การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ปราบศัตรูพืช

Page 1

24/06/61

การผลิตหัวเชือ้ จุลินทรี ย์ปราบศัตรู พืช

ขนิดของเชือ้ จุลินทรีย์ปราบศัตรูพืช เชือ้ จุลินทรีย์ปราบแมลง:

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศมาพร แสงยศ

- เชื ้อราปราบแมลง เช่น บิวเวอรร์เรีย (ราขาว) ราเขียวเมตาไรเซียม (รา เขียว) และ พีซิโลมายเซส (ราสีเทา) เป็ นต้ น - เชื ้อแบคทีเรียปราบแมลง เช่น บีที (BT) และ Bacillus papillae เป็ นต้ น

-เชื ้อไวรัสปราบแมลง เช่น เอ็นพีวี (NPV) และ จีวี (GV) เป็ นต้ น

คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

เชือ้ ราที่เป็ นสาเหตุของโรคในแมลง

เชือ้ ไวรั สที่เป็ นสาเหตุของโรคในแมลง

- และยังมีเชื ้อจุลินทรี ย์ทสี่ ามารถนามาใช้ ปราบแมลงได้ อย่าง ปลอดภัยอีกหลายชนิด เช่น ราน ้า โปรโตซัว ไส้ เดือนฝอย

เชือ้ แบคทีเรี ยที่เป็ นสาเหตุของโรคในแมลง

ขนิดของเชือ้ จุลินทรีย์ปราบศัตรูพืช

เช่ น เอ็ นพี วี และ จีวี เป็ นต้ น

เชือ้ จุลนิ ทรี ย์ปราบโรคพืช: - เชื ้อราปราบโรคพืช เช่น เชื ้อราไตรโคเดอร์ มา (ราเขียวไตร โคเดอร์ มา) และเชื ้อราคีโตเมียม เป็ นต้ น - เชื ้อแบคทีเรี ยปราบโรคพืช เช่น บีเอส (BS) เป็ นต้ น

1


24/06/61

ขบวนการหลัก ๆของการผลิตหัวเชือ้

แหล่ งหัวเชือ้ ในธรรมชาติ เชือ้ จุลินทรี ย์ปราบแมลง: - เชื ้อราปราบแมลง เช่น บิวเวอรร์ เรี ย (ราขาว) ราเขียวเมตาไรเซียม (ราเขียว) และ พีซิโลมายเซส (ราสีเทา) แยกได้ จากตัวแมลงทีต่ ิดเชื ้อ - เชื ้อแบคทีเรี ยปราบแมลง เช่น บีที (BT) และ Bacillus papillae เป็ นต้ น แยกได้ จากตัวแมลงที่ติดเชื ้อ และดิน

-เชือ้ ไวรัสปราบแมลง เช่น เอ็นพีวี (NPV) และ จีวี (GV) แยก ได้ จากตัวแมลงที่ติดเชือ้

แหล่ งหัวเชือ้ ในธรรมชาติ เชือ้ จุลนิ ทรี ย์ปราบโรคพืช: - เชื ้อราปราบโรคพืช เช่น เชื ้อราไตรโคเดอร์ มา (ราเขียวไตร โคเดอร์ มา) และเชื ้อราคีโตเมียม แยกได้ จากดิน หรื อก้ อนเห็ด - เชื ้อแบคทีเรี ยปราบโรคพืช เช่น บีเอส (BS) แยกได้ จากดิน

การผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร สถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น:

การผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร หลักการ: - สะอาด ปลอดเชื ้อ - ใช้ อาหารเพาะเลี ้ยงเชื ้อที่เหมาะสม - คัดเลือกเชื ้อสายพันธุ์ที่มีความแข็งแรง และผ่านการทดสอบ ประสิทธิภาพ

การผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร ห้ องที่สะอาด ปลอดเชื ้อ และตู้เขี่ยเชื ้อ

- ห้ องที่สะอาด ปลอดเชื ้อ - อาหารเพาะเลี ้ยงเชื ้อที่เหมาะสม เช่น พีดีเอ และ เอสดีเอ - อุปกรณ์ฆ่าเชื ้อ - ตู้เขื่อเชื ้อ และอุปกรณ์เขี่ยเชื ้อ

2


24/06/61

การผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร

การผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร

ห้ องที่สะอาด ปลอดเชื ้อ และตู้เขี่ยเชื ้อ อุปกรณ์เขี่ยเชื ้อ เช่น เข็มเขี่ย ลูป ตะเกียงแอลกอฮอล์

การผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร อุปกรณ์ฆ่าเชื ้อ เช่น แอลกอฮอล์ฆ่าเชื ้อ (70 เปอร์เซ็นต์) และอุปกรณ์น่งฆ่าเชื ้อ

การผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร อาหารเพาะเลี ้ยงเชื ้อที่เหมาะสม เช่น พีดีเอ และ เอสดีเอ

ก่ อนการผลิตหัวเชือ้ บริสุทธิ์ในห้ องปฏิบัตกิ าร

การเตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ พีดเี อ

1. เตรี ยมเตรี ยมสถานที่ 2. ฆ่าเชื ้อวัสดุอปุ กรณ์ เช่น เข็มเขี่ย น ้ากลัน่ จาน เลี ้ยงเชื ้อ 3. เตรี ยมอาหาร

-

สูตรอาหาร มันฝรั่ง 200 กรัม (2 ขีด) น ้ากลัน่ 1 ลิตร ผงวุ้น 15-20 กรัม น ้าตาลเด็กโทรส 20 กรัม

3


24/06/61

การเตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ พีดเี อ

นามันฝรั่งมาปอก เปลือกและหัน่ เป็ นชิ ้นต้ มกับน ้า

การเตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ พีดเี อ

เติมส่วนผสมอื่น ได้ แก่ว้ นุ และ น ้าตาล และ นาไปอุน่ ให้ ละลาย

การเตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ พีดเี อ

เอาชิ ้นมันทิง้ กรองเอาแต่น ้า

การเตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ พีดเี อ

บรรจุขวด ปิ ดจุกสาลีและ กระดาษ นาไปน่​่งฆ่าเชือ้ (121 องศาฯ/ 20 นาที)

4


24/06/61

ขัน้ ตอนที่ 2 นาสปอร์ มาเจือจางโดยทา

ขัน้ ตอนที่ 3 ตรวจหาโคโลนีเดี่ยว

DILUTION PLATE TECHNIQUE

ขั ้นตอนที่ 4 ตรวจสอบสี โคโลนี และรูปร่างลักษณะสปอร์

หลังจากการคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพสูงแล้ว จึงนาไปเพาะเลี้ยงเพิม่ ปริ มาณในวัสดุเพาะที่เหมาะสม เช่น ข้าวฟ่ าง ข่าวโพด ข้าวสาร ฯลฯ

ความหลากหลายทางชนิดของศัตรู ธรรมชาติ หลักการเพาะเลีย้ ง และแนวทางการใช้ ประโยชน์

MJU-BC-TLC

5


24/06/61

 เกิดข่ ้นเองตามธรรมชาติ ในระบบนิเวศ โดยไม่มีการกระทาของมนุษย์ก าร ควบคุมโดยชีววิธีแบบนี ้เป็ นความสามารถ ในการนาผลของปั จจัยที่มีชีวิต โดยเฉพาะศัตรู ธรรมชาติ มาใช้ ประโยชน์ได้  เกิดข่ ้นเองตามธรรมชาติ ในระบบนิเวศ โดยมีการกระทาของมนุษย์การการนา ผลของปั จจัยที่มีชีวิต โดยเฉพาะศัตรู ธรรมชาติ มาใช้ ประโยชน์ได้

ศัตรูธรรมชาติ (natural enemies)

่ นสาเหตุของการตายก่อน หมายถึง พืชหรือสัตว ์ในธรรมชาติ ซึงเป็ ่ ๆ กาหนด ของสัตว ์หรือพืชนิ ดอืน

แมลงตัวเบียน

แมลงตัวหา้

เชื ้อจุลินทรี ย์

แมลงศัตรูธรรมชาติ 14 อันดับ

เพลีย้ ไฟตัวหา้ ซึ่งกินเพลีย้ ไฟศัตรู พืช

167แฟมมิลี่ หรื อ รวมแล้ วมีมากถ่ง 40,000 ชนิด

6


24/06/61

ผีเสื้ อตัวห้า

ตัวห้ าที่เป็ นแมลงที่มีปากแบบปากกัด

ไรตัวหา้ Phytoseiulus persimilis : มีการเพาะเลีย้ งเพิม่ ปริมาณเพื่อควบคุมไรศัตรูพืชแล้ว

ด้ วงเต่ าตัวหา้ ที่พบทั่วไป

ตัวอ่อนแมลงช้าง (GREEN LACEWING LARVA)

7


24/06/61

หนอนของแมลงวันดอกไม้ (Syrphus spp.) เป็ นตัวห้ าของเพลี้ยอ่อนทุกชนิด

หนอนแมลงวันดอกไม้กนิ เพลี้ยอ่อน

แมลงตัวห้าทีม่ ีปากแบบปากดูด: มวนตัวห้า

มวนตัวห้ าของเพลี้ยไฟ

อันดับและวงศ์ ของแมลงตัวเบียน

แมลงตัวเบียน (parasitoids)

แมลงตัวเบียน 5 อันดับ และ 87 วงศ์

รวมแล้ วมีถึง 65,000 ชนิด

8


24/06/61

มีขนาดตั้งแต่ เล็กจิ๋วเดียว ถึงตัวใหญ่

การทาลายตัวอาศัยของแมลงตัวเบียน

แมลงตัวเบียน เบียนได้ ท้งั

หนอน

แตนเบียนเพลี้ยอ่อน

ไข่ ดักแด้

ราขาว-ราเขียว ปราบแมลง

เชื ้อโรค (pathogens) การควบคุมโดยใช้ จุลนิ ทรีย์ (Microbial control)

9


24/06/61

• ในปี พ.ศ. 2481 และผลิตภัณฑ์เชื ้อจุลินทรีย์โรคของแมลงที่ผลิตเป็ นการค้ า ครัง้ แรกคือ Bt. โดยมีชื่อการค้ าคือ

Sporéine

ข้อพิจารณาในการใช้จุลินทรี ยค์ วบคุมแมลง (General Considerations in Microbial Control) ชีววิทยาและลักษณะของแมลงตัวอาศัย เช่น ลักษณะสัณฐานวิทยา วัย และ ความแข็งแรง ที่เอื ้อต่อการก่อโรคคืออยู่ในระยะที่เหมาะสมและมีความอ่อนแอ ลักษณะทางชีววิทยาของจุลินทรีย์ เช่นความรุ นแรงและความสามารถในการ ก่อโรค สภาพแวดล้ อมซ่ง่ ต้ องเหมาะต่อขบวนการก่อโรค เช่น แสง อุณหภูมิ และความชื ้น ความหนาแน่นของประชากร

วิธีการใช้ เชื้อจุลนิ ทรีย์โรคของแมลง

ยาเชือ้ ในตลาดสารป้ องกันกาจัดแมลงศัตรู พืช

การนาเชื ้อให้ เข้ าไปตังหลั ้ กแหล่งอยู่ในกลุ่มของแมลงศัตรู พืช

การฉีดพ่นหรือทาเป็ นเหยื่อล่อ ใช้ ร่วมกับสารกาจัดศัตรู พืช ที่สามารถใช้ ร่วมกันได้ หรือ เมื่อใช้ แล้ วจะทาให้ เกิดผลดีเพิ่มข่ ้น ใช้ ร่วมกับตัวห ้า ตัวเบียน และจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ ได้

ข้ อดีของการควบคุมแมลงศัตรู พืชโดยชีววิธี  ประหยัดในระยะยาว  ปลอดภัย เพราะไม่เป็ นพิษต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้ อม  ยัง่ ยืน เพราะใช้ ของที่มีอยู่ในธรรมชาติ ซ่​่งเป็ นสิ่งมีชีวิต ที่สามารถเพิ่มปริมาณเองตามธรรมชาติ

หลักการใช้ ประโยชน์ ศัตรูธรรมชาติ

10


24/06/61

วิธีการใช้ ประโยชน์จากแมลงตัวห ้า-ตัวเบียนในการ ควบคุมแมลงศัตรู พชื

ศัตรูธรรมชาติเลี ้ยงเพื่อการค้ า ได้ หรื อไม่?

 อนุรักษ์ที่มีอยู่ให้คงอยู่ได้ในธรรมชาติ  นาเข้ามาจากต่างประเทศเพื่อควบคุมแมลงที่มาจาก ต่างประเทศเหมือนกัน  เพาะเลี้ยงเพิ่มปริ มาณ และปล่อยเพิ่มในธรรมชาติ ณ พื้นที่ซ่ึงมีปัญหา

การลงทุนด้านการปราบศัตรูพืชแบบ ใช้เคมีและการควบคุมโดยชีววิ ธี 3 Billion 3

30 Billion

600 Million

แมลงศัตรู ธรรมชาติทมี่ ีการเพาะเลีย้ งขายในต่ างประเทศ

การลงทุน ขาย 100 Million

Biological Control Chemical Pesticides

ศูนย์ เรียนรู้ เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพชื โดยชีววิธี มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ (MJU- Biological Control Technology Learning Center)

MJU BC TLC

11


24/06/61

MJU- BC-TLC 1) เป็น ศูน ย์กลางสาหรับการให้บริการด้านวิชาการ แก่กลุ่มเป้าหมายได้แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ

ศูนย์ การเรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพชื โดยชีววิธี มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ที่ตงั ้ : ฟาร์ ม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ เลขที่ 151 หมู่ท่ี 7 ต. ป่ าไผ่ อ.สันทราย จ. เชียงใหม่ 50210 โทร 081 374 5126 email MJU-BCTLC@Gmail.com Line ID: MJU-BCTLC

ปริญ ญา และบัณ ฑิ ต ศึ ก ษา ในมหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ และมหาวิ ท ยาลั ย เครื อ ข่ า ย ทั้ ง ในและ ต่างประเทศ หน่วยงานบริการวิชาการอื่น ๆ และเกษตรและประชาชนทั่วไป 2) เป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต เชื้ อ พั น ธุ์ ศั ต รู ธ รรมชาติ ที่ ผ่ า นการควบคุ ม คุ ณ ภาพ และมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้บริการเครือข่ายการผลิตพืชอิน ทรีย์ ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเกษตรกร 3) เป็น แหล่งเรี ย นรู้ เทคโนโลยี ตลอดจน แนวทางการใช้ ป ระโยชน์ และการอนุ รั ก ษ์ ศั ต รู ธรรมชาติ เพื่อการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี ในระบบการเกษตรอิน ทรีย์

12


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.