ภาพรวมของอาร์โทรพอร์ดศัตรูธรรมชาติ

Page 1

ภาพรวมของอาร์โทรพอร์ดศัตร ูธรรมชาติ 1.1 ลักษณะโดยทัว่ ไปของอาร์โทรพอร์ดตัวห้า อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Arthropoda) ที่ดารงค์ชีวิตโดย การกิ นแมลงเป็ นอาหาร ได้แ ก่ แมลงตัว ห้า (predatory insects) ในชั้น Insecta และ ไรตัว ห้า (predatory mites) และแมงมุม ในชัน้ Arachnida ซึ่งในด้านการควบคุมประชากรของแมลงศัตรูพืชตามธรรมชาติ ได้ มีบ ทบาทอย่า งมากในการควบคุมประชากรของแมลงไม่ให้มีระดับ สูงจนก่อ ความเสียหายถึ งระดับ เศรษฐกิ จ หรื อ เป็ นปั จจัยที่ ก่อ การตายก่อ นอายุขัยของแมลงศั ตรูพื ช เพื่ อ รักษาระดับ สมดุล ย์ต าม ธรรมชาติ และหลายชนิดได้ถกู นามาใช้ประโยชน์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีที่กระทาโดยมุ ษย์ (Applied หรือ man-made biological control) ทัง้ นีใ้ นภาพรวมสามารถสรุปลักษณะของอาร์โทพอร์ดตัวหา้ เพื่อการแยกประเภทของแมลงกลุ่มนี้อ อกจากแมลงกลุ่มตัวเบี ยนที่ จะกล่าวถึ งในบทต่อ ไปในบทที่ 3 โดยสังเขปดังนี้ 1. โดยมากอาร์โ ทรพอร์ด ตัว ห้า มักมี ข าดใหญ่ แ ละแข็ งแรงกว่ า แมลงที่ เ ป็ นเหยื่ อ แต่ไ ม่เ สมอไป เนื่องจากมีตวั หา้ บางชนิดอาจมีขนาดเล็กกว่าเหยื่อเช่น เพลี้ยไฟตัวหา้ (predatory thrips) และไร ตัวหา้ ซึ่งบางชนิดสามารถกินเหยื่อที่เป็ นหนอน หรือไร ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าตัวมันหลายเท่า เป็ น ต้น 2. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ ส่วนมากกินเหยื่อโดยทาให้ตายทันที เช่น แมงมุม ด้วงเต่าตัวหา้ และตัก๊ แตน ตัวห้า แต่อย่างไรก็ตามมีตัวห้าบางชนิดที่ทาลายเหยื่อโดยการใช้ปากแบบแทงดูด (piercing sucking type) หรือเขี้ยวที่แหลมคม ทิ่มแทงไปที่เหยื่อ และปล่อยสารซึ่ งทาให้เ หยื่อเป็ นอัมพาต ก่อนแล้วจึงดูดกินของเหลวในตัวเหยื่อจนตายในที่สดุ เช่น มวนตัวหา้ ตัวอ่อนของแมลงช้าง และ ไรตัวหา้ เป็ นต้น 3. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ จะกินเหยื่อหนึง่ ตัวหรือมากกว่าในแต่ละมื้ออาหาร ดังนัน้ จึงกินเหยื่อได้หลาย ตัวตลอดช่วงชีวิตการเจริญเติบโตของมัน 4. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ ส่วนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะตัวเต็มวัย จะอาศัยอยู่คนละที่กบั แมลงที่ เป็ นเหยื่อ และ ออกหาอาหารในที่ตา่ ง ๆ กันในแต่ละมื้อ แต่มีบางกลุม่ เช่นตัวอ่อนของด้วงเต่า จะ


อาศัยอยู่รวมกับกลุม่ ของเหยื่อ โดยที่ตวั เต็มวัยเพศเมียจะวางไข่บริเวณกลุม่ ของเหยื่อ เพื่ อให้ตวั อ่อนที่ออกมามีอาหารกิน 1.2 นิเวศวิทยา และ ชีววิทยา ของอาร์โทรพอร์ดตัวห้า แหล่งที่อยู่: อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะตัวเต็มวัยมักอาศัยอยู่คนละที่กบั เหยื่อ ดังนัน้ จะ เห็นว่าตัวเต็มวัยของอาร์โทรพอร์ดตัวหา้ มักมีคณ ุ สมบัติทางสรีรวิทยาและสั นฐานวิทยาที่เอื้อต่อ การ ค้นหาแมลงที่เป็ นเหยื่อ เป็ นต้นว่า มีดวงตาประกอบที่มีประสิทธิภาพการมองเห็นสูง มีการเคลื่อนที่ซึ่ง ว่องไว ยกตัวอย่างเช่นตัวเต็มวัยของด้วงเสือในตอนกลางวันจะอาศัยหลบซ่อนอยู่ตามพุ่มไม้ หรือเศษ ซากใบไม้ และออกหากิ น ในเวลากลางคื น ทั้ ง นี้ ในระยะตัว อ่ อ นของแมลงตัว ห้า ซึ่ ง โดยมาก จะมี ประสิทธิภาพในการมองเห็นตา่ และ มีการเคลื่อนที่ชา้ ดังนัน้ ในธรรมชาติ จะพบอยู่เสมอว่า ตัวเต็มวัย เพศเมียของตัวหา้ มักวางไข่ในบริเวณที่มีกลุ่มของเหยื่ออาศัยอยู่ เพื่อให้ลกู ที่ฟักออกมามีอาหารกิน เช่น แมลงวันดอกไม้ ด้วงเต่าตัว หา้ และ แมลงช้างปี กใส ที่มกั พบตัวอ่อนอาศัยปะปนอยู่กบั กลุ่มของแมลงที่ เป็ นเหยื่อ เช่น เพลี้ยอ่อน และเพลี้ยแป้ง เป็ นต้น อนึ่งแหล่งที่อยู่ของอาร์โทพอร์ดตัวหา้ จะแตกต่างกันไป ตามชนิดของมัน ซึ่งหากพิจารณาตามที่อยู่อาศัยในระบบนิเวศใกล้เคียงกับแมลงที่เป็ นเหยื่อ โดยแมลง ตัวหา้ จะมีได้ ทั้งชนิดที่อาศัยอยู่บนบก ในนา้ และตามอาคารบ้านเรือน (ตัวหา้ ของแมลงที่เป็ นศัตรูใน อาคารบ้านเรือน) และพบตัวหา้ แพร่กระจายในเกือบทุกภูมิประเทศของโลก ยกเว้นในทวีปแอนตาร์คติกา้


ภาพที่ 1 ตัวอ่อนของแมลงตัวหา้ ซี่งอาศัยอยู่รวมกับแมลงซึ่งเป็ นเยื่อ ได้แก่ หนอนแมลงวันดอกไม้ที่ อาศัยอยู่รวมกับเพลี้ยอ่อน (A) หนอนของด้วงเต่าตัวหา้ ที่อาศัยอยู่รวม กับเพลี้ยอ่อน (B) และ ตัวอ่อนกับดักแด้ของหนอนผีเสื้อตัวหา้ ซึ่งอาศัยรวมอยู่กบั เพลี้ยแป้ง (c)

พฤติกรรมการค้นหา และดักรอเหยื่อ: ในด้านสันฐานวิทยาและสรีรวิทยา Thompson (1943) ได้กล่าวไว้ว่า อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ มักมี อวั ย วะรับ ความรูส้ ึ ก ทางกลิ่ น (olfactory organs) และอวั ย วะส าหรับ การมองเห็ น (visual organs) ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพสูง ในการค้น หาเหยื่ อ และมี ร ะดับ ความจ าเพาะต่อ เหยื่ อ แตกต่า งกัน ไปตามชนิด ทั้ง นี้ พฤติกรรมการหาอาหารของอาร์โทพอร์ดตัวหา้ จะมีความแตกต่างกันในรายละเอียดตามชนิดของแมลง ตัวหา้ นัน้ ๆ ซึ่งสรุปได้เป็ นภาพรวม ได้แก่ 1. อาร์โ ทรพอร์ด ตัว ห้า หลายชนิด มีอ วั ยวะสาหรั บ การมองเห็ น และอวั ยวะที่ เ กี่ยวข้อ งกับ การ เคลื่อนที่ ที่มีประสิทธิภาพสูง ในการค้นหาและเข้าประชิด ตัว เหยื่อ เช่น ตัก๊ แตนชกมวย ซึ่ งมี ดวงตาประกอบที่ใหญ่ เพื่อให้สามารถจับเหยื่อได้ดี ตัวเต็มวัยของแมลงปอจะมีความสามารถ สูงในการบินจับเหยื่อ ตัวเต็มวัยของด้วงเสือ จะมีขาซึ่งยาวสาหรับการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพื่อ จับเหยื่อ 2. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ บางชนิดอาศัยอวัยวะรับความรูส้ ึกทางกลิ่น ในการค้นหาเหยื่อโดยอาศัย การตรวจหาสารเคมี ที่ผลิตจากเหยื่อหรือพืชที่เหยื่อกิน ยกตัวอย่างเช่น การค้นหาเหยื่อโดยการ


ตรวจสอบสารเคมีที่พื ชอาศัยผลิตออกมาเพื่อต่อต้านการทาลายของแมลง ซึ่งมีรายงานวิ จัย ยืนยันว่ายาสูบจะผลิตสารละเหยบางชนิดขึน้ เมื่อถูกแมลงทาลาย ซึ่งสารละเหยที่ผลิตนี้ สามารถ ดึงดูดมวนตัวหา้ Geocoris pallens ทาให้มวนตัวหา้ ชนิดนี้คน้ หาเหยื่อได้เร็วขึ้น นอกจากนี้แมลง ตัวหา้ บางชนิด เช่น ด้วงเต่าสองจุด Adalia bipuntata ยังอาศัยการตรวจสอบสารเคมี กลุ่มฟี โร โมนส์นาทาง (trail pheromone) ที่ตัวอ่อนของด้วงเต่าตัวอื่นปล่อยทิ้ งไว้ตามกลุ่มเหยื่อ เป็ นตัว คัดเลือกกลุม่ เหยื่อที่จะวางไข่ โดยมันจะไม่วางไข่ในกลุม่ เหยื่อที่มีฟีโรโมนส์ดงั กล่าว 3. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ บางชนิดจะมีกลยุทธ์การซ่อนตัวดักรอเหยื่อ (Ambush strategy) เช่น แมงมุม ในสกุล Liphistius และ ด้วงเสือตัวเต็มวัยซึ่งจะซ่อนตัวตามซอกหลืบเพื่อดักรอเหยื่อ ในระยะไกล ด้วงกลุ่มนี้จะมีดวงตาที่คมชัดใช้แสวงหาเหยื่อ มีความสามารถจดจารูปร่างและตาแหน่งของ เหยื่ อ ที่ แ ม่ น ย า และมี ข าซึ่ ง ยาววิ่ ง เข้า ประชิ ด เหยื่ อ อย่ า งรวดเร็ ว โดยจะมี ร ายละเอี ย ดของ พฤติกรรมการการดักรอเหยื่อแตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น ด้วงเสือในจีนสั Megacephala ตัวเต็ม วัยตัวผูจ้ ะซ่อนตัวตามซากใบไม้ หรือพุ่มหญ้า ในตอนกลางวัน ส่วนตัวเมียจะขุดโพรงขนาดเล็ก และใช้เศษใบไม้หรือวัชพืชคลุมปากโพรง และทั้งสองเพศจะออกหากินตอนกลางคืน โดยเริ่มจาก การกินนา้ ก่อนที่จะเริ่มค้นหาเหยื่อ เป็ นต้น 4. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ บางชนิดค้นหาเหยื่อโดยการสัมผัสแบบสุ่ม เช่น ตัวอ่อนด้วงเต่าตัวหา้ ที่ตา มองไม่เห็น จะใช้วิธีการสัมผัสหรือเดินชนเหยื่อแบบสุ่ม ซึ่งโดยมากมักอาศัยแฝงอยู่ในกลุ่มของ เหยื่อ เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง และแมลงหวี่ขาวเป็ นต้น 5. อาร์โทรพอร์ดตัวห้าบางชนิดสร้างกับดักเพื่อดักรอเหยื่อ เช่น ตัวอ่อนของแมลงช้าง ในวงศ์ Myrmeleontidae หรือกลุ่ม ant lion จะขุดหลุมในดินทราย และนอนราบดักรอเหยื่อที่บริเวณปาก หลุม เพื่อรอจับกินเหยื่อที่เดินผ่านมาตกหลุม หรือแม้กระทัง่ ตัวหา้ กลุม่ แมงมุมที่สร้างใยในจีนสั Nephila ซึ่งจะปั ่นใยไหม (swathing silk) ซึ่งมีความเหนียวไว้สาหรับดัก และมัดเหยื่อที่บินผ่า นมา เพื่อจับกิน


ภาพที่ 1 อวัยวะสาหรับช่วยในการจับและค้นหาเหยื่อของแมลงตัวหา้ ได้แก่ ดวงตาประกอบที่มีขนาด ใหญ่ (A) และ ขาหน้าแบบจับที่แข็งแรง (B) ของตัก๊ แตนชกมวย และ ขาซึ่งยาวสาหรับการ เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพื่อจับเหยื่อ ของตัวเต็มวัยของด้วงเสือ (c) (ที่มา: ดัดแปลงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Geocoris, มปป.)


ภาพที่ 2มวนตัวหา้ Geocoris pallens ซึ่งใช้อวัยวะความรูส้ ึกทางกลิ่น (olfactory organs) ที่ตงั้ อยู่ที่ปลาย หนวด สาหรับการค้นหาเหยื่อ (ที่มา: ดัดแปลงจาก https://en.wikipedia.org, มปป.)

ภาพที่ 4 การดักรอเหยื่อของด้วงเสือ ในจีนสั Megacephala ในเวลากลางวัน ได้แก่ระยะตัวอ่อนซึ่งซ่อน ตัวในดิน (A) ตัวเต็มวัยซึ่งซ่อนตัวตามซากใบไม้ หรือพุ่มหญ้า (B-D) (ที่มา: http://ecographica.blogspot.com, มปป.)


ภาพที่ 3 ตัวอ่อนด้วงเต่าตัวหา้ ซึ่งตามองไม่เห็น และอาศัยแฝงอยู่ในกลุม่ ของเหยื่อ จะใช้วิธีการค้นหา เหยื่อโดยการสัมผัสหรือเดินชนเหยื่อแบบสุม่

ภาพที่ 4 กับดักของอาร์โทพอร์ดตัวหา้ ที่ทาไว้สาหรับดักรอเหยื่อ ได้แก่ หลุมของตัวอ่อนของแมลงช้างใน วงศ์ Myrmeleontidae (A) และ กับดักใยของในจีนสั Nephila (A)


วิธีการกินเหยื่อ: การกินเหยื่อของอาร์โทรพอร์ดตัวหา้ จะมีความสัมพันธ์กบั ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของอาร์โท พอร์ดตัวหา้ ชนิดนัน้ ๆ โดย จะมีวิวัฒนาการด้านร่างกาย หรืออวัยวะบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกินให้ เหมาะสมต่อการทาลายเหยื่อ ได้แก่ 1. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ ส่วนใหญ่ที่มกั มีขนาดร่างกายใหญ่กว่าแมลงที่เป็ นเหยื่อ จะเริ่มกินเหยื่อโดย การเข้าทาลายเหยื่อแบบเข้าประชิดตัว จากนัน้ จะใช้อวัยวะที่แข็งแรงและแหลมคมในการฆ่าเหยื่อ และกิน เช่น ตัก๊ แตนชกมวย (mantids) ซึ่งมีขาหน้าแบบขาหนีบ (grasping legs) ที่มีขนาดใหญ่ และมีกรามที่คมใช้สาหรับตัดลาตัวเหยื่อให้เป็ นชิ้นๆ ก่อนกินและบดคี้ยวด้วยปากแบบกัดกิน 2. ด้วงดิน และด้วงเสือ (carabids) และด้วงเต่าตัวหา้ (predacious beetles) ซึ่งมีปากแบบกัดกิน จะทา ให้ตายทันทีโดยการกัดกินและเคี้ยวเหยื่อหมดทุกส่วนของร่างกาย ร่วมกับการใช้อวัยวะที่ ถกู พัฒนามาเพื่อความแข็งแรงในการจับเหยื่อ 3. มวนตัวหา้ เช่น มวนเพชฌฆาต (reduviids หรือ assassin bugs) และ มวนพิฆาต (stink bug) ซึ่งมี ปากแบบแทงดูด จะกินเหยื่อโดยการใช้ปากแทงไปที่ผนังลาตัวของเหยื่อ ปล่อยสารพิษออกมา จากต่อมนา้ ลาย ทาให้เหยื่อเป็ นอาพาตหยุดเคลื่อนที่ (paralysis) ก่อนดูดกินของเหลวในร่างกาย ของเหยื่อจนทาให้เหยื่อตายในที่สดุ 4. หนอนของแมลงวั นดอกไม้ (syrphid fly larva) และหนอนของแมลงช้างปี กใส (lacewing larva) แมงมุม และไรบางชนิด จะมีเขี้ยวหรือส่วนกรามที่แ หลมคมและแข็งแรง แทงไปที่ตวั เหยื่อ ปล่อย สารพิษออกมาจากต่อมนา้ ลาย ทาให้เหยื่อเป็ นอาพาตหยุดเคลื่อนที่ ก่อนที่จะเลียหรือดูดกินของ เหลวในร่างกายของเหยื่อจนทาให้เหยื่อตายในที่สดุ 5. แมลงตัวหา้ บางชนิดสามารถกินเหยื่อที่มีขนาดร่างกายใหญ่กว่ามันหลายเท่า โดยการรวมตัวกัน เป็ นกลุ่มเข้าทาลายเหยื่อ ยกตัวอย่างเช่น มดแดง ซึ่งสามารถกินหนอนของผีเสื้อที่มีขนาดลาตัว ใหญ่กว่าพวกมันหลายเท่า เป็ นต้น


ภาพที่ 5 ตัก๊ แตนชกมวย ซึ่งมีขาหน้าแบบขาหนีบ (grasping legs) ที่มีขนาดใหญ่ และมีกรามที่คมใช้ สาหรับตัดลาตัวเหยื่อให้เป็ นชิ้นๆ ก่อนกินและบดคี้ยวด้วยปากแบบกัดกิน (ที่มา: ดัดแปลงจาก https://alfredocolon.zenfolio.com. มปป.)

ภาพที่ 8 การกินเหยื่อของ ด้วงดิน และด้วงเสือ และด้วงเต่าตัวหา้ ซึ่งมีปากแบบกัดกิน ทาให้ตายทันที โดยการกัดกินและเคี้ยวเหยื่อหมดทุกส่วนของร่างกาย (ที่มา: ดัดแปลง จาก USDA, 1995)


ภาพที่ 6 การกินเหยื่อของมวนตัวหา้ เช่น มวนเพชฌฆาต และ มวนพิฆาต ซึ่งใช้ปากแบบแทง ดูด แทง ที่ผนังลาตัวเหยื่อ ทาให้เป็ นอัมพาตและดูดกินของเหลวในตัวเหยื่อ

ภาพที่ 10 หนอนของแมลงวันดอกไม้ และตัวอ่อนของแมลงช้าง ทีมีเขีย้ วอันแหลมคมสาหรับใช้เขีย้ ว แทงไปที่ตวั เหยื่อ ปล่อยสารเคมีออกจากต่อมนา้ ลาย ทาให้เป็ นอัมพาตและดูดกินของเหลวใน ร่างกายของเหยื่อ


ภาพที่ 7 มดแดง กินเหยื่อซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าหลายเท่า โดยการรวมตัวกันเป็ นกลุม่ เข้าทาลายและกิน เหยื่อโดยใช้ปากแบบกัดกิน (ที่มา: ดัดแปลงจากhttps://pbertner.wordpress.com,มปป.)


พิสยั ของชนิดของเหยื่อ (pray range) โดยทัว่ ไปอาร์โทรพอร์ดตัวหา้ จะกินเหยื่อในทุกระยะของการเจริญเติบโตของเหยื่อ เช่น ไข่ ตัว อ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย แต่อย่างไรก็ตามในด้านขอบเขตของจานวนชนิดของเหยื่อที่กิน หรือเรียกว่า พิสัยของชนิดของเหยื่อ (pray range) ที่ตวั หา้ กินนัน้ จะมีระดับความจาเพาะเจาะจงที่แตกต่างกันไปตาม ชนิดของตัวหา้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็ น 1. ตัวหา้ ทัว่ ไป (general predators) หรืออาจเรียกว่าเป็ นตัวหา้ ที่กินแมลงได้หลายชนิด (polyphagous insects) เช่น แมงมุม และตัก๊ แตนชกมวย มวนตัวหา้ ด้วงเสือ เป็ นต้น 2. ตัว ห้า ที่ กิ น เหยื่ อ ได้เ พี ย งสองถึ ง สามชนิ ด หรื อ กิ น เหยื่ อ เฉพาะกลุ่ม เดี ย วกั น ( oligophagous predators) และในที่ นี้อ าจเรี ย กว่ า เป็ นตัว ห้า พวกที่ มี ชนิด ของเหยื่ อ ที่ จ ากัด ประเภทของแมลง (stenophagous) เช่น ตัวอ่อนของแมลงวันดอกไม้ ซึ่งกินเฉพาะเพลี้ยอ่อนชนิดต่าง ๆ เท่านัน้ ด้วง เต่า ตัว ห้า ชนิด ที่ กิ นแมลงในกลุ่มเพลี้ยอ่ อ น เช่นด้ว งเต่า Coccinella sexmaculatus ชนิด ที่ กินไร ได้แก่ Stehorus spp. หรือ ชนิดที่กินเพลี้ยแป้ง เช่น Scymnus spp. เป็ นต้น 3. ตัวหา้ ชนิดที่กินเหยื่อได้เพียงชนิดเดียว (monophagous) เช่น ด้วงเต่า Rodolia cardinalis ที่กินเหยื่อ เพียงชนิดเดียวคือเพลี้ยหอยนวมฝ้าย (Icerya purchasi) โดยด้วงเต่าตัวเมียจะวางไข่ของมันลงบน เพลี้ยหอยตัวเมีย หรือ ตามกลุ่มไข่ของเพลี้ยหอยเพื่อให้ตัวฟั กออกมาและกินเพลี้ยหอย และ เจริญเติบโตพัฒนาจนครบวงจรชีวิตได้โดยการกินเหยื่อเพียงเหยื่อชนิดเดียว


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.