เทคโนโลยีการเพาะเห็ดตับเต่า

Page 1

เอกสารเผยแพร่ เ ทคโนโลยี ก ารเพาะเห็ ด ตั บ เต่ า นี้ สื บ เนื่องมาจากโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเห็ดป่าไมคอร์ ไรซาแบบจาลองธรรมชาติ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน ที่ มหาวิ ทยาลั ยแม่ โจ้ –แพร่ เฉลิ มพระเกี ยรติ ร่ วมกั บสถาบั นวิ จั ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ได้รับการสนับสนุน การดาเนินการวิจัยโดยสานักงานพั ฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ทีมงานวิจัยหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ สามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับการเพาะเห็ดตับเต่าร่วมกับการปลูกไม้ ผล และพืชเกษตรต่างๆ ซึ่งจะเป็นการพัฒนาแหล่งอาหารที่ยั่งยืนของ ชุมชน

เห็ดตับเต่า

- ช่วยดักจับและรักษาความชื้นในดินบริเวณรอบรากพืชอาศัย ด้านสรรพคุณทางยาและโภชนาการ -รสชาติ ดี คนนิยมรั บประทาน มีราคาค่อนข้ างสู ง (150-250

- นาดอกเห็ดสดแก่ 1 ส่วน : กับน้าสะอาดปราศจากคลอรีน 2 ส่วน - ปั่นส่วนผสมให้ละเอียด จะได้หัวเชื้อเห็ดพร้อมใส่กล้าไม้

บาท/กิโลกรัม) -เห็ดตับเต่า 100 กรัม ให้พลังงาน 29 กิโลแคลอรี ประกอบด้วย น้า 91.51% และมีวติ ามิน 0.01% (กรมอนามัย, 2544) -บารุงกาลัง บารุงตับและบารุงปอด ไหลเวียนโลหิต ดับพิษร้อน ภายใน (ทวีทอง และนิดดา, 2448)

การเตรียมเชื้อเห็ดตับเต่าสาหรับใส่กล้าไม้

ลักษณะทั่วไปของเห็ดตับเต่า เห็ ดตั บเต่ า : ดอกมี น้ าตาลเข้ มอม เหลือง-สีดาบริเวณหมวกมีขนคล้ายกามะหยี่ แห้ง หมวกดอกมีขนาด 12-30 ซ.ม. ใต้ดอกเป็น แบบรูสีเหลืองอมเขียวอ่อน ก้านดอกสีดาถึงสี น้าตาลอ่อน ขนาด (14-8)×(3-4) ซ.ม. (อนงค์ และคณะ,2551)

การเตรียมกล้าไม้สาหรับการใส่เชื้อเห็ดตับเต่า ชนิดไม้สาหรับใส่เชื้อเห็ดตับเต่า ดอกเห็ดสด

แยกเชื้อจากดอก เห็ดสด

เชื้อเห็ดตับเต่าใน อาหารแข็ง (PDA)

กลุ่มไม้ผลและไม้ดอก เช่น กาแฟ ขนุน ลาไย น้อยหน่า มะกอกน้า มะม่วง หว้า แคบ้าน โสน หางนกยูง เป็นต้น

ประโยชน์ของเห็ดตับเต่า ด้านสิง่ แวดล้อม - ช่วยเพิ่มการเติบโตของต้นไม้ ช่วยให้ระบบรากต้นไม้ แข็งแรง - ช่วยสลายธาตุฟอสฟอรัสให้ต้นไม้สามารถนาไปใช้ได้มากขึน้ - ช่วยป้องกันและควบคุมการเกิดโรคกับระบบรากของต้นไม้

เชื้อเห็ดตับเต่าใน เมล็ดข้าวฟ่าง

เลีย้ งเชื้อเห็ดตับเต่าในอาหาร เหลว (PDB) บนเครื่องเขย่า

การเก็บเมล็ดไม้สาหรับเพาะ - คัดเลือกไม้ที่สมบูรณ์ ปลอดโรคและแมลงทาลาย - ควรเก็บเมล็ดที่แก่ สมบูรณ์ ปลอดโรคและแมลงทาลาย


-รดน้าให้ชุ่ม ด้วยน้าปราศจากคลอรีนปนเปื้อน - คลุมดินด้วยเศษซากพืช

การเพาะกล้าไม้ - วัสดุเพาะ ดินดาหรือดินร่วน : แกลบดา : ปุ๋ยคอก 2:1:1 - ขนาดถุงเพาะชา 2.5 × 9 นิ้ว - กระตุน้ การงอกของเมล็ดด้วยการแช่นาก่ ้ อนเพาะลงถุง

การดูแลต้นไม้ให้ออกเห็ด - รดน้าสม่าเสมอ - คลุมดินด้วยเศษซากพืช - ห้ามใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีสาหรับปราบศัตรูพชื

การใส่เชื้อเห็ดตับเต่าในกล้าไม้ -ใส่เชื้อเห็ด 20 ม.ล./ต้น เมื่อกล้าไม้อายุ 30-45 วัน -ควรใส่ 2 ครั้ง ช่วงเวลาห่างกัน 15-30 วัน

การปลูก และการบารุงดูแล การปลูก - ขุดหลุม ลึก 2 เท่า ของถุงดินเพาะกล้าไม้ - รองพื้นหลุมดินด้วยปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักโดยผสมคลุกกับหน้าดิน

เอกสารอ้างอิง กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2544. ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการ ของอาหารไทย (Nutritive values of Thai foods). กรุงเทพฯ. กรมอนามัย. 136 หน้า. ทวี ท อง หงส์ วิ วั ฒ น์ และนิ ด ดา หงษ์ วิ วั ฒ น์ . 2448. ผั ก 333 ชนิ ด : คุณค่าอาหารและการกิน. กรุงเทพฯ: แสงแดด. 320 หน้า สุ จิ ต รา โกศล และคณะ . 2562. รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู รณ์ โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเห็ดป่าไมคอร์ไรซาแบบจาลอง ธรรมชาติเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 1. อนงค์ จันทร์ศรีกุล และคณะ. 2551. ความหลากหลายของเห็ดและรา ขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 514 หน้า

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้ (หลักสูตรปริญญาโท) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เบอร์ติดต่อ 063-9625395


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.