ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา

Page 1

การเลี้ยงสัตวอินทรีย ศูนยเรียนรูวัฒนธรรมเกษตรลานนา มีการเลี้ยงสัตวในระบบ อินทรีย ซึ่งไดแก$ หมูหลุม และไก$หลุม เป(นตน ในกระบวนการ เลี้ยงสัตวจะใชวัตถุดิบทีม่ าจากธรรมชาติในการเลี้ยงสัตว ตั้งแต$ กระบวนการทําคอกสัตว จนถึงการผสมอาหารสัตว การรักษา และดูแลสัตวเลี้ยง ตองไม$ใชสารเคมี นอกจากจะไดสัตวที่เป(น อินทรียแลว ยังไดปุ/ยอินทรียอีกดวย

การทําจุลินทรียทองถิ่น หัวใจสําคัญของการทําการเกษตรแบบธรรมชาติ คือ 1. การผลิตเชื้อราขาว 2. การผลิตน้าํ หมักจุลินทรีย 3 ประเภท 7 ชนิด 3. การผลิตน้าํ หมักจุลินทรียป9องกันกําจัดศัตรูพืช และสัตว

การผลิตเชื้อราขาว ทําได 3 อยาง 1. การเก็บเชื้อราขาว (IMO1) 2. การทําหัวเชื้อราขาว (IMO2) 3. การทําหัวเชื้อขยาย (IMO3)

การผลิตน้ําหมักจุลินทรีย 3 ประเภท 7 ชนิด ประเภทที่ 1 จากพืช (พืชสีเขียว, ผลไม, พืชสมุนไพร) 1. น้ําหมักจุลินทรียจากพืชสีเขียวและสด 2. น้ําหมักจุลินทรียจากผลไมสุก 3. น้ําหมักจุลินทรียจากพืชสมุนไพร ประเภทที่ 2 จากน้าํ ซาวขาว (นมสด. เปลือกไข$, ถ$านกระดูกสัตว) 4. น้ําหมักจุลินทรียจากนมสดกับน้าํ ซาวขาว 5. น้ําหมักจุลินทรียจากเปลือกไข$กบั น้ําซาวขาว 6. น้ําหมักจุลินทรียจากถ$านกระดูกสัตวกับน้าํ ซาวขาว ประเภทที่ 3 จากสัตว (เศษกุง, หอย, ปู, ปลา, ไสเดือน, รกหมู) 7. น้ําหมักจุลินทรียจากสัตว

เพื่อเนน 1. ลดตนทุนการผลิต 2. ใชป;จจัยการผลิตในทองถิ่น 3. ปลอดภัยจากสารพิษ (ไม$ใชสารเคมี) 4. การส$งเสริมสภาพแวดลอม นําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใชในการผลิตทาง การเกษตร

การผลิตเชื้อราขาว ประโยชน ช$วยย$อยสลายเร็ว(ทําปุ/ย หมัก), ปรับความเป(น กรด-ด$าง. ทําใหดินปลดปล$อยแร$ธาตุ, ทํา ใหดินโปร$งมีออกซิเจน(จุลินทรียทํางานอย$างมีประสิทธิภาพ), ทํา ใหพืชตานทานโรค, ลดตนทุนการผลิต, เพิ่มผลผลิต, พัฒนา สิ่งแวดลอม(กําจัดขยะ, กําจัดกลิ่นเหม็น, กําจัดมลภาวะ)

การผลิตน้ําหมักจุลินทรียป%องกันกําจัดศัตรูพืช และสัตว การใชวัสดุจากธรรมชาติ เช$น สาบเสือ ใบยูคา ใบสะเดา ใบยาสูบ ไหลแดง(โลติ้น) หนอนตายยาก ตะไครหอมบอระเพ็ด กระเทียม พริกขี้หนู ดีปลี ฯลฯ ผสมกับ น้าํ ตาลทรายแดง ในอัตราส$วน 7 : 3 เช$น พืช 7 กิโลกรัม ต$อ น้ําตาลทรายแดง 3 กิโลกรัม วิธีใช 1. พ$นศัตรูพืช 3-4 ชอน ต$อน้ํา 10 ลิตร 2. พ$นศัตรูสัตว 3-4 ชอน ต$อน้ํา 10 ลิตร 3. พ$นวัชพืช 7-10 ชอน ต$อน้ํา 10 ลิตร

ติดตอสอบถาม : สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร โทร. 0-5387-3415 , 0-5387-3400, 0-5387-3426


การปลูกพืชผักพื้นบาน

การเกษตรเป(นรากฐานของคนไทยมาตั้งแต$สมัย โบราณ ทั้งนี้การพัฒนาการของการเกษตรของ ประเทศไทยนั้น มีมหาวิทยาลัยแม$โจเป(นส$วนหนึ่งการ ร$วมมือกันผลักดัน และรวบรวมองคความรูดาน การเกษตรมาไว เพื่อเป(นแหล$งเรียนรูของคนในรุ$นนี้ และรุ$นต$อไป ดังนั้นมหาวิทยาลัยแม$โจ จึงไดจัดตั้ง ศูนยเรียนรูวัฒนธรรมเกษตรลานนา เพื่อเป(นแหล$ง เรียนรู ศึกษาดูงานดานการเกษตรใหแก$เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา เยาวชน และผูที่สนใจทั้งในและ ต$างประเทศ ในการเขาศึกษาดูงานในดานการดําเนิน วิถีชีวิตที่เป(นรากฐานของคนลานนา บนพื้นที่ 35 ไร$ ใหเป(นศูนยกลางการเรียนรูดานการเกษตรแบบ ลานนา ที่เป(นองคความรูที่สามารถเรียนรูไดจริงและ ปฏิบัติจริง ตามวิถีชิวิตเกษตรลานนา มีการนอมนํา แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม$ และปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงประยุกตใชในการดําเนินชีวิต เพื่อลด ค$าใชจ$ายในครัวเรือนรวมทั้ง เป(นแหล$งรวบรวม อุปกรณที่ใชทางการเกษตรของพื้นบานลานนา และ เป(นแหล$งรวบรวมพันธุไมต$างๆ เช$น พืชหายากที่ควร ค$าแก$การอนุรักษ และถ$ายทอดเทคโนโลยีสู$ชุมชุน ต$อไปไดอย$างภาคภูมิใจ

วัตถุประสงค 

เป(นศูนยเรียนรู ศึกษาดูงานใหแก$เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผูที่สนใจ เพื่อเป(นสถานทีฝ่ Rกอบรม และสาธิต การทําการเกษตรแบบ ธรรมชาติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ตนแบบพื้นที่เกษตรอินทรียของมหาวิทยาลัย และเป(น กลไกหนึ่งในการกาวสู$มหาวิทยาลัยแห$งชีวติ เป(นพื้นที่เกษตรอินทรียตนแบบ

กิจกรรม    

การปลูกพืชผักพื้นบาน การปลูกขาวไรซเบอรี่ การเลี้ยงสัตวอินทรีย การทําจุลนิ ทรียทองถิ่น

ภาคเหนืออุดมสมบูรณไปดวยปSาไม ชาวเหนือมีการเรียนรู การกินผักและอาหารอย$างหลากหลาย โดยเฉพาะผักพื้นบาน ของไทยเรา ที่หาง$าย อยู$ตามรั้วรอบๆ บานที่มีคุณค$าสารอาหาร สรรพคุณไม$แพผักจากต$างประเทศ อีกทั้งไดประโยชนสารอาหาร ครบถวน เป(นทัง้ ยาและเป(นอาหารได เช$น สะเดา ผักแพว กะเพรา ตะไคร มะกรูด มะนาว ชะอม ไพร ฯลฯ เป(นตน

การปลูกขาวไรซเบอรี่ ป;จจุบันชาวนาหันมาปลูกขาวไรซเบอรี่กันมาก ดวยความ รักสุขภาพ ขาวไรซเบอรี่มีคุณประโยชนสูง การปลูกขาวไรซเบอรี่ สามารถปลูกไดตลอดทั้งปU มีอายุเก็บเกี่ยว 130 วัน ใหผลผลิต ปานกลาง มีความสามารถตานทางต$อโรคไหม การปลูกตองใช การโยนกลา หรือป;กดํา เนื่องจากการปลูกขาวไรซเบอรี่เป(นการ ปลูกแบบปลอดสารเคมี ซึ่งถาปลูกดวยวิธีการหว$าน จะทําให ดูแลรักษาไดยาก ป9องกันโรคและแมลงยาก ผลผลิตทีไ่ ดรับไม$ดี แต$เราสามารถผลิตน้าํ หมักเพื่อป9องกันศัตรูพืชและศัตรูสัตวเลี้ยง ไดจากพืชผักพื้นบาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.