ความหลากหลายทางชนิดของศัตรูธรรมชาติเพาะเลี้ยงและแนวทางการใช้ประโยชน์

Page 1

27/09/60

ความหลากหลายทางชนิดของศัตรูธรรมชาติ หลักการเพาะเลีย้ ง และแนวทางการใช้ ประโยชน์ อาจารย์ ดร. ศมาพร แสงยศ หลักสู ตรอารั กขาพืช คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ จ. เชี ยงใหม่

ศัตรูธรรมชาติ (natural enemies) หมายถึง พืชหรือสัตว์ในธรรมชาติ ซึง่ เป็ นสาเหตุของการตายก่อนกาหนด ของสัตว์หรือพืชนิดอืน่ ๆ

 เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ในระบบนิเวศ โดยไม่มีการกระทาของมนุษย์การ ควบคุมโดยชีววิธีแบบนี้เป็ นความสามารถ ในการนาผลของปัจจัยที่มีชีวิต โดยเฉพาะศัตรู ธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ได้

 เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ในระบบนิเวศ โดยมีการกระทาของมนุษย์การการนา ผลของปัจจัยที่มีชีวิต โดยเฉพาะศัตรู ธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ได้

แมลงตัวเบียน

แมลงตัวหา้

เชื้อจุลินทรี ย ์

1


27/09/60

แมลงศัตรูธรรมชาติ 14 อันดับ

เพลีย้ ไฟตัวห้าซึ่งกินเพลีย้ ไฟศัตรูพืช

167แฟมมิลี่ หรือ

รวมแล้ วมีมากถึง 40,000 ชนิด

ผีเสื้ อตัวหา้

ตัวห้ าที่เป็ นแมลงที่มีปากแบบปากกัด

ไรตัวหา้ Phytoseiulus persimilis : มีการเพาะเลีย้ งเพิม่ ปริมาณเพื่อควบคุมไรศัตรู พืชแล้ ว

ด้ วงเต่ าตัวห้าที่พบทั่วไป

2


27/09/60

ตัวอ่อนแมลงช้าง (GREEN LACEWING LARVA)

หนอนของแมลงวันดอกไม้ (Syrphus spp.) เป็ นตัวห้ าของเพลี้ยอ่อนทุกชนิด

หนอนแมลงวันดอกไม้กินเพลี้ยอ่อน

แมลงตัวหา้ ทีม่ ปี ากแบบปากดูด: มวนตัวหา้ มวนตัวห้ าของเพลี้ยไฟ

3


27/09/60

อันดับและวงศ์ ของแมลงตัวเบียน

แมลงตัวเบียน (parasitoids)

การทาลายตัวอาศัยของแมลงตัวเบียน

แมลงตัวเบียน 5 อันดับ และ 87 วงศ์

รวมแล้ วมีถงึ 65,000 ชนิด

มีขนาดตั้งแต่ เล็กจิว๋ เดียว ถึงตัวใหญ่

แมลงตัวเบียน เบียนได้ ท้งั

หนอน

แตนเบียนเพลี้ยอ่อน

ไข่ ดักแด้

4


27/09/60

แตนเบียน Encarsia formosa, ทาลายแมลงหวีข่ าว มี การเพาะเลี้ยงเพิม่ ปริ มาณเพือ่ ควบคุมแมลงหวีข่ าวศัตรู ไม้ดอก

Coccobius fulvus เบียนเพลีย้ หอยเกล็ดปรง

Cephaleta brunniventris

เบียนเพลีย้ หอยลาไย

ตัวเบียนชนิดต่าง ๆ เบียนเพลี้ยหอย

แตนเบียนไข่มวนแก้ว (Azalea lace bug egg parasite)

เชื้อโรค (pathogens) การควบคุมโดยใช้ จุลนิ ทรีย์ (Microbial control)

ราขาว-ราเขียว-ไส้ เดือนฝอย ปราบแมลง

ในปี พ.ศ. 2481 และผลิตภัณฑ์ เชือ้ จุลินทรี ย์โรค ของแมลงที่ผลิตเป็ นการค้ าครั ง้ แรกคือ Bt. โดย มีช่ ือการค้ าคือ Sporéine

5


27/09/60

ข้ อดีของการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี  ประหยัดในระยะยาว  ปลอดภัย เพราะไม่เป็ นพิษต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม

 ยัง่ ยืน เพราะใช้ของที่มีอยูใ่ นธรรมชาติ ซึ่งเป็ นสิ่ งมีชีวติ

หลักการเพาะเลี้ยงศัตรู ธรรมชาติ

ที่สามารถเพิม่ ปริ มาณเองตามธรรมชาติ

หลักการใช้ประโยชน์ ศัตรู ธรรมชาติ

วิธีการใช้ประโยชน์จากแมลงตัวห้ า-ตัวเบียนในการ ควบคุมแมลงศัตรู พืช  อนุรักษ์ที่มีอยูใ่ ห้คงอยูไ่ ด้ในธรรมชาติ  นาเข้ามาจากต่างประเทศเพือ่ ควบคุมแมลงที่มาจาก ต่างประเทศเหมือนกัน

ศัตรู ธรรมชาติเลี้ยงเพื่อการค้า ได้หรื อไม่?

 เพาะเลี้ยงเพิม่ ปริ มาณ และปล่อยเพิม่ ในธรรมชาติ ณ พื้นที่ซ่ ึงมีปัญหา

6


27/09/60

การลงทุนด้านการปราบศัตรูพืชแบบ ใช้เคมีและการควบคุมโดยชีววิ ธี 3 Billion 3

30 Billion

การลงทุน ขาย

600 Million

100 Million

Biological Control

Chemical Pesticides

Milestones in Commercialization of Biological Control 1895- Farming Trichogramma proposed 1926- Fillmore, mass prod. NE citrus pests 1929- Trichogramma on factitious host 1949- Chrysoperla colonization 1956- Predaceous mites, mites on strawberry 1968- Koppert established 1975- Trichogramma, European corn borer 1981- IOBC WGQC (AMRQC) 1988- Whitefly parasites, Europe glasshouses 1990- ANBP established in California 1995- Commercial artificial diet for predators 1995- IBMA established in France

แมลงศัตรูธรรมชาติที่มีการเพาะเลีย้ งขายในต่ างประเทศ

Commercial Biological Control Needs  ผู้เชี่ยวชาญด้ านการเพาะเลี ้ยง (นักกีฏวิทยา)  ตลาดใหม่ & ผลิตภัณฑ์  วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี • • • • •

พัฒนาวิธีการเพาะเลี ้ยงและปลดปล่อย ทดสอบประสิทธิภาพการใช้ เมื่อปล่อยสูแ่ ปลงปลูก การใช้ ร่วมกับวิธีอื่น ข้ อมูลด้ านอนุกรมวิธาน การควบคุมคุณภาพ (QC)

การเพาะเลี้ยงและใช้ประโยชน์ ศัตรู ธรรมชาติในประเทศไทย

 กฏหมายที่เกี่ยวข้ อง

7


27/09/60

แมลงตัวหา้ • มวนตัวห ้า (มวนพิฆาต มวนเพชฌฆาต มวนตาโต มวนตัวห ้าเพลี ้ยไฟ) มีเทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงอย่างง่าย เป็ นที่ร้ ูจกั • ไรตัวห ้าบางชนิด มีเทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงอย่างง่าย เป็ นที่ร้ ูจกั • ด้ วงเต่าตัวห ้า (ระดับวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี - MJU-BCTLC) • ผีเสื ้อตัวห ้า (ระดับวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี - MJU-BCTLC) • เพลี ้ยไฟตัวห ้า (ระดับวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี - MJU-BCTLC)

แมลงตัวเบียน

• แตนเบียนไข่ตริ โคแกรมมา (มีเทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงอย่างง่าย เป็ นที่ รู้จกั ) • แตนเบียนไข่มวนลาไย (มีเทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงอย่างง่าย เป็ นที่ร้ ูจกั ) • แตนเบียนเพลี ้ยแป้งมันสาปะหลัง (มีเทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงอย่างง่าย เป็ นที่ร้ ูจกั ) • แตนเบียนแมลงวันผลไม้ (ระดับวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี -MJUBCTLC) • แตนเบียนเพลี ้ยอ่อน (ระดับวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี -MJUBCTLC)

มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ กับ การควบคุมโดยชีววิธี

ศูนย์ กลางการเรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพชื โดยชีววิธี มหาวิทยาลัยแม่ โจ้

1) เป็นศูนย์กลางสาหรับการให้บริการด้านวิชาการ แก่กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักศึกษาระดับ ปริ ญญา และบั ณ ฑิต ศึ ก ษา ในมหาวิ ท ยาลัย แม่โจ้ และมหาวิท ยาลัย เครื อ ข่า ย ทั้ งในและ

ต่างประเทศ หน่วยงานบริการวิชาการอื่นๆ และเกษตรและประชาชนทั่วไป 2) เป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต เชื้ อ พั น ธุ์ ศั ต รู ธ รรมชาติ ที่ ผ่ า นการควบคุ ม คุ ณ ภาพ และมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้บริการเครือข่ายการผลิตพืชอินทรีย์ ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเกษตรกร

3) เป็ นแหล่ งเรีย นรู้เ ทคโนโลยี ตลอดจน แนวทางการใช้ ประโยชน์ และการอนุรั กษ์ ศัต รู ธรรมชาติ เพื่อการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี ในระบบการเกษตรอินทรีย์

8


27/09/60

9


27/09/60

10


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.