คู่มือมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้และมาตรฐานข้าวอินทรีย์แม่โจ้

Page 1


คำนำ มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้และมาตรฐานข้าวอินทรีย์แม่โจ้เล่ม นี้ เป็นมาตรฐานที่จัดทาขึ้น โดยคณะกรรมการวิชาการ ของสถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ้ า งอิ งจากมาตรฐานสิน ค้า เกษตร เรื่ อ ง เกษตรอิ นทรีย์ เล่ ม 1 : การผลิต แปรรู ป แสดงฉลาก และจาหน่าย ผลิตผลและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (มกษ.9000 เล่ม 1-2552) และมาตรฐานสินค้า เกษตร เรื่อง เกษตรอินทรีย์ เล่ม 4 : ข้าวอินทรีย์ (มกษ.9000 เล่ม 4-2553) ของสานักงานมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ซึ่งมาตรฐานเล่มนี้ เป็นมาตรฐานเล่มแรกที่สถาบันฯ ดาเนินการจัดทาขึ้น เพื่อเป็นมาตรฐานในการตรวจประเมินเพื่อการรับรองแก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ครอบคลุมวิธีการผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจาหน่ายผลผลิตและ ผลิตภัณฑ์พืชอินทรีย์ และข้าวอินทรีย์ เพื่อให้ เกษตรกรนาไปเป็นหลักเกณฑ์ปฏิบัติในการรับรอง ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ มาตรฐานพื ชอิ น ทรี ย์ แ ม่ โ จ้ แ ละมาตรฐานข้ า วอิ น ทรี ย์ แ ม่ โ จ้ เ ล่ ม นี้ ไ ด้ ผ่ า นกระบวนการ พิจารณาจากคณะกรรมการวิชาการ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ภายใต้ โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่ามาตรฐานเล่มนี้จะ เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการในการเป็นแนวทางการปฏิบัติเพื่อการรับรองผลผลิตและผลิตภัณฑ์ พืชอินทรีย์และข้าวอินทรีย์ให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศต่อไป

คณะกรรมการดาเนินงาน สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สิงหาคม 2561


สารบัญ คำนำ สำรบัญ มำตรฐำนพืชอินทรีย์แม่โจ้ มำตรฐำนข้ำวอินทรีย์แม่โจ้ คณะกรรมกำรวิชำกำรพิจำรณำมำตรฐำนพืชอินทรีย์และมำตรฐำนข้ำวอินทรีย์แม่โจ้

1 31 45


1

มาตรฐานพืชอินทรียแ์ ม่โจ้ การผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจาหน่ายผลผลิตและผลิตภัณฑ์พืชอินทรีย์ 1 ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้นี้ กาหนดวิธีการผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจาหน่ายผลผลิตและ ผลิตภัณฑ์พืชอินทรีย์ 1.2 มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้นี้ อ้างอิงจากมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง เกษตรอินทรีย์ เล่ม 1 : การผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจาหน่าย ผลิตผลและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (มกษ.9000 เล่ม 1-2552) ของสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 1.3 มาตรฐานนี้ครอบคลุมถึงผลิตผลที่ได้จากระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ของพืช 2 นิยาม ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้นี้ มีดังต่อไปนี้ 2.1 เกษตรอิ นทรีย์ (organic agriculture) หมายถึ ง ระบบจัดการการผลิตด้ านการเกษตรแบบ องค์รวม ที่เกื้อหนุนต่อระบบนิเวศ รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ วงจรชีวภาพ โดยเน้นการใช้ วัสดุธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการใช้วัตถุดิบจากการสังเคราะห์ และไม่ใช้ พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ที่ได้มา จากเทคนิคการดัดแปรพันธุกรรม (genetic modification) มีการจัดการกับผลิตภัณฑ์โดยเน้นการ แปรรู ป ด้ ว ยความระมัด ระวั ง เพื่ อ รั ก ษาสภาพการเป็ น เกษตรอิ น ทรีย์ แ ละคุ ณภาพที่ สาคั ญ ของ ผลิตภัณฑ์ในทุกขั้นตอน 2.2 องค์ ร วม (holistic) หมายถึ ง การให้ ค วามส าคั ญ ของสรรพสิ่ ง และกิ จ กรรมโดยรวมของ ระบบนิเวศ 2.3 สารสังเคราะห์ (synthetic chemicals) หมายถึง สารที่ผลิตโดยกระบวนการทางเคมีซึ่งแตกต่าง ไปจากระบบทางชีวภาพที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ 2.4 การดั ด แปรพั น ธุ ก รรม (genetic modification) หมายถึ ง การปรั บ เปลี่ ย นพั น ธุ ก รรมของ สิ่งมีชีวิตให้มีคุณลักษณะใหม่ตามที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีทางชีวภาพสมัยใหม่ 2.5 เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (modern biotechnology) หมายถึง การใช้เทคนิคต่างๆ ได้แก่ เทคนิคการถ่ายทอดกรดนิวคลิอิกนอกร่างกายสิ่งมีชีวิต (in vitro nucleic acid technique) และ การนาดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid; DNA) เข้าสู่เซลล์หรือออร์แกเนลล์ (organelles) โดยตรง


2 หรื อ การรวมตั ว ของเซลล์ (fusion of cell) ที่ ต่ า งวงศ์ กั น ตามหลั ก อนุ ก รมวิ ธ าน (taxonomic family) ซึ่งการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวช่วยให้พ้นข้อจากัดของการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ และไม่ใช่ เทคนิคการผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์ตามปกติ (traditional breeding and selection) 2.6 อินทรีย์ (organic) เป็นคาที่ใช้ระบุฉลากสาหรับผลิตผลจากพืช ที่ได้จากการผลิตตามมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์เพื่อใช้เป็นอาหารที่ได้จากการแปรรูปตามมาตรฐานเกษตรอิ นทรีย์ ซึ่งได้รับการรับรอง คานี้หมายความรวมถึงคาที่ใช้ระบุฉลากว่า “เกษตรอินทรีย์” หรือ “ออร์แกนิก” หรือ “organic” ด้วย 2.7 ช่วงปรับเปลี่ยนเป็นอินทรีย์ (transition to organic หรือ conversion to organic) เป็นคาที่ ระบุฉลากสาหรับผลิตผล หรือผลิตภัณฑ์จากพืช ที่ได้จากการผลิต และ/หรือ แปรรูป ตามระบบ การผลิตแบบอินทรีย์ที่อยู่ในระยะการปรับเปลีย่ นที่จาหน่ายเป็นอาหาร ที่ได้รับการรับรองจาก หน่วย รับรอง 2.8 ระยะปรับเปลี่ยน (transition period หรือ conversion period) หมายถึง ช่วงเวลานับจาก เริ่มต้นผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ตามข้อกาหนดในมาตรฐาน จนกระทั่งได้รับการรับรองผลิตผลหรือ ผลิตภัณฑ์ว่าเป็นเกษตรอินทรีย์ 2.9 แนวกั น ชน (buffer zone) หมายถึ ง แนวเขตที่ ใ ช้ กั้ น บริ เ วณการผลิ ต ตามมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์ ซึ่งมีขึ้นเพื่อป้องกันการปนเปื้อนสารเคมีจากบริเวณข้างเคียง 2.10 การปลูกพืชหมุนเวียน (crop rotation) หมายถึง การปลูกพืชต่างชนิดสลับกันบนพื้นที่หนึ่งๆ เพื่อ ลดปริมาณการระบาดของศัตรูพืช หรือปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์และเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน 2.11 การแสดงฉลาก (labeling) หมายถึง ข้อความที่เขียน พิมพ์ หรือ รูป รูปภาพ รอยประดิษฐ์ ที่ปรากฏบนฉลาก กากับมากับผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ หรือแสดงไว้ใกล้ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ รวมถึง เพื่อวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการขาย 2.12 ผลิตผล (produce) หมายถึง ผลิตผลที่ได้จากการเพาะปลูกที่ผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ หรือ การเก็บเกี่ยวจากธรรมชาติ และ/หรือ ผ่านการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวแล้ว 2.13 ผลิตภัณฑ์ (product) หมายถึง ผลิตผลจากระบบเกษตรอินทรีย์ ที่ผ่านกระบวนการแปรรูป เพื่อใช้เป็นอาหาร 2.14 ผู้ผลิต (producer/famer) หมายถึง ผู้ทาการเพาะปลูก ดูแล รักษา เก็บเกี่ยว การปฏิบัติ การหลังการเก็บเกี่ยว และการขายผลิตผล


3 2.15 ผู้ประกอบการ (operator) หมายถึง ผู้ที่ดาเนินกิจการในการ ผลิต จัดเตรียม หรือนาเข้า หรือ ส่งออก ผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนาไปจาหน่าย หรือเป็นผู้จัดจาหน่าย 2.16 การผลิต (production) หมายถึง การดาเนินการผลิตในขั้นที่อยู่ ในฟาร์ม รวมถึงการบรรจุ หีบห่อในขั้นต้น และการแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์ 2.17 การจั ด เตรี ย ม (preparation) หมายถึ ง การปฏิ บั ติ ก ารต่ า งๆ ได้ แ ก่ กระบวนการแปรรูป การถนอมรักษา และการบรรจุหีบห่อผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ และรวมทั้งการดัดแปลงแก้ไข การแสดงฉลากที่เกี่ยวข้องกับการนาเสนอวิธีการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ 2.18 วัสดุปุ๋ย (fertilizer materials) หมายถึง สารที่มีส่วนประกอบของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม หรือสารอื่นๆ ที่เป็นธาตุอาหารของพืชอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน 2.19 ปุ๋ยอินทรีย์ (organic fertilizers) หมายถึง ปุ๋ยที่ได้หรือทามาจากวัสดุอินทรีย์ ซึ่งผลิตด้วย กรรมวิธีทาให้ชื้น สับ หมัก บด ร่อน สกัด หรือด้วยวิธีการอื่น และวัสดุอินทรีย์ถูกย่อยสลายสมบูรณ์ ด้วยจุลินทรีย์ แต่ไม่ใช่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพ 2.20 ปุ๋ยชีวภาพ หมายถึง ปุ๋ยที่ได้จากการนาจุลินทรีย์ที่มีชีวิตที่สามารถสร้างอาหาร หรือช่วยให้ ธาตุ อ าหารเป็ น ประโยชน์ แ ก่ พื ช มาใช้ ใ นการปรั บ ปรุ งบ ารุ งดิ น ทางชี ว ภาพ ทางกายภาพ และ ทางชีวเคมี และให้ความหมายรวมถึงหัวเชื้อจุลินทรีย์ 2.21 สารปรั บ ปรุ ง พื ช (plant amendments) หมายถึ ง สารที่ ใ ช้ ป รั บ ปรุ ง การเจริ ญ เติ บ โต การให้ ผลผลิต การควบคุมคุณภาพ และลักษณะอื่นๆ ของพืช 2.22 สารปรั บ ปรุ งบ ารุ งดิ น (soil amendments) หมายถึ ง วั ส ดุ ที่ ช่ว ยปรั บ ปรุ งสภาพทางเคมี ชีวภาพ และกายภาพของดิน ให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตที่มีคุณภาพ 2.23 วั ต ถุ เ จื อ ปนอาหาร (food additives) หมายถึ ง วั ต ถุ ที่ ป กติ มิ ไ ด้ ใ ช้ เ ป็ น อาหาร หรื อ เป็ น ส่วนประกอบอาหาร ไม่ว่าจะมีคุณค่าทางโภชนาการหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อเป็น ประโยชน์ทางเทคโนโลยี ในการผลิต การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมี ผลต่อคุณภาพ หรือมาตรฐานหรือลักษณะของอาหาร และหมายความรวมถึง วัตถุที่มิได้ใช้เจือปนอาหารแต่ใช้ รวมอยู่กับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย คานี้จะไม่รวมถึงสารปนเปื้อน หรือสารที่เติมใน อาหาร เพื่อรักษาหรือปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ


4 2.24 การรับรอง (certification) หมายถึง ขั้นตอนการดาเนินงาน โดยหน่วยรับรอง ในการออก ใบรับรองว่าผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์หรือระบบการควบคุมผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ เป็นไปตามข้อกาหนด ของมาตรฐานนี้ 2.25 หน่วยรับรอง (certification body) หมายถึง หน่วยที่รับผิดชอบในการตรวจ (inspection) และการรับรอง (certification) ว่าผลผลิต และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ เป็นไปตามมาตรฐานนี้ 2.6 การตรวจ (inspection) หมายถึง การตรวจสอบ (examine) ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ หรือระบบ สาหรับควบคุมผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบ กระบวนการแปรรูป และการจัดจาหน่าย รวมทั้ง การทดสอบในกระบวนการแปรรูปและผลิตภัณฑ์สุดท้าย เพื่อทวนสอบว่าเป็นไปตามข้อกาหนด ส าหรั บ การตรวจตามมาตรฐานพื ช อิ น ทรี ย์ แ ม่ โ จ้ จะรวมถึ ง การตรวจสอบระบบการผลิ ต และ กระบวนการแปรรูปด้วย 3 หลักการของพืชอินทรีย์ 3.1 พัฒนาระบบการผลิตไปสู่แนวทางเกษตรผสมผสานที่มคี วามหลากหลายของพืชและสัตว์ 3.2 พัฒนาระบบการผลิตที่พึ่งพาตนเองในเรื่องของอินทรียวัตถุและธาตุอาหารภายในฟาร์ม 3.3 ฟื้นฟูและรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและคุณภาพน้าด้วยอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยพืชสดอย่างต่อเนื่องโดยใช้ทรัพยากรในฟาร์มมาหมุนเวียนใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.4 รักษาความสมดุลของระบบนิเวศในฟาร์ม และความยั่งยืนของระบบนิเวศโดยรวม 3.5 ป้องกันและหลีกเลีย่ งการปฏิบัติที่ทาให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 3.6 ยึดหลักการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปที่เป็นวิธีการธรรมชาติ ประหยัดพลังงาน และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด 3.7 รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ของระบบการเกษตรและระบบนิเวศรอบข้าง รวมทั้งการ อนุรักษ์แหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของพืชและสัตว์ป่า 3.8 รักษาความเป็นอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่การผลิต แปรรูป เก็บรักษา และจาหน่าย 3.9 หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ตลอดกระบวนการผลิต แปรรูป และเก็บรักษา 3.10 ผลิตผล ผลิตภัณฑ์ หรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ ต้องไม่มาจากการดัดแปรพันธุกรรม 3.11 ผลิตภัณฑ์หรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ ต้องไม่ผ่านการฉายรังสี


5 4 ข้อกาหนดวิธีการผลิตพืชอินทรีย์ 4.1 ข้อกาหนดวิธีผลิตพืชอินทรีย์ให้นามาใช้ปฏิบัติตลอดระยะการปรับเปลี่ยนเป็นเวลาอย่างน้อย 12 เดือน ก่อนปลูกพืชสาหรับพืชล้มลุก และ 18 เดือนก่อนเก็บเกี่ยวผลิตผลอินทรีย์ครั้งแรกสาหรับ พืชยืนต้น โดยระยะปรับเปลี่ยน นับตั้งแต่ผู้ผลิตได้นามาตรฐานนี้ไปปฏิบัติแล้ว และสมัครขอรับ การรับรองต่อหน่วยรับรอง 4.2 ในกรณีที่มีหลักฐานแสดงได้ว่าไม่มีการใช้สารเคมีห้ามใช้ในพื้นที่ที่ขอการรับรอง มาเป็นเวลานาน เกินกว่า 12 เดือน สาหรับพืชล้มลุก และ 18 เดือน สาหรับพืชยืนต้น ผู้ผลิตสามารถขอลดระยะ การปรับเปลี่ยนลงโดยการยอมรับจากหน่วยรับรอง แต่ระยะเวลานับจากการยื่นขอรับการรับรองจน หน่วยรับรองให้การรับรองผลิตผลว่าเป็นอินทรีย์จะต้องไม่น้อยกว่า 6 เดือน 4.3 หน่วยรับรองอาจพิจารณาเพิ่มระยะการปรับเปลี่ยนที่นานกว่าที่กาหนดในข้อ 4.1 หากมีข้อมูล จากประวัติการใช้พื้นที่แสดงว่าได้มีการใช้สารเคมีในปริมาณมากมาก่อนหน้านั้น 4.4 ถ้าฟาร์มที่ไม่ได้เปลี่ยนเป็นเกษตรอินทรีย์พร้อมกันทั้งหมด ผู้ผลิตสามารถทยอยเปลี่ยนพื้นที่ บางส่ ว นได้ แต่ ต้ อ งเป็ น พื ช ต่ า งชนิ ด หรื อ ต่ า งพั น ธุ์ ที่ แ ยกแยะความแตกต่ า งของผลิ ต ผลได้ มีการแบ่งแยกพื้นที่และกระบวนการจัดการให้ชัดเจน และผลิตผลเกษตรอินทรีย์จะต้องไม่ปะปนกับ ผลิตผลจากพื้นที่ที่ไม่ใช่เกษตรอินทรีย์ 4.5 พื้นที่ที่ทาเกษตรอินทรีย์แล้วต้องไม่เปลี่ยนกลับไปทาการเกษตรที่ใช้สารเคมี 4.6 ผู้ผลิตต้องมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่อาจมาทางดิน น้า อากาศ เช่น สิ่งกีดขวาง ทาคันกั้น หรือปลูกพืชเป็นแนวกันชน เพื่ อป้องกันการปนเปื้อน จากแปลงข้างเคียง หรือจากแหล่งมลพิษ โดยวิธีการต้องเหมาะกับความเสี่ยงที่จะเกิดการปนเปื้อน 4.7 ต้องรักษาหรือเพิ่มระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินและกิจกรรมทางชีวภาพที่เป็นประโยชน์ในดิน ดังนี้ (1) มีการปลูกพืชตระกูลถั่ว การใช้ปุ๋ยพืชสด การใช้พืชรากลึกในการปลูกหมุนเวียน (2) ใส่วัสดุอินทรีย์ที่เป็นผลพลอยได้จากแปลงปลูกพืช หรือฟาร์มปศุสัตว์ ที่ปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ (3) การเร่งปฏิกิริยาของปุ๋ยอินทรีย์อาจใช้เชื้อจุลินทรีย์หรือวัสดุจากพืชที่เหมาะสมได้ (4) การใช้สิ่งที่ได้จากการเตรียมทางชีวพลวัต (biodynamic preparations) จากหินบด ปุ๋ยคอก หรือวัสดุจากพืช


6 หมายเหตุ ในกรณีวิธีที่ระบุในข้อ 4.7 (1) และ ข้อ 4.7 (2) ให้ธาตุอาหารแก่พืชไม่เพียงพอ หรือไม่ สามารถหาวัสดุอินทรีย์ที่ได้มาจากการปฏิบัติ ตามมาตรฐานนี้เพียงพอ อาจใช้สารปรับปรุงบารุงดิน อืน่ ๆ ที่อยู่ในภาคผนวก ก ตารางที่ ก.1 ได้ 4.8 การควบคุมหรือป้องกันกาจัดศัตรูพืช โรคพืช และวัชพืช ต้องดาเนินการโดยใช้มาตรการใด มาตรการหนึ่ง หรือหลายมาตรการรวมกัน ดังต่อไปนี้ (1) การเลือกใช้พันธุ์พืชที่เหมาะสม (2) การปลูกพืชหมุนเวียน (3) การใช้เครื่องมือกลในการเพาะปลูก (4) การอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติของศัตรูพืชโดยจัดหาที่อยู่อาศัยให้เหมาะสม เช่น แนวป่าละเมาะ แนวรั้วต้นไม้พุ่มเตี้ย และแหล่งอาศัยของนก การมีแนวกันชน เพื่อรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ที่เป็นแหล่งอาศัยของศัตรูธรรมชาติของศัตรูพืช (5) การรักษาระบบนิเวศ เช่น ทาพื้นที่ป้องกันการชะล้างของดินการปลูกพืชหมุนเวียน (6) การใช้ศัตรูธรรมชาติรวมถึงการปล่อยสิ่งมีชีวิตที่ทาลายศัตรูพืชได้ เช่น ใช้ตัวห้า (predator) และ ตัวเบียน (parasite) (7) การใช้สิ่งที่ได้จากการเตรียมทางชีวพลวัตจากหินบด ปุ๋ยคอก หรือวัสดุจากพืช (8) การคลุมหน้าดินและการรักษาหญ้าด้วยการตัดแต่ง (ไม่ใช่การไถออก) (9) การกาจัดวัชพืชโดยใช้สัตว์เลี้ยง โดยในกรณีพืชอาหาร ต้องระวังการปนเปื้อนของ จุลินทรีย์ก่อโรค จากมูลสัตว์สู่ส่วนที่บริโภคได้ของพืชด้วย (10) การควบคุมโดยใช้วิธีกล เช่น การใช้กับดักหรือใช้ไฟล่อ และใช้เสียงขับไล่ 4.9 ในกรณีที่มาตรการข้อ 4.8 ข้างต้นใช้ป้องกันพืชที่ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงไม่ได้ ให้ใช้ สารตามภาคผนวก ก ตารางที่ ก.2 4.10 เมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ ต้องมาจากระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ ยกเว้นในกรณี จาเป็นที่แสดงให้เห็นว่าหาเมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ขยายพันธุ์ที่เป็นไปตามข้อกาหนดไม่ได้ อาจอนุโลมให้ ใช้เมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์จากแหล่งทั่วไปได้ โดยเมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์นั้นต้อง ไม่ผ่านการใช้สารเคมี กรณีที่หาเมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ที่ไม่ใช้สารเคมีไม่ได้ จะต้องมีวิธีการ


7 กาจัดสารเคมีออกอย่างเหมาะสมก่อนนามาใช้ และต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง 4.11 พืชและส่วนของพืชที่ใช้บริโภค ซึ่งได้จากธรรมชาติ จัดว่าเป็นผลิตผลอินทรีย์ ต่อเมื่อ 4.11.1 ผลิตผลมาจากบริเวณที่มีการกาหนดขอบเขตชัดเจนว่าเป็นพื้นที่ธรรมชาติ โดยเป็นพื้นทีท่ ี่ ไม่เคยใช้ทาการเกษตรหรือไม่เคยใช้สารเคมีที่ห้ามใช้อย่างน้อย 3 ปี และการเก็บเกี่ยวผลผลิตนั้น จะต้องผ่านการตรวจรับรองจากหน่วยรับรอง 4.11.2 การเก็บเกี่ยวผลิตผลจากธรรมชาติ ต้องไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและ ระบบนิเวศในพื้นที่ดังกล่าว รวมทั้งไม่มีผลกระทบต่อการคงรักษาพันธุ์พืชในบริเวณนั้นไว้ 5 การจัดการ การเก็บรักษา การขนส่ง การแปรรูป และการบรรจุหีบห่อ 5.1 ต้องรักษาความเป็นผลิตผลและผลิตภัณฑ์อินทรีย์ตลอดทุกช่วงของกระบวนการ โดยใช้เทคนิคที่ เหมาะสมกับส่วนประกอบด้วยความระมัดระวังในวิธีการแปรรูป จากัด การใช้วัตถุเจือปนอาหารและ สารช่ ว ยกรรมวิ ธี ผลิต ผลิ ต ผลและผลิตภัณฑ์ อิ นทรีย์ ต้อ งไม่ผ่า นการฉายรั งสี เพื่ อจุ ดมุ่ง หมายใน การควบคุมศัตรูพืชและสัตว์ การถนอมอาหาร และการกาจัดจุลินทรีย์ก่อโรค หรือการสุขาภิบาล 5.2 ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่อยู่ระหว่างการเก็บรักษา ขนส่ง แปรรูป หรือบรรจุหีบห่อ จะต้องได้รับการบ่งชี้ที่ชัดเจน มีการจัดการที่แยกออกจากผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อินทรีย์ และ มีการจัดการที่จะไม่ทาให้เกิดการปนเปื้อนจากสารต่างๆ ที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในการผลิตแบบอินทรีย์ 5.3 การบริหารจัดการศัตรูพืช การจัดการศัตรูพืชควรใช้มาตรการดังนี้ 5.3.1 ควรใช้วิธีการป้องกันเป็นวิธีแรกในการจัดการศัตรูพืช เช่น ทาลายและกาจัดแหล่งที่อาศัย และทางเข้าของศัตรูพืช 5.3.2 ถ้าวิธีการป้องกันไม่เพียงพอ ทางเลือกแรกสาหรับการควบคุมศัตรูพืช ควรใช้วิธีทางกล กายภาพ ชีวภาพ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 5.3.3 ถ้าวิธีทางกล กายภาพ ชีวภาพ และเทคโนโลยี ไม่เพียงพอสาหรับการควบคุมศัตรูพืช อาจใช้ ส ารป้ อ งกัน ก าจัด ตามที่ ระบุ ในภาคผนวก ก ตารางที่ ก.2 หรื อ สารอื่ นที่ เข้ า ข่ายตาม หลักเกณฑ์ข้อ 7 ของมาตรฐานนี้ และจะจ้องป้องกันไม่ให้สัมผัสกับผลิตผลและผลิตภัณฑ์อินทรีย์


8 5.3.4 ควรหลีกเลี่ยงศัตรูพืช โดยใช้วิธีการปฏิบัติในการผลิตที่ถูกต้อง (good manufacturing practice) ทั้งนี้มาตรการที่ใช้ในการควบคุมศัตรูพืชภายในบริเวณเก็บรักษาหรืออุปกรณ์ที่ใช้ใน การขนส่ ง อาจรวมการใช้ สิ่ ง กี ด ขวางทางกายภาพหรื อ วิ ธี ก ารอื่ น เช่ น เสี ย งอุ ล ตร้ า ซาวด์ (ultrasound) แสงอุ ล ตร้ า ไวโอเลต (ultra-violet light) ใช้ กั บ ดั ก การควบคุ ม อุ ณ หภู มิ การควบคุ ม บรรยากาศ (คาร์ บ อนไดออกไซด์ ออกซิ เ จน ไนโตรเจน) และดิ น เบา (diatomaceous earth) 5.3.5 ไม่ ค วรอนุ ญ าตให้ ใ ช้ ส ารป้ อ งกั น ก าจั ด ศั ต รู พื ช ที่ ไ ม่ มี ใ นรายการตามภาคผนวก ก หลังการเก็บเกี่ยวหรือใช้เพื่อการอารักขาพืช ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้สูญเสียสถานะของการเป็น เกษตรอินทรีย์ 5.4 กระบวนการผลิตและการแปรรูป 5.4.1 วิ ธี ก ารแปรรู ป ควรเป็ น วิ ธี ท างกล ทางกายภาพ หรื อ ชี ว ภาพ (เช่ น การหมั ก และ การรมควัน) และลดการใช้ส่วนประกอบที่ไม่ได้มาจากการเกษตร และสารช่วยกรรมวิธีการผลิต ตามที่ระบุในภาคผนวก ก ตารางที่ ก.3 และตารางที่ ก.4 5.4.2 กระบวนการสกัด (extraction) ให้ใช้ได้เฉพาะการสกัดด้วยน้า เอธานอล น้ามันจากพืช หรือสัตว์ น้าส้มสายชู คาร์บอนไดออกไซด์ และไนโตรเจน เท่านั้น 5.4.3 ควรมีการจัดการการแปรรูป ตามหลักการ และวิธีการปฏิบัติที่ดีในการผลิต โดยให้เป็นไป ตามข้อกาหนดของสุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหารตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง 5.4.4 การล้างทาความสะอาดสถานที่และอุปกรณ์ ให้ใช้ตามภาคผนวก ก ตามตาราง ก.5 5.4.5 กระบวนการผลิ ต และการแปรรู ป ให้ เ ป็ น ไปตามการปฏิ บั ติ ที่ ดี ใ นการผลิ ต อาหาร (good manufacturing practice) 5.5 การบรรจุหีบห่อ 5.5.1 ควรเลื อ กวั ส ดุ ที่ ย่ อ ยสลายทางชี ว ภาพได้ ไม่ ท าลายสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น วั ส ดุ ใ นการท า บรรจุภัณฑ์ หรือเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ 5.6 การเก็บรักษาและการขนส่ง 5.6.1 ควรรักษาความเป็นผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ระหว่างการเก็บรักษาและ การขนส่ง และจัดการโดยใช้ข้อควรระวังดังนี้


9 5.6.1.1 ต้องมีการป้องกัน ผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ตลอดเวลา ไม่ให้ปะปนกับ ผลิตผล ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อินทรีย์ 5.6.1.2 ต้องมีการป้องกัน ผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ตลอดเวลา ไม่ให้สัมผัสกับ วัสดุและสารที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในการเกษตรอินทรีย์ 5.6.2 กรณี ที่ ผลิ ต ผล และ/หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ รั บ การรั บ รองในบางส่ ว นเท่ า นั้ น ต้ อ งมี การเก็บรักษาและการจัดการแยกกันระหว่าง ผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ และผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อินทรีย์โดยมีการบ่งชี้ไว้ชัดเจน 6 การแสดงฉลากและการกล่าวอ้าง (Labelling and Claims) 6.1 ผลิตผลและผลิตภัณฑ์ ต้องมีข้อความแสดงรายละเอียดให้เห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่เป็นเท็จ หรือ หลอกหลวง ดังต่อไปนี้ 6.1.1 ชื่อผลผลิต หรือผลิตภัณฑ์ 6.1.2 ส่วนประกอบที่สาคัญ ยกเว้นมีส่วนประกอบชนิดเดียว 6.1.3 ปริมาตรสุทธิหรือน้าหนักสุทธิ กรณีที่ผลิตภัณฑ์มีส่วนผสมที่เป็นชิ้นหรือเนื้อผลิตภัณฑ์ผสม อยู่กับส่วนผสมที่เป็นน้าหรือของเหลวและแยกจากกันอย่างชัดเจน ให้แสดงปริมาณน้าหนักเนื้อ ผลิตภัณฑ์ (drained weight) 6.1.4 ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต ผู้แบ่งบรรจุ หรือผู้จัดจาหน่าย พร้อมสถานที่ตั้งหรือเครื่อ งหมายการค้าที่จดทะเบียน 6.1.5 ประเทศผู้ผลิต สาหรับผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเพื่อส่งออก 6.1.6 วัน เดือน และ/หรือ ปีที่ผลิต และวัน เดือน และ/หรือ ปีที่หมดอายุการบริโภค 6.1.7 คาแนะนาในการเก็บรักษา (ถ้ามี) 6.2 การแสดงฉลากหรือกล่าวอ้างว่าเป็นผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์อินทรีย์หรือ เกษตรอินทรีย์ หรือ ออร์ แ กนิ ค หรื อ organic จะท าได้ ต่ อ เมื่ อ ได้ รั บ การยอมรั บ จากสถาบั น รั บ รองระบบการผลิ ต ผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 6.3 ผลิตภัณฑ์ที่จะแสดงฉลากและเครื่องหมายรับรองว่าเป็น “อินทรีย์” ได้จะต้องมีส่วนประกอบ จากเกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 95% โดยน้าหนักของส่วนประกอบทั้งหมดในผลิตภัณฑ์สุ ด ท้ า ย ที่ไม่รวมส่วนประกอบของน้าและเกลือ แต่ส่วนประกอบที่ไม่ใช่อินทรีย์นั้นต้องไม่มาจากการดัดแปร


10 พันธุกรรมหรือผ่านการฉายรังสีหรือใช้สารช่วยกรรมวิธีผลิตที่ไม่ได้ระบุร ายการไว้ในภาคผนวก ก ตารางที่ ก.3 และ ตารางที่ ก.4 6.4 ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบจากเกษตรอินทรีย์น้อยกว่า 95% แต่ไม่น้อยกว่า 70% โดยน้าหนัก ของส่วนประกอบทั้งหมดในผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ไม่รวมน้าและเกลือ ไม่ให้แสดงฉลากเพื่อกล่าวอ้างว่า เป็นผลิตภัณฑ์อินทรีย์ แต่อาจแสดงฉลากโดยใช้ข้อความอื่น เช่น ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบจาก ผลิตผลอินทรีย์ได้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 6.4.1 ข้อความที่กล่าวอ้างว่าเป็น “อินทรีย์” แสดงไว้ในบริเวณที่เห็นได้ชัดเจนและประกอบกับ ส่ ว นประกอบที่ เ ป็ น อิ น ทรี ย์ โดยแสดงร้ อ ยละโดยประมาณของส่ ว นประกอบทั้ ง หมดรวม วัตถุเจือปนอาหารแต่ไม่รวมเกลือและน้า 6.4.2 ให้ระบุชนิดและสัดส่วนของส่วนประกอบเป็นร้อยละต่อน้าหนัก โดยเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย 6.5 ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการตรวจสอบจากหน่วยรับรองว่าผ่านการผลิตตามระบบการผลิต แบบเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐานนี้ และสอดคล้องกับข้อกาหนดในข้อ 6.2 6.6 การแสดงฉลากของผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ในหีบห่อสาหรับขายส่ง หรือสาหรับนาไปแบ่งบรรจุ เพื่อขายปลีก ผู้ประกอบการต้องยอมให้หน่วยรับรองเข้าถึงบริเวณเก็บรักษาและบริเวณผลิต และ พื้นที่ทาการเกษตร รวมถึงระบบบัญชีปัจจัยการผลิต ผลิตผล และผลิตภัณฑ์ และเอกสารสนับสนุน ต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการตรวจสอบ ผู้ประกอบต้องให้ข้อมูลที่จาเป็นแก่หน่วยตรวจสอบ เพื่อจุดมุ่งหมายในการตรวจสอบ 6.7 ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่จะได้รับการรับรองตามมาตรฐานนี้ ต้องเป็นไปตาม ข้อกาหนดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 6.8 การแสดงเครื่องหมายรับรองผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขของสถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 7 ข้อกาหนดการอนุญาตให้ใช้สารอื่นที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในภาคผนวก ก ในระบบการผลิต เกษตรอินทรีย์ 7.1 การอนุญาตให้ใช้สารที่อยู่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในภาคผนวก ก จะต้องมีการพิจารณาแล้วว่า เป็ น ไปตามหลัก การผลิต พื ชอิ น ทรีย์ และดุ ล ยพิ นิ จของสถาบั นรั บ รองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์ การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 7.1.1 ต้องเป็นไปตามหลักการพื้นฐานของการผลิตพืชอินทรีย์ตามที่ระบุไว้ในข้อ 3


11

ภาคผนวก ก สารที่อนุญาตให้ใช้สาหรับการผลิตเกษตรอินทรีย์ ก.1 ข้อระมัดระวัง ก.1.1 สารใดๆ ที่ใช้ในระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์สาหรับการใส่ปุ๋ย การปรับปรุงบารุงดิน การควบคุมโรคและศัตรู และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ หรือการจัดเตรียม การถนอมอาหาร และ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ต้องเป็นไปตามกฎข้อบังคับของประเทศและประเทศคู่ค้า ก.1.2 ข้ อ แม้ ส าหรั บ การใช้ ส ารบางรายการต่ อ ไปนี้ อาจจะมี ก ารระบุ ไ ว้ โ ดยหน่ ว ยรั บ รองหรื อ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง เช่น ปริมาณ ความถี่ของการใช้ตามวัตถุประสงค์เฉพาะ ก.1.3 สารใดๆ ที่จาเป็นสาหรับการผลิตขั้นต้น จะต้องใช้อย่างระมัดระวัง ตามหลักการทางวิชาการ แม้จะเป็นสารที่อนุญาตให้ใ ช้ก็ตาม เพื่อป้องกันไม่ให้ใ ช้ผิดพลาดซึ่ งอาจก่อ ใก้เ กิดผลกระทบต่ อ นิเวศวิทยาของดินหรือฟาร์มได้ ก.1.4 รายการในตารางที่ ก.1 ถึง ตารางที่ ก.5 เป็นรายการที่สารอนุญาตให้ใช้สาหรับการผลิต เกษตรอินทรีย์ แต่ทั้งนี้อาจมีการเพิ่มหรือลดรายการได้ ตามการยอมรับจากหน่วยรับรอง แต่ต้อง เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อ 5 ของมาตรฐาน


12 ตารางที่ ก.1 ปัจจัยการผลิตที่ใช้เป็นปุ๋ยและสารปรับปรุงบารุงดิน (ข้อ 4) ชื่อสาร

รายละเอียด/ข้อกาหนด

- กรณีไม่ได้มาจากระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ 2. ปุ๋ยหมักจากปฏิกลู ของสัตว์และสัตว์ปีก หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - ไม่อนุญาตให้ใช้แหล่งที่มาจากฟาร์มที่มีการเลีย้ ง 3. ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์ แบบอุตสาหกรรม (ใช้สารเคมี หรือ ยาสัตว์ 4. มูลสัตว์ชนิดแห้งจากปศุสตั ว์และสัตว์ ปริมาณมาก และการเลี้ยงแบบกรงตับ) ปีก - ไม่ให้ใช้มูลสัตว์สดกับพืชอาหารในลักษณะทีเ่ สี่ยง ต่อการปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรคสูส่ ่วนที่บริโภคได้ ของพืช 5. ของเสียและปัสสาวะสัตว์ - กรณีไม่ได้มาจากระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง ควรผ่าน การหมัก และ/หรือ การทาให้เจือจางลงภายใต้ สภาวะควบคุมแล้ว และไม่อนุญาตให้ใช้แหล่งที่มา จากการทาฟาร์มแบบโรงงาน 6. ปุ๋ ย จากธรรมชาติ (ปุ๋ ย ปลา มู ล นก - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ มูลค้างคาว) หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง 7. ฟางข้าว - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง 1. มูลสัตว์จากปศุสตั ว์และสัตว์ปีก

8. ปุ๋ยหมักจากวัสดุเพาะเห็ด

9. ปุ๋ยหมักจากวัสดุอินทรีย์เหลือใช้จาก บ้านเรือน 10. ปุ๋ยหมักจากวัสดุพืชเหลือใช้

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง และวัสดุที่ใช้ ควรอยู่ภายใต้รายการเหล่านี้ - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง -


13 ตารางที่ ก.1 ปัจจัยการผลิตที่ใช้เป็นปุ๋ยและสารปรับปรุงบารุงดิน (ต่อ) ชื่อสาร 11. ส่วนเหลือจากโรงงานฆ่าสัตว์และ โรงงานอุตสาหกรรมสัตว์นา้ 12. ผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรม อาหารและทอผ้า 13. สาหร่ายทะเลและผลิตภัณฑ์จาก สาหร่ายทะเล 14. ขี้เลื่อย เปลือกไม้ และของเสียจากไม้ 15. ขี้เถ้าจากไม้ 16. หินฟอสเฟตจากธรรมชาติ

17. เบซิกสแลก (basic slag) 18. หินโปแทสเซียมและเกลือโปแทสเซียม จากเหมือง (เช่น kainite และ sylvinite) 19. ซัลเฟตของโปแทส (เช่น patenkali)

20. แคลเซียมคาร์บอเนตจากธรรมชาติ (เช่น ชอล์ก ปูนมาร์ล ปูนขาว ชอล์ก ฟอสเฟต)

รายละเอียด/ข้อกาหนด - โดยต้องไม่ใช้สารสังเคราะห์ และจาเป็นต้องได้รับ การยอมรับจากหน่วยรับรองหรือหน่วยงานที่มี อานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จะต้องไม่มีการใช้วัตถุเจือปนที่เป็นสารสังเคราะห์ - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - ปริมาณแคดเมียมต้องไม่เกิน 90 mg/kg (มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม) P2O5 - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - ต้องมีคลอรีนเป็นส่วนประกอบต่ากว่า 60% - ได้จากกระบวนการทางกายภาพ แต่ต้องไม่มีการ เสริมด้วยกระบวนการทางเคมีเพื่อเพิ่มการละลาย - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง -


14 ตารางที่ ก.1 ปัจจัยการผลิตที่ใช้เป็นปุ๋ยและสารปรับปรุงบารุงดิน (ต่อ) ชื่อสาร

รายละเอียด/ข้อกาหนด

21. หินแมกนีเซียม

-

22. หินแคลคาเรียสแมกนีเซียม (calcareous magnesium rock) 23. แมกนีเซียมซัลเฟต (epsom salt)

-

24. ยิปซัม (แคลเซียมซัลเฟต)

-

-

25. สทิลเลจ (stillage) และสารสกัดสทิล - ไม่รวมแอมโมเนียมสทิลเลจ (ammonium เลจ (stillage extract) stillage) 26. โซเดียมคลอไรด์ (sodium chloride) - เฉพาะเกลือสินเธาว์ 27. อลูมิเนียมแคลเซียมฟอสเฟต (aluminium calcium phosphate) 28. แร่ธาตุปริมาณน้อย (เช่น โบรอน ทองแดง เหล็ก แมงกานีส โมลิบดีนัม สังกะสี) 29. กามะถัน 30. หินบด 31. ดิน เช่น เบนโทไนต์ เพอร์ไลต์ ซีโอไลต์ (bentonite, perlite, zeolite) 32. สิ่งมีชีวิตด้านชีววิทยาตามธรรมชาติ (เช่น ไส้เดือน) 33. เวอมิคูไลต์ (vermiculite) 34. วัสดุที่ใช้ในการเพาะปลูก (peat)

- ปริมาณแคดเมียมไม่เกิน 90 mg/kg P2O5 - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - ไม่ ร วมวั ต ถุ เ จื อ ปนสั ง เคราะห์ ที่ อ นุ ญ าตส าหรั บ เมล็ดพันธุ์ วัสดุปลูกบางชนิด - กา ร ใช้ อื่ น ๆ ต า ม ที่ ไ ด้ รั บกา รย อมรั บ จาก หน่วยรับรอง


15 ตารางที่ ก.1 ปัจจัยการผลิตที่ใช้เป็นปุ๋ยและสารปรับปรุงบารุงดิน (ต่อ) ชื่อสาร

รายละเอียด/ข้อกาหนด

35. ฮิวมัส (humus)

-

36. ซีโอไลต์ (zeolite)

-

37. ถ่านจากไม้

-

38. ด่างคลอไรด์ (chloride of lime) 39. ผลพลอยได้จากโรงงานน้าตาล (เช่น กากน้าตาล และชานอ้อยที่ผ่าน กระบวนการหมัก) 40. ผลพลอยได้จากโรงงานผลิตส่วนผสม แปรรูปต่างๆ จากเกษตรอินทรีย์ 41. ผลพลอยได้จากโรงงานน้ามันปาล์ม น้ามันมะพร้าว และโกโก้ 42. แหนแดง

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง -

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - เพื่อปรับปรุงบารุงดิน เพิ่มไนโตรเจน

43. สาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียว

- เพื่อปรับปรุงบารุงดิน เพิ่มไนโตรเจน

44. เลือดสัตว์แห้ง

- เพื่อปรับปรุงบารุงดิน เพิ่มไนโตรเจน

45. กระดูกป่น

- เพื่อปรับปรุงบารุงดิน เพิ่มไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และแคลเซียม - เพื่อสารปรับปรุงบารุงดิน เพิ่มฟอสฟอรัส

46. กากเมล็ดพืช


16 ตารางที่ ก.2 สารที่ใช้สาหรับควบคุมศัตรูและโรคของพืช (ข้อ 4) ชื่อสาร 1. พืชและสัตว์ 1.1 สารเตรียมที่มสี ่วนของไพรีทริน (pyrethrins) สกัดจาก Chrysanthemum cinerariaefolium 1.2 สารเตรียมของโรทีโนน (rotenone) หรือ สารออกฤทธิ์จากโล่ติ้น (Derris elliptica), Lonchocarpus, Thephrosia spp. 1.3 สารเตรียมจาก Quassia amara 1.4 สารเตรียมจาก Ryania speciosa 1.5 สะเดา และสารออกฤทธิ์จากสะเดา (neem) หรือ Azadirachtin จาก Azadirachta spp. 1.6 โพรโปลิส (propolis)

รายละเอียด/ข้อกาหนด - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - มีการป้องกันการปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้า - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - เพื่อคลุกเมล็ดพันธุ์สาหรับป้องกันกาจัดศัตรูพืช - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง -

1.7 น้ามันจากพืชและสัตว์ (plant and animal oils) 1.8 สาหร่ายทะเล (seaweed) สาหร่ายทะเลบด - ไม่ใช้สารเคมี (seaweed meal) หรือสาหร่ายสกัด น้าทะเล น้าเกลือ (seaweed extracts, sea salts and salty water) 1.9 เจลาทิน (gelatin) 1.10 เลซิทิน (lecithin) 1.11 เคซีน (casein)

-

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง -


17 ตารางที่ ก.2 สารที่ใช้สาหรับควบคุมศัตรูและโรคของพืช (ต่อ) ชื่อสาร 1.12 กรดธรรมชาติ (เช่น น้าส้มสายชู) 1.13 สารหมักจาก aspergillus 1.14 สารสกัดจากเห็ดหอม (shiitake fungus) 1.15 สารสกัดจาก Chlorella 1.16 สารเตรียมจากพืชธรรมชาติ 1.17 น้าชายาสูบ (tobacco tea) ยกเว้น สารนิโคตินบริสุทธ์ 1.18 กากชา 1.19 น้าส้มควันไม้ 1.20 ดอกดีปลีแห้ง และว่านน้าผง 2. แร่ธาตุ 2.1 สารประกอบอนินทรีย์ เช่น สารผสมบอร์โดซ์ (Bordeaux mixture) คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ (copper hydroxide) คอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ (copper oxychloride) 2.2 สารผสมเบอกันดี (burgundy mixture) 2.3 เกลือทองแดง (copper salts) 2.4 กามะถัน (sulphur)

รายละเอียด/ข้อกาหนด - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - เพื่อคลุกเมล็ดพันธุ์สาหรับป้องกันกาจัดศัตรูพืช - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง


18 ตารางที่ ก.2 สารที่ใช้สาหรับควบคุมศัตรูและโรคของพืช (ต่อ) ชื่อสาร

รายละเอียด/ข้อกาหนด

2.5 แร่ธาตุผง เช่น หินบด (stone meal) ซิลิเกต (silicates) 2.6 ดินเบา (diatomaceous earth) - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง 2.7 ซิลิเกต (silicates) ดินแร่เบนโทไนต์ (bentonite) 2.8 โซเดียมซิลิเกต (sodium silicate) 2.9 โซเดียมไบคาร์บอเนต (sodium bicarbonate) 2.10 โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (potassium permanganate) 2.11 น้ามันพาราฟิน (paraffin oil) 3. จุลินทรีย์ที่ใช้สาหรับควบคุมศัตรูพืช แบบชีววิธี 3.1 จุลินทรีย์ (แบคทีเรีย, ไวรัส, เชื้อรา เช่น Bacillus thuringiensis, Granulosis virus) 4. อื่นๆ 4.1 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และ ไนโตรเจน (carbon dioxide and nitrogen gas) 4.2 สบู่โพแทสเซียม (สบู่อ่อน) 4.3 เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol) 4.4 สารเตรียม Homeopathic และ Ayurvedic

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง -


19 ตารางที่ ก.2 สารที่ใช้สาหรับควบคุมศัตรูและโรคของพืช (ต่อ) ชื่อสาร

รายละเอียด/ข้อกาหนด

4.5 สมุนไพรและสารเตรียมที่ได้จากการ เปลี่ยนแปลงทางพลชีวภาพ 4.6 แมลงตัวผู้ที่ถูกทาหมัน

- จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง

5. การใช้กับดัก 5.1 สารเตรียมฟีโรโมน (pheromone) 5.2 สารเตรียมจาก metaldehyde ใช้ใน - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรองหรือ กับดัก หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง


20 ตารางที่ ก.3 ส่วนประกอบที่ไม่ได้มาจากการเกษตร (non-agricultural origin) (ข้อ 5) INS1

ชื่อสาร

รายละเอียด/ข้อกาหนด

(1) วัตถุเจือปนอาหารรวมถึงสารตัวนา (carriers) สาหรับผลิตภัณฑ์จากพืช 170 แคลเซียมคาร์บอเนต (calcium carbonates) 220 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (sulfur dioxide) - ใช้กับผลิตภัณฑ์จากไวน์ 270 กรดแลกติก (lactic acid) - ใช้กับผลิตภัณฑ์จากการหมักผัก 290 คาร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide 296 กรดมาลิก (malic acid) 300 กรดแอสคอร์บิค (ascorbic acid) - ถ้าไม่มีในรูปธรรมชาติ 306 โทโคเฟอรอล (tocopherols) สารสกัด จากธรรมชาติเข้มข้นผสม 322 เลซิทิน (lecithin) - ห้ามใช้สารฟอก (bleaches) และ สารละลายอินทรีย์ (organic solvents) 330 กรดซิทริก (citric acid) - ใช้กับผลิตภัณฑ์จากผักและผลไม้ 335 โซเดียมทาร์เทรต (sodium tartrate) - ใช้กับเค้ก ขนมหวาน ลูกกวาด 336 โพแทสเซียมทาร์เทรต (potassium - ใช้กับธัญพืช เค้ก ขนมหวาน ลูกกวาด tartrate) 400 กรดอัลจินิก (alginic acid) 401 โซเดียมอัลจิเนต (sodium alginate) 402 โพแทสเซียมอัลจิเนต (potassium alginate) 406 วุ้น (agar) 407 คาราจีแนน (carrageenan) 410 โลคัสบีนกัม (locust bean gum) 412 กัวร์กัม (guar gum) 413 ทรากราแคนท์กัม (tragacanth gum) 414 กัมอาราบิก (gum arabic) - ใช้กับนม ไขมัน ผลิตภัณฑ์ขนมหวาน 1

INS = International Numbering System


21 ตารางที่ ก.3 ส่วนประกอบที่ไม่ได้มาจากการเกษตร (non-agricultural origin) (ต่อ) INS1

ชื่อสาร

รายละเอียด/ข้อกาหนด

(1) วัตถุเจือปนอาหารรวมถึงสารตัวนา (carriers) สาหรับผลิตภัณฑ์จากพืช (ต่อ) 415 แซนแทนกัม (xantan gum) - ใช้กับผลิตภัณฑ์จากไขมัน ผลไม้ ผัก เค้ก กับขนมปังกรอบ สลัด 416 คารายากัม (karaya gum) 440 เพกติน (pectins) 500 โซเดียมคาร์บอเนต (sodium - ใช้กับเค้ก ขนมปังกรอบ ขนมหวาน และ carbonates) (ชนิดไม่ดัดแปร) ลูกกวาด 501 โพแทสเซียมคาร์บอเนต (potassium - ใช้กับธัญพืช เค้ก ขนมปังกรอบ carbonates) ขนมหวาน และลูกกวาด 503 แอมโมเนียคาร์บอเนต (ammonium carbonates) 504 แมกนีเซียมคาร์บอเนต (magnesium carbonates) 508 โพแทสเซียมคลอไรด์ (potassium - ใช้กับผลไม้และผักแช่แข็ง ผักผลไม้ ใน chloride) ภาชนะบรรจุปิดสนิท ซอสจากผัก ซอสมะเขือเทศ และมัสตาร์ด 511 แมกนีเซียมคลอไรด์ (magnesium - ใช้กับผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง chloride) 516 แคลเซียมซัลเฟต (calcium sulphate) - ใช้กับเค้ก ขนมปังกรอบ ผลิตภัณฑ์ จาก ถั่วเหลือง/ยีสต์สาหรับขนมอบ 524 โซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodium - ใช้กับผลิตภัณฑ์จากธัญพืช hydroxide) 938 ก๊าซอาร์กอน (argon) 941 ก๊าซไนโตรเจน (nitrogen) 948 ก๊าซออกซิเจน (oxygen) -

1

INS = International Numbering System


22 ตารางที่ ก.3 ส่วนประกอบที่ไม่ได้มาจากการเกษตร (non-agricultural origin) (ต่อ) INS1 ชื่อสาร (2) สารที่ใช้สาหรับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป 1. สารแต่งกลิ่นรส

2. น้าบริโภค (drinking water) 3. เกลือ

4. สารเตรียมจากจุลินทรีย์และเอนไซม์

5. แร่ธาตุรวมถึงแร่ธาตุปริมาณน้อย (trace element)

1

INS = International Numbering System

รายละเอียด/ข้อกาหนด - สารและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ร ะบุ ฉ ลากว่ า เป็ น สารแต่ ง กลิ่ น รสตาม ธรรมชาติ หรื อ สารส าหรั บ เตรี ย มสารแต่ ง กลิ่ น รสตาม ธรรมชาติ ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ ก าหนดตาม กฎหมายของประเทศ - อนุ ญ าตให้ ใ ช้ เ ฉพาะเท่ า ที่ จ าเป็ น และ ถูกต้องตามกฎหมายสาหรับใช้ในผลิตภัณฑ์ อาหารเท่านั้น - มีโซเดียมคลอไรด์ หรือโพแทสเซียมคลอไรด์ เป็ น ส่ ว นประกอบหลั ก ที่ โ ดยทั่ ว ไปใช้ ใ น กระบวนการแปรรูปอาหาร - อนุ ญ าตให้ ใ ช้ เ ฉพาะเท่ า ที่ จ าเป็ น และ ถูกต้องตามกฎหมายสาหรับใช้ในผลิตภัณฑ์ อาหารเท่านั้น - ใช้ในการแปรรูปอาหาร ยกเว้นจุลินทรีย์ที่ ได้จากสิ่งมีชีวิต ดัดแปรพันธุกรรม หรือ เอนไซม์ทไี่ ด้จากพันธุวิศวกรรม - อนุญาตให้ใช้เฉพาะเท่าที่จาเป็นและ ถูกต้องตามกฎหมายสาหรับใช้ในผลิตภัณฑ์ อาหารเท่านั้น - วิตามิน ไขมัน และกรดอะมิโนทีจ่ าเป็นต่อ ร่างกาย และสารประกอบที่มไี นโตรเจน อื่นๆ - อนุญาตให้ใช้เฉพาะเท่าที่จาเป็นและ ถูกต้องตามกฎหมาย สาหรับใช้ในผลิตภัณฑ์ อาหารเท่านั้น


23 ตารางที่ ก.4 สารช่วยกรรมวิธีการผลิตที่อาจจะใช้สาหรับเตรียมผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งมาจากการเกษตร (ข้อ 5) INS1 ชื่อสาร รายละเอียด/ข้อกาหนด (1) สารช่วยกรรมวิธีการผลิตสาหรับผลิตภัณฑ์จากพืช แคลเซียมคลอไรด์ (calcium chloride) - สารช่วยรวมตัว แคลเซียมคาร์บอเนต (calcium carbonate) แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (calcium hydroxide) แคลเซียมซัลเฟต (calcium sulfate) - สารช่วยรวมตัว แมกนีเซียมคลอไรด์ (magnesium - สารช่วยรวมตัว chloride หรือ nigari) โพแทสเซียมคาร์บอเนต (potassium - ทาแห้งสาหรับลูกเกด carbonate) คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน เอทานอล - ตัวทาละลาย เอทิลีนธรรมชาติ - กระตุ้นการออกดอกในสับปะรด - บ่มผลไม้ให้สุก กรดแทนนิก (tannic acid) - สารช่วยในการกรอง อัลบูมินจากไข่ขาว (egg white albumin) เคซีน (casein) เจลาทิน Isinglass น้ามันพืช - เป็นสารหล่อลื่นหรือสารช่วยไม่ให้ติด ซิลิกอนไดออกไซด์ (silicon dioxide) - เป็นเจลหรือสารละลายคอลลอยด์ ถ่านกัมมันต์ (activated carbon) แป้ง (talc) 1

INS = International Numbering System


24 ตารางที่ ก.4 สารช่วยกรรมวิธีการผลิตที่อาจจะใช้สาหรับเตรียมผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งมาจากการเกษตร (ต่อ) INS1 ชื่อสาร รายละเอียด/ข้อกาหนด (1) สารช่วยกรรมวิธีการผลิตสาหรับผลิตภัณฑ์จากพืช (ต่อ) ดินแร่เบนโทไนต์ (bentonite) คาโอลิน (kaolin) ดินเบา (diatomaceous earth) ดินแร่เพอไลต์ (perlite) เปลือกฮาเซลนัต (hazelnut) ขี้ผึ้ง (beeswax) - สารหล่อลื่น กรดซัลฟิวริก (sulphuric acid) - การปรับค่าความเป็นกรด-เบสในน้าสกัด ในการผลิตน้าตาล โซเดียมไฮดรอกไซด์ - การปรับค่าความเป็นกรด-เบสในการผลิต น้าตาล กรดทาร์ทาริกและเกลือ (tartaric acid and salts) โซเดียมคาร์บอเนต - การผลิตน้าตาล สารเตรียมจากส่วนของเปลือกไม้ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (potassium - การปรับค่าความเป็นกรด-เบสในการผลิต hydroxide) น้าตาล กรดซิตริก (citric acid) - การปรับค่าความเป็นกรด-เบสในการผลิต น้าตาล (2) สารช่วยกรรมวิธีการผลิตอื่นๆ สารเตรียมจากเชื้อจุลินทรีย์และเอนไซม์ - สารใดๆ ที่เตรียมจากเชื้อจุลินทรีย์และ เอนไซม์ที่โดยทั่วไปใช้เป็นสารช่วยกรรมวิธี การผลิตในกระบวนการผลิตอาหารโดยต้อง ไม่เป็นเชื้อจุลินทรียด์ ัดแปรพันธุกรรม และ เอนไซม์ทไี่ ด้จากจุลินทรียด์ ัดแปรพันธุกรรม

1

INS = International Numbering System


25 ตารางที่ ก.5 สารที่ใช้ในการทาความสะอาด (cleaning agents) (ข้อ 5) ชื่อสาร จาเวลวอเตอร์ ผงซักฟอกที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ น้าส้มหมักจากพืช ผลไม้ โซเดียมไบคาร์บอเนต (sodium bicarbonate) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide) ไอโอดีน (iodine) สารละลายด่างทับทิม น้าด่าง คอสทิกโปแทช (caustic potash) ปูนขาว สารฟอกขาวถึง 10% กรดฟอสฟอริก (phosphoric acid)

ข้อกาหนด - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มอี านาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - จาเป็นต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง หรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวข้อง


26

ภาคผนวก ข ข้อกาหนดขั้นต่าในตรวจและมาตรการที่ควรระมัดระวังภายใต้ระบบการตรวจและรับรอง ข.1 มาตรการในการตรวจ จาเป็นต้องมีมาตรการในการตรวจที่ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่อาหารเพื่อทวนสอบการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์ ตามข้อ 6 ของมาตรฐานนี้ หน่วยรับรองควรกาหนดนโยบายและขั้นตอนดาเนินงานต่างๆ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานนี้ ข.2 การสามารถเข้าถึงเอกสาร การสามารถเข้าถึงเอกสารทั้งหมด บันทึกข้อมูล และสถานประกอบการตามแผนการตรวจโดยหน่วยตรวจ เป็นสิ่งที่จาเป็น ผู้ประกอบการที่ถูกตรวจควรยอมให้ผู้มีอานาจในการตรวจเข้าตรวจและให้ข้อมูลที่จาเป็น สาหรับหน่วยตรวจจากภายนอกเพื่อการตรวจประเมิน ข.3 หน่วยการผลิต ข.3.1 การผลิตตามมาตรฐานนี้ควรดาเนินการตามพื้นที่เพาะปลูกหรือเพาะเลี้ยง บริเวณผลิต โรงเรือนของ ฟาร์ม และสถานที่เก็บรักษาพืช ปศุสัตว์ และสัตว์น้าที่มีการแยกผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์กันอย่างชัดเจน จากหน่วยการผลิตที่ไม่ผลิตตามมาตรฐานนี้ ทั้งหน่วยการผลิตอาจมีกิจกรรมเฉพาะในเรื่องการจัดเตรียม และการบรรจุหีบห่อผลิตผลเกษตรที่ผลิตได้เองเท่านั้น ข.3.2 เมื่อมีการเตรียมการตรวจสอบในครั้งแรก ผู้ประกอบการและหน่วยรับรองควรมีการจัดให้สิ่งมีต่างๆ และลงนามในเอกสารดังนี้ ข.3.2.1 อธิบายรายละเอียดของหน่วยการผลิตหรือบริเวณเก็บรวบรวม แสดงให้เห็นอาคาร ฟาร์มที่ เป็นสถานที่เก็บรักษาและผลิต นอกจากนี้ถ้ามีอาคารเฉพาะที่ใช้จัดเตรียม และ/หรือ บรรจุหีบห่อ เฉพาะก็ให้แสดงไว้ด้วย ข.3.2.2 ในกรณีของการเก็บรวบรวมพืชป่า ถ้าเป็นไปได้ผู้ผลิตควรได้รับการรับประกันจากหน่วย รับรองที่ผู้ผลิตจะสามารถนามาแสดงให้มั่นใจว่า เป็นไปตามข้อกาหนดในข้อ 4 ถึงข้อ 5 ของ มาตรฐานนี้ ข.3.2.3 มาตรการที่เหมาะสมในการปฏิบัติทั้งหมดที่จะนามาใช้ในระดับของหน่วยการผลิต เพื่อให้ มั่นใจว่าเป็นไปตามมาตรฐานนี้


27 ข.3.2.4 ระบุวันที่ครั้งสุดท้ายของการใช้พื้นที่ และ/หรือ บริเวณที่เก็บรวบรวม ที่ไม่เป็นไปตามข้อ 4 ของมาตรฐานนี้ ข.3.2.5 การดาเนินงานโดยผู้ประกอบการตามข้อ 3 และข้อ 6 ของมาตรฐาน ที่จะยอมรับในกรณีที่ เกิดการเบี่ยงเบนจากการปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ ข.3.3 ผู้ประกอบการควรแจ้งให้หน่วยรับรองทราบถึง แผนการผลิตแยกย่อยตามพื้นที่เพาะปลูก ในแต่ละ ปีก่อนครบวันที่จะต้องตรวจ ข.3.4 ผู้ประกอบการต้องเก็บบันทึกข้อมูลและเอกสารระบบบัญชีปัจจัยการผลิต ผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถให้หน่วยรับรองสอบกลับไปถึง แหล่ง ลักษณะ และปริมาณ ของวัตถุดิบทั้งหมดที่ซื้อ และการใช้วัสดุเหล่านั้น นอกจากนี้ ควรเก็บเอกสารผู้รับผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ที่ขายไปทั้งหมด ควรท าเป็ นบั ญชี รายวั นแสดงปริ มาณที่ ขายให้ กั บผู้ บริ โภคโดยตรงไว้ เมื่ อหน่ วยผลิ ตมี การแปรรู ป ผลิตภัณฑ์เกษตรเอง ระบบบัญชีต้องประกอบด้วยข้อมูลที่ระบุไว้ในข้อ ข.4.2 ของภาคผนวกนี้ ข.3.5 การเก็บรักษา สารที่นามาใช้ ที่ไม่ใช้สารที่ห้ามใช้ ตามที่ระบุในมาตรฐานนี้ ข.3.6 หน่วยรับรองควรมั่นใจว่ามีการตรวจสอบทางกายภาพ แบบเต็มรูปแบบในแต่ละหน่วยปีละ 1 ครั้ง อาจมีการเก็บตัวอย่างเพื่อทดสอบผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ได้ระบุอยู๋ในมาตรฐานนี้ ถ้าพบว่ามีข้อสงสัยในการใช้ และต้องมีการทารายงานการตรวจหลังจากการตรวจเยี่ยมแต่ละครั้ง นอกจากนี้อาจมีการตรวจเยี่ยมที่ ไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้าเพิ่มเติมเป็นบางครั้ง ตามความจาเป็น หรือตามที่ได้มีการสุ่มเลือก ข.3.7 ผู้ประกอบการต้องยอมให้หน่วยรับรองเข้าถึงบริเวณเก็บรักษา บริเวณผลิต และพื้นที่ทาการเกษตร รวมถึ งระบบบั ญชี ปั จจั ยการผลิต ผลิ ตผล และ/หรื อ ผลิ ตภั ณฑ์ และเอกสารสนั บสนุ นต่างๆ โดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อการตรวจ ผู้ประกอบการควรให้ข้อมูลที่จาเป็นแก่หน่วยตรวจ เพื่อจุดมุ่งหมายในการตรวจ ข.3.8 ผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่ไม่ได้บรรจุอยู่ในภาชนะบรรจุสาหรับจาหน่ายให้ผู้บริโภค ต้องมีการขนส่งในลักษณะที่ป้ องกันการปนเปื้ อน หรือป้องกันการนาเอกสารอื่น หรือผลิตภัณฑ์อื่ น ที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดในมาตรฐานนี้มาใส่แทน และมีการระบุข้อมูลดังนี้ ข.3.8.1 ชื่อและสถานที่ของผู้รับผิดชอบ สาหรับการผลิตหรือจัดเตรียมผลิตภัณฑ์ ข.3.8.2 ชื่อของผลิตภัณฑ์ ข.3.8.3 ข้อมูลระบุสถานะว่าเป็นอินทรีย์


28 ข.3.9 กรณีที่ผู้ประกอบการมีการผลิตหลายอย่างในบริเวณเดียวกัน และการปลูกพืชคู่ขนาน จะต้องมี การตรวจส่วนที่ผลิตในบริเวณที่ผลิตนั้นอย่างละเอียด ไม่ควรผลิตผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อินทรีย์ ปะปนกับผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่ไม่สามารถจะแยกแยะออกจากกันโดยดูด้วยตาได้ ข.3.9.1 ถ้ามีการอนุญาตโดยหน่วยรับรองหรือโดยหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ ต้องระบุ ประเภทของ การผลิตและสภาพที่อนุญาต ข้อกาหนดในการตรวจเพิ่มเติมในระหว่างการเก็บเกี่ยว ข้อกาหนด เกี่ยวกับเอกสารที่ต้องมีเพิ่มเติม และการประเมินความสามารถของผู้ประกอบการ ข.4 การจัดเตรียมและหน่วยการบรรจุหีบห่อ ข.4.1 ผู้ผลิต และ/หรือ ผู้ประกอบการควรให้ข้อมูล ข.4.1.1 คาอธิบายที่สมบูรณ์ของหน่วยผลิต แสดงให้เห็นถึงสิ่ งอ านวยความสะดวก ที่ใช้สาหรั บ การจัดเตรียม การบรรจุหีบห่อ และการเก็บผลิตภัณฑ์เกษตร ก่อนและหลังการปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ข.4.1.2 มาตรการที่เหมาะสมในทางปฏิบัติทั้งหมด ที่จะนามาใช้ในระดับหน่วยผลิต เพื่อให้มั่นใจว่า เป็นไปตามมาตรฐานนี้ ข.4.1.3 ควรมีการลงนามในคาอธิ บายและมาตรการต่ างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยผู้รับผิดชอบของส่ วน การผลิตนั้นและหน่วยรับรอง ข.4.1.4 ในรายงานควรรวมข้อมูลการดาเนินงานของผู้ประกอบการว่า ปฏิบัติในลักษณะที่เป็นไปตาม ข้อกาหนดข้อ 3 ถึงข้อ 5 ของมาตรฐานนี้ และการรายงานผลการแก้ไขข้อบกพร่องในส่วนที่ยอมรับได้ และในส่วนที่ไม่สามารถยอมรับได้ ในกรณีที่เป็นข้อบกพร่องรุนแรง หรือข้อบกพร่องที่ไม่สามารถ แก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานได้ และได้มีการลงนามกากับโดยทั้ง 2 ฝ่าย ข.4.2 บัญชีปัจจัยการผลิตผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ควรเก็บไว้ให้หน่วยรับรอง สามารถตรวจสอบกลับไปยัง ข.4.2.1 แหล่งกาเนิด ลักษณะ และปริมาณของผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่ได้ส่งมาที่หน่วยนี้ ข.4.2.2 ลักษณะ ปริมาณ และผู้รับมอบผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่ส่งออกจากหน่วยผลิตนี้ ข.4.2.3 ข้ อมู ลอื่ นๆ เช่ น แหล่ งก าเนิ ด ลั กษณะ และปริ มาณของส่ วนประกอบ วั ตถุ เจื อปน และสารช่ วยกรรมวิ ธี การผลิ ต ที่ ถู กส่ งมาที่ หน่ วยนี้ และส่ วนประกอบของผลิ ตภั ณฑ์ แปรรู ปที่ หน่วยรับรองต้องใช้ในการตรวจการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม


29 ข.4.3 กรณีที่มีการนาผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อินทรีย์มาแปรรูป บรรจุหีบห่อ หรือเก็บรักษา ไว้ในหน่วยที่เกี่ยวข้อง ข.4.3.1 หน่วยนั้นควรมีบริเวณแยกต่างหากภายในสถานประกอบการ สาหรับการเก็บรักษาผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ก่อนและหลังการปฏิบัติงาน ข.4.3.2 การปฏิบัติงานควรดาเนินการอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งเสร็จสมบูรณ์ โดยใช้วิธีแยกสถานที่ หรือเวลาจากการปฏิบัติกับผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อินทรีย์ ข.4.3.3 กิ จกรรมที่ ไม่ ได้ มี การด าเนิ นงานเป็ นประจ าควรมี การแจ้ งให้ ทราบล่ วงหน้ า ภายใน กาหนดเวลาที่ตกลงไว้กับหน่วยรับรองหรือหน่วยงานของรัฐบาลที่มีอานาจหน้าที่ ข.4.3.4 ควรนามาตรการต่างๆ มาใช้เพื่อให้มั่นใจว่ามีการชี้บ่งรุ่นการผลิต และหลีกเลี่ยงการปะปนกัน กับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาจากการผลิตตามาตรฐานนี้ ข.4.4 หน่วยรับรองหรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ ต้องมั่นใจว่ามีการตรวจสอบทางกายภาพที่เต็มรูป แบบอย่างน้อยปีละครั้ง อาจจะมีการสุ่มตัวอย่างที่สงสัย เพื่อทดสอบผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ระบุรายการไว้ใน มาตรฐานนี้ ควรจัดทารายงานการตรวจสอบทุกครั้งหลังจากการตรวจเยี่ยม โดยผู้รับผิดชอบสาหรับ การตรวจสอบ ควรมีการตรวจสอบแบบไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้าเป็นครั้งคราวเพิ่มเติมตามความจาเป็น หรือโดยการสุ่มเลือก ข.4.5 ผู้ประกอบการต้องให้หน่วยรับรองหรือหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่เข้าถึงหน่วยผลิต ระบบบัญชีที่ เป็นลายลักษณ์อักษร และเอกสารสนับสนุนเพิ่มเติม รวมทั้งเอกสารอย่างอื่นที่จาเป็นสาหรับจุดมุ่งหมาย เพื่อตรวจสอบ ข.4.6 ให้ปฏิบัติตามข้อกาหนดขนส่งตามที่ระบุไว้ในข้อ ข.3.7 ของภาคผนวกนี้ ข.4.7 ในการรับผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ผู้ประกอบการต้องตรวจสอบดังนี้ ข.4.7.1 ภาชนะบรรจุหรือหีบห่ออยู่ในสภาพที่ปิดเรียบร้อย (กรณีที่จาเป็นต้องปิด) ข.4.7.2 มีเอกสารที่อ้างถึงในข้อ ข.3.7 ของภาคผนวกนี้ ผลของการทวนสอบนี้ต้องมีระบุในบัญชีปัจจัย การผลิตผลิตผล และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่อ้างถึงในข้อ 4 ถึงข้อ 7 ของมาตรฐาน นี้ เมื่อพบว่ามีข้อสงสัยว่าผลิตภัณฑ์ไม่สามารถทวนสอบตามระบบการผลิตตามมาตรฐานนี้ ห้ามอ้าง ว่าเป็นการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์


30

ภาคผนวก ค หน่วย หน่ ว ยและสัญลัก ษณ์ที่ ใ ช้ ในมาตรฐานนี้ และหน่ วยที่ SI (International System of Units หรือ Le Système International d’ Unités) ยอมรับให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ มวล

ชื่อหน่วย

สัญลักษณ์หน่วย

มิลลิกรัม (milligram)

mg

กิโลกรัม (kilogram)

kg


31

มาตรฐานข้าวอินทรียแ์ ม่โจ้ 1 ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานข้าวอินทรีย์แม่โจ้นี้ กาหนดวิธีการผลิต การแปรรูป การแสดงฉลาก และการจาหน่าย ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ที่ได้จากระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ 1.2 มาตรฐานข้าวอินทรีย์แม่โจ้นี้ อ้างอิงจากมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง เกษตรอินทรีย์ เล่ม 4 : ข้าวอินทรีย์ (มกษ.9000 เล่ม 4-2553) ของสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มก อช.) 1.3 มาตรฐานนี้ให้ใช้ร่วมกับมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ 2 นิยาม ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐานนี้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ และดังต่อไปนี้ 2.1 ข้าวอินทรีย์ (organic rice) หมายถึง ผลิตผล และผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ ที่ได้จากการผลิตภายใต้ ระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ 2.2 ระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ (organic rice production system) หมายถึง การจัดการผลิตข้าว ที่ เ กื้ อ กู ล ต่ อ ระบบนิ เ วศ รวมถึ งความหลากหลายทางชี ว ภาพและวงจรชี ว ภาพ โดยเน้ น การใช้ วัสดุธรรมชาติ ไม่ใช้วัตถุดิบสังเคราะห์ และไม่ใช้พืช สัตว์ จุลินทรีย์ หรือวัตถุดิบที่ได้จากการดัดแปรพันธุกรรม (genetic modification) การจัดการกับผลิตภัณฑ์ เน้นการแปรรูปด้วยความระมัดระวัง ในทุกขั้นตอน เพื่อรักษาสภาพการเป็นข้าวอินทรีย์ และคุณภาพที่สาคัญของผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ 2.3 ผลิ ต ผลข้ า วอิ น ทรี ย์ (organic rice produce) หมายถึ ง ข้ า วเปลื อ กอิ น ทรี ย์ ที่ ยั ง ไม่ ผ่ า น กระบวนการแปรรูป และให้หมายความรวมถึงผลพลอยได้ที่ได้จากการเพาะปลูกข้าวอินทรีย์ เช่น ฟางข้าวอินทรีย์ แล้วแต่กรณี 2.4 กระบวนการแปรรูป หมายถึง การแปรสภาพผลิตผลข้าวอินทรีย์ ได้แก่ การสีข้าวเปลือกอินทรีย์ เป็นข้าวกล้องหรือข้าวขาวอินทรีย์ รวมถึงการนาข้าวกล้องหรือข้าวขาวอินทรีย์ ราข้าวอินทรีย์ หรือ ปลายข้าวอินทรีย์ มาผ่านกระบวนการทางฟิสิกส์ ชีวภาพ และกระบวนการอื่นๆ 2.5 ผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ (organic rice product) หมายถึง สิ่งที่ได้จากการแปรสภาพข้าวเปลือก อินทรีย์ เช่น ข้าวกล้อง ข้าวขาว แกลบ รา ปลายข้าว จมูกข้าว รวมทั้งการนาผลิตภัณฑ์เหล่านี้ไป แปรรูปต่อโดยไม่มีส่วนผสมอื่น เช่น น้ามันราข้าว แป้งข้าว ข้าวงอก ข้าวนึ่ง


32 2.6 ศั ต รู ข้ า ว (rice pest) หมายถึ ง ชนิ ด สายพั น ธุ์ ของพื ช สั ต ว์ หรื อ จุ ลิ น ทรี ย์ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสียหายต่อข้าวอินทรีย์ 3 หลักการผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์ ให้เป็นไปตามมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ข้อกาหนดข้อ 3 4 ข้อกาหนดวิธีการผลิตพืชอินทรีย์ 4.1 การเริ่มนับระยะปรับเปลี่ยนข้าวอินทรีย์ให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่เกษตรกรยื่นใบสมัครขอรับรองต่อ หน่วยรับรอง เป็นเวลาอย่างน้อย 12 เดือน ผลิตผลที่ได้ในช่วงระยะปรับเปลี่ยนไม่เรียกว่าเป็น ข้าวอินทรีย์ 4.2 ในกรณีที่เกษตรกรมีหลักฐานแสดงว่าพื้นที่ที่ขอรับรองไม่มีการใช้สารเคมีที่ห้ามใช้ เป็นเวลา มากกว่า 12 เดือน เกษตรกรอาจขอลดระยะเวลาปรับเปลี่ยนได้แต่ต้องไม่น้อยกว่า 6 เดือน 4.3 การเพิ่ม ลด หรือยกเว้นระยะปรับเปลี่ยนที่นอกเหนือข้อกาหนดในข้อ 4.1 ให้พิจารณาจากข้อมูล ประวัติการใช้พื้นที่และผลการวิเคราะห์สารเคมีตกค้าง และ/หรือโลหะหนักในดิน น้า และผลิตผล ข้าวอินทรีย์ 4.4 พื้นที่ที่ขอการรับรองเกษตรอินทรีย์ที่การผลิตไม่ได้เปลี่ยนเป็นเกษตรอินทรีย์พร้อมกันทั้งหมด เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่บางส่ วนได้ แต่ต้องเป็นข้าวต่างชนิด และต่างพันธุ์ ที่แยกแยะ ความแตกต่างของผลิตผลข้าวอินทรีย์ได้ มีการแบ่งแยกพื้นที่และกระบวนการจัดการให้ชัดเจน และ ผลิตผลข้าวอินทรีย์จะต้องไม่ปะปนกับผลิตผลจากพื้นที่ที่ไม่ได้ผลิตภายใต้ระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ 4.5 พื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์แล้ว และตั้งใจจะใช้พื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์ต่อไป ต้องไม่เปลี่ยนกลับไปใช้ สารเคมีอีกโดยไม่มีเหตุอันควร 4.6 ไม่ให้ใช้สารเคมีสังเคราะห์ในการผลิตข้าวอินทรีย์ 4.7 เกษตรกรต้องมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนจากแปลงข้างเคียงหรือแหล่งมลพิษ ทั้งทางดิน น้า อากาศ เช่น ทาคันกั้น การปลูกพืชเป็นแนวกันชนระยะห่างไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร ในกรณีที่ไม่ถึง 1.5 เมตร ให้ ใ ช้ ข้ า วในระยะ 2 เมตร เป็ น แนวกั น ชน และผลผลิ ต ของแนวกั น ชน ไม่ ถื อ เป็ น ข้าวอินทรีย์ โดยต้องมีวิธีการจัดการผลผลิตที่ชัดเจน เป็นต้น ในกรณีที่มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนให้ เกษตรกรสุ่มตรวจวิเคราะห์ดินหรือน้าหากพบว่ามีความเสี่ยงในการปนเปื้อนดังกล่าว


33 4.8 ต้องรักษาหรือเพิ่มระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินและกิจกรรมทางชีวภาพที่เป็นประโยชน์ในดิน ดังนี้ (1) ปลูกพืชตระกูลถั่ว ใช้ปุ๋ยพืชสด ใช้พืชรากลึกในการปลูกหมุนเวียน (2) ใส่วัสดุอินทรีย์ที่เป็นผลพลอยได้จากแปลงปลูกพืช ตามมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ หรือ วัสดุอินทรีย์ที่รู้แหล่งที่มาและผ่านกระบวนการหมักอย่างสมบูรณ์แล้ว หมายเหตุ ในกรณีวิธีที่ระบุในข้อ 4.8 (1) และข้อ 4.8 (2) ให้ธาตุอาหารแก่พืชไม่เพียงพอ หรือไม่ สามารถหาวัสดุอินทรีย์ที่ได้มาจากการปฏิบัติตามมาตรฐานนี้เพียงพอ อาจใช้สารปรั บปรุงบารุงดิน อื่นๆ ที่อยู่ในมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ภาคผนวก ก ตารางที่ ก.1 ได้ (3) เร่งปฏิกิริยาของปุ๋ยอินทรีย์ โดยอาจใช้เชื้อจุลินทรีย์หรือวัสดุจากพืชที่เหมาะสมได้ (4) ใช้ปุ๋ยชีวภาพ เพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดิน 4.9 เกษตรกรต้องควบคุม ป้องกัน หรือกาจัดศัตรูข้าวโดยใช้มาตรการใดมาตรการหนึ่ง หรือหลาย มาตรการรวมกันดังต่อไปนี้ (1) เลือกใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทานโรค แมลง สัตว์ศัตรูข้าว และเหมาะสมกับศักยภาพของ พื้นที่ (2) เลือกใช้วิธีเขตกรรมหรือการจัดการในแปลงนา เช่น การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืช คลุมดิน (3) ใช้วิธีฟิสิกส์ ได้แก่ การใช้เครื่องมือกลในการเพาะปลูก การใช้กับดัก การใช้แสงไฟล่อ การใช้ เ สี ยงขั บไล่ รวมทั้ งการใช้ สัตว์ เลี้ย ง แต่ ต้ อ งป้ อ งกัน จุลิน ทรีย์ก่ อ โรคจากมูลสัตว์ ปนเปื้อนในผลิตผลข้าวอินทรีย์ (4) ใช้ชีววิธี ได้แก่ การใช้ศัตรูธรรมชาติ (ตัวห้า ตัวเบียน) การอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติของ ศัตรูข้าว และการรักษาสมดุลทางธรรมชาติระหว่างศัตรูข้าวและศัตรูธรรมชาติ (5) ใช้จุลินทรีย์ เช่น การใช้เชื้อราบิวเวอเรีย (Beauveria) ควบคุมการระบาดของเพลี้ย กระโดดสีน้าตาล 4.10 ในกรณีที่มาตรการข้อ 4.9 ข้างต้นใช้ป้องกันพืชที่ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงไม่ได้ ให้ใช้ สารตาม มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ภาคผนวก ก ตารางที่ ก.2


34 4.11 ห้ามใช้เครื่องฉีดพ่นสารป้องกันกาจัดศัตรูพืชหรือสารเคมี ที่ใช้ในระบบเกษตรเคมีปะปนกับ เครื่องฉีดพ่นที่ใช้ในระบบเกษตรอินทรีย์ 4.12 เมล็ ด พัน ธุ์ ข้าวอิ นทรีย์ ต้ อ งมาจากระบบการผลิตแบบเกษตรอิ นทรีย์ ยกเว้ น ในพื้นที่ที่หา เมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ไม่ได้ อนุโลมให้ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวจากแหล่งทั่วไปสาหรับการผลิตข้าวอินทรีย์ใน ปีแรก โดยเมล็ดพันธุ์ข้าวนั้นต้องไม่ผ่านการคลุกสารเคมี หากหาไม่ได้ต้องมีวิธีการกาจัดสารเคมีออก อย่างเหมาะสมก่อนนามาใช้ และต้องได้รับการยอมรับจากหน่วยรับรอง 4.13 การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตให้เป็นเกษตรอินทรีย์ 4.13.1 ให้เกษตรกรเสนอแผนการผลิตและการจัดการแปลงนาที่ชัดเจนต่อหน่วยรับรองระบบ การผลิตข้าวอินทรีย์ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 4.13.2 ให้เกษตรกรจัดทาบันทึกขั้นตอนการใช้ปัจจัยการผลิต โดยแสดงแหล่งที่มาและปริมาณ การใช้ 4.13.3 ในการสมัครขอการรับรอง เกษตรกรต้องแสดงข้อมูลต่อไปนี้แก่ผู้รับรอง (1) ประวัติการใช้พื้นที่ (2) ประวัติการใช้สารเคมี และผลการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในดินและน้า (ถ้ามี) (3) แผนที่และแผนผังแปลงนาที่ขอการรับรองและพื้นที่ข้างเคียง (4) แผนการผลิตในทุกขั้นตอน (5) บันทึกขั้นตอนการใช้ปัจจัยการผลิต (6) บันทึกกิจกรรมในแปลงนา และข้อมูลอื่นๆ 4.14 ถ้าผลิตผลข้าวอินทรีย์ผลิตขึ้นจากกระบวนการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ ที่ได้รับการรับรองจาก หน่วยรับรองมาอย่างสม่าเสมอ ไม่จาเป็นต้องตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ ข้าวอินทรีย์ ยกเว้นเป็นการวิเคราะห์ตามข้อกาหนดของประเทศคู่ ค้า หรือตามกฎหมาย หรือตามที่ หน่วยรับรองกาหนด 5 การจัดการ การเก็บรักษา การขนส่ง การแปรรูป และการบรรจุหีบห่อ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานพืชอินทรีย์ แม่โจ้ ข้อกาหนดข้อ5 และในกรณีที่เกษตรกรต้องการขอรับรอง การแปรรูปและบรรจุข้าวอินทรีย์ ให้เกษตรกรยื่นใบสมัครขอการรับรองเพิ่มเติมจากหน่วยรับรอง


35 6 การแสดงฉลากและการกล่าวอ้าง (Labelling and Claims) ให้เป็นไปตาม มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ข้อกาหนดข้อ 6 7 ข้อกาหนดการอนุญาตให้ใช้สารอื่นที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในภาคผนวก ก ในระบบการผลิต ข้าวอินทรีย์ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ข้อกาหนดข้อ 7 8 รายละเอียดวิธีการผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์

รายละเอียดวิธีการผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์นี้ มีไว้เพื่อให้เกษตรกรและผู้ ประกอบการผลิตข้าว อินทรีย์ที่มีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์แม่โจ้ ซึ่งมีรายละเอียดอธิบายไว้ในภาคผนวก ข


36

ภาคผนวก ก ปัจจัยที่อนุญาตให้ใช้สาหรับการผลิตข้าวอินทรีย์ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ข้อกาหนดในภาคผนวก ก


37

ภาคผนวก ข รายละเอียดวิธีการผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์ (ข้อ 8) รายละเอียดวิธีการผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์ เป็นข้อแนะนาสาหรับเกษตรกรและผู้ สนใจทั่วไป สาหรับวิธีการผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์ เพื่อให้ระบบการผลิตและการแปรรูปข้าวอินทรีย์เป็นไป ตามมาตรฐานนี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้บริโภคมีรายละเอียดดังนี้ ข.1 การผลิตข้าวอินทรีย์ ข.1.1 การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน เนื่องจากการปลูกข้าวอินทรีย์ต้องไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ดังนั้นควรเลือกพื้นที่ปลูกที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงตาม ธรรมชาติเ ป็น การเริ่มต้น ที่ ได้เปรียบ เพื่ อ รั ก ษาระดับปริมาณ/คุ ณภาพผลิตผลให้อยู่ในเกณฑ์ที่ น่ า พอใจ นอกจากนี้ เ กษตรกรยั ง ต้ อ งรู้ จั ก การจั ด การดิ น ที่ ถู ก ต้ อ ง และพยายามรั ก ษาความ อุดมสมบูรณ์ของดินให้เหมาะสมกับการปลูกข้าวอินทรีย์ให้ได้ผลดีและยั่งยืนมากที่สุด คาแนะนา เกี่ยวกับการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดินสาหรับการผลิตข้าวอินทรีย์สามารถแบ่งออกได้ดังนี้ ข.1.1.1 การจัดการดิน (1) ไม่เผาตอซัง ฟางข้าว และเศษวัสดุอินทรีย์ในแปลงนา เพราะเป็นการทาลายอินทรียวัตถุและ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ (2) เกษตรกรอาจทาการปรับปรุงบารุงดินโดยการเพิ่มวัสดุอินทรีย์ในแปลงนาอย่างสม่าเสมอ ควรใช้วัตถุอินทรีย์จากแปลงนาให้เป็นประโยชน์ ไม่นาชิ้นส่วนของพืชที่ไม่ใช้ประโยชน์โดยตรง ออกจากแปลงนา และต้องไม่นาอินทรียวัตถุที่ปนเปื้อนสารเคมีเข้ามาใส่ในแปลงนา (3) เพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดินโดยการปลูกพืชตระกูลถั่ว ในที่ว่างภายในบริเวณแปลงนาตาม ความเหมาะสม แล้วใช้อินทรียวัตถุที่เกิดขึ้นในระบบไร่นาให้เกิดประโยชน์ต่อการปลูกข้าว (4) ไม่ควรปล่อยที่ดินให้ว่างเปล่าก่อนการปลูกข้าวและหลังจากการเก็บเกี่ย วข้าว แต่ควรปลูก พืชบารุงดิน โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า ปอเทือง โสนอัฟริกัน เป็นต้น (5) ควรวิ เ คราะห์ดิน ในแปลงนาทุ กปี แล้ ว ปรั บสภาพความเป็ นกรด-เบส (pH) ของดินให้มี ความเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นข้าว (pH ประมาณ 5.5 ถึง 6.5) ถ้าพบว่าดินมีความ เป็นกรดสูงแนะนาให้ใช้ปูนมาร์ลหรือขี้เถ้าไม้ปรับปรุงสภาพดิน


38 (6) การไถกลบตอซัง และพืชปุ๋ยสดเป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุและจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดิน ในกรณีที่เกษตรกรมีการปลูกข้าวเป็นพืชหลักเพียงอย่างเดียวตลอดฤดูเพาะปลูก โดยอาศัยน้าฝน หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวให้ทิ้งฟางข้าวและตอซังไว้ในแปลงนาของเกษตรกร เพื่อเป็นการคลุม ผิวหน้าดินหรือไถกลบตอซังและหว่านพืชตระกูลถั่ว จากนั้นเมื่อเข้าสู่ต้นฤดูฝนประมาณปลาย เดือนเมษายน หรือต้นเดือนพฤษภาคม ให้ปฏิบัติดังนี้ ผสมน้าหมักชีวภาพจานวน 5 ลิตรต่อไร่ กับน้า 100 L (ลิตร) ใส่สารละลายน้าหมักชีวภาพลงในถังที่ติดกับรถปั่นฟาง แล้วหยอดไปพร้อม กับการปั่นฟางหรือสาดให้ทั่วสม่าเสมอ แล้วใช้รถไถย่าฟางให้จมดิน หมักไว้ 10 - 15 วัน หลังจาก หมักฟาง 10 - 15 วันแล้วจึงทาเทือกเตรียมแปลงพร้อมที่จะปลูกข้าวต่อไป ทั้งนี้เมื่อเก็บเกี่ยวผลิตผลข้าวแล้ว เพื่อเก็บเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด ให้หว่านถั่วพร้า แล้วไถกลบตอซัง ข้ า ว เมื่ อ ถั่ ว มี ฝั ก ให้ เ ก็บ เมล็ด เป็ น เมล็ ดพั น ธุ์ ไว้ ใ ช้ ใ นฤดูต่อ ไปและเพื่ อ เป็น พื ชปุ๋ ยสดให้หว่าน เมล็ดพันธุ์ถั่วพุ่ม หรือปอเทือง จนถึงระยะออกดอก ให้ไถกลบตอซัง ต้นถั่วพร้า ต้นถั่วพุ่ม หรือ ปอเทือง ทิ้งไว้ให้ย่อยสลาย 7 วัน แล้วหว่านข้าวได้ ในกรณีที่ไม่มีการปลูกพืชต่อเนื่องควรตัด ตอซังข้าวและใช้ฟางข้าวคลุมดิน เพื่อรักษาหน้าดิน เพิ่มอินทรียวัตถุ และธาตุอาหารบางชนิด ให้กับดินก่อนการปลูกข้าวในฤดูต่อไป สาหรับในพื้นที่ป ลูกข้าวไร่ซึ่งมีความลาดเท การคลุมดิน เป็นสิ่งที่จาเป็นมาก และหลังการเก็บเกี่ยวข้าวแล้วเกษตรกรควรทิ้งตอซังและฟางข้าว ไว้ในแปลง เพื่อคลุมดินและไถกลบในฤดูต่อไป ข.1.1.2 การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ธรรมชาติที่ควรใช้ ได้แก่ (1) ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยมูลสัตว์ ได้แก่ มูลสัตว์ต่างๆ ในบริเวณไร่นา หรือนามาจากภายนอกที่ผ่าน กระบวนการหมักแล้ว นอกจากนี้แปลงนาในชนบทหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว มักจะปล่อยให้เป็น ที่เลี้ยงสัตว์โดยให้สัตว์แทะเล็มตอซังและหญ้าต่างๆ มูลสัตว์ที่ถ่ายออกมาปะปนกับเศษซากพืช ก็จะเป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุในนาอีกทางหนึ่ง (2) ปุ๋ ย หมั ก ควรจั ด ท าในแปลงนาหรื อ บริ เ วณที่ อ ยู่ ไ ม่ ห่ า งจากแปลงนามากนั ก เพื่อลดระยะเวลาในการทาปุ๋ยหมักควรใช้เชื้อจุลินทรีย์เพื่อช่วยย่อยสลายเศษซากพืชให้เป็น ปุ๋ยหมักเร็วขึ้น และเก็บรักษาปุ๋ยหมักในที่ร่มไม่ตากแดดและฝนเพื่อลดการสูญเสียธาตุอาหาร (3) ปุ๋ยพืชสด ที่นิยมปลูกในนาข้าว ได้แก่ โสนอัฟริกัน ปอเทือง ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า โดยปลูกเป็น พืชปุ๋ยสดก่อนการปลูกข้าวประมาณ 2 เดือน เพื่อให้พืชปุ๋ยสดมีช่วงการเจริญเติบโตเพียงพอที่จะ ผลิตมวลชีวภาพและปริมาณธาตุไนโตรเจนสูง ไถกลบช่วงระยะเวลา 45 - 60 วัน หรือระยะเวลา ออกดอกขึ้นอยู่กับชนิดของพืชปุ๋ยสด แล้วไถกลบพืชปุ๋ยสดปล่อยให้ย่อยสลาย 7 วัน ก่อนที่จะ


39 ปลูกข้าว หากพิจารณาว่า พืชปุ๋ยสดเจริญเติบโตไม่เต็มที่ มวลชีวภาพและปริมาณธาตุอาหารพืช ยั งไม่ เ พี ย งพอให้ ใ ส่ปุ๋ ย หมั กและ/หรือ ปุ๋ ยคอกจากแหล่งที่ ไ ม่ใ ช้ ส ารเคมีห รือ สารปฏิชีว นะใน การเลี้ยง ตรวจสอบที่มาของเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และสารเติมอื่นๆ บันทึก ปริมาณที่ใช้และติดตามผลของการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน บันทึกการใช้เครื่องจักรกล ในการเตรียมปุ๋ยอินทรีย์และไถกลบ รวมทั้งช่วงเวลาที่ปฏิบัติงาน ข.1.1.3 น้าหมักชีวภาพ ควรทาใช้เองจากวัสดุเหลือใช้ในไร่นา ในครัวเรือน นามาหมักร่วมกับ กากน้าตาล (Mollasses) หรือน้าตาลทรายแดงละลายน้า หากต้องการเร่งกระบวนการหมักและ ผลิตน้าหมักชีวภาพที่มีคุณภาพให้ใช้จุลินทรีย์ร่วมในการหมักด้วย โดยมีองค์ประกอบวัสดุหมัก พื้นฐาน เช่น สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 เป็นต้น น้าหมักชีวภาพแบ่งได้ 2 ประเภท ตามวัสดุการหมัก ได้แก่ (1) น้าหมักชีวภาพที่ผลิตจากพืช เช่น ผักและผลไม้ วัสดุหมักประกอบด้วย ผั กและผลไม้ 40 kg (กิโลกรัม) กากน้าตาล 10 kg น้า 10 L (หรือให้ท่วมวัส ดุหมัก) และเติมน้าให้ได้ 50 L และ สารเร่งจุลินทรีย์ ใช้เวลาในการหมัก 15 - 20 วัน (2) น้าหมักชีวภาพที่ผลิตจากสัตว์ เช่น ปลาหรือหอยเชอรี่ วัสดุหมักประกอบด้วย ปลาหรือ หอยเชอรี่ 30 kg ผลไม้ 10 kg กากน้าตาล 10 kg น้า 10 L (หรือให้ท่วมวัสดุหมัก) และเติมน้าให้ ได้ 50 L และสารเร่งจุลินทรีย์ ใช้เวลาในการหมัก 15 - 20 วัน ข.1.1.3.1 วิธีการผลิตน้าหมักชีวภาพ (1) หั่นหรือสับวัสดุจากพืชหรือสัตว์ให้เป็นชิ้นเล็กๆ ผสมกับกากน้าตาลในถังหมัก (2) ใส่สารเร่งจุลินทรีย์ผสมในน้า 10 L คนให้เข้ากันนาน 5 นาที (3) เทสารละลายจุลินทรีย์ในถังหมัก คนส่วนผสมให้เข้ากัน ปิดฝาไม่ต้องแน่น ตั้งไว้ในที่ร่ม (4) ในระหว่างการหมัก คนหรือกวน 1 ครั้ง ถึง 2 ครั้งต่อวัน เพื่อระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และทาให้ส่วนผสมคลุกเคล้าได้ดียิ่งขึ้น ข.1.1.3.2 การใช้ประโยชน์น้าหมักชีวภาพในแปลงนา (1) แช่เมล็ดพันธุ์ข้าว อัตราน้าหมักชีวภาพ 20 ml (มิลลิลิตร) ต่อน้า 20 L ต่อเมล็ดข้าว 20 kg โดยแช่เมล็ดข้าวเป็นเวลา 12 ชั่วโมง แล้วนาขึ้นพักไว้ 1 วันจึงนาไปปลูก (2) ช่วงเตรียมดิน อัตราน้าหมักชีวภาพ 5 ลิตรต่อไร่ต่อครั้ง เมื่อข้าวอายุ 30 วัน 50 วัน และ 60 วัน โดยเทลงในนาข้าว


40 (3) ช่วงการเจริญเติบโต อัตราน้าหมักชีวภาพ 5 ลิตรต่อไร่ต่อครั้ง เมื่อข้าวอายุ 30 วัน 50 วัน และ 60 วัน โดยเทลงในนาข้าว ข.1.1.4 การใช้ปัจจัยการผลิตที่ใช้เป็นปุ๋ยและสารปรับปรุงบารุงดิน หากปฏิบัติตามคาแนะนาเกี่ยวกับการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดินข้างต้น แล้วยังพบว่าดินมี ความอุดมสมบูรณ์ไม่เพียงพออาจใช้สารปรับปรุงบารุงดินอื่นๆ ที่อยู่ในมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ภาคผนวก ก ตารางที่ ก.1 ได้ หรือสามารถนาอินทรียวัตถุจากธรรมชาติต่อไปนี้ทดแทนปุ๋ยเคมี บางชนิดได้ (1) แหล่ งธาตุ ไ นโตรเจน เช่ น แหนแดง สาหร่ า ยสี น้ าเงิ น แกมเขี ย ว กากเมล็ ด สะเดา และ เลือดสัตว์แห้ง เป็นต้น (2) แหล่งธาตุฟอสฟอรัส เช่น หินฟอสเฟต กระดูกป่น มูลไก่ มูลค้างคาว กากเมล็ดพืช ขี้เถ้าไม้ และสาหร่ายทะเล เป็นต้น (3) แหล่งธาตุโพแทสเซียม เช่น ขี้เถ้าแกลบ และหินปูนบางชนิด เป็นต้น (4) แหล่งธาตุแคลเซียม เช่น โดโลไมต์ (ธรรมชาติ) เปลือกหอยป่น และกระดูกป่น เป็นต้น ข.1.2 การควบคุมวัชพืช แนะนาให้ควบคุมวัชพืชโดยวิธีฟิสิกส์ ได้แก่ การเตรียมดินที่เหมาะสม วิธีการทานา ที่ลดปัญหาวัชพืช (กรณีแหล่งปลูกมีวัชพืชมากให้ทานาดา) การใช้ระดับน้าควบคุมวัชพืช การใช้วัสดุค ลุมหน้าดิน การถอนด้วยมือ และวิธีเขตกรรมต่างๆ เช่น การใช้เครื่องมือไถพรวน การเลือกช่วงเวลาปลูกที่ เหมาะสม การตัดใบข้าว การปลูกพืชหมุนเวียน และการกาจัดวัชพืชทั้งในนาและบนคันนา เป็นต้น ข.1.3 การป้องกันกาจัดโรค แมลง และสัตว์ศัตรูข้าว ป้องกันกาจัดตามความจาเป็น โดยเน้นสมดุลของศัตรูธรรมชาติ และความแข็งแรงของต้นข้าวก่อนที่ จะใช้สารจากธรรมชาติหรื อสารที่อนุญาตให้ใช้สาหรับการผลิ ตเกษตรอินทรีย์ ตามมาตรฐานพืช อินทรีย์แม่โจ้ ภาคผนวก ก ตารางที่ ก.2 หลักการสาคัญของการป้องกันกาจัดโรค แมลง และสัตว์ศัตรูข้าวในการผลิตข้าวอินทรีย์มีดังนี้ ข.1.3.1 ใช้พันธุ์ข้าวต้านทานโรค แมลง สัตว์ศัตรูข้าว และเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่


41 ข.1.3.2 การปฏิ บั ติ ด้ า นเขตกรรม เช่ น การเตรี ย มแปลง ก าหนดช่ ว งเวลาปลู ก ที่ เ หมาะสม ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ข้ าวอินทรีย์และระยะปลูกที่เหมาะสม การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อตัดวงจร การระบาดของโรค แมลง และสัตว์ศัตรูข้าว การรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและความสมดุล ของธาตุอาหารพืช การจัดการน้า เพื่อให้ต้นข้าวเจริญเติบโตดี สมบูรณ์แข็งแรง สามารถลด การทาลายของโรคแมลงและสัตว์ศัตรูข้าวได้ส่วนหนึ่ง ข.1.3.3 จัดการสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมกับการระบาดของโรค แมลง และสัตว์ศัตรูข้าว เช่น การกาจัดวัชพืช การกาจัดเศษซากพืชที่เป็นโรคโดยใช้กามะถันผงที่ไม่ผ่านกระบวนการทางเคมี (1) สัตว์ศัตรูข้าว ปูและหอยเชอรี่ให้ลดระดับน้าในนา ใช้กับดักหรือจับมาเป็นอาหารสัตว์เลี้ยง และทาน้าหมัก ชีวภาพ หากจาเป็นให้ใช้สารสกัดจากพืชต่อไปนี้กาจัด เช่น เชียงดา ใบยาสูบ นก และหนูให้ใช้ กับดัก ใช้คนไล่ และวิธีล้อมรั้วป้องกัน อนุรักษ์ธรรมชาติ เช่น เหยี่ยว งู พังพอน กรณีใช้วัสดุ อุปกรณ์กาจัด ให้ตรวจแหล่งที่มา บันทึกชนิดและความรุนแรง และปริมาณศัตรูธรรมชาติ (2) แมลงศัตรูข้าว รักษาระดับน้าให้เหมาะสมกับต้นข้าวเพื่อให้ต้นข้าวมีความแข็งแรง และอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติให้ รักษาสมดุลกับปริมาณแมลงในนา กรณีมีการระบาดมากอาจจะใช้สารที่อนุญาตให้ใช้สาหรับ การผลิตเกษตรอินทรีย์ ตามมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ภาคผนวก ก ตารางที่ ก.2 ตรวจประเมิน และบันทึกการระบาดและวิธีป้องกันกาจัด (ถ้ามี) ตรวจชนิดสารที่ใช้และแหล่งที่มา (3) โรคข้าว การให้ธาตุอาหารแก่ต้นข้าวควรให้อย่างสมดุล โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจนจะต้อง ไม่มากจนเกินไป จะได้ต้นข้าวที่แข็งแรงทนทานต่อโรค กรณี มีการระบาดมากอาจใช้สารที่อนุญาตให้ใช้สาหรับ การผลิตเกษตรอินทรีย์ ตามมาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ภาคผนวก ก ตารางที่ ก.3 ตรวจประเมิน และบันทึกวิธีการเตรียมดินและวิธีปลูกบันทึกปริมาณวัชพืชในนาข้าว การถอน หรือการใช้ เครื่องมือกาจัดวัชพืช ข.1.3.4 รักษาสมดุลทางธรรมชาติ โดยส่งเสริมการแพร่ขยายปริมาณของแมลงที่มีประโยชน์ (ศัตรูธรรมชาติ) เช่น ตัวห้า ตัวเบียน เพื่อช่วยควบคุมแมลงและสัตว์ศัตรูข้าว ข.1.3.5 ปลูกพืชไล่แมลงบนคันนา เช่น ตะไคร้หอม เป็นต้น


42 ข.1.3.6 ใช้ วิ ธี ฟิ สิ ก ส์ ได้ แ ก่ การใช้ เ ครื่ อ งมื อ กลในการเพาะปลู ก ใช้ แ สงไฟล่ อ ใช้ กั บ ดั ก และใช้กาวเหนียว ข.2 การจัดการ การเก็บรักษา การขนส่ง การแปรรูป การบรรจุหีบห่อ ข.2.1 การขนส่ง ภาชนะบรรจุหรือกระสอบที่ใช้บรรจุข้าวอินทรีย์ และพาหนะขนย้ายข้าวอินทรีย์ ต้องเป็นถุงสีล้วน ไม่มีตราสัญลักษณ์ใดๆปรากฎ สะอาดปราศจากการปนเปื้อนของวัตถุอันตรายและจากข้าวอื่นๆ พาหนะขนย้ า ยหรื อ รถบรรทุ ก ข้ า วอิ น ทรี ย์ ต้ อ งสะอาดและเหมาะสมกั บ ปริ ม าณข้ า ว ไม่ ใ ช้ รถบรรทุ ก ดิ น สั ต ว์ มู ล สั ต ว์ ปุ๋ ย สารเคมี เพราะอาจปนเปื้ อ นเชื้ อ โรคและสารพิ ษ ยกเว้ น ท า ความสะอาดอย่างเหมาะสมก่อนนามาบรรทุกข้าว ไม่ให้ผลิตผลอินทรีย์ปะปนกับผลิตผลที่ไม่ใช้ อินทรีย์ และไม่ให้สัมผัสกับวัสดุหรือสารที่ ไม่อนุญาตให้ใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ตลอด กระบวนการขนส่งตั้งแต่แหล่งผลิตจนถึงแหล่งจาหน่าย ข.2.2 การเก็บรักษาผลิตผลข้าวอินทรีย์ สถานที่เก็บต้องสะอาดและถูกสุขลักษณะ แยกเป็นสัดส่วน สามารถป้องกันการปนจากข้าวทั่วไปได้ มีการระบายอากาศดี มีการกาจัดศัตรูข้าวในสถานที่เก็บด้วยวิธีกล ตรวจสถานที่เก็บรักษาข้าวเปลือก และบันทึกปริมาณข้าวเปลือก ข.2.3 การป้องกันกาจัดศัตรูในโรงเก็บ ข.2.3.1 แมลงศัตรูข้าวในโรงเก็บ แบ่งเป็น (1) แมลงศัตรูข้าวเปลือก ได้แก่ ผีเสื้อข้าวเปลือก มอดหัวป้อมหรือมอดข้าวเปลือก ด้วงงวงข้าว ด้วงงวงข้าวโพด มอดแป้ง และมอดสยาม (2) แมลงศัตรูข้าวสาร ได้แก่ ด้วงงวงข้าวโพด ด้วงงวงข้าว ผีเสื้อข้าวสาร มอดแป้ง และมอดฟันเลื่อย การป้องกันและกาจัด - ทาความสะอาดยุ้งฉาง โกดัง หรือโรงเก็บ ก่อนนาข้าวเข้าเก็บและหมั่นทาความสะอาด - พ่นสารสกัดจากพืช เช่น สาบเสือ เพื่อป้องกันกาจัดแมลงที่พื้น ฝาผนัง และที่ว่างของโรงเก็บ - คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารสกัดจากพืช เช่น สะเดา ดอกดีปลีแห้ง ว่านน้าผง - รมด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในโรงเก็บ


43 ข.2.3.2 ปัญหาอื่นๆ ของข้าวในโรงเก็บ : ข้าวฟันหนู สาเหตุ : ข้าวความชื้นสูงและมีเชื้อราเข้าทาลาย ลักษณะอาการ : ข้าวสารที่เป็นฟันหนูจะมีสีเหลืองและมีรอยดาบนเมล็ด หากข้าวเปลือกมี เชื้อรานี้อยู่ เมื่อนาไปสีจะแตกหักง่าย การป้องกัน - ข้าวเปลือกที่เก็บรักษาควรมีความชื้นไม่เกิน 14% - โรงเก็บควรสะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก ข.2.3.3 หนูศัตรูในโรงเก็บ หนูที่เป็นศัตรูข้าวในโรงเก็บมีหลายชนิด ได้แก่ หนูนอเวย์หรือหนูขยะ หนูท้องขาว และหนูจี๊ด นอกจากทาความเสียหายโดยตรงแล้ว มูล ปัสสาวะ น้าลาย และขนของหนูที่ปนเปื้อนกับผลิตผล ทาให้เกิดความเสียหายต่อผลิตผลข้าวอินทรีย์ และก่อให้เกิดโรคต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค การป้องกันกาจัด - ปรับปรุงสภาพโรงเก็บให้สะอาด และตัดต้นไม้หรือกิ่งไม้ที่พาดกับโรงเก็บออกไป - ใช้กรงดัก หรือกับดัก - กรณีจาเป็นต้องใช้สารกาจัดหนู ให้ใช้สารตาม มาตรฐานพืชอินทรีย์แม่โจ้ ภาคผนวก ก ตารางที่ ก.2 โดยใส่ในภาชนะ เช่น กล่องไม้ กล่องกระดาษ หรือกล่องพลาสติกที่มีรูเข้าออก 2 ทาง ขนาดที่หนูลอดได้ ทาการตรวจทุกวัน การกาจัดให้นาเศษเหยื่อที่มีสารกาจัดหนูและ ซากหนูออกจากพื้นที่ให้หมด ทั้งนี้ให้ใช้ด้วยความระมัดระวังป้องกันการปนเปื้อนลงในข้าว โดยมีเงื่อนไขจะต้องดาเนินการขณะที่ไม่มีข้าวอยู่ในโรงเก็บ หากจาเป็นต้องใช้จะต้องมีระยะ ปลอดภัยเป็น 2 เท่าจากระยะเวลาที่กาหนดไว้ในฉลาก ข.2.4 การเก็บเกี่ยว การนวด และการสีข้าว กรณี ที่ มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งจั ก รกลหรื อ เครื่ อ งมื อ ในการเก็ บ เกี่ ย ว การสี และการแปรรู ป เช่ น เครื่องเก็บเกี่ยวและนวดข้าวร่วมกันทั้งผลิตผลจากแปลงที่เป็ นและไม่เป็นอินทรีย์ เกษตรกรต้อง ทาความสะอาดเครื่องจักรหรือเครื่องมือดังกล่าวก่อนที่จะนาไปใช้ในนาข้าวอินทรีย์และสีแปรรูป ข้าวอินทรีย์


44

ภาคผนวก ค หน่วย หน่ ว ยและสัญลัก ษณ์ที่ ใ ช้ ในมาตรฐานนี้ และหน่ วยที่ SI (International System of Units หรือ Le Système International d’ Unités) ยอมรับให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ

ชื่อหน่วย

สัญลักษณ์หน่วย

มวล

กิโลกรัม (kilogram)

kg

ลิตร (liter)

L

มิลลิลิตร (milliliter)

ml

ปริมาตร


45

คณะกรรมการวิชาการพิจารณามาตรฐานพืชอินทรีย์ และมาตรฐานข้าวอินทรีย์แม่โจ้ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรัตน์ นักหล่อ สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ประธานกรรมการ

2. รองศาสตราจารย์จักรพงษ์ พิมพ์พิมล คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

กรรมการ

3. อาจารย์ ดร.พรพันธ์ ภู่พร้อมพันธุ์ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

กรรมการ

4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร อุประ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

กรรมการ

5. อาจารย์ ดร.แสงเดือน อินชนบท คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

กรรมการ

6. นายนิสิต บุญเพ็ง สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1

กรรมการ

7. ดร.ตะวัน ห่างสูงเนิน ศูนย์ศึกษาและพัฒนาเกษตรอินทรีย์เรนโบว์ฟาร์ม

กรรมการ

8. นายอรรถพล นิตริ าษฎร์ สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

เลขานุการ

9. นางสาวกานต์สินี อัครศรีประไพ สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ผู้ช่วยเลขานุการ


46

หน่วยงานที่ให้ข้อเสนอแนะในการพิจารณามาตรฐานพืชอินทรีย์ และมาตรฐานข้าวอินทรีย์แม่โจ้ มีดังนี้ 1. หน่วยงานราชการ สำนักวิจัยและพัฒนำกำรเกษตร เขตที่ 1 (สวพ.1) มหำวิทยำลัยแม่โจ้ - คณะวิศวกรรมและอุตสำหกรรมเกษตร - คณะผลิตกรรมกำรเกษตร - สถำบันรับรองระบบกำรผลิตผลิตภัณฑ์กำรเกษตร (ICAPS) 2. หน่วยงานเอกชน ศูนย์ศึกษำและพัฒนำเกษตรอินทรีย์เรนโบว์ฟำร์ม จังหวัดเชียงใหม่


นโยบายคุณภาพ สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร

“ สถำบันรับรองระบบกำรผลิตผลิตภัณฑ์กำรเกษตร มหำวิทยำลัยแม่โจ้ เป็นองค์กรที่ให้บริกำรด้ำนกำร ตรวจประเมิน/รับรองคุณภำพมำตรฐำนสินค้ำเกษตรและ อุตสำหกรรมด้วยมำตรฐำนระดับสำกล บุคลำกรมีควำม เชี่ยวชำญในระดับประเทศ ยึดมั่นในจรรยำบรรณด้วยบริกำรที่ รวดเร็ว โปร่งใส และเป็นกลำง”



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.