการนำ า ทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า และตรงตาม นโยบาย BCG ของรัฐบาล ในปี 2565 ที่ผ่านมา BEDO ได้ขับเคลื่อนการดำ า เนินงานพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพระดับชุมชนด้วย 3 แผนงานหลัก ได้แก่ แผนงานที่ 1 สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนให้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ จากความหลากหลายทางชีวภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม แผนงานที่ 2 การจัดทำ า ระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพื่อการปกป้อง คุ้มครอง อนุรักษ์ การแบ่งปันในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์จากความหลากหลายทางชีวภาพ และ แผนงานที่ 3 ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั้งในและต่างประเทศ เพื่อการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน ดิฉันหวังว่าการทุ่มเทในการทำ า งานของเจ้าหน้าที่ทุกท่านใน สพภ.จะสร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับชุมชน เราพร้อมเป็น กองกำ า ลังเสริมให้เสมอ มาจับมือกันสร้างความสุขและรอยยิ้มที่สดใสที่จะอย ู่ไปอย่างยั่งยืน
BIODIVERSITY 4 ฝ้ายตุ่ย เหนียวนุ่ม สบายผิว SCOOP 6 ชวน ช้อป สินค้าชุมชน BIOECONOMY 8 กาบหมาก สร้างมูลค่า INTERVIEW 10 ผอ.สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ONE OF BCG MODEL 14 โครงการ ข้าวรักษ์โลก BULLETIN 15 CONTENT 12 BEDOMAGAZINE ฉบับที่ 1 ปีที่ 9 เมษายน 2566 8 6 12 14

ฝ้ายตุ่ย เหนียวนุ่ม สบายผิว

ผ้าฝ้าย เป็นหนึ่งในผ้าชั้นดีที่นํา มาตัดเย็บเป็น

ด้วยคุณสมบัติของเนื้อผ้าที่ให้สัมผัสนุ่ม สบาย ระบายอากาศได้ดี เหมาะกับการสวมใส่ใน

สภาพอากาศบ้านเราซึ่งเป็นเมืองร้อนถึงร้อน มากที่สุด และหนึ่งในแหล่งผลิตผ้าฝ้ายที่มีชื่อเสียง ได้แก่ บ้านศรีเจริญ ตํา บลเลยวังไสย์ อํา เภอ ภูหลวง จังหวัดเลย เป็นผ้าฝ้ายที่ทํา จาก ฝ้ายตุ่ย ฝ้ายโบราณสายพันธุ์พื้นเมืองที่ให้สีน า ตาล ธรรมชาติ เส้นใยมีความเหนียว นุ่มกว่าฝ้ายสีขาว เป็นฝ้ายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะที่ยังคงอนุรักษ์และ ส่งต่อทางภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น จนมาถึงชุมชน ออมทรัพย์เกษตรยั่งยืนบ้านศรีเจริญ
วิจิตรา ศิริเธียรไชย ปวีณ สมบูรณ์ BEDO MAGAZINE 4
เสื้อผ้า
BIODIVERSITY

การปลูกฝ้ายของตำา บลเลยวังไสย์เน้นการปลูกแบบอินทรีย์ ไม่ใช้ สารเคมีใดๆ เมื่อปลูกแล้วจะนำา ฝ้ายที่ได้มาผ่านกระบวนการ อิ้ว (การเอาเมล็ดออกและเก็บเมล็ดไว้ทำา พันธุ์ต่อไป)

ปลูกต้นใหม่ทดแทน

ฝ้ายตุ่ย เป็นหนึ่งในทรัพยากรชีวภาพที่มีคุณสมบัติตรงตามหลัก BCG

สามารถสร้างเศรษฐกิจที่ยั่งยืนให้กับ

เบโด้ เห็นถึงคุณค่าและศักยภาพของฝ้ายตุ่ยจึงได้ส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการพัฒนาทอเป็นผ้าหน้ากว้าง

ใช้ภูมิปัญญาที่ตกทอดมาจากรุ่นปู่ย่าตายาย แม้กระทั่งการปลูก ฝ้ายตุ่ยของคนเลยวังไสย์จะทำา กันแบบปีต่อปี ในหนึ่งปีสามารถ เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ประมาณ 3 รอบ โดยเริ่มรอบแรกตั้งแต่เดือน ธันวาคมซึ่งอาจจะยังได้ผลผลิตที่ไม่มากนัก พอถึงรอบสองเดือน มกราคม ต้นฝ้ายจะออกดอกเต็มที่ และรอบสามในเดือนกุมภาพันธ์ ที่ยังคงมีดอกประปรายก่อนที่ต้นจะถูกไถกลบให้เป็นปุ๋ยและเริ่ม
เข็น (การ ทำา ให้เป็นเส้น) ปั่น และทอจนเป็นผืนผ้า ทุกกรรมวิธีล้วนแล้วแต่
ทุกประการ
ชุมชน ทำา ให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน เพราะนอกจากดอกฝ้ายจะ นำา มาแปรรูปเป็นผืนผ้า ตัดเย็บเป็นเสื้อผ้า กระเป๋า และของใช้ ต่างๆ ซึ่งมีราคาเมื่อเทียบกับผ้าฝ้ายธรรมดา ยอดของต้นฝ้าย ยังเด็ดนำามาทำา ชายอดฝ้าย ได้อีก และเมล็ดยังสามารถน ำาไปสกัด เป็นน า มัน ให้ประโยชน์ที่หลากหลาย และฝ้ายตุ่ยยังช่วยสร้าง พื้นที่สีเขียวให้เกิดขึ้นภายในชุมชนได้ตลอดทั้งปีอีกด้วย
Model
พัฒนารูปแบบ ลวดลายทั้งจากการทอ
มีอยู่ในชุมชน เช่น ใบเบือก ใบเอ็นหม่อน ครั่ง เปลือกต้นมะม่วง เป็นต้น ทำา ให้คนในชุมชนสามารถผลิตสินค้าเสื้อผ้าที่ตัดเย็บจาก ฝ้ายตุ่ย สร้างเอกลักษณ์ให้เกิดขึ้นแก่ผู้สวมใส่ได้เป็นอย่างดี นับ เป็นหนึ่งในความภาคภูมิใจของชาวเลยวังไสย์ BEDO MAGAZINE 5
และการย้อมฝ้ายด้วยสีจากธรรมชาติที่

หรือ สพภ. จึงจัดงาน Bio Market 2023 ขึ้นเพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ชุมชนต่างๆ จํานวน

สถานการณ์โควิดทําให้ชุมชนและคนเมืองห่างหายจากกันไป ค่อนข้างยาวนาน แต่วันนี้รอยยิ้มและความสดใสกลับมา เยือนอีกครั้ง สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
30 ชุมชน ได้นํา ผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น มาเผยแพร่ให้คนเมืองได้ทํา ความรู้จัก ณ บริเวณชั้น 1 ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล เวสต์เกต เมื่อวันที่ 29 มีนาคม – 2 เมษายน ที่ผ่านมา
สินค้าชุมชน BEDO MAGAZINE 6
SCOOP BIO MARKET ชวน ช้อป

จนได้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งชิ้นที่สร้างความ

ภูมิใจให้เกิดขึ้นในชุมชน สร้างจิตสำา นึกในการรักและหวงแหน

ทรัพยากรธรรมชาติของตน และท้ายสุดสร้างความยั่งยืนให้เกิด

เมืองนครสวรรค์ นั่นคือ ดอกบัวจากบึงบอระเพ็ด มาเป็นส่วน

ทะเล อยู่ในเขตอำา เภอแม่แจ่มซึ่งเป็นพื้นที่รอยต่อ ระหว่างจังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดเชียงใหม่

ตราบจนถึงทุกวันนี้ แม่แจ่มได้ชื่อว่าเป็นแหล่งปลูกกาแฟ อาราบิก้า สายพันธุ์ทิปปิก้าชั้นดี มีคุณภาพ

อีกทั้งยังเป็นแหล่ง

ส่งเมล็ดกาแฟให้กับกาแฟแบรนด์ดังระดับโลก ที่ต่างยอมรับ ในเรื่องของคุณภาพ คงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ที่โดดเด่นไม่เหมือนใคร ด้วยสภาพดิน และน า ที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุที่เหมาะสมทำา ให้มี รสชาติกาแฟที่กลมกล่อมติดปลายหวาน ถูกใจคอกาแฟ ลักษณะ การปลูกสามารถเติบโตได้ใต้ต้นไม้หนาทึบยิ่งจะให้ผลผลิตที่ดี เยี่ยม หากย้อนกลับไปยังวันวานแม่แจ่มถือเป็นเขตพื้นที่ที่มีป่า น้อย แต่เมื่อคนในชุมชนหันมาให้ความสนใจด้านการปลูกกาแฟ

ภายในงานมีทั้งสินค้าเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ของกิน ของใช้ และบริการ สินค้าชุมชนเหล่านี้ล้วนผลิตขึ้นจากทรัพยากร ชีวภาพอันหลากหลายภายในท้องถิ่น ตั้งแต่เป็นพืช ผ่านการ แปรรูปและคิดค้น จากการนำา ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ตกทอดกัน มาจากรุ่นสู่รุ่น ผสานเข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ผ่านเครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ
ขึ้น ด้วยการปันรายได้ส่วนหนึ่งกลับไปอนุรักษ์และตอบแทน ธรรมชาติด้วยการปลูกเพิ่ม และดูแลให้ทรัพย์สินทางธรรมชาติ เหล่านี้คงอยู่ต่อไป วิสาหกิจชุมชนบ้านเขาแหลม ต.แม่เปิ่น อ.แม่เปิ่น จ.นครสวรรค์ พื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยนาข้าวและงาดำา ตามวิถีเกษตร อินทรีย์ ปลอดสารเคมีทุกชนิด ทุกขั้นตอนการปลูกได้รับ มาตรฐาน GNP ภายในพื้นที่แปลงปลูกเป็นแบบระบบปิด พร้อมติดตั้งเครื่องสกัดเย็น สามารถตรวจสอบดูคุณภาพ ของผลผลิตได้ทุกเมื่อ เมื่อได้ผลผลิตข้าวและงาดำา ก็นำา มา แปรรูปเป็นน า มันงา สกัดเย็น น า มันรำา ข้าว จมูกข้าวกล้องงอก และโลชั่นข้าวหอมมะลิ ทุกสินค้าการันตีได้ว่ามีคุณภาพแบบ ร้อยเปอร์เซ็นต์ ไม่มีสารอื่นเจือปนแม้แต่น้อย ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นได้แก่ น า มันงาดำา และน า มันรำา ข้าว สูตร สกัดเย็น น า มันงาดำา ช่วยบำา รุงไขข้อและกระดูก ส่วนน า มัน รำา ข้าวล้วนอุดมไปด้วยโอเมก้า3 วิตามินบี1และบี2 และสินค้า ขายดีอีกชนิดคือจมูกข้าวกล้องงอก ปราศจากน า ตาล อุดมไป ด้วยสารกาบา ที่เป็นประโยชน์ต่อระบบประสาทและสมอง สามารถนำา มาชงดื่มกับน า อุ่น หรือผสมกับเครื่องดื่มต่างๆ เช่น ชา กาแฟ รับประทานได้ทันที วิสาหกิจชุมชนยาสีฟันสมุนไพร เอนไซม์เฮิร์บ บุปผาวัน ต.นครสวรรค์ออก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ยาสีฟันเอนไซม์เฮิร์บ เป็นสินค้าแจ้งเกิดที่สร้างชื่อเสียงให้กับ สินค้าแบรนด์ บุปผาวัน เป็นเอนไซม์ที่มาจากผลไม้ สับปะรด และแอปเปิ้ล ผ่านกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างจากยาสีฟันทั่วไป ตามท้องตลาด ซึ่งคุณสมบัติของเอนไซม์นี้สามารถสกัดคราบชา กาแฟ คราบหินปูน
และนครสวรรค์ได้ ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองอู่ข้าว อู่น า ทางวิสาหกิจชุมชนฯ แห่งนี้ยัง
ยาสีฟันสมุนไพร สูตรข้าวไรซ์ เบอร์รี่ กลิ่นบลูเบอร์รี่ มีคุณสมบัติช่วยในเรื่องของการสมาน แผล ลดเชื้อแบคทีเรียภายในช่องปาก ซึ่งจดอนุสิทธิบัติเป็นที่ เรียบร้อย และได้รับรางวัลภูมิปัญญาและนวัตกรรมจากกรมการ ข้าว และยังมีการนำา ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์ของ
ผสมในการทำา โลชั่นทาผิว และยาสระผมผสมครีมนวด นอกนั้น ยังมีครีมอาบน า ว่านหางจระเข้ ครีมทาผิวกัญชง สร้างรายได้ และความยั่งยืนจนเข้าสู่ปีที่ 8 วิสาหกิจชุมชนกาแฟยอดไผ่ ต.แม่ศึก อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ หมู่บ้านยอดไผ่ เป็นชุมชนปะกาเกอะญอบนดอยสูง 1,200 เมตร จากระดับน า
มีลักษณะ ภูมิประเทศเป็นป่าดิบชื้น ช่วงหนึ่งเกิดวิกฤตราคากาแฟตกต า ทำา ให้หลายหมู่บ้านตัดใจ เลิกล้มการปลูกกาแฟ แต่สำา หรับ หมู่บ้านยอดไผ่ยังคงรักษาต้นกาแฟที่ปลูกอยู่ใต้ร่มเงาไม้ไว้
ว่าได้ผลดีสามารถอยู่ได้ในเขตป่าทึบ ทำา ให้ป่าของแม่แจ่ม กลับมาเขียวครึ้ม หนาแน่นขึ้นอีกครั้ง BEDO MAGAZINE 7
คราบไขมันที่ตกค้างจากการรับประทาน อาหาร สามารถขจัดได้แบบสะอาดเอี่ยม
นำา ข้าวไรซ์เบอร์รี่มาแปรรูปเป็น
วิจิตรา ศิริเธียรไชย ปวีณ สมบูรณ์ BIOECONOMY ในวันที่โลกร้อน ขยะล้น ย่อมสร้างมลพิษให้เกิดขึ้นอย่างแน่นอน หลายๆ สถานที่มีการรณรงค์ไม่นํา ภาชนะที่ผลิตจากโฟมและพลาสติกเข้ามายังสถานที่ หนึ่งในทางแก้ที่จะรอดพ้นจากวิกฤตขยะ ล้นเมืองคือการผลิตภาชนะที่ทํา จากวัสดุธรรมชาติสามารถย่อยสลายได้และยังกลายเป็นปุ๋ย เติมคุณค่าให้กับดิน วันนี้เราจึงเห็นจาน ชาม ที่ทํา จากใบไม้ ใช้งานได้ดี เหมาะกับสภานการณ์การ รับประทานในงานอิเว้นต์ต่างๆ และหนึ่งในชุมชนที่ผลิตภาชนะจากวัสดุธรรมชาติก็คือ กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนโลกยิ้ม ต.หนองกระทุ่ม อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี เครือข่ายชุมชนที่เบโด้ให้การสนับสนุน กาบหมาก สร้างมูลค่า BEDO MAGAZINE 8

ชามที่ทำา จากกาบหมากเพราะเมื่อขึ้นรูปแล้วมีความแข็งแรง ให้ความสวยงามเป็นเอกลักษณ์หนึ่งเดียวในโลก กาบหมากจะมี ลายในตัวที่แตกต่างกัน

แข็งแรง และ สามารถเข้าไมโครเวฟได้ด้วย”

วิสาหกิจชุมชนโลกยิ้มเป็นหนึ่งในต้นแบบตรงตามหลักนโยบาย BCG ทุกประการ สร้างอาชีพ

แค่ได้ยินชื่อก็เข้าใจจุดประสงค์แล้วว่า ชุมชนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มรักโลก ที่อยากเห็นโลกมีรอยยิ้ม นั่นหมายถึงรอยยิ้มที่สะท้อนกลับมายัง คนในชุมชนด้วยเช่นกัน คุณวิทูล ธนาวีระชัย ประธานกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนโลกยิ้มเล่าว่า พื้นที่แห่งนี้อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ มากมาย หนึ่งในนั้นคือต้นหมากที่อยู่คู่กับพื้นถิ่นมานานจนมี
“เบโด้ได้ให้การสนับสนุน ให้องค์ความรู้ ติดต่อหน่วยงานต่างๆ เพื่อมาช่วยเหลือและให้การสนับสนุนมาเป็นอย่างดี จนเกิดเป็น วิสาหกิจชุมชนโลกยิ้มขึ้นมา ปัจจุบันสามารถพัฒนาจนกลายเป็น ศูนย์เรียนรู้ประจำาจังหวัดในเรื่องของการผลิตภาชนะจากกาบหมาก โดยมีจุดประสงค์หลักในการสร้างสิ่งแวดล้องที่ดี ต่อต้านภาชนะที่ ผลิตจากโฟมและพลาสติก เราเริ่มก่อตั้งเมื่อปลายปี 2564 เริ่มผลิต จานกาบหมากใช้ภายในท้องถิ่นก่อน โดยมีจุดมุ่งหมายว่าภายในปี 2568 เราจะสร้างกำา ลังผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ทั่วไปทั้งในและต่างประเทศให้ได้” ปัจจุบันสินค้าของชุมชนมีด้วยกันทั้งหมด 15 แบบ โดยแบ่งเป็น จาน ชาม ถ้วยนาจิ้ม และกระถาง ตัวอย่างราคาของจาน ขนาด 4x6 นิ้ว จำานวน 1-500 ใบ ราคาส่งอยู่ที่ใบละ 5 บาท จำานวน 1-1,000 ชิ้น ราคาส่ง 4.50 บาท ถ้าจำานวน 1,000 ชิ้นขึ้นไป ราคาส่ง 4.20 บาท นับว่าจานกาบหมากสามารถสร้างมูลค่าได้อย่างน่าสนใจ “ภาชนะที่ทำาจากวัสดุธรรมชาติมีหลากหลาย แต่คนส่วนใหญ่ชอบ จาน
ลักษณะของเส้นใบ สีสันที่สวยงามเป็น ธรรมชาติ มีความมันเงาในตัว บรรจุอาหารได้ทั้งแห้งและเปียก ใส่อาหารชนิดน า ซุปร้อนๆ ไม่มีปัญหาเรื่องรั่วซึม
สวนหมากร้อยปีเป็นหนึ่งในจุดเช็คอินที่มีชื่อเสียงของเดิมบางนางบวช
เพิ่มรายได้ให้กับชุมชน สวนหมาก เพิ่มพื้นที่สีเขียวสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้นหมากหนึ่งต้นใช้งานได้ อย่างคุ้มค่า ลำา ต้นสามารถนำา ไปทำา เป็นต้นเสา ผลหมากก็นำา มา รับประทานได้ ใบหมากย่อยสลายทำา เป็นปุ๋ย จนมาถึงกาบที่นำา มาทำา เป็นภาชนะที่มีความแข็งแรง ทนทาน เศษเหลือใช้เมื่อผ่าน กรรมวิธีการผลิตยังสามารถนำา ไปทำา เป็นป้ายสินค้า และรองก้น กระถางสำา หรับงานปลูกต้นไม้อีกด้วย ในฐานะผู้บริโภค วันนี้ถึงเวลาแล้วที่จะช่วยกันสร้างรอยยิ้มให้ เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ มาช่วยกันสนับสนุนภาชนะจากกาบหมาก กันดีกว่า
คุณวิทูลเล่าถึงที่มาและนำาทีมงานไปเยี่ยมชมตั้งแต่ สวนหมากร้อยปี และ สวนหมากของชุมชนที่จัดส่งวัตถุดิบ กว่าจะมาเป็นจาน ชาม
เริ่มที่การคัดเลือกกาบหมากที่มักจะร่วงหล่นมาเอง ตามธรรมชาติ ในหนึ่งปีหมากหนึ่งต้นจะให้กาบจำา นวน 7-8 กาบ จากนั้นนำา มาตากแดดจนแห้งเพื่อป้องกันเชื้อรา ก่อนจะนำา มา ใช้งานต้องนำา มาล้างทำา ความสะอาดและตัดเพื่อให้ได้ขนาดตาม ที่ต้องการ ก่อนจะเข้าเครื่องอัดตามพิมพ์ของภาชนะแต่ละแบบ และนำา มาตัดขอบเก็บความเรียบร้อยสวยงามก่อนบรรจุสินค้า BEDO MAGAZINE 9
ใช้แล้วยิ้มได้กว้างกว่าที่เคย
หนึ่งใบ

สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ

สานต่อ BCG Model อย่างเข้มแข็ง

เป็นองค์กรรองรับการขับเคลื่อนภารกิจการ

INTERVIEW
นับเป็นปีที่สองของการทํา งานในตํา แหน่ง ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐาน ชีวภาพ (สพภ.) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของเบโด้ BEDO ผอ.สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ได้นําความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการทํางานที่ มีดีกรีเข้มข้นเดินหน้าในฐานะแม่ทัพใหญ่ ในการนําพาองค์กรไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ในการ
พัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ตามหลักการ BEDO Concept คือการนําความหลากหลายทาง ชีวภาพมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ควบคู่ ไปกับการอนุรักษ์ที่ยั่งยืน เพื่อให้เกิดกระบวนการ สร้างงาน สร้างรายได้ โดยอาศัยภูมิปัญญา ชุมชนและท้องถิ่น ทําให้เกิดเป็นระบบ จนเมื่อปี 2564 รัฐบาลได้กำา หนดวาระแห่งชาติให้ BCG Economy Model หรือ โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย โดยใช้การ พัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวมใน 3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจ ชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green economy) ซึ่งไปในทิศทางเดียวกับการทำา งานของเบโด้ วิจิตรา ศิริเธียรไชย ปวีณ สมบูรณ์ BEDO MAGAZINE 10

โรงแรมสุวรรณภูมิ วิลล์ แอร์พอร์ต แคตตาลอกฟรายเดย์ และช่องทางออนไลน์

BCG Model เพิ่มการขยายผลและการใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรชีวภาพ เรื่องของไม้มีค่า ป่าครอบครัว นอกเหนือจากการเพิ่มพื้นที่ สีเขียวของเกษตรกร

ได้แก่ ชิงชัน พยุง ประดู่ ตะแบก และจามจุรี ส่งเสริมให้เกิดการใช้ไม้ไทยเป็น ส่วนประกอบในการทำา กีตาร์ เพื่อช่วยลดการใช้ไม้นอก

สร้างเอกลักษณ์ที่โดดเด่นให้กับสินค้า และช่วยเพิ่ม มูลค่าให้กับไม้ไทย

“งานหลักของเบโด้เราทำา เกี่ยวกับเรื่อง Bioeconomy การมี ทรัพยากรชีวภาพในพื้นที่ การผลิตที่เป็นมิตรกับความหลาก หลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์เพื่อให้เกิดความ ยั่งยืน และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลเรามา มุ่งเน้นเรื่องตัว C เศรษฐกิจหมุนเวียน ใช้อย่างไรให้เกิดประโยชน์ และความคุ้มค่ามากที่สุด เพิ่มตัว G เศรษฐกิจสีเขียวในแง่ของ สิ่งแวดล้อมมีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การลดโลกร้อน หรือการเชื่อมโยงกับพื้นที่สีเขียว ไม่สร้างปัญหาเรื่องขยะ เรื่อง น า เสียที่จะมาทำา ลายสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงเรื่องของการลด ก๊าซเรือนกระจก” “ก่อนหน้านี้เราก็ทำา อยู่แต่อาจจะไม่ได้เข้มข้นเหมือนตอนนี้ นโยบายตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นมาในเนื้องานที่เกี่ยวกับชุมชน เราต้องมุ่งเน้นเรื่อง ความคุ้มค่าของการผลิต ดูเรื่องการเพิ่ม พื้นที่สีเขียว เช่น เมื่อก่อนเราเคยแปรรูปทรัพยากรชีวภาพ จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นหนึ่ง เราอาจจะมีเศษวัตถุดิบเหลือทิ้ง แต่ตอนนี้เราต้องมาคิดเพิ่มว่าชิ้นส่วนต่างๆ ของทรัพยากร สามารถนำา มาทำา อะไรได้อีก และในแง่ของการเพิ่มมูลค่า เมื่อก่อนอาจจะแค่ตากแห้งแล้วขาย แต่เราต้องคิดให้มากขึ้นว่า ทำา อย่างไรถึงจะสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าได้มากกว่าเดิม ด้วยการนำา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาช่วยพัฒนาตัวพื้นฐาน ด้วยการยกระดับ และหาช่องทางการตลาด การส่งเสริมธุรกิจ เมื่อผลิตแล้วสามารถขายได้อย่างไร สามารถเพิ่มจุดขายหรือ ขายทางช่องทางออนไลน์เพื่อเพิ่มยอดขาย เมื่อขายได้เยอะ เงินที่จะกลับไปชุมชนมันก็จะมากขึ้น หรือการเพิ่มการบริการ ไปในช่องทางการท่องเที่ยวชีวภาพ เพื่อให้ชุมชนเกิดรายได้” สำา หรับผู้ที่สนใจสินค้าชุมชนทางเบโด้มีจุดขายหลักอยู่ที่ ร้านฟ้าใสแกลอรี่ ณ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ถนนแจ้งวัฒนะ และล่าสุดได้เพิ่มจุดขายไปยังตลาดอตก.
ใน tiktok อีกทั้งยังเน้นการออกงานอีเว้นต์ในห้างสรรพสินค้า งานมหกรรมแสดงสินค้าชุมชนต่างๆ อีกด้วย ในฐานะผู้อำา นวยการ แน่นอนที่สุดคือการสานต่องานเดิมให้ ดำา เนินต่อไป และเพิ่มเติมสิ่งใหม่นั่นก็คือเรื่องของ
งานหลักของเบโด้เราทําเกี่ยวกับเรื่อง Bioeconomy การมีทรัพยากรชีวภาพในพื้นที่ การผลิตที่เป็นมิตรกับความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
C เศรษฐกิจหมุนเวียน ใช้อย่างไรให้เกิดประโยชน์และความคุ้มค่ามากที่สุด เพิ่มตัว G
การลด โลกร้อนหรือการเชื่อมกับพื้นที่สีเขียว ไม่สร้างปัญหาเรื่องขยะ เรื่องนาเสียที่จะมาทําลาย สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงเรื่องของการลดก๊าซเรือนกระจก BEDO MAGAZINE 11
โดยการสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกไม้มี ค่าและปลูกพืชหลากหลาย ทั้งผลไม้ สมุนไพรหรือพืชหัว ในปี 2565 มีงานวิจัยทดลองใช้ไม้ไทย 5 ชนิด
ลดต้นทุน
การอนุรักษ์เพื่อ ให้เกิดความยั่งยืน และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลเรามามุ่งเน้นเรื่องตัว
เศรษฐกิจสีเขียวในแง่ของสิ่งแวดล้อมมีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

จะเด่นเรื่องทรัพยากรชีวภาพหรือเด่นเรื่องการท่องเที่ยว พอถึง

เช่น สุพรรณบุรี จังหวัดที่ตั้งเป้าหมายเป็น Herbal City ซึ่งชุมชน เชื่อมโยงเกี่ยวกับเรื่องสมุนไพร ส่วนจังหวัดกาญจนบุรีและเลย ด้วยลักษณะภูมิประเทศมีความโดดเด่นเรื่องของการท่องเที่ยว ก็ส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยวเชิงชีวภาพเกิดขึ้น

ศักยภาพของแต่ละพื้นที่จะมีดีแตกต่างกันอย่างไร แต่ละที่

ก็จะมีเป้าหมายที่ตั้งไว้เพื่อไปให้ถึง”

ในด้านของแผนการดำา เนินงานที่วางไว้ ผอ.สุวรรณา กล่าวว่า ในปี 2566 “คาดหวังว่าจะมีงานเด่นอย่างน้อยหนึ่งเรื่อง
ปี 2567 ก็จะโฟกัสให้มีเรื่องเด่นๆ อีกสัก 2-3 เรื่องอย่างน้อย ซึ่งจะเพิ่มความเข้มแข็งขึ้นเรื่อยๆ ชุมชนที่เคยทำา สิ่งต่างๆ อยู่แล้ว ก็ต้องมาดูว่าสามารถทำา อะไรได้อีกที่แตกต่างจาก ที่เคยทำา มา การทำา งานในพื้นที่บูรณาการใน 5 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สกลนคร เลย และเชียงใหม่ เพื่อให้เป็น พื้นที่ทำางานร่วมกันทั้งภายในคนของเบโด้เอง และกับคนภายนอก เพื่อที่จะเตรียมพัฒนาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ในเรื่องของการสร้าง ผลิตภัณฑ์ และการบริหารจัดการธุรกิจ ในการที่จะให้คนอื่น มาศึกษาดูงาน ให้เป็นพื้นที่ตัวอย่างของแต่ละด้าน ของแต่ละ ชุมชน จะทำา สามปีต่อกันคือ 2565-2567 พอถึงปี 2568 ก็ คาดหวังว่าจะขยายผลในการที่จะให้ชุมชนอื่นๆ มาดูงาน โดย คาดหวังไว้ว่าจะให้จังหวัดไหนมีความโดดเด่นเรื่องใด
แล้วแต่ว่า
BEDO MAGAZINE 12

Biogang และ Bioeconomy Promotion mark แต่เราไม่ สามารถขยายงานได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากว่าเราเป็นองค์กรเล็ก งบประมาณมีไม่มาก แต่สิ่งที่เราทำา ได้คือการทำา

“ในปี 2566 เราจะมุ่งเน้นเรื่องการใช้ประโยชน์ การรักษา พรรณพืช เน้นเรื่องการอนุรักษ์ เมื่ออนุรักษ์แล้วยังสามารถ นำา ทรัพยากรเหล่านั้นไปทำา อย่างอื่นได้อีกหรือไม่ เช่น น่าน มีมะไฟจีน นอกจากผลที่นำา มารับประทานได้แล้ว เมล็ดมะไฟ จีนสามารถนำา ไปทำา เครื่องสำา อาง และยังเน้นเรื่องของการ รักษาสายพันธุ์ว่ามะไฟจีนมีกี่สายพันธุ์ จังหวัดสุพรรณบุรี เราเข้าไปทำา งานงานวิจัยเรื่อง แห้ว เปลือกแห้วสามารถนำา ไป ทำา สบู่ ซึ่งสรรพคุณของแห้ว มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วย ลดเลือนริ้วรอย สอดคล้องกับนโยบาย BCG ในเรื่องของการนำา มาใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่า ปกติเปลือกแห้วจะนำา ไปทิ้ง แต่กลับ นำา มาใช้ประโยชน์ได้ ช่วยลดการทิ้งขยะและนำา กลับมาใช้ได้อีก ต้นแห้วหรือใบก็สามารถนำา กากมาทำา เป็นกระดาษคล้ายๆ กับ กระดาษสา ทำา ให้ประชาชนเข้าใจได้ง่ายว่า ทำา อย่างไรที่จะให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้” “เป้าหมายในการทำา งาน จากที่เบโด้ทำา งานมา 15 ปี กำา ลัง จะครบรอบ 16 ปีในเดือนกรกฎาคมที่จะถึงนี้ เบโด้มีฐานงาน ฐานข้อมูล ความรู้และนวัตกรรม มีเครื่องมือในการทำา งาน มีชุมชนที่ทำางานร่วมกันมาประมาณ 150 ชุมชน มีฐาน Community Biobank มีเรื่องของเครื่องมือในการทำา งานต่างๆ มีเรื่อง GI สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
เป็นตัวอย่าง เป็นศูนย์เรียนรู้ ออกสื่อเพื่อให้คนสนใจและเกิดการทำา ตาม วิธีการคือเราต้องมีเครื่องมือ มีสื่อสิ่งพิมพ์ มีนิตยสาร เพื่อทำา ให้ แนวคิดนี้มันขยายกว้างขวางได้มากขึ้น โดยเน้นเรื่องการใช้ ประโยชน์ การปฎิบัติได้จริงเพื่อให้พื้นที่ชุมชนทำา ได้จริง คำา ว่า ทำา ได้จริง คือสามารถเกิดเป็นอาชีพ มีรายได้ สุดท้ายมีการแบ่ง รายได้มาสู่เรื่องของการอนุรักษ์เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ชุมชนนี้ทำา ชุมชนอื่นเห็นว่าดีงามก็นำา ไปทำา ต่อโดยใช้เครื่องมือสื่อสาร ออกไป เครื่องมือทางโซเชียลมีเดีย เพื่อให้สาธารณะได้รู้จัก มากขึ้น นี่คือแนวทางการทำา งาน” ตลอดการบริหารงานที่ผ่านมา ผอ.สุวรรณากล่าวว่า เป็นการ ทำางานที่ทำาให้รู้สึกสนุกและมีความสุข ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ในทุกๆ วัน ได้เข้าใจบริบทของชุมชนด้วยการเข้าถึง เรียนรู้และพร้อมที่จะ เป็นพี่เลี้ยงให้กับชุมชนในเครือข่าย ด้วยแนวทางการท ำา ให้เห็น เป็นตัวอย่าง เมื่อไหร่ที่ชุมชนต้องการความรู้และความช่วยเหลือ เบโด้พร้อมที่จะสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพของ ชุมชนให้เข้มแข็งขึ้น สามารถยืนหยัดได้ด้วยตัวเอง แต่ยังคงมี เบโด้เป็นกองหลัง สร้างความอุ่นใจได้เสมอ งานหลักของเบโด้เราทําเกี่ยวกับเรื่อง Bioeconomy การมีทรัพยากรชีวภาพในพื้นที่ การผลิตที่เป็นมิตร กับความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม การ อนุรักษ์เพื่อให้เกิดความยั่งยืน และเพื่อให้สอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลเรามามุ่งเน้นเรื่องตัว C เศรษฐกิจหมุนเวียน
การลดโลกร้อนหรือการเชื่อมกับพื้นที่สีเขียว ไม่สร้าง ปัญหาเรื่องขยะ เรื่องนาเสียที่จะมาทําลายสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงเรื่องของการลดก๊าซเรือนกระจก BEDO MAGAZINE 13
ใช้อย่างไรให้เกิดประโยชน์และ ความคุ้มค่ามากที่สุด เพิ่มตัว G เศรษฐกิจสีเขียวในแง่ ของสิ่งแวดล้อมมีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ใบใหญ่และมีรากมาก ช่วย

คัญให้กับพืช และยังช่วยป้องกันศัตรู

ทำา ให้เกิดประสิทธิภาพ ส่งเสริมการ จัดทำา มาตรฐาน GAP ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้งาน TAD Application ที่รวบรวมห่วงโซ่ในกระบวนการเกษตรที่จะทำา ให้ เกษตรกรเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ การส่งเสริมจากภาครัฐ และ เอกชน แหล่งเงินทุน เกษตรกรสามารถสร้างแปลงเพาะปลูก ในระบบได้ สามารถเสนอซื้อและขายผลผลิตในระบบ

ต้องการ เพิ่มโอกาสเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรสามารถขายผลผลิต ได้โดยตรง และสามารถขายแบบจองล่วงหน้าจากการส่งเสริม

ONE OF BCG MODEL
ข้าว หนึ่งในพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ ไทยที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวสายพันธุ์ดีที่ส่งออกไป ยังต่างประเทศ สร้างมูลค่าได้อย่างมหาศาล แต่ทําไมอาชีพชาวนายังดูเป็นอาชีพที่ยากจนและลําบาก รัฐบาลเล็งเห็นความสํา คัญและต้องการแก้ไขปัญหาในจุดนี้ จึงได้ก่อตั้งโครงการข้าวรักษ์โลก BCG Model โดยมีจุดประสงค์ให้ชาวนาได้ทํา การปฏิวัติการทํา นาเสียใหม่ เพื่อให้ชาวนามีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้นและยั่งยืน การปฏิวัติการทำา นาในครั้งนี้เป็นการทำา นาแบบประณีต เลิกใช้ ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงและยาฆ่าหญ้า โดยใช้จุลินทรีย์เพื่อการเกษตร SG1 ที่สามารถทำา ให้ต้นไม้แข็งแรง
พืชและโรคร้าย ควบคุมการเจริญเติบโตของหญ้า และยังส่ง เสริมนวัตกรรมเทคโนโลยีโดรนเพื่อการเกษตร ทำา ให้ได้ข้าวที่ มีคุณภาพปลอดสารพิษ ดีต่อสุขภาพผู้ปลูกและผู้บริโภคและยัง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้การตลาดนำา การเพาะปลูกเพื่อนำา ไป สู่การปลูกข้าวที่ได้ มาตรฐานสูง ประสิทธิภาพสูงและท้ายสุด ทำา ให้ชาวนามีรายที่สูงขึ้น
ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรลด ต้นทุนในการเพาะปลูก
โครงการดังกล่าว
ดีต่อสุขภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม BEDO MAGAZINE 14
โครงการ ข้าวรักษ์โลก
สร้างธาตุสารอาหารที่สำา
โครงการข้าวรักษ์โลกเน้นการใช้เครื่องกำา เนิดพลังงานไฟฟ้า พลังงานทางเลือกแบบหมุนเวียน
เอกชน สามารถเข้ามาเปิดร้านค้าในระบบได้ ระบบสามารถจับคู่ความ
ทำาให้ได้ผลผลิตข้าวที่ดีมีคุณภาพ ปลอดสารพิษ

BEDO จัดประชุมเชิงปฎิบัติการ

Inception Workshop

Inception Workshop โครงการบูรณาการการท่องเที่ยวบน

BULLETIN
วันที่ 23 มีนาคม 2566 BEDO จัดการประชุมเชิงปฎิบัติการ
พื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ
เที่ยวอย่างยั่งยืน ในการประชุมครั้งนี้ได้เปิดเวทีแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะเพื่อการขับเคลื่อนโครงการฯ ให้สัมฤทธิผล พร้อมทั้งประมวลสรุปความคิดเห็นและข้อ เสนอแนะจากที่ประชุม เพื่อการจัดทำา รายงานสรุปผลการ ประชุมเชิงปฎิบัติการต่อไป BEDO จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ Bioeconomy in Action วันที่ 3 เมษายน 2566 BEDO ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมสตอกโฮล์ม พร้อมด้วยสำา นักการเกษตรต่างประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สถาบันพระปกเกล้า และสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย จัดงานประชุมเชิงปฎิบัติ การ Bioeconomy in Action : Alternative Inclusive Pathways to Sustainability in Southeast Asia โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับฟังความ เห็นและมุมมองด้านนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพในระดับภูมิภาคและระดับ สากล ณ โรงแรมเซ็นทารา บาย เซ็นทารา ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ และ ถ่ายทอดผ่านโปรแกรม Zoom และ Facebook Live BEDO MAGAZINE 15
เพื่อการพัฒนาการท่อง
Chewa ชีวาร์ แบรนด์สินค้าคุณภาพที่ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทางด้านสมุนไพรไทยให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ชั้นยอดของวิสาหกิจชุมชนชีววิถี ต� า บลน�้ า เกี๋ยน จนได้รับรางวัลผลิตภัณฑ์สมุนไพรดีเด่นระดับชาติ PMHA AWARDS จากกรมการแพทย์แผนไทย แชมพูและครีมนวดสูตรสมุนไพรไทย นับเป็นสินค้าขายดี ที่สร้างชื่อเสียงให้กับแบรนด์มาอย่างยาวนาน บลน า เกี๋ยน เภอภูเพียง จังหวัดน่าน โทร.054-719419 CHEWA
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.