สมุนไพรป้องกันกำจัดศัตรูพืช

Page 1

สมุนไพรป้องกันกำจัดศัตร ูพืช อำจำรย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้


ควำมแตกต่ำงของ กำรควบค ุมศัตร ูพืชโดยชีวภำพ และ กำรควบค ุมศัตร ูพืชโดยชีววิธี  กำรควบค ุมศัตรูพืชโดยชีวภำพ เป็ นการนาเอาความหลากหลายทางด้าน

ชีวภาพ เข้ามาใช้ในระบบการปลูกพืช เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพ พื้นที่ ชนิด พืช และศัตรูเป้าหมาย ซึ่ งการควบคุมศัตรูพืชโดยชีวภาพ จะมี ความแตกต่างจากการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี  กำรควบค ุมศัตรูพืชโดยชีววิธี เป็ นการใช้ประโยชน์จากศัตรูธรรมชาติไป ควบคุมศัตรูพืช แต่ กำรควบค ุมศัตรูพืชโดยชีวภำพ เป็ นการนาเอาความ หลากหลายทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องในระบบการปลูกพืช เช่น ศัตรูธรรมชาติ ชีวภัณฑ์ สารธรรมชาติที่ได้จากพืช สารธรรมชาติที่ได้จากสัตว์ นา้ หมัก ชีวภาพ หรืออื่นๆ ที่เกิดขึน้ จากธรรมชาติเพื่อเป็ นปั จจัยในการนาไปจัดการ ในระบบปลูกพืชและควบคุมศัตรูพืช


กำรใช้สำรธรรมชำติจำกพืชควบค ุมศัตรพู ืช  ในประเทศไทยมีพืช สมุนไพรหลายชนิด ที่มีคณ ุ สมบัติในการควบคุมแมลง

ศัตรูพืช และได้มีการใช้กันมานานแล้วในบางท้องถิ่น ในรูปของการนามาบด หรือตาแล้วนาไปฉีดพ่นแมลง เช่น สะเดา ข่า ขมิ้นชัน สาบเสือ ตะไคร้ หนอน ตายหยาก หางไหล ซึ่งสามารถใช้เป็ นสารไล่ สารยับยั้งการกินอาหาร และ ยับยัง้ การเจริญเติบโตของแมลงได้  ในบรรดาพืช เหล่านี้ สะเดาเป็ นพื ช ที่

ถู ก น า ม าใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ม า ก ที่ สุ ด ปั จ จุบั น มี ก ารสกั ด สารจากสะเดา จ าหน่ า ยเป็ นการค้ า ใช้ กั น อย่ า ง แ พ ร่ ห ล า ย ทั้ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่างประเทศ


สารประกอบทางเคมีในพืช (Phytochemistry) หมายถึงสารประกอบที่พืชสร้างขึ้นด้วยกระบวนการเมแทบอ ลิซึม รวมทั้งสารอนุพันธ์ต่าง ๆ ของสารเหล่านี้ที่ถกู สร้างขึ้นด้ว ย สารประกอบที่สิ่งมีชีวิตสร้างขึน้ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ


1. สำรเมแทบอไลท์ปฐมภ ูมิ (primary metabolite)  เป็ นสารที่ ไ ด้ม าจากกระบวนการสั ง เคราะห์ ด ้ว ยแสง(photosynthesis)

รวมทัง้ สารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ  นอกจากนี้ยังมีก ารหายใจ (respiration) ที่มีสารประกอบต่างๆ เกิดขึ้น

มากมาย และมีก ารสร้า งพลังงานด้วย ได้แ ก่ สารพวก คาร์โบไฮเดรต ไขมัน กรดอะมิโน โปรตีน เพียวรีน และไพริมดิ นี



2. สำรเมแทบอไลท์ท ุติยภ ูมิ (secondary metabolite)  เป็ นสารที่ได้มาจากการนาสารเมแทบอไลท์ปฐมภูมิ มาเข้าสู่กระบวนการชีว

สังเคราะห์ เพื่อสร้างสารชนิด ต่างๆ ที่จาเป็ นสาหรับการดารงชีวิตอีกทอด หนึง่ ได้แก่ สารพวก อัลคาลอยด์(alkaloids) ฟี นอลิก (phenolics) อะซีโทจีนิน (acetogenins) และเทอร์พีนอยด์ (terpenoids)


Environmental stress

Biotic stress

Abiotic stress Stress response

Adaptation

Escape Survival

Susceptibility Resistant

Avoidance

Tolerant

Survival

Senescence Dead


Defenses related components

Environment Abiotic stresses -

UV radiation Temperature Soil salinity Water stress Wounding Nutrient stress Atmosphere changes

Biotic stresses - Pests - Diseases - Allelopathic interactions

Plant metabolism

-

Polyphenols Alkaloids Terpenes Fitoalexins Polyamines

Health related components - Polyphenols (antioxidations) - Terpenes (antioxidations, vitamin precursors)

Organoleptic related components - Polyphenols (bitterness, colour, firmness) - Terpenes (odor, colour)

Stress response


Primary metabolites

Secondary metabolites

Biosynthetic pathways



Polyphenols




 พืชแต่ละชนิดเก็บสะสมนา้ มันหอมระเหยไว้ในส่วนต่างๆ อาทิ พืชตระกูลมิ้นท์

เก็บไว้ในขนต่อมนา้ มัน ผักชีสะสมไว้ในท่อนา้ มัน พืชตระกูลส้มเก็ บสะสมไว้ใน ช่ อ งว่ า งของเนื้ อ เยื่ อ หรื อ อาจเก็ บ สะสมไว้ใ นกลุ่ม เซลล์ พ าเรนไคมา (Parenchyma) เช่น ดอกกุหลาบ และดอกมะลิ

ขนต่อมนา้ มัน


oil reservoir ในเปลือกพืชตระกูลส้ม




กำรสกัดสมุนไพรสำหรับใช้ในกำรเกษตร

ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้


กำรกลัน่

น ้า ร้อ นหรื อ ไอน ้า เข้า ไปแยก "น้ ำ มัน หอม ระเหย" ออกมาจากพื ช โดยการแทรกซึ ม เข้า ไปใน เนื้ อ เยื่ อ พื ช ความร้ อ นจะท าให้ ส ารละลายออกมา กลายเป็ นไอ ปนมากับนา้ ร้อน หรือไอนา้ นัน้

การกลัน่ นา้ มันหอมระเหยที่ใช้กนั อยูม่ ี 3 วิธี


การกลัน่ น ้า มัน หอมระเหยทั้ง 3 วิ ธี นี้ สามารถท าเองได้มี อุปกรณ์ที่สาคัญใช้กลัน่ 3 อย่าง คือ  หม้อกลัน่ (Still)  เครื่องควบแน่น (Condenser)  ภาชนะรองรับ (Receiver)

หมายเหตุ : การกลัน่ ด้วยไอนา้ จะต้องมีหม้อต้มนา้ (Boiler) สาหรับทาไอนา้ เพิ่ม อีกอย่างหนึง่


หม้อกลัน่ (Still)  จะสัมผัสกับพืชในภาชนะ ซึ่งมีรปู ร่างที่ง่ายที่สดุ เป็ นถัง ทรงกระบอก ทาด้วย

เหล็กหรือทองแดงเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าหรือน้อยกว่าความสูง เล็ กน้อยมีฝา เปิ ด-ปิ ดได้ ด้านบนมีท่อ สายวัด ให้ไ อน ้านาพานา้ มันหอมระเหยไปสู่เครื่ อ ง ควบแน่น  ถ้าเป็ นการกลัน่ แบบใช้นา้ ผสมไอนา้ ต้องมีตะแกรงวางตัวอย่างที่ จะกลัน่ ให้สงู กว่าก้นหม้อกลัน่  การกลัน่ ด้วยไอนา้ นา้ จะถูกฉีดเข้าไปใต้ตะแกรงนัน ้ ก้นหม้อกลัน่ จะต้องมีท่อ ก๊อกระบายนา้ ที่กลัน่ ตัวหม้อกลัน่ และฝาควรมีฉนวนหุม้ เพื่อเก็ บความร้อน ด้วย



เครือ่ งควบแน่น (Condenser)  ส่ว นผสมของไอน ้า และน ้า มัน หอมระเหยที่ อ อกมาจากหม้อ กลัน ่ จะถูก

ส่งผ่านไปยังเครื่องควบแน่นซึ่งทาหน้าที่เปลี่ยนไอนา้ และนา้ มันหอมให้เป็ น ของเหลว  ลักษณะเป็ น Coil ม้วนอยู่ใต้ถังที่มีนา้ เย็นผ่านจากด้านล่า งสวนทางกับไอ นา้ และนา้ มันหอมระเหย ที่นิยมอีกแบบหนึ่งให้ไอนา้ และนา้ มันหอมระเหย ผ่านในท่อ (Tube) ให้นา้ เย็นไหลเวียนรอบๆ ท่อ  เครื่องควบแน่นควรใหญ่พอให้ไอกลัน่ ตัวเร็วเพื่อจะได้นา้ มันหอมระเหยที่มี คุณภาพดี ถ้านานไปจะทาให้เกิดไฮโดรไลซ์ของเอสเทอร์



 วัตถุที่เป็ น Coil หรือ Tube ควรใช้ทองแดงผสมดีบก ุ ที่รองรับนา้ และนา้ มัน

หอมระเหย  นา้ มีปริมาณมากกว่านา้ มันจึงต้องมีการไขนา้ ทิ้งตลอดเวลา ส่วนนี้จึงทา หน้า ที่ แ ยกน ้า และนา้ มัน หอมระเหย ถ้า น ้า มันเบากว่ า น ้า น ้า มันก็ จ ะอยู่ที่ ส่วนบนไขนา้ ด้านล่างออก ถ้านา้ มันหนักกว่านา้ นา้ มันจะอยู่ดา้ นล่าง ก็ ไข นา้ ด้านบนออก  เครื่องมือในห้องปฏิบัติการมักจะเป็ นแก้วมองเห็ นได้งา่ ย ปริม าณน้อยกว่า 10 ลิต ร ควรเป็ นทองแดงผสมดี บุก ไม่ ค วรใช้ต ะกั ว่ เพราะตะกั ว่ จะท า ปฏิกิริยากับกรดไขมัน เกิดเป็ นเกลือที่เป็ นพิษ


1. กำรกลัน่ ด้วยน้ำร้อน (Water distillation และ Hydro-distillation)  เป็ นวิธีที่งา่ ยที่สดุ ของการกลัน่ นา้ มันหอมระเหย  การกลัน่ โดยวิธีนี้พืชที่ใช้กลัน่ ต้องจุ่มอยู่ในนา้ เดือดทั้งหมด อาจพบพืชบางชนิด

เบา อาจจะลอยได้แล้วแต่ความถ่วงจาเพาะของพืชนัน้  การให้ความร้อนกับนา้ อาจให้ไปโดยรอบหรือให้ท่อไอนา้ ผ่านการกลั ่น นา้ มัน หอมระเหยนี้ใช้กบั ของที่ติดกันง่ายๆ เช่น ใบไม้บางๆ กลีบดอกไม้ออ่ นๆ  ข้อควรระวังในการกลัน่ โดยวิธีนี้คือ โดยมากพืชจะได้รับความร้อนไม่สมา่ เสมอ ตรงกลางมักจะได้มากกว่าด้านข้าง จะทาให้เกิดการไหม้ของพืช ซึ่งส่งผลให้ เกิดกลิ่นไหม้ปนมากับนา้ มันหอมระเหยและมีสารไม่พึงประสงค์ติดมาในนา้ มัน หอมได้



2. กำรกลัน่ ด้วยน้ำและไอน้ำ (Water and Steam distillation)  การกลัน่ โดยวิ ธี นี้ ใช้ต ะแกรงกรองที่ จ ะกลัน่ ให้เ หนือ ระดับ น ้า ในหม้อ

กลัน่ ต้มให้เดือด ไอนา้ จะลอยตัวขึน้ ไปผ่านพืชหรือตัวอย่างที่จะกลัน่ ส่วน น ้า จะไม่ถกู กับ ตัว อย่ า งเลย ไอน ้า จากน ้า เดือ ดเป็ นไอน ้า ที่ อิ่ ม ตัว หรื อ เรียกว่า ไม่รอ้ นจัด  เป็ นการกลัน่ ที่สะดวกที่สดุ คุณภาพของนา้ มันออกมาดีกว่ าวิธีแรก การ กลัน่ แบบนีใ้ ช้กนั อย่างกว้างขวางในการผลิตนา้ มันหอมระเหยทางการค้า




3. กำรกลัน่ ด้วยไอน้ำ (Direct Steam distillation)  วิธีนวี้ างของอยู่บนตะแกรงในหม้อกลัน่ ซึ่งไม่มน ี า้ อยู่เลย ไอนา้ ภายนอกที่

อ า จ จ ะ เ ป็ น ไ อ น ้ า เ ปี ยก ห รื อ ไ อ น ้ า ร้ อ น จั ดแ ต่ ค วาม ดั น สู ง ก ว่ า บรรยากาศ ส่งไปตามท่อได้ตะแกรง ให้ไอผ่านขึน้ ไปถูกกับของบนตะแกรง ไอน ้า ต้อ งมีปริ ม าณเพี ย งพอที่ จ ะช่ วยให้น ้า มัน แพร่ ร ะเหยออกมาจาก ตัวอย่างถูกปล่อยออกมา  ข้อดีข องการกลัน่ วิธีนี้ คือ สามารถกลัน่ ได้อย่างรวดเร็ ว เมื่ อเอาพืช ใส่ หม้อกลัน่ ไม่ตอ้ งเสียเวลารอให้รอ้ น ปล่อยไอร้อนเข้าไปได้เลย ปริมาณ ของสารที่นา้ เข้ากลัน่ ก็ได้มาก ปริมาณทาให้ได้นา้ มันหอมระเหยมาก



กำรสกัดด้วยไขมันเย็น

ไขมันมีคณ ุ สมบัติในการดูดกลิ่นได้สงู มาก จึงนาไขมันมาดูดกลิ่น หอมของดอกไม้ ที่สง่ กลิน่ หอมมาก เช่น มะลิ ซ่อนกลิน่ ฯลฯ โดยเก็ บดอกไม้สด เมื่อถึงช่วงเวลาที่ส่งกลิ่นหอมมาก ก็นาไปวาง บนไขมันที่เตรียมไว้ทิ้งไว้ประมาณ 24 ชัว่ โมง นาดอกไม้เก่าไปสกัดนา้ มัน โดยวิธี อื่ น ๆ ส่วนดอกสดใหม่ม าวางอี ก ท าเช่นนี้ห ลายๆ ครั้ ง จนสิ้น ฤดู ดอกไม้ ต่อจากนั้นใช้แอลกอฮอล์ละลายนา้ มันหอมระเหยนั้น นอกจากนั้น แล้วนาไปแยกต่อไป


วิธี นี้ ไขมัน ที่ ใ ช้ต อ้ งสะอาดปราศจากกลิ่ น และมี ค วามแข็ ง แรง พอเหมาะ ถ้าแห้งไปจะดูดกลิ่นไม่ดี แต่ถา้ นิ่มเกินไปจะเอาดอกไม้ออกยาก อุณหภูมทิ ี่ทาใช้อณ ุ หภูมหิ อ้ ง สัดส่วนของไขมันมีดังนี้ ไขสัตว์ที่สะอาดมาก 1 ส่วน นา้ มันหมู 2 ส่วน ส่วนนา้ มันพืชนัน้ ไม่นยิ มเท่าไขสัตว์



กำรสกัดเย็น

การแยกส่วนของนา้ มันออกมาจากส่วนต่างๆ ของพืชอย่าง เมล็ ด หัว ใบ ดอก ผล และเปลือก โดยการบีบอัดที่อณ ุ หภูมปิ กติ โดยพืชที่นามาสกัด เย็นจะต้องไม่ผา่ นความร้อนหรือสารเคมีมาก่อน แล้วตัง้ ทิ้งไว้จนตกตะกอน จากนัน้ จึงกรองเอาเฉพาะส่วนของนา้ มันที่บริสทุ ธิ์มาใช้ นา้ มันที่ได้จะ ใส สะอาด ไม่มีกลิ่นหืน และยังคงสภาพวิตามินต่างๆ ตามธรรมชาติไว้อย่าง ครบถ้วน



กำรสกัดด้วยไขมันร้อน

พืช บางชนิด เช่น กุห ลาบ ดอกส้ม ฯลฯ เมื่อเด็ ด มาจากต้น แล้ว Physiological Activity จะหยุดทันที ไม่เหมือนกับมะลิ ซ่อนกลิ่น ฯลฯ ที่จะมี กลิน่ หอมออกมาตลอดเวลา เมื่อสกัดด้วยไขมันร้อนจะได้นา้ มันหอมระเหย มากและกลิ่นหอมกว่าสกัดด้วยไขมันเย็ น วิธีการเตรียมไขมันเช่นเดียวกับ การสกัดด้วยไขมันเย็น แต่อ่นุ ไขมันให้รอ้ นประมาณ 80 องสาเซลเซียส แช่ ดอกไม้ลงไปประมาณครึ่งชัว่ โมงแล้ว ทาให้เย็ นสุดท้าย อุ่นให้รอ้ นอีกครั้ง เพื่อหลอมเหลวและกรองดอกไม้ออกล้างไขมันที่ติดมาด้วยนา้ อุ่น หรือวาง บนผ้ากรองบีบหรือราดนา้ ร้อน


ชั้น ของน ้า และไขมัน จะแยกกัน ง่า ย อาจใช้เ ซนติฟิ วส์เ ข้า ช่ ว ยเอา ดอกไม้ออก ใช้ไขมันเติมเปลี่ยนดอกไม้สดหลายครั้งจนอิ่มตัว ไขมันร้อนมี กลิน่ นา้ มันหอมระเหยนี้เรียกว่า ปอมเปต เหมือนกับการสกัดด้วยไขมันเย็น แล้วนาแอลกอฮอล์ชนิดดีมาสกัดเอานา้ มันหอมระเหยออกมาทาให้บ ริสทุ ธิ์ อีกครั้งหนึ่ง จะได้นา้ มันหอมระเหยอย่างดีเยี่ยม เช่นเดียวกับการสกัดด้วย ไขมันเย็น




กำรสกัดด้วยตัวทำละลำยระเหยง่ำย (Solvent extraction)

ตัว ท าละลายอิ นทรี ย์แ ต่ล ะชนิดมีค วามสามารถสกัด น ้า มั น หอม ระเหยจากตัวอย่างพืชได้ต่างกัน เดิมใช้อีเทอร์เป็ นตัวทาละลาย ซึ่งพบวิธีนี้ ในปี ค.ศ. 1835 ต่อมาพบว่า ปิ โตรเลี่ยมอีเทอร์ เป็ นตัวทาละลายที่ดีที่สดุ รองลงมาคือ เบนซิ น และมีการพัฒนาเทคนิคการสกัดให้มีประสิทธิภ าพ สูงขึน้


วิธีการคือ นาพืชใส่ในเครื่องสกัดที่อณ ุ หภูมิหอ้ ง เติมตัวทาละลายบริสทุ ธิ์ (ปิ โตรเลี ย มอี เ ทอร์ ) ซึ่ ง จะซึ ม เข้า ไปในเนื้อ เยื่ อ ของดอกไม้ ละลายสารหอม และแวกซ์ (Wax) รวมทัง้ สีออกมา เพื่อระเหยเอาตัวทาละลายออกทึ่อณ ุ หภูมิตา่ และเป็ นสูญญากาศ การสกัดโดยวิธีนี้ มีขอ้ เสีย ที่ราคาแพงทาให้ตน้ ทุนการผลิตสูง เพราะว่า ต้องใช้ตวั ทาละลายที่มีราคาแพง แต่มีขอ้ ดีคือ องค์ประกอบทางเคมีของนา้ มัน หอมระเหยจะมีคณ ุ ภาพดีขึ้น อีกทั้งไม่ตอ้ งใช้วิธีซับซ้อนอะไรเลยและได้กลิ่น หอม บางโรงงานจะนานา้ มันหอมระเหยที่สกัดได้ เรียกว่า "Condrete" ไปทา ให้บ ริ ส ุท ธิ์ อี ก ครั้ ง จะได้หั ว น ้า หอมที่ มี ก ลิ่ น หอมเหมื อ นกลิ่ น ดอกไม้ต าม ธรรมชาติ



กำรสกัดโดยกำรบีบหรืออัด

วิธีนี้เ หมาะกับการผลิต นา้ มัน หอมระเหยมากๆ เช่น นา้ มันหอม ระเหยจากผิวส้ม วิธีการไม่ย่งุ ยากซับซ้อน โดยนาตัวอย่างพืชที่หัน่ เป็ นชิ้น เล็ ก ๆ เข้า เครื่ อ งบีบหรื อ อัด ซึ่ งใช้ Screw Press น ้า มัน ที่ ได้เ รี ย กว่ า "นา้ มันดิบ" (Crude oil) วิธีนใี้ ช้กนั มานานแล้ว



กำรสกัดด้วยคำร์บอนไดออกไซด์

วิ ธี นี้ นั บ เป็ นเทคนิ ค ที่ พั ฒ นาใหม่ แ ละได้ผ ลดี อี ก ทั้ ง ลดมลพิ ษ ใน บรรยากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ สภาวะเหนือ จุด วิ ก ฤต มีลัก ษณะเป็ น ของเหลว (Fluid) มีคณ ุ สมบัติสามารถสกัดนา้ มันหอมระเหยในพืชได้อ ย่างดี เมื่ อ สกั ด เสร็ จ แล้ว สามารถแยกคาร์ บ อนไดออกไซด์อ อกได้ใ นสภาวะ อุณหภูมิหอ้ ง เพราะคาร์บอนไดออกไซด์จะเปลี่ยนสถานะจาก Fluid เป็ น Gas ได้ตามธรรมชาติ กลิน่ หอมที่ได้จึงเป็ นกลิน่ หอมของดอกไม้อย่างแท้จริง และ ปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค


กำรเปลี่ยนสถำนะของคำร์บอนไดออกไซด์



กำรสกัดด้วยตัวทำละลำย (Solution extraction)

เป็ นวิ ธี ก ารแยกสารโดยอาศั ย สมบัติก ารละลายของสารในตัว ท า ละลาย หรือการใช้ตวั ทาละลายที่เหมาะสมในการสกัด สารที่ตอ้ งการออกจาก ของผสม เป็ นวิธี ก ารแยกสารที่ ใ ช้ม ากในชีวิ ต ประจาวัน เป็ นการแยกสารที่ ต้องการออกจากส่วนต่าง ๆ ของพืชหรือจากของผสมต้องเลือกตัวทาละลาย ที่เหมาะสมในการสกัดสารที่ตอ้ งการ



กำรเลือกตัวทำละลำยที่นำมำใช้ในกำรสกัดมีหลักทัว่ ไป ดังนี้  ต้องละลายสารที่ตอ้ งการสกัดได้ดี  ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ตอ้ งการสกัด

 ถ้าต้องการแยกสี ตัวทาละลายจะต้องไม่มสี ี ถ้าต้องการแยกกลิ่น ตัวทา

ละลายต้องไม่มกี ลิน่  ไม่มพ ี ิษ มีจดุ เดือดตา่ และแยกตัวออกจากสารที่ตอ้ งการสกัดได้งา่ ย  ไม่ละลายปนเป็ นเนือ้ เดียวกับสารที่นามาสกัด  มีราคาถูก


 ตัวทาละลายที่นิยมใช้ในการสกัด ได้แก่ นา้

แอลกอฮอล์ เบนซิ น อี เ ทอร์ โทลูอี น และ เฮกเซน สำหรับกำรสกัดน้ำมันพื ชนิ ยมใช้เฮกเซน ในกำรสกัดน้ำมันพืชนัน้  เมื่อ ใช้เ ฮกเซนสกัด น า้ มัน ออกจากพื ช แล้ว ต้อ งนาสารละลายที่ ไ ด้ไ ปกลัน่ เพื่ อ แยกเฮ กเซนออกไปจากสารที่สกัดได้ ต่อจากนั้ น จึงกาจัดสีและกลิน่ จนได้นา้ มันพืชบริสทุ ธิ์


ประโยชน์ของกำรสกัดด้วยด้วยตัวทำละลำย  ใช้สกัดนา้ มันพืชจากเมล็ดพืช เช่น นา้ มันงา ถัว่ ปาล์ม นุ่น บัว เป็ นต้น  สกัดสารมีสอี อกจากพืช  ใช้สกัดนา้ มันหอมระเหยออกจากพืช  ใช้สกัดยาออกจากสมุนไพร


นา้ สกัดสีจากขมิน้ ได้ดกี ว่าเอทานอล ถ้าใช้ตวั ทาละลายที่ผสมนา้ และเอทา นอลเข้าด้วยกัน สารที่สกัดจะมีทั้งสีและกลิ่นรวมอยู่ดว้ ยกัน สารที่สกัดได้จาก ขมิน้ นาไปใช้ประโยชน์ ในการผสมเครื่องสาอางและอาหาร สารจากพืชส่วนใหญ่ใช้ นา้ เป็ นตัวสกัด แต่บางชนิดใช้นา้ เย็น บางชนิดใช้นา้ ร้อน สารที่ใช้นา้ เย็นสกัด


นา้ เป็ นตัวทาละลายที่หาง่าย ราคาถูก แต่มีขอ้ เสียที่ส ารสกัดจากนา้ เก็บไว้ได้ไม่นาน ไม่สามารถทาให้เข้มข้นโดยการลดปริมาตรด้วยวิธีงา่ ยๆ และ สารบางตัวไม่ละลายนา้ ดังนัน้ ในบางครั้ง การสกัดแบบภูมปิ ั ญญาชาวบ้านมักใช้นา้ สกัดแล้ว เติมแอลกอฮอล์ลงไปด้วย การสกัดสารที่เป็ นพวกอัลคาลอยด์ซึ่งมีคณ ุ สมบัติเป็ นด่าง ควรใช้ ตัวทาลายที่มีสภาพเป็ นกรดสกัด เช่น แอลกอฮอล์ผสมนา้ แล้วเติมกรดเล็ก น้อยลงไป เป็ นต้น สาหรับการสกัดพืชที่ให้นา้ มันหอมระเหย ใช้นา้ ร้อนหรื อไอนา้ นา้ มัน หรื อเอสเทอร์ของกรดไขมัน ต้องใช้ตัวทาละลายที่มีความเป็ นขั้วตา่ ได้แ ก่ เฮกเซน เป็ นต้น


กำรแช่หมัก (Maceration) การแช่ พื ช ที่ สกัด ในตัวทาละลายที่ เ หมาะสม อัต ราส่วนขึ้ น อยู่กับ ปริมาณสาระสาคัญ โดยทัว่ ไปใช้ 1 : 10 แต่ตอ้ งให้ตวั ทาละลายท่วมพืชที่นามาสกัด ถ้า เป็ นพืชแห้งอาจพองตัวต้องเพิ่มตัว ทาละลาย กวนเป็ นครั้งคราว เมื่อหมัก เสร็จแล้วกรองเอาส่วนที่เป็ นนา้ สกัดที่ได้ไปใช้ วิธีนจี้ ะสกัดที่อณ ุ หภูมปิ กติ ไม่ใช้ความร้อน สารที่ไวต่อความร้อนจะ ไม่สลายตัว



กำรหมัก (Fermentation)

เป็ นกระบวนทางชีวเคมีภายในเซลล์ เพื่อสร้างพลังงานจากการ ย่ อ ยสลายสารอิ น ทรี ย์ หรื อ การเปลี่ย นแปลงทางเคมีข องสารประกอบ อินทรียด์ ว้ ยเอนไซม์ โดยมีสารอินทรียเ์ ป็ นทัง้ ตัวให้และตัวรับอิเล็กตรอน ซึ่ง ต่างจากการหายใจแบบใช้ออกซิ เจนที่ใช้ออกซิ เจนที่เป็ นสารอนินทรีย์เป็ น ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย


การเตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้

ขัน้ ตอนในกระบวนกำรหมัก การทาให้ปราศจากเชือ้ การทาลายเซลล์

เข้าสูก่ ารผลิต เพาะเลีย้ งเชือ้

การสกัดผลผลิต ทาให้บริสทุ ธิ์

การกาจัดของเสีย


ประเภทของผลิตภัณฑ์กำรหมัก กระบวนกำรหมัก แบ่งเป็น 5 ประเภท 1. ผลิตภัณฑ์ทางเคมี เช่น เอทานอล แอซีโตน บิวทานอล กรดอินทรีย์และ พอลิเมอร์ 2. ผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม เช่น ยาปฏิชวี นะ สเตอรอล และวัคซีน 3. ผลิตภัณฑ์ทางพลังงาน เช่น แก๊สโซฮอล แก๊สชีวภาพ 4. ผลิตภัณฑ์ทางอาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์นม เครื่องดืม่ แอลกฮอล์ 5. ผลิตภัณฑ์ทางเกษตรกรรม เช่น อาหารสัตว์ การกาจัดของเสียและของ เหลือทิ้ง วัคซีน จุลนิ ทรียฆ์ า่ แมลง


หัวเชือ้ สารอาหาร

สับสเตรท ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรหมัก

การขยายขนาดหมัก

การปลอดเชือ้ นา้

การกวนและให้อากาศ


จุลินทรียท์ ี่สำคัญในกำรหมัก จุลนิ ทรียท์ ี่เกี่ยวข้องกับอาหารหมักมี 3 ชนิดที่สาคัญ คือ แบคทีเรีย ยีสต์ และเชือ้ รา โดยอาจเติมในรูปของเชือ้ จุลนิ ทรียช์ นิดเดียว (single culture) หรือเชือ้ ผสม (mixes culture) เชือ้ จุลนิ ทรียท์ ี่ใช้ในการหมักจะต้องมีลกั ษณะ ดังนี้ 1. จะต้องมีเฉพาะจุลนิ ทรียท์ ี่ตอ้ งการเท่านัน้ 2. มีจานวนจุลนิ ทรียท์ ี่คงที่ หรือเป็ นสัดส่วน (ในกรณีที่ใช้เชือ้ ผสม) และมีประสิทธิภาพในแต่ละวันที่ใช้ 3. มีประสิทธิภาพในการให้ผลผลิตที่ตอ้ งการ 4. ทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสม


EM (อี เอ็ม)  ท่าน ศ.ดร.ทารูโอะ ฮิหงะ แห่งมหาวิทยาลัยริวกิว โอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น

ได้เริ่มการค้นคว้า เมื่อ พ.ศ. 2510 และได้คน้ พบสิ่งมีชีวิตในดินที่เรียกว่า จุลนิ ทรีย์ เมือ่ พ.ศ.2525  เป็ นการค้นพบเทคนิคการใช้ EM (Effective Microorganisms) กลุ่มจุลินทรีย์

ที่มีประสิทธิภาพ ความสาคัญนี้คือ ได้คน้ พบการทางานของจุลินทรียใ์ น ธรรมชาติ แบ่งออกเป็ น 3 แบบ คือ


1. ท างานแบบสร้า งสรรค์ เรี ย กว่ า กลุ่ม จุลิ น ทรี ย์ ส ร้า งสรรค์ มี ประมาณ 10 % 2. ทางานแบบเป็ นกลาง เรียกว่า กลุ่มเป็ นกลางคอยเกื้อหนุน 2 ฝ่ าย แรก ที่มจี านวนมาก ถึงประมาณ 80 % 3. ทางานแบบทาลาย หรือ กลุม่ จุลนิ ทรียโ์ รค มีประมาณ 10 % “กลุม่ จุลนิ ทรียท์ ี่มีประสิทธิภาพ” มีจลุ ินทรียร์ วมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนสั 80 สปี ชี ส ์ ในที่ นี้ จ ะมี ทั้ ง จุลิ น ทรี ย์ที่ ต อ้ งการอากาศ คื อ แอโรบิ ค แบคที เ รี ย (Aerobic Bacteria) และจุลินทรียท์ ี่ไม่ตอ้ งการอากาศ คือ แอนแอโรบิค แบคทีเรีย (Anaerobic bacteria)


EM แบ่งออกเป็น 5 กลมุ่ คือ 1. กลุม่ จุลนิ ทรียส์ งั เคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria) 2. กลุม่ จุลนิ ทรียผ์ ลิตกรดแลคติก (Lactic acid bacteria) 3. กลุม่ จุลนิ ทรียต์ รึงไนโตเจน (Nitrogen fixing bacteria) 4. กลุม่ จุลนิ ทรียแ์ อคทิโนมัยซีทส์ (Actenomycetes) 5. กลุม่ จุลนิ ทรียย์ ีสต์ (Yeasts) Photosynthetic bacteria


Nitrogen fixing bacteria

Actenomycetes


ลักษณะทัว่ ไปของ EM ที่นำมำใช้ในกำรเกษตรในปัจจุบนั  เป็ นของเหลวมีสน ี า้ ตาลแก่ กลิน่ อมเปรี้ยวอมหวาน  เป็ นกลุม ่ จุลนิ ทรียท์ ี่มชี วี ิตและไม่สามารถใช้ร่วมกับสารเคมี ยาปฏิชีวนะ และ

ยาฆ่าเชือ้ ต่างๆ ได้  ไม่เป็ นอันตรายต่อสิง่ ที่มชี วี ิต เช่น คน สัตว์ พืชและแมลงทีเ่ ป็ นประโยชน์  ช่วยปรับสภาพความสมดุลของสิง่ ที่มชี วี ิตและสิง่ แวดล้อม


 เป็ นกลุม ่ จุลนิ ทรียท์ ี่ทกุ คนสามารถนาไปเพาะขยาย เพื่อช่วยแก้ปัญหาต่างๆ

ได้ดว้ ยตนเอง  หัวเชือ้ EM สามารถเก็บรักษาไว้ได้ประมาณ 6 เดือนที่อณ ุ หภูมิปกติที่ 2545 องศาเซลเซียส โดยปิ ดฝาให้สนิท อย่าให้อากาศเข้าและอย่าเก็ บไว้ใน ตูเ้ ย็น ทุกครั้งที่นาออกมาใช้จะต้องรีบปิ ดฝาให้สนิท การขยาย EM ควรใช้ ภาชนะและนา้ ที่สะอาดและใช้ให้หมดในเวลาที่เหมาะสม  ในกรณี ที่เ ก็ บไว้หลายวัน โดยไม่มีก ารเคลื่อ นไหว ในภาชนะจะมีฝ้ าขาวๆ เหนือผิวนา้ เป็ นการพักตัวของเชือ้ เมือ่ เขย่าทิ้งไว้ฝ้าสีขาวก็จะหายเป็ นปกติ



น้ำหมักชีวภำพ  การน าเอาพื ช ผัก ผลไม้ สัต ว์ช นิ ด ต่ า ง ๆ มาหมัก กั บ น ้า ตาลท าใ ห้เ กิ ด

จุลนิ ทรีย์ ที่เป็ นประโยชน์จานวนมาก  จุลน ิ ทรียเ์ หล่านีจ้ ะไปช่วยสลายธาตุอาหาร และสารสาคัญต่างๆ ทีอ่ ยู่ในพืช  ธาตุอาหารพืชเมื่อถูกย่อยสลายโดยกระบวนการย่อยสลายของแบคทีเรี ย หรื อจุลินทรี ยส์ ารต่างๆ จะถูกปลดปล่อยออกมา เช่นโปรตีน กรดอะมิโน กรดอิ น ทรี ย์ ธาตุอ าหารหลัก ธาตุอ าหารรอง จุลธาตุ ฮอร์โมนเร่ งการ เจริญเติบโต เอนไซม์ วิตามิน ซึ่ งพืชสามารถนาไปใช้ในการเจริญเติ บโตได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ



เคล็ดลับในกำรทำน้ำหมักให้ได้ผลดี  ควรเลือกใช้เศษพืชผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารที่ยงั ไม่บด ู เน่า สับหรือบดให้เป็ น

ชิ้นเล็กๆ ใส่ใน ภาชนะที่มีปากกว้าง เช่นถังพลาสติก หรือโอ่ง หากมีนา้ หมัก ชีวภาพอยู่แล้วให้เทผสมลงไปแล้วลดปริมาณกากนา้ ตาลลง ปิ ดฝาภาชนะทิ้ง ไว้ จนได้เป็ นนา้ หมักชีวภาพ จากนัน้ กรอกใส่ขวดปิ ดฝาให้สนิท รอการใช้งาน ต่อไป


 ในระหว่างการหมัก ห้ามปิ ดฝาภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทาให้ระเบิ ดได้

เนือ่ งจากระหว่างการหมักจะเกิดก๊าชต่างๆ ขึน้ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน เป็ นต้น  ไม่ควรเลือกพืชจาพวกเปลือกส้ม ใช้ทานา้ หมัก เพราะมีนา้ มันที่ผิวเปลือกจะ

ทาให้จลุ นิ ทรียไ์ ม่ย่อยสลาย


ประโยชน์ของน้ำหมักชีวภำพ  ด้ำนกำรเกษตร

1. ช่วยปรับสภาพความเป็ นกรด - ด่าง ในดินและนา้ 2. ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดินให้ร่วนซุย อุม้ นา้ และอากาศได้

ดียิ่งขึน้ 3. ช่วยย่อยสลายอินทรียว์ ตั ถุในดินให้เป็ นธาตุอาหารแก่พชื พืช สามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย โดยไม่ตอ้ ง ใช้พลังงานมากเหมือนการใช้ปุ๋ย วิทยาศาสตร์ 4. ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้สมบูรณ์ แข็งแรงตาม ธรรมชาติ ต้านทานโรคและแมลง 5. ช่วยสร้างฮอร์โมนพืช ทาให้ผลผลิตสูง และคุณภาพของผลผลิต ดีขนึ้ 6. ช่วยให้ผลผลิตคงทน เก็บรักษาไว้ได้นาน


 ด้ำนปศ ุสัตว์

1. ช่วยกาจัดกลิน่ เหม็นจากฟาร์มสัตว์ ไก่ สุกร ได้ภายใน 24 ชม. 2. ช่วยกาจัดนา้ เสียจากฟาร์มได้ภายใน 1 - 2 สัปดาห์ 3. ช่วยป้องกันโรคอหิวาและโรคระบาดต่างๆ ในสัตว์แทนยาปฏิชีวนะ และอื่นๆ ได้ 4. ช่วยกาจัดแมลงวัน ด้วยการตัดวงจรชีวิตของหนอนแมลงวัน ไม่ให้เข้าดักแด้เกิดเป็ นตัวแมลงวัน 5. ช่วยเสริมสุขภาพสัตว์เลีย้ ง ให้แข็งแรง มีความต้านทานโรค ให้ ผลผลิตสูง และอัตราการรอดสูง


 ด้ำนกำรประมง

1. ช่วยควบคุมคุณภาพนา้ ในบ่อเลี้ยงสัตว์นา้ ได้ 2. ช่วยแก้ปัญหาโรคพยาธิในนา้ ซึ่งเป็ นอันตรายต่อสัตว์นา้ 3. ช่วยรักษาโรคแผลต่างๆ ในปลา กบ จระเข้ ฯลฯ ได้ 4. ช่วยลดปริมาณขีเ้ ลนในบ่อ และไม่เน่าเหม็น สามารถนาไปผสมเป็ นปุ๋ ย หมัก ใช้กบั พืชต่างๆได้ดี


สะเดำ (Neem tree) Azadirachta indica Juss. Var. Sinensis Valeton วงศ์ MELIACEAE  สะเดาเป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5–10 เมตร ลาต้นมีเปลือกหนาสีเทาถึง

นา้ ตาลอ่อน ทุกส่วนจะมีรสขม เนือ่ งจากสาร Nimbidin ซึ่งเป็ นสารที่ไม่มพี ิษ  ใบเป็ นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย รูปหอกขอบใบหยัก แบบฟั น เลือ่ ย ฐานใบไม่เท่ากัน ใบย่อยกว้าง 3 - 2.5 ซม. ยาว 3 - 7.5 ซม. ยอดอ่อน สีนา้ ตาลแดง  ดอกเป็ นช่อออกที่ปลายกิ่ง จะออกเมื่อใบแก่ร่วงไปแล้ว กลีบ ดอกสีขาวมีกลิ่น หอม ออกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม ผลสดรูทรงรีกลมสีเหลือง


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เมล็ด กิ่งตอน ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ใบ ผล เปลือก เมล็ด มีฤทธิ์ในการฆ่า ขับไล่ ต่อต้านการดูด กิน และยับยัง้ การเจริญเติบโตของแมลง


สำรสำคัญ  เปลือกต้นมีสาร nimbin, desacetylnimbin

 ใบมี quercetin

Azadirachtin

 ผล จะมีสารชนิดหนึง่ ที่มรี สขม ซึ่งสารนีม ้ ชี อื่ ว่า Bbakayanin  ช่อดอกมี สารพวกไกลโคไซด์ ซึ่งมีชอื่ ว่า Nimbosterin 0.005 % มีนา้ มันหอม

ระเหยที่มรี สเผ็ดจัดอยู่ 0.5 % นอกนัน้ พบ Nimbecetin, Nimbosterol, กรด ไขมัน และสารที่มรี สขม  ในเมล็ดมีนา้ มันขมชือ่ ว่า Margosic acid 45 % หรือบางทีเรียกว่า “Nim oil” และสารขมชือ่ ว่า Nimbin, Numbidin และมีสาร Azadirachtin ประมาณ 0.4– 1% ซึ่งเป็ นสามารถฆ่าแมลงได้


ประโยชน์  ออกฤทธิ์ในการป้องกันกาจัดแมลงได้หลายรูปแบบ คือเป็ นสารฆ่าแมลง สาร

ไล่แมลง ทาให้แมลงไม่ชอบกินอาหาร ทาให้การเจริญเติบโตของแมลงผิดปกติ  ยับ ยั้ ง การเจริ ญ เติบ โตของแมลง มี ผ ลท าให้ห นอนไม่ส ามารถลอกคราบ เจริญเติบโตต่อไป หนอนจะตายในระยะลอกคราบ  มีผ ลต่อการสร้างฮอร์โมน ซึ่ ง ทาให้ก ารผลิตไข่และปริ ม าณการฟั ก ไข่ จ ะลด น้อยลง


 สาร Azadirachtin ใช้ไ ด้ผ ลดี กับหนอน เช่น หนอนใยผัก หนอนใยกะหลา่ ปลี

หนอนเจาะยอดคะน้า หนอนชอนใบ หนอนกระทู้ หนอนหนามเจาะสมอฝ้ าย หนอนหลอดหอม หนอนกอ และหนอนบุง้ ปอแก้ว

*** แต่ไม่ค่อยได้ผลกับ มวนแดง หมัดกระโดดตัวเต็มวัย ด้วงปี กแข็ง มวนเขียว หนอนเจาะฝักถัว่ เขียว เพลีย้ แป้งเพลีย้ หอย

ด้วงปีกแข็ง


หนอนแก้ว

หนอนชอนใบ หนอนกระทู้

หนอนหัวกะโหลก


เพลีย้ อ่อน หนอนใยผัก

หนอนหนังเหนียว

เพลีย้ ไก่แจ้


หนอนเจาะผลมะเขือ

เพลีย้ จักจัน่

แมลงวันทอง

หนอนเจาะยอดคะน้า


ไรแดง

เพลีย้ ไฟ


มวนเขียว

หมัดกระโดด

มวนแดง


วิธีกำรใช้ เวลาฉีดพ่นควรทาในตอนเย็น จึงจะได้ผลดี เพราะสารนีจ้ ะสลายตัวได้ ง่ายเมือ่ ถูกแสงแดด 1. นาเมล็ดแก่ประมาณ 1 กก. มาบดและแช่นา้ 20 ลิตร หมักค้างคืน จึงนานา้ หมักมาใช้ฉีด ฆ่าแมลง 2. เอาเมล็ดสะเดาแห้งที่ประกอบด้วยเปลือกหุม้ เมล็ดและเนือ้ เมล็ด มา บดให้ละเอียดแล้ว นาผงเมล็ดสะเดามาหมักกันนา้ ในอัตรา 1 กก./นา้ 20 ลิตร โดยใช้ผงสะเดาใส่ไว้ในถุงผ้าขาวบางแล้ว นาไปแช่ในน้า นาน 24 ชัว่ โมง ใช้มือ บีบถุงตรงส่วนของผงสะเดา เพื่อสาร Azadirachtin ที่อยู่ในผงสะเดาสลายตัว ออกมาให้มากที่สดุ เมื่อจะใช้ก็ยกถุงผ้าออก พยายามบีบถุงให้นา้ ในผงสะเดา ออกให้หมดแล้วนาไปฉีดป้องกันกาจัดแมลง ก่อนนาไปฉีดแมลงควรผสมสาร จับใบเพื่อให้สารจับกับใบพืชได้ดขี นึ้ ใช้ฉีดพ่น 5-7 วันต่อครั้ง


ยำสูบ (Tobacco) Nicotiana tabacum Lin. วงศ์ SOLANACEAE  ยาสูบเป็ นพืชอายุปีเดียว สูง 1 - 2 เมตร ลาต้นตรง ต้นมีขนอ่อนปกคลุม  ใบออกสลับกัน ใบใหญ่ หนาสากมือ ยาว 10–30 ซม. กว้าง 8 – 15 ซม.

ไม่มกี า้ นใบ ฐานใบห่อลาต้นเล็กน้อย ขอบใบเรียบ  ช่อดอกมีหลายกลุ่มออกบริเวณยอด กลีบดอกรูปแตรสีชมพู ผลแห้งแล้ว แตกภายในมีเมล็ดเล็กๆ สีนา้ ตาลอ่อนจานวนมาก นิยมปลูกกันมากทาง ภาคเหนือของประเทศไทย


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เมล็ด ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ใบ

สำรสำคัญ  ในใบประกอบด้วยกรดอินทรีย์ เช่น Malic acid, Citric acid, Oxalic acid  สารพวก Polyphenols เช่น Rutin acid, Chlorogenic acid, Quercitrin

 นอกจากนัน ้ ก็มนี า้ มันหอมระเหย แอลคาลอยด์ และ nicotine


ประโยชน์ หนอนกอ  ป้องกันและกาจัดหนอนกอ หนอนกะหลา่ หนอนชอนใบ หนอนเจาะสมอ

ฝ้ าย หนอนผีเสือ้ เพลีย้ อ่อน เพลีย้ ไฟ ไรต่างๆ ด้วงหมัดกระโดด  ป้องกันและกาจัด โรคจากเชือ้ รา

หนอนกะหลำ่

ด้วงหมัดผัก


วิธีกำรใช้  ใช้ยาสูบ 1 กก. ต่อนา้ 2 ลิตร แช่ไว้ 1 คืน กรองเอาแต่นา้ แล้วเติมลงไป

อีก 60 ลิตร ฉีด พ่นอย่าให้ละอองยาถูกตัว ฉีดพ่นแล้ว 3-4 วัน จึ ง สามารถเก็บไปบริโภคได้


ตะไคร้หอม (Citronella grass) Cymbopogon nardus Rendle. วงศ์ GRAMNINEAE  เป็ นพืชตระกูลหญ้าชนิดหนึง่ ลาต้นสีแดง ต้นยาว  ใบยาวกว่าตะไคร้แกงมาก  ดอกออกเป็ นพวงเป็ นช่อฝอย สีนา้ ตาลแทงจากกลางลาต้น คล้ายดอกอ้อ

 ใบและต้นมีกลิ่นหอมฉุนจัด เจริญได้ดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้าง

สูง และมีปริมาณนา้ ฝนตลอดปี 1,500 - 1,800 มม.


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เหง้า ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ใบและลาต้น

สำรสำคัญ  มีนา้ มันหอมระเหยอยู่ในส่วนของใบและต้น

ซึ่งประกอบด้วย Camphor, Cineol, Eugenol, Linalool, Citronellal, Citral


Citronellal Citral

Linalool

Camphor

Cineol

Eugenol


ประโยชน์  ใช้ป้องกันกาจัด หนอนกระทู้ หนอนใยผัก ยุง และแมลงสาบ  ใช้ลอ่ แมลงวันทองตัวผู้  ขับไล่มอดข้าวเปลือก

หนอนกระทู้ มอดข้ำวเปลือก


ย ุงก้นปล่อง

ย ุงลำย

ย ุงรำคำญ

ย ุงเสือ


วิธีกำรใช้ 1. นา้ มันของต้นตะไคร้หอมใช้ผสมกับ นา้ มันอื่นๆ ใช้ฉีดพ่นไล่แมลงศัตรูพืช 2. ใช้ใบสดที่แก่จัดผสมหัวข่าสด และใบสะเดาสด โดยทุกชนิดบดให้ ละเอียดใน อัตรา 4:4:4 กก. รวมกันแช่ในนา้ 40 ลิตร หมักไว้ 1 คืน กรองเอา เฉพาะนา้ เป็ นหัวเชื้อ เวลาใช้นาหัวเชื้อ 10 ช้อนแกงผสมนา้ 20 ลิตร ฉีดกาจัด แมลงในพืชผัก ข้าว และไม้ผลบางชนิด เช่น ส้มเขียวหวาน 3. นาเหง้าและใบตะไคร้หอม มาหัน่ เป็ นชิ้นเล็ กๆ แล้วบดให้ละเอียด ประมาณ 500 กรัม นามา ผสมนา้ 10 ลิตร แช่ทิ้งไว้ 1 วัน จากนัน้ กรองเอาแต่ นา้ ผสมสารจับใบ เช่น สบู่ หรือแชมพู ฉีดพ่น


หนอนตำยหยำก (Non taai yaak) Stemona collinsae Craib. วงศ์ STEMONACEAE  เป็ นไม้เ ลื้ อ ยที่ มี ร ากใต้ดิ น จ านวนมาก มี ลั ก ษณะคล้า ยกระสวยหรื อ

ทรงกระบอกอยู่กนั เป็ นพวงยาวได้ถึง 10–30 ซม.  ใบเป็ นใบเดีย ่ วอยู่ตดิ กับลาต้นแบบตรงข้ามออกสลับกัน ใบเป็ นรูปหัวใจ ก้าน ใบยาว ฐานใบมน ปลายใบเรียวแหลม คล้ายใบพลู เส้นใบออกในแนวขนาน กับขอบใบ  พืชจาพวกหนอนตายหยากพอถึงฤดูแล้งต้นจะโทรมเหลือแต่เหง้าและรากไว้ ใต้ดนิ เมือ่ เริ่มฤดูฝนใหม่จึงแตกใบขึน้ มาใหม่พร้อมออกดอก ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ น ช่อสีขาวหรือม่วงอ่อน ผลค่อนข้างแข็งสีนา้ ตาลขนาดเล็ก


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เหง้า เมล็ด ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ราก

สำรสำคัญ  พบสารในกลุม ่ Alkaloids ได้แก่ Stemonine, Stemofoline


ประโยชน์  ใช้เป็ นสารป้องกันกาจัดศัตรูพืช กาจัดแมลงศัตรูพืช เช่น หนอนกัดกินใบ

และเพลีย้ อ่อน กาจัดเชือ้ สาเหตุโรคพืช เช่น Rhizoctonia solani และ Erwinia carotovora เพลี้ยอ่อน


Rhizoctonia solani

Erwinia carotovora


วิธีกำรใช้  ใช้รากประมาณ 1 กก. ตาให้ละเอียดแล้วแช่ในน้ามันมะพร้าว หรือนา้ 20

ลิตร ทิ้งไว้ 1 คืน นานา้ หมักมาฉีดพ่นเพื่อฆ่าแมลงและหนอนต่าง ๆ ได้ดี


ขมิ้นชัน (Turmeric) Curcuma domestica (Curcuma longa) วงศ์ ZINGERBERACEAE  เป็ นพืชมีเหง้าอยู่ใต้ดิน ต้นสูงประมาณ 50-70 ซม. เนื้อในจะมีสีเหลืองอมส้ม

และมีกลิน่ หอม เจริญเติบโตในฤดูฝน  ใบเป็ นใบเดีย ่ วขนาดใหญ่ รูปหอก กว้างประมาณ 8 -10 ซม. และยาวประมาณ 30-40 ซม. ก้านใบยาวประมาณ 8-15 ซม. เป็ นก้านใบแคบๆ มีร่องแผ่คลี่ ออกเล็กน้อย  ดอกเป็ นช่อ ก้านช่อนัน ้ จะยาวพุ่งออกมาจากใต้ดิน ก้านช่อดอกมียาวประมาณ 5-8 ซม. ส่วนใบประดับสีเขียวอ่อน ๆ หรือ สีขาว ตรงปลายช่อดอกจะมีสีชมพู อ่อน จะจัดเรียงซ้อนกันอย่างระเบียบ ใบประดับ 1 ใบ จะมีดอกอยู่ 2 ดอก ใบ ประดับ ย่อยนั้น รูปขอบจะขนานยาว 3-3.5 ซม. กลีบ รองกลีบดอกจะเชื่อ ม ติดกันเป็ นรูปท่ อ มีขน กลีบดอกจะมีสีข าว ตรงโคนเชื่อ มติด กัน เป็ นท่อ ยาว ปลายของมันจะแยกเป็ น 3 ส่วน


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เหง้าและแง่ง ส่วนที่ใช้ประโยชน์ เหง้าและแง่ง

สำรสำคัญ  ในเหง้าและแง่งพบ สาร Curcumin และนา้ มันหอมระเหย

แง่ง

หัวแม่



ประโยชน์  ใช้ไล่และก าจัด แมลงได้หลายชนิด เช่น หนอนหลอดหอม หนอนกระทูผ ้ ัก

หนอนใยผัก หนอนแมลงวันเจาะต้นถัว่ หนอนเจาะยอดกะหลา่ หนอนผีเสื้อ ต่างๆ ด้วงถัว่ เขียว ด้วงงวงข้าว มอดแป้ง มอดข้าวเปลือก แมลงวั นทอง แมลงวันแตง และไรแดง

หนอนหลอดหอม

หนอนใยผัก


ด้วงถัว่ เขียว

แมลงวันแตง

ด้วงงวงข้ำว

ไรแดง


วิธีกำรใช้ 1. ใช้เหง้าแก่สดบดผสมกับ นา้ ในอัตราส่วน ขมิ้นชันบด 0.5 กก. ผสมกับนา้ 20 ลิตร ทิ้งไว้ 1 คืน กรองเอาแต่นา้ ฉีดพ่นแปลงผัก 2. ขมิ้นชัน 0.5 กก. ตาให้ละเอียด หมักกับนา้ 2 ลิตร แช่ทิ้งไว้ 1 คืน กรองเอานา้ จะได้สารเข้มข้น แล้วนาสารนี้ผสมกับนา้ 8 ลิตร ฉีดพ่ น แปลงผัก สามารถไล่พวกหนอนใยผัก หนอนหลอดหอม ได้ผลดี


ดำวเรือง (Marigolds) Tagetes erecta Lin. วงศ์ COMPOSITAE  ดาวเรืองเป็ นไม้ดอกล้มลุกเนือ้ อ่อนแตกกิ่งก้านสาขา ต้นสูง 25-60 ซม.

 ใบเป็ นใบประกอบแบบขนนก ขอบใบเป็ นหยักคล้ายฟั นเลื่อย ลักษณะรูปไข่

สีเขียว ใบกว้าง ประมาณ 0.5 ซม. ยาวประมาณ 3–6 ซม.  ดอกเป็ นช่อกระจุกเดีย ่ วที่ปลายยอด ดอกวงนอกกลีบดอกเป็ นรูปหยดนา้ โคนเป็ นหลอดเล็กปลายแผ่ ดอกวงใน กลีบดอกเป็ นหลอด มีหลายสี เช่น สีสม้ เหลืองทอง ขาว หรือสองสีในดอกเดียวกัน และมีทงั้ ดอกชัน้ เดียวและ ดอกซ้อน ดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5–8 ซม. เมล็ด ลักษณะยาวรี สีดา ประมาณ 1 ซม.


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เมล็ด กิ่งปั กชา ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ดอก

สำรสำคัญ  ช่อดอกมี Flavonoid glycoside, Tagetiin 0.1% และสารเรืองแสง,  ใบมี Kaempferitrin  ในเมล็ดมีนา้ มัน


ประโยชน์  ป้ องกัน และก าจัด หนอนใยผัก หนอนผีเ สื้อ กะหล ่า เพลี้ย กระโดด เพลี้ ย

จักจัน่ เพลี้ยหอย เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ด้วงปี กแข็ง แมลงหวี่ข าว แมลงวัน ด้วงปี กแข็ง ตัก๊ แตน ไส้เดือนฝอย

ด้วงปีกแข็ง เพลี้ยกระโดด

แมลงหวี่ขำว


ไส้เดือนฝอย


วิธีกำรใช้  น าดอกดาวเรื อ งมาคั้ น กรองเอาแต่ น ้า จะได้ส ารเข้ม ข้น น ้า คั้ น ดอก

ดาวเรืองเข้มข้น 1 ลิตร ผสมนา้ สะอาดอีก 10 ลิตร ก่อนนาไปใช้ผสมน้า สบู่ 1 ช้อนโต๊ะ เพื่อเป็ นสารจับใบ


บอระเพ็ด (Boraphet) Tinospora crispa Miers. Ex Hook. F&Thoms. วงศ์ Menispermaceae  บอระเพ็ดเป็ นพันธุไ์ ม้เถาเลือ้ ยเนือ้ อ่อน แต่ถา้ อายุมากเนือ้ ของลาต้นอาจแข็งได้

เถาอ่อนผิวเรียบสีเขียว เถาแก่สีนา้ ตาลอมเขียว ผิวขรุขระเป็ นปุ่ มๆ เถากลมโต ขนาดนิ้วมือ ประมาณ 1-1.5 ซม. ยางมีรสขมจัด ขึ้นเกาะต้นไม้อื่น มักจะมี รากอากาศคล้ายเชือกเส้นเล็กๆ ห้อยลงมาเป็ นสาย  ใบเดี่ยวเป็ นแบบสลับ ใบเป็ นรูปไข่ป้อม โคนใบหยัก เว้าลึก เป็ นรูปหั วใจ โดย ปกติปลายใบจะแหลม มีเส้นใบ 5-7 เส้นที่เกิดจากฐานใบ ขอบใบเรียบขนาด กว้าง 3.5-10 ซม. ยาว 6-13 ซม.  ดอกออกเป็ นช่อตามกิ่งแก่ตรงบริเวณซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ กสี เหลืองอมเขียว แดงอมชมพู เขียวอ่อน เหลืองอ่อน.


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เมล็ด เถาแก่ ส่วนที่ใช้ประโยชน์ เถา สำรสำคัญ  มีสารรสขมชือ่ Picroetin  สารจาพวก Diterpenoid ชือ่ Tinosporan  สารประเภท Amine 2 ชนิด คือ N-trans-feruloyl tyramine, N-cis-feruloyl tyramine  สารประเภท Phenolic glucoside ชือ่ Tinoluberide


ประโยชน์  ใช้ป้องกันและกาจัด หนอนกอ หนอนกระทูต้ า่ งๆ  ใช้กาจัดโรคข้าวตายพราย โรคยอดเหี่ยว โรคข้าวลีบ

โรคข้ำวลีบ


วิธีกำรใช้ 1. นาเถา 1 กก. มาบด หรือทุบแช่นา้ 20 ลิตร ทิ้งไว้ 1 คืน นานา้ หมักมาฉีดพ่นฆ่าแมลงได้ 2. ในแปลงเพาะกล้า ใช้เถาบอระเพ็ ด 5 กก. สับเป็ นชิ้นเล็กๆ ทุบ ให้ แหลก แช่นา้ 20 ลิตร แช่ทิ้งไว้ 2 ชัว่ โมง แล้วเอานา้ ไปฉีด หรือใช้เถาบอระเพ็ด 1 กก. สับหว่านปนในแปลงเพาะกล้าขนาด 4 เมตร 3. ใช้เ ถาบอระเพ็ ดตั ด เป็ น ท่อ นๆ ขนาด 5 นิ้ว ปริ มาณ 10 กก. หว่า นในนาข้า วพื้ น ที่ 1 ไร่ หลัง ปั ก ด า หรือหว่านข้าวแล้ว 7 วัน และทาอีกครั้ง หลังข้าวอายุ 2 เดือน ใช้ควบคุมหนอน กอ หนอนกระทูไ้ ด้ดี


พริกขี้หนู (Bird Chilli) Capsicum frutescens Lin. วงศ์ SOLANACEAE  เป็ นไม้พ่ม ุ ขนาดเล็ก ลาต้นมีความสูงประมาณ 45-75 ซม. ใบเป็ นใบเดี่ยว

ออกตรงกันข้ามกัน ลักษณะใบจะกลมรี ตรงปลายจะแหลม  ดอกจะออกตรงง่ามใบเป็ นกลุ่ม ประมาณ 1-3 ดอกเป็ นสีข าว มีก ลีบดอก ประมาณ 5 กลีบ ส่วนเกสรตัวผูจ้ ะมีอยู่ 5 อันจะขึน้ สลับกับกลีบดอก เกสรตัว เมียมี 1 อันและมีรังไข่ประมาณ 2-3 ห้อง  ผลสุกจะเป็ นสีแดง หรือแดงปนนา้ ตาล ลักษณะผลมีผิวลื่นเป็ นมัน ภายในผล นั้น จะกลวง และมี แ กนกลาง รอบๆ แกนจะมี เ มล็ ด เป็ นสี เ หลื อ งเกาะอยู่ มากมาย


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เมล็ด ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ผล เมล็ด ดอก ใบ

สำรสำคัญ  ในผลพบสารมีรสเผ็ดชือ่ Capsaicin


ประโยชน์  ป้องกันและกาจัด หนอนผีเสื้อกะหลา่ เพลี้ยอ่อน ด้วงเต่า ด้วงงวงช้าง แมลงใน

โรงเก็บ มด  ผลสุก ของพริ ก มีคณ ุ สมบัติในการฆ่าแมลง เมล็ดมีสารฆ่าเชื้อรา ใบและดอกมี สารยับยั้งการขยายตัวของไวรัส ใช้ป้องกันไวรัส โรคใบด่างของแตง และไวรัส โรคใบหดของยาสูบ

ด้วงงวงช้ำง


โรคใบด่ำงของแตง

โรคใบหดของยำสบู


วิธีกำรใช้ 1. นาพริกแห้ง 100 กรัม ต้มในนา้ 1 ลิตร ให้เดือดแล้วนาพริกมา ตาให้ละเอียด แล้วนาปละลายในนา้ ที่ตม้ กรองเอาแต่นา้ เติมนา้ สะอาดลงไปอีก 20 ลิตร ก่อนจะนาไปใช้ผสมสารจับใบ เช่น น้าสบู่ แชมพู สามารถฉีดพ่นได้ ทุกๆ 7 วัน การนาไปใช้ควรทดลองแต่นอ้ ยๆ ก่อน เพราะสารละลายที่เข้มข้น เกินไปจะทาให้ใบไหม้ หากพืชเกิดอาการดังกล่าว ให้ผสมนา้ เพื่อให้เจือจาง ควรใช้อย่างระมัดระวังอาจเกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังผูใ้ ช้


ยี่โถ (Rose bay) Nerium indicum Mill. วงศ์ Apocynaceae  ไม้พ่ม ุ ขนาดกลาง สูง 2-3 เมตร ลาต้นแตกกอมาก ผิวลาต้นเกลี้ยง เปลือกสี

เทา ทุกส่วนมีนา้ ยางสีขาว  ใบเป็ นใบเดี่ยว ยาวแคบ โคนและปลายใบเรี ยวแหลมเป็ นรูปหอก กว้าง 1-2 ซม. ยาว 6-25 ซม. เรียงรอบข้อ ข้อละ 3 ใบ เนื้อใบหนาและเหนียว ก้านใบ ยาว 1-1.5 ซม.  ดอกช่อออกที่ปลายกิ่ง ดอกมีหลายสี เช่น ขาว ชมพู แดง และเหลือง มีทงั้ ชนิด ดอกชั้นเดียวและดอกซ้อน มีกลิ่นหอม ผลเป็ นฝั กคู่ รูปยาวเรียว เปลือกแข็ง ยาว 8-12 ซม. แก่จดั แตกเป็ น 2 ซีก เมล็ดรูปขอบขนานมีขน


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ กิ่งตอน เมล็ด ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ดอก ใบ ลาต้น

สำรสำคัญ  เปลือกและเมล็ดยี่โถจะมีสาร Glycoside neriodorin, Neriin, Oleandrin,

Folinerin มีฤทธิ์คล้าย Digitalis  ในเปลือกมี Cortenerin glycoside มีฤทธิ์คล้าย Forinerin


ประโยชน์  ป้องกัน และก าจัด หนอนกิ น ใบกิ น ยอดพื ช หลายชนิด ด้วง ด้ว งปี กแข็ ง

ต่างๆ มดต่างๆ แมลงกินใบหลายชนิด  ดอกมีสารที่สามารถดึงดูดแมลงวันทองได้

แมลงวันทอง


วิธีกำรใช้ 1. นาดอกยี่โถและใบยี่โถมาบดให้ละเอียด 1 กก. ต่อนา้ 10 ลิตร จากนัน้ แช่ทิ้งไว้ 2 วัน กรองเอาแต่นา้ ไปฉีดพ่นฆ่าแมลงและป้องกันหนอนหลายชนิด 2. นาใบและเปลือกไม้ยี่โถ ไปแช่นา้ อย่างน้อย 30 นาที แล้วนาไปฉีดพ่น มด แมลง ตามต้นของไม้ผล 3. น าใบหั ่น ฝอย 40 กรั ม คลุกเมล็ ดถัว่ เหลือง 1 กก. สามารถ เก็ บ เมล็ ด ถั ว่ เหลื อ งได้น าน 6 เดื อ น โดยไม่มศี ัตรูพืชรบกวน


สำบเสือ Eupatorium odoratum Linn. วงศ์ Compositae  เป็ นพืช ล้มลุกปี เดียว แตกกิ่งก้านสาขามากจนดูเ ป็ นทรงพุ่ม ตามลาต้นกิ่ ง

ก้านจะมีขนนุม่ ลาต้นสูงประมาณ 1-1.5 เมตร  ใบเป็ นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกันเป็ นคู่ ใบเป็ นรูปหอก ปลายแหลมโคนใบสอบ ใบมีขนอ่อนปกคลุม  ดอกออกเป็ นช่อเป็ นกระจุกคล้ายร่ม ดอกสีขาวออกม่วง ผลมีขนาดเล็ก เมื่อ แห้งเป็ นสันมี 5 เหลีย่ ม ส่วยปลายมีขนช่วยพยุงให้ลอยไปตกได้ไกล


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เมล็ด ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ต้น ใบ

สำรสำคัญ  ในลาต้นพบ Eupatol, Coumarin, 1-Eupatene, B-Amyrin, Flavone,

Salvigenin  ในใบพบ Ceryl alcohol, B-Sitosterol, Anisic acid, Trihydric alcohol, Tannin, Isosa Kuranetin, Odoratin


เพลี้ยแป้ง

ประโยชน์  ใช้ฆา่ หนอน เพลีย ้ หลายชนิด

เพลี้ยหอย

เพลี้ยจักจัน่

เพลี้ยไฟ


วิธีกำรใช้ 1. นาต้นและใบสาบเสือมาตากแดดให้แห้งแล้วบดให้ละเอียดเป็ นผง แช่ในนา้ อัตราส่วนน้าหนักผง 400 กรัม ต่อนา้ 8 ลิตร ทิ้งไว้ 24 ชม. นาสาร ที่ได้มาฉีดพ่นทุก 7 วัน


ข่ำ (Galanga) Alpinia galanga Sw. วงศ์ Zingiberaceae  ข่าเป็ นพืชที่มีลาต้นเป็ นกอ มีอายุหลายปี มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เหง้ามีสีนา้ ตาลอม

แสด ข้างในสีเหลืองอ่อน มีขอ้ และปล้องเห็ นได้ชดั เจน เนื้อในเหง้า มีสีขาว รส ขมเผ็ดร้อน มีกลิน่ หอมฉุน  เป็ นพืชใบเดี่ยว ใบยาว ปลายใบมนขอบใบเรียบ เกิดสลับรอบๆ ลาต้น ก้าน ใบยาวเป็ นกาบหุม้ ซ้อนกัน มีความสูงประมาณ 2 เมตร  ดอกจะออกเป็ นช่อตรงปลายยอด เป็ นช่อสีขาวนวลอมม่วงแดง บานจากล่า ง ขึน้ บน ผลกลมขนาดเท่าเม็ดบัว สีแดงส้ม มีรสเผ็ดร้อน ผลแก่สี ดา มีเมล็ด จานวนมาก ชอบขึน้ ตามที่ลม่ ุ ชืน้ ลาต้นสีเขียวผิวเรียบลืน่


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เหง้า ส่วนที่ใช้ประโยชน์ เหง้า

สำรสำคัญ  ในเหง้าพบนา้ มัน หอมระเหยประกอบด้วย Garangol, Cineole, Pinene,

Gingerol, Shogoal, Cineol, Camphor, 1'-Acetoxychavicol acetate, Cinnamicaldehyde


ประโยชน์  ป้องกันและกาจัด ด้วงงวงข้าว มอดแป้ง ป้องกัน แมลงวันทอง

ด้วงงวงข้ำว

มอดแป้ง


วิธีกำรใช้ 1. ตาข่า เมล็ดสะเดา ตะไคร้หอม อย่างละ 200 กรัม แช่ผสมกันใน นา้ 20 ลิตร ค้างคืน กรองเอาแต่นา้ สารที่สกัดที่ได้ 1 ลิตร ผสมกับนา้ เปล่า 20 ลิตร สามารถใช้ฆา่ แมลงศัตรูในพื้นที่ 1 ไร่


ว่ำนน้ำ (Sweet Flag ) Acorus calamus Lin. วงศ์ Acoraceae  มีลาต้นเป็ นเหง้าอยู่ใต้ดน ิ เรียกว่า Rhizome ลักษณะเป็ นแท่งค่อนข้างแบน มี  ใบแข็งตัง้ ตรง รูปร่างแบนเรียวยาวคล้ายใบดาบฝรัง่ ปลายใบแหลม แตกใบ

เรียงสลับซ้ายขวาเป็ นแผง ใบค่อนข้างฉา่ นา้  ดอกมีสีเ ขีย วขนาดเล็ ก ออกเป็ นช่อ มีจ านวนมากอัด กัน แน่น เป็ นแท่ ง รูป ทรงกระบอก ก้านช่อดอกลักษณะคล้ายใบ  ทัง้ ใบ เหง้า และรากมีกลิน ่ หอมฉุน ชอบขึน้ ตามที่นา้ ขัง หรือที่ชนื้ แฉะ


ส่วนที่ใช้ขยำยพันธ ุ์ เหง้า ส่วนที่ใช้ประโยชน์ เหง้า

สำรสำคัญ  มีน า้ มัน หอมระเหยในใบประมาณ 0.4 เปอร์เ ซ็ น ต์ และในเหง้าประมาณ 1.7

เปอร์ เ ซ็ นต์ สารเคมี ส าคั ญ ในน ้ า มั น ประกอบด้ว ย Asarone, CisMethylisoeugenol, Asaryl aldehyde, Acorone, Acoroxide, Acorin, Calcmene, Linalool, Calamol, Calameone, Azulene, Pinene, Cineole, Camphor และสารกลุ่ม Sesquiterpene ประกอบด้วย Acoragermacrone, Acolamone, Isoacolamone


ประโยชน์  เป็ นยาฆ่าแมลง ขับไล่แมลง หยุดชะงักการกินอาหาร ยับยั้งการสืบ พัน ธุ์

ของแมลง และยับยัง้ การออกจากไข่ของตัวอ่อน  ป้องกันและกาจัด แมลงวันแตง แมลงวันทอง ด้วงหมัดผัก หนอนกระทูผ ้ กั แมลงในโรงเก็บเมล็ดพืช ด้วงงวงช้าง ด้วงเจาะเมล็ดถัว่ มอดตัวป้อม มอด ข้าวเปลือก แมลงกัดกินผัก


วิธีกำรใช้ 1. นาเหง้าว่านนา้ จานวน 30 กรัม มาบดหรือโขลกให้ละเอียด ผสมนา้ 4 ลิตร ทิ้งไว้นาน 24 ชัว่ โมง หรือจะต้มนาน 45 นาที กรองเอานา้ ด้วยผ้าบางๆ ก่อนนาไปใช้ให้ผสมสารจับใบ ใช้ฉีดพ่นวันละ 1 ครั้ง เมือ่ มีปัญหาศัตรูพืช 2. น าเหง้า ว่า นน ้า แห้ง บดให้ล ะเอี ย ด ผสมกับ เหง้า ขมิ้น ชัน แห้ ง ที่ บดละเอียดอย่างละ 1 – 2 กิโลกรัม เติมนา้ 20 ลิตร ทิ้งไว้ 1-2 วัน กรองเอา นา้ ไปฉีดไล่แมลงวันในแปลงผัก และป้องกันหนอนกระทูผ้ กั รบกวนได้ 3. นาเหง้าแห้งมาบดเป็ นผงคลุกเคล้ากับเมล็ดพันธุ์ที่แห้ง ดีแล้ว ใน อัตราส่วนเมล็ดพันธุ์ 50 กิโลกรัม ต่อว่านนา้ 1 กิโลกรัม สามารถป้องกันแมลง ในโรงเก็บได้ เช่น ด้วงเจาะเมล็ดถัว่ มอดตัวป้อม มอดข้าวเปลือก 4. นาเมล็ดถัว่ หรือเมล็ดธัญพืชมาคลุกเคล้ากับนา้ มันหอมระเหยของ ว่านนา้


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.