ข้อมูลเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่พบในระบบปลูกพืชอินทรีย์

Page 1

ข้อมูล เชื้อจุลนิ ทรียป์ ฏิปกั ษ์ทพ่ี บในระบบปลูกพืชอินทรีย ์

ข้อมูล เชื้อจุลนิ ทรียป์ ฏิปกั ษ์ท่พี บในระบบปลูกพืช อินทรีย ์

โครงการ การพัฒนาฐานขอมูลและศึกษาบทบาทของการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีในระบบการผลิต อาหารอินทรีย ภายใตโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย จังหวัดเชียงใหม


1

การใชประโยชนจากจุลินทรียป ฏิปกษในการควบคุมโรคพืช เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ที่ ส ามารถควบคุ ม โรคพื ช เรี ย กว า เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ป ฏิ ป ก ษ (antagonistic microorganisms) เชนเชื้อ รา Trichoderma spp., Ampelomyces spp., และ Streptomyces spp. เปน ต น ทั้งนี้Baker and Cook (1974) ไดอธิบายลักษณะของเชื้อจุลินทรียปฏิปกษ ซึ่งไดแก เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส หรือ ไสเดือนฝอย ที่สามารถควบคุมประชากรของโรคพืชมิใหระบาดกอความเสียหายใหกับพืช ปลูก โดยเชื้อเหลานี้จะมีกลไกการทําลายเชื้อโรคพืช แบงเปน 4 กลไกไดแก 1. การเจริญแขงขันกับเชื้อราโรคพืช (competition) เชนการแกงแยงสารอาหารและที่อาศัยเชน การที่เชื้อปฏิปกตสามารถแกงแยงการใชธาตุอาหาร, อากาศ และการครอบครองพื้นที่ ได ดีกวา ทําใหเชื้อโรคพืชไมสามารถเจริญเติบโต หรืออาศัยอยูในบริเวณที่มีเชื้อปฏิปกษ เชน เชื้อแบคทีเรียปฏิปกษ Pseudomonas fluorescents จะผลิตสาร siderophore ชวยในการจับ ยึดธาตุเหล็กในธรรมชาติมาใชไดดีกวาเชื้อรา Gaeumannomyces graminis var. tritici สาเหตุ โรค Take-all ของขาวสาลี ทําใหเชื้อรานี้ไมสามารถทําลายรากของขาวสาลี ชวยใหขาวสาลี เจริญเปนปกติ ใหผลผลิตดีขึ้น เปนตน 2. การเบียน (parasitism) คือการที่เชื้อจุลินทรียปฏิปกษเจริญเติบโต และ เพิ่มปริมาณโดยใช สารอาหารจากเชื้อโรคพืช ทําใหเกิดการรบกวนระบบตาง ๆ ของการดํารงชีวิตของเชื้อโรค พืชนั้น เชน การทีแ่ บคทีเรีย Pasteuria penetrans ที่เปนปรสิตของไสเดือนฝอย Meloidogyne incognita สาเหตุโรครากปม เปนตน 3. การเปนตัวห้ํา (predation) คือ เปนวิธีการที่เชื้อจุลินทรียชนิดหนึ่งกินเชื้อ อีกชนิดหนึ่ง เชน ในกรณีที่ไสเดือนฝอยบางชนิดกินเชื้อราโรคพืช หรือไสเดือนฝอยบางชนิดกินไสเดือนฝอย ดวยกันเอง


2 4. การสรางสารยับยั้ง (antibiotic production) คือการที่เชื้อจุลินทรียปฏิปกษ บางชนิดสามารถ สรางสารเคมีบางอยาง เชน สารพิษ (toxin) หรือ สารปฏิชีวนะ (antibiotic) ที่มีคุณสมบัติ ยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตหรื อ เป น พิ ษ ต อ เชื้ อ โรคพื ช เช น โดยเชื้ อ แบคที เ รี ย ปฏิ ป ก ษ Agrobacterium radiobacter สายพันธุ K84 จะผลิตสารแบคเทอริโอซิน bacteriocin ที่มีชื่อ วาอะโกรซิน agrocin 84 ไปยับยั้ง หรือทําลายเชื้อ A. tumefaciens biotype 1 และ 2 สาเหตุ โรค crown gall ของพืชได และรายงานการใชเชื้อรา T. viride และ P. flurescens ควบคุม โรคเนาคอดินซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อรา Rhizoctonia sp. ของกะหล่ํา เปนตน จากรายงานเกี่ ย วกั บ การใช เ ชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ป ฏิ ป ก ษ ค วบคุ ม โรคพื ช เช น การพบว า เชื้ อ รา Trichoderma sp. ในสูตรสําเร็จแบบ SSC-60 มีศักยภาพในการควบคุมโรค รากเนาคอดิน ที่มีสาเหตุ จากเชื้อ รา Rhizoctonia sp. และ Phythum ultimum ซึ่งไดผลเปนอยางดี นอกจากนี้เชื้อราปฏิปกษนี้ ยังชวยสงเสริมการเจริญเติบโตของพืชผักวงศกะหล่ําเนือ่ งจากชวยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราโรค พืชในดินหลายชนิด ที่มา: รุงเกียรติ แกวเพชร และ ศมาพร แสงยศ. 2550. ชนิดและประสิทธิภาพในการปองกันกําจัดศัตรูพืช ของเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ที่ พ บใน ระบบนิ เ วศสวนผั ก วงศ ก ะหล่ํ า ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี . รายงานวิจัย . สํ านั ก งานคณะกรรมการวิ จัย แห ง ชาติ และ มหาวิท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต , กรุงเทพฯ. 55 หนา. Cook R.J. and K.F. Baker. 1983. Biological control of plant pathogen. APS Press. Minnesota. USA. 539 pp.


3

ชื่อวิทยาศาสตร

Thricoderma spp. ( Hypocreales: Hypocreaceae)

บทบาทในธรรมชาติ

เปนเชื้อราปฏิปกษซึ่งมีประสิทธิภาพในการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรค พืชหลายชนิด โดยทั่วไปเรียกวา ราเขียว แตอยางไรก็ตามไมใชเชื้อราชนิด เดียวกับเชื่อราเขียว หรือรามัสคารดีนเขียว Metarhizium anisopliae ซึ่งเปน เชื้อราสาเหตุโรคของแมลง (Entomopahogenic fungus)


4 ขอมูลทางชีววิทยาที่เปน ประโยชนตอการควบคุมแมลง ศัตรูพืชโดยชีววิธี

การใชประโยชนดานการ ควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี

ขอมูลอื่นๆ

Trichoderma spp. เปนเชื้อจุลินทรียปฏิปกษของโรคพืช ซึ่งอยูในดิน มี ห ลากหลายชนิ ด และหลากหลายกลไกการทํ า ลาย ส ว นมากที่ พ บใน ประเทศไทย ได แ ก T. harsianum และ T. viridis ซึ่ ง ส ว นมากจะพบว า T. harsianum ซึ่งเปนชนิดเดียวกับที่พบปนเปอนในกอนเชื้อเห็ด ใน อุตสาหกรรมการเพาะเห็ด มีการผลิตมาใชในรูปของยาเชื้อและบางสวนไดมี งานวิจัย ที่เ กี่ย วขอ งจํานวนมาก และมีก ลไกการควบคุ มโรคพืชไดแ ก ก าร เจริ ญ แข ง ขั น กั บ เชื้ อ ราโรคพื ช (competition) และการสร า งสารยั บ ยั้ ง (antibiotic production) ขึ้ น อยู กั บ ชนิ ด ของ Trichoderma spp. อี ก ทั้ ง ยั ง ช ว ย เสริมสรางการเจริญเติบโตของพืชไดอีกดวย การควบคุมโรคพืชของเชื้อรานี้ ไดผลดีในสภาวะที่มีความชื้นคอนขางสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งโรคพืชที่เกิดจาก เชื้อราที่อาศัยอยูในดิน เชน โรครากเนา และโคนเนา เชื้ อ รานี้ เ มล็ ด ข า วฟ า งและธั ญ พื ช ชนิ ด ต า ง ๆ เช น ข า วฟ า ง และ ขาวเปลือก เปนตน สามารถใชไดดีในการเพิ่มปริมาณเชื้อนี้ และจากเหตุผล เหลานี้ประกอบกับการที่เชื้อจุลินทรียปฏิปกษสวนมากเจริญไดดีและรวดเร็ว และสามารถแยกเชื้อบริสุทธิ์ไดบนอาหารเทียมชนิดพื้นฐานเชน PDA ทั้งนี้ ในทางปฏิบัติการใชประโยชนไดแก การคลุกกับดินปลูก กอนการปลูกพืช ใน บางกรณีอาจมีการผสมน้ําฉีดพน แตในสภาพแปลงปลูกมักไมไดผลเทาที่ควร เนื่องจากความชื้นในอากาศไมเหมาะสม แหลงขอมูลอางอิง Cook R.J. and K.F. Baker. 1983. Biological control of plant pathogen. APS Press. Minnesota. USA. 539 pp. Jenn-Wen Huang and Hung Chang Huang. 2000. A formulated container medium suppressive to Rhizoctonia damping-off of cabbage. Bot. Bull. Acad. Sin. 41:49-56.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.