ปลาค้อเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์

Page 1

Chulabhorn’s Princess Stream Loach

ลุ่มน้ําแม่แจ่มมีปริมาณน้ําไหลลงแม่น้ําปิงถึงประมาณร้อยละ 40 ของทั้งหมด ซึ่งมีความสําคัญเป็นอย่างมากกับระบบน้ําของ แม่น้ําปิง เมื่อน้ําแม่แจ่มเหือดหายย่อมหมายถึงชีวิตที่อยู่ร่วมกัน ในน้ําแม่แจ่มเองและลุ่มน้ําปิงรวมไปถึงลุ่มน้ําเจ้าพระยาก็ล่มสลาย ไปด้วย การเกษตรที่เริ่มรุกคืบอย่างรวดเร็วของพื้นที่ลุ่มน้ําแม่แจ่ม คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่แบ่งบานอย่างเต็มที่ พื้นที่ป่าลดลงรวมกับการ ตั้งอําเภอกัลยานิวัฒนา เป็นแนวทางที่สุ่มเสี่ยงต่อการลดลงของ พื้นที่ป่าธรรมชาติซึ่งเป็นต้นน้ําแม่แจ่ม เมื่อป่าหายไปผลกระทบต่อ ปลาเฉพาะถิ่นอย่างปลาค้อเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ และชนิดอื่น ๆ เช่น ปลาคอลายเสื อแมโจ ้ ่ ้ (Schistura maejotigrina)

ปลาค้างคาว (Oreoglanis sp.)

ปลาคางคาวหนวดเขี ย ้ ว ้

ปลาเฉพาะถิ่นของลุม่ น้ําแม่แจ่ม

การสร้างอาหารด้วยตนเอง เพื่อไปสู่การสร้างอาชีพ และการ สร้างอาวุธ (ปัญญา) จึงเป็นสิ่งเร่งด่วนสําหรับการชะลอความ เสียหายของธรรมชาติวิทยาทางน้ํา ขอมู ั ท ์ สุวรรณรักษ์ ้ ลติดตอ ่ ผศ.ดร. อภินน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า อีเมลล: apinun@mju.ac.th ์ โทร. 053 873470 ตอ ่ 401

ปลาค้ อ เป็ น ปลาที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ป่ า กล่ า วคื อ เป็ น ปลาที่ มี ก ารกิ น แมลงน้ํ า เป็ น อาหารหลั ก โดยที่ วงจรชี วิ ต ของของแมลงน้ํ า ต้ อ งอาศั ย ป่ า ที่ เ ป็ น แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของตั ว เต็ ม วั ย ของแมลง หลากหลายชนิ ด ที่ มี ว งชี วิ ต ในระยะตั ว อ่ อ นอยู่ ใ นน้ํ า ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ปลา โดยเฉพาะกลุ่ ม ปลาต้ น น้ํ า อย่ า ง ปลาค้ อ ดั ง นั้ น แนวโน้ ม ของปลาค้ อ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณ์ จึ ง มี โ อกาสเสี่ ย งที่ จ ะสู ญ พั น ธุ์ ไ ด้ ห ากกิ จ กรรมดั ง ต่ อ ไปนี้ ยั ง ดํ า เนิ น ต่ อ ไป 1. การตั ด ไม้ ทํ า ลายป่ า เพื่ อ การปลู ก พื ช ผล ทางด้ า นการเกษตร เป็ น สาเหตุ ห ลั ก อย่ า งหนึ่ ง ของ การสู ญ เสี ย ทรั พ ยากรทางน้ํ า จนบางครั้ ง เกิ ด การ สู ญ พั น ธุ์ เมื่ อ ต้ น ไม้ ล้ ม ลงแหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของแมลง หายไป ไม่ มี ร่ ม เงาที่ เ กิ ด จากต้ น ไม้ เ พื่ อ เป็ น การลด อุ ณ หภู มิ แ ละหลบภั ย ไม่ มี ร ากคอยยึ ด หน้ า ดิ น ทํ า ให้ เกิ ด การพั ง ทลายและตะกอนทรายลงไปทั บ ถมทํ า ให้ ลํ า ธารตาย 2. การทํ า การเกษตรที่ ใ ช้ ส ารเคมี ก็ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ทํ า ให้ ป ลาขนาดเล็ ก ที่ มี ค วามไวต่ อ สารเคมี ไ ด้ รั บ ผลกระทบในทุ ก ระยะของชี วิ ต 3. การรุ ก ล้ํ า พื้ น ที่ ด้ ว ยการถมที่ ห รื อ เปลี่ ย นแปลง ทางน้ํ า จนทํ า ให้ ก้ อ นหิ น นั้ น หายไป 4. การสร้ า งฝายชะลอน้ํ า ที่ ไ ปดั ก ทรายจนทํ า ให้ ด้ า นบนของฝายตื้ น เขิ น ภายในระยะเวลาอั น รวดเร็ ว มี เ ฉพาะทรายซึ่ ง ไม่ มี อ าหาร แหล่ ง อาหาร ไม่ มี แหล่ ง หลบภั ย ไม่ มี แ หล่ ง วางไข่ ปลาที่ อ ยู่ ใ นสภาพ เช่ น นี้ ก็ จ ะค่ อ ย ๆ ลดจํ า นวนลงจนสู ญ พั น ธุ์ ใ นที่ สุ ด


้อง ็ก อาศัยอยู่กับพื้นท เล าด น ข ี ม ่ ี าท ล ป ็ น าด ปลาค้อเป ra เป็นสกุลที่มีขน tu is h sc o ys h P ล ุ ก น้ํา ส่วนในส ียวกัน ปลาค้อใน เด ล ุ ก งส อ ข าง ล ก าน t, เล็กถึงขนาดป escu & Nalban ăr n ă B ra tu is h sc ่าง สกุล Physo ากโค้งอยู่ทางด้านล ป าว ย ว ั ต า ํ ล ี ม ่ ี ท ล ุ ที่ 1882 เป็นสก ซึ่งเป็นลักษณะเด่น ม ย ่ ี ล เห าม ส ป รู น ็ ก ริมฝีปากล่างเป eilidae มีร่องแย ch a m e N ์ ศ วง ใน ต่างจากสกุลอื่น ระเพาะลมฝังอยู่ใน ก ย า ่ ต ระ ก น ั ฟ ย า ้ ล ตรงกลาง มีฟันค ูกคลุมไว้ด้วยกล่อง ถ ่ ไม ะ ล แ ก ็ เล าด น ข ี กล่องส่วนท้ายม มีเกล็ดขนาดเล็ก ศ เพ ก น แ า ํ จ าร ก น ใ ้ มักมีลักษณะที่ใช ษที่คอดหาง ที่ฐาน ศ เ ิ พ ่ ญ ให าด น ข ด ็ ล บนลําตัว ไม่มีเก งกัน แถบที่ฐาน อ ่ ื เน อ ่ ต ่ ไม าว ย ่ ต แ า ํ ครีบหลังมีแถบสีด ้นยาวทางด้านล่าง เส น ็ เป ก ย แ น ั ก อ ่ ครีบหางไม่เชื่อมต ลากหลายรูปแบบ ห าย ล ด ว ล ี ม น บ น และเป็นจุดทางด้า งน้ําเป็นหินก้อน อ ้ ท น ้ ื พ ี ม ่ ี ท ่ ี ท น ้ ื พ ใน ส่วนใหญ่ชอบอาศัย มชอบมุดทราย รร ก ิ ฒ ฤ พ ี ม ย รา ท เล็ก กรวด และ isleri) ปลาใน ge ra tu is ch (S ก ็ เล มบุตร คล้ายกับปลาค้อจุด ้นน้ําเช่นลุ่มน้ําพรห ต ณ ว เ ริ บ บ พ ่ ญ ให น สกุลนี้ส่ว ง และลุ่มน้ํา โข า ํ ้ น ม ่ ุ ล น วิ ะ าล ส ้ํา ลุ่มน้ําอิระวดี ลุ่มน เจ้าพระยา

ปลาค้อเจ้าฟ้ าจุฬาภรณ์

ลักษณะเด่น

สถานที่เก็บตัวอย่าง

ปลาค้อเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ เป็น ปลาที่พบในบริเวณตอนบนของ ลุ่มน้ําแม่แจ่ม ซึ่งเป็นลําน้ําสาขา ของแม่น้ําปิง อยู่ในเขตอําเภอ แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จัดอยู่ ในสกุล Physoschistura ซึ่ง ก่อนหน้านี้ในโลกนี้พบด้วยกัน 11 ชนิด ชนิดนี้เป็นชนิดที่ 12 มี ลักษณะเด่นคือ มีรูบนเกล็ดเส้น ข้างตัวจํานวน 62-83 รู ครีบ หลังมีจุดเริ่มต้นอยู่หน้าครีบ A: ด้านล่างของส่วนหัว ส่วนของปากที่มี ท้องเล็กน้อย มีเกล็ดพิเศษที่ ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม, . ฐานของครีบท้อง เพศผู้มีติ่งเนื้อ B: ติ่งเนื้อบริเวณหน้าตาของปลาเพศผู้ ใต้ตาส่วนหน้าเป็นรูปค้อน คอด หางค่อนข้างเรียวยาวกว่าชนิดอื่น ๆ มีแต้มสีดําในแนวข้างตัว จํานวน 10-13 แต้ม และมีแต้มริ้วสีดําบนสันหลัง แถบดําที่โคน หางไม่เชื่อมต่อกันโดยด้านล่างเป็นแถบยาวส่วนด้านบนเป็น แถบสั้น กระเพาะลมมีขนาดเล็กแบ่งออกเป็น 2 ช่อง ฝังตัวอยู่ ในกล่องบริเวณต้นคอ ลําไส้สั้น กระเพาะอาหารโค้งงอเป็นตัว งอ งู มีความยาวประมาณ 3 เซนติเมตร มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Physoschistura chulabhornae

ตัวอย่างต้นแบบ MARNM: 3999, 6 พฤษภาคม 2551, ที่ 18°55'35.43'' เหนือ 098°22'45.63'' ตะวันออก ที่ระดับความสูง 764 เมตร ของห้วยแม่ตะละน้อย บ้านแม่ ตะละ ตําบลแม่แดด อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ใกล้ กับหมู่บ้าน และพบได้ทั่วไปในลําน้ําสาขาของน้ําแม่แจ่ม ใน แหล่งน้ําใสสะอาด ไหลไม่แรงมากนัก พื้นท้องน้ําเป็นทราย กรวด กรวดใหญ่ ก้อนหินเล็ก โคลนเล็กน้อย และมีก้อนหิน ขนาดใหญ่บ้าง จากระดับน้ําทะเล ที่สําคัญการกินอาหาร ของปลากลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่กินแมลงน้ําเป็นอาหาร ซึ่งแมลงน้ํา นั้นจะต้องอาศัยป่าไม้ที่ อุดมสมบูรณ์ เพื่อเป็น แหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งหา อาหาร และแหล่งผสม พันธุ์ในระยะที่เป็นตัวเต็ม วัย เป็นปลาที่ต้องการ ธรรมชาติที่ค่อนข้าง บริสุทธิ์

กระเพาะลมส่วนท้ายที่ไม่มีกล่องคลุมของ ปลาค้อเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์

ลักษณะกระเพาะของปลา ค้อเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ Scale bar 1 mm

ซ้ายล่าง: แผนที่ลุ่มน้ําแม่แจ่มและพื้นที่พบปลาค้อเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ตัวอย่างต้นแบบวงกลมสีดํา ขวาบน: บริเวณเก็บตัวอย่างต้นแบบ ห้วยแม่ตะละน้อย บ้านแม่ตะละ ตําบลแม่แดด อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.