สรุปองค์ความรู้โครงการสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

Page 1

1 สรุปองค์ความรู้โครงการสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปี 2558 โครงการระบบการอนุบาลปลาหนังลูกผสมในกระชังเชิงพาณิชย์ ผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย การเจริญเติบโตในกระชัง จากตารางที่ 1 เมื่อเริ่มต้นการทดลองค่าความยาวและน้​้าหนักเริ่มต้นของลูกปลาทั้ง 3 ชนิด ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p < 0.05) เมื่อทดลองเลี้ยงเป็นเวลา 52 วันพบว่า ความยาวสุดท้ายและ น้​้ า หนั ก สุ ด ท้ า ยของปลาบึ ก มี ค่ า มากที่ สุ ด ขณะที่ ป ลาลู ก ผสมกลั บ (backcross hybrid) และปลาลู ก ผสม (hybrid) ไม่มีความแตกต่างกัน ค่าความยาวที่เพิ่มขึ้นไม่มีความแตกต่างกัน แต่ค่าน้​้าหนักที่เพิ่มขึ้นในปลาบึกมี ค่ามากที่สุด ตารางที่ 1 ค่าการเจริญเติบโตของลูกปลาทั้ง 3 ชนิด เมื่อมีอายุ 52 วัน ในกระชัง การเจริญเติบโต

P. gigas

ความยาวเริ่มต้น (เซนติเมตร) 8.9 ± 0.2a ความยาวสุดท้าย (เซนติเมตร) 13.9 ± 0.2a ความยาวที่เพิ่มขึ้น (เซนติเมตร) 4.9 ± 0.1a น้​้าหนักเริ่มต้น (กรัม) 5.8 ± 0.2a น้​้าหนักสุดท้าย (กรัม) 27.2 ± 5.6a น้​้าหนักที่เพิ่มขึ้น (กรัม/ตัว) 21.4 ± 5.6a อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (กรัม/ตัว/วัน) 0.41 ± 10a อัตราการเจริญเติบโตจ้าเพาะ (%/วัน) 2.9 ± 0.4a อัตราการรอดตาย (%) 56.7 ± 2.9b อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ 3.5 ± 0.6a ข้อมูลแสดงค่าเฉลี่ย± ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Mean ± SD.)

ชนิดปลา Backcross hybrid (พ่อบึก X แม่ลูกผสม) 8.2 ± 0.2a 12.3± 0.4b 4.2 ± 0.6a 5.6 ± 0.1a 17.2 ± 3.0b 11.7 ± 3.1b 0.22 ± 6.1b 2.1 ± 0.4c 33.3 ±2.9c 4.3 ± 1.2a

Hybrid (พ่อบึก x แม่สวาย) 8.5 ± 0.4a 12.2 ± 0.6b 3.7 ± 0.7a 5.6 ± 0.1a 19.3 ± 3.3b 13.7 ± 3.3b 0.23 ± 7.3b 2.4 ± 0.3ab 71.7 ± 7.7a 3.3 ± 0.3a

ส่วนปลาลูกผสมกลับและปลาลูกผสมไม่มีความแตกต่างกัน อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน (ADG) ในปลาบึกมีค่ามากที่สุด ค่าอัตราการเจริญจ้าเพาะ (SGR) ในปลาบึกและปลาลูกผสมกลับมีค่ามากที่สุด ในทาง ตรงกันข้ามปลาลูกผสมมีอัตรารอดสูงสุดคือ 71.7 % รองลงมาคือ ปลาบึก และปลาลูกผสมจากการผสมกลับ


2 56.7 และ 33.3 % ตามล้าดับ ค่า FCR ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่ในปลาลูกผสมมีค่าน้อยสุดเท่ากับ 3.3 ส่วนปลาลูกผสมกลับมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 4.3 ขณะที่ Argue et al (2003) ได้พัฒนาปลาหนังลูกผสมโดยใช้ปลา Ictalurus punctatus (เพศเมีย) ผสมกับ Ictalurus furcatus (เพศผู้) พบว่าลูกผสม F1 มีค่าเปอร์เซ็นต์เนื้อที่ไม่มีกระดูกและไขมัน (fillet) มากกว่าพ่อและแม่ และนอกจากนี้ยังได้ศึกษาการผสมกลับ (backcross)ระหว่างลูกผสมF1กับพ่อแม่แบบสลับ เพศพบว่าการใช้ I. punctatus (เพศเมีย) กับลูกผสม F1 (เพศผู้) มีค่า % fillet yield สูงกว่าการผสมแบบ อื่ น ๆ ส่ ว น Ndimele et al (2011) ได้ ท้ า การผสมข้ า มระหว่ า งปลาหนั ง Clarias gariepinus กั บ Heterobranchus bidorsalis แบบสลับเพศพบว่าการใช้ C. gariepinus (เพศเมีย) และ H. bidorsalis (เพศ ผู้) มีค่าน้​้าหนักเพิ่มขึ้นและอัตราการเจริญเติบโตจ้าเพาะสูงกว่าอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม สิทธิชัย และคณะ (2552) ท้าการศึกษาลักษณะที่ส้าคัญทางเศรษฐกิจของปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus) ปลาโมง (Pangasius bocourti) และลูกผสม (P. hypophthalmus X P. bocourti) ทดลองเลี้ยง 93 วันพบว่าปลาสวายมีน้าหนักเพิ่มเฉลี่ยต่อวันและอัตราการเติบโตจ้าเพาะมาก ที่สุด ปลาโมงมีอัตรารอดมากที่สุด ส่วนอัตราแลกเนื้อพบว่าปลาสวายและปลาโมงมีค่าแตกต่างจากปลาสวาย โมงอย่างมีนัยส้าคัญ ลักษณะภายนอก จากการวิ เ คราะห์ ปั จ จั ย (factor analysis) พบว่ า ได้ ค่ า KMO (Kaiser-Meyer-Olkin) เท่ า กั บ 0.8 แสดงว่าข้อมูลชุดนี้มีความเหมาะสมมากที่จะวิเคราะห์ด้วยวิธี factor analysis ต่อไป (วิยะดา, 2548) และผล จากการวิเคราะห์ factor analysis สามารถจัดได้ 3 ปัจจัย (factors) ซึ่งแต่ละปัจจัยมีค่า Eigen values ดังนี้ 4.642, 3.512 และ 1.432 ตามล้าดับ โดยปัจจัยที่ 1 ประกอบด้วย DFL, AFH, AFL, BW และ BD ปัจจัยที่ 2 ประกอบด้วย PDL, PFL, MB, HL และ ED ปัจจัยที่ 3 ประกอบด้วย HD ส่วน HW และ DSI ไม่สามารถจัด กลุ่มได้เนื่องจากไม่มีความแตกต่างกันในปลาทั้ง 3 ชนิด หลังจากที่ท้าการวิเคราะห์ Cluster Analysis พบว่า ปลาทั้ ง 3 ชนิ ด สามารถแยกกลุ่ ม กั น ชั ดเจน (ภาพที่ 1) และเมื่ อ พิ จ ารณาที่ ค่ า original grouped cases correctly classified ซึ่งสามารถอธิบายความถูกต้องในการจัดจ้าแนกได้ถึง 98.8% โดยความถูกต้องในการ จ้าแนกของปลาบึก ปลาลูกผสมกลับและปลาลูกผสมเท่ากับ 96.2%, 100% และ 100% ตามล้าดับ เมื่อทราบ ความถูกต้องในการจัดจ้าแนกปลาแต่ละชนิดแล้ว ท้าการศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างในแต่ละลักษณะด้วย วิธี ANOVA พบว่าลักษณะภายนอกที่สามารถแยกได้ทั้ง 3 ชนิดประกอบด้วย ความยาวครีบหลัง (DFL) ในปลา ลูกผสมมีค่ามากที่สุดและรองลงมาคือ ปลาบึกและปลาลูกผสมกลับ ทั้งความกว้างล้าตัว (BW) และความลึก ล้าตัว (BD) ในปลาลูกผสมกลับมีค่ามากที่สุดและรองลงมาคือ ปลาบึก และปลาลูกผสม ความยาวจากจะงอย ปากจนถึงจุดเริ่มต้นของครีบหลัง (PDL) ในปลาบึกมีค่ามากที่สุดและรองลงมาคือปลาลูกผสมและปลาลูกผสม กลับ ความยาวครีบหู (PFL) ในปลาลูกผสมมีค่ามากที่สุดรองลงมาคื อ ปลาลูกผสมกลับและปลาบึกตามล้าดับ เส้นผ่านศูนย์กลางตา (ED) เมื่อเทียบกับความยาวหนวดบนขากรรไกบน (% MBL) ในปลาบึกมีค่ามากที่สุดรอ ลงมาคือ ปลาลูกผสมและปลาลูกผสมกลับ นอกจากนี้ลักษณะของความสูงครีบก้น (AFH) และความยาวครีบ


3 ก้น (AFL) ยังสามารถแยกปลาลูกผสมกลับออกจากปลาทั้ง 2 ชนิดได้ ความยาวหนวดบนขากรรไกรบน (MBL) สามารถแยกปลาบึ กออกจากกลุ่ มได้เนื่ องจากมีความยาวน้อยที่สุ ดอย่ างมีนัยส้ าคัญ ทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 2, ภาพที่ 2 และ 3) ตารางที่ 2 แสดงความแตกต่างลักษณะภายนอกของปลาทั้ง 3 ชนิด P. gigas Backcross Hybrid Measurement design % SL % SL Dorsal fin length (DFL) 19.3 ± 1.3b 11.0 ± 0.8c Anal fin height (AFH) 13.7 ± 1.2b 23.1 ± 1.6a Anal fin length (AFL) 29.0 ± 2.7b 42.7 ± 4.6a Body width (BW) 11.6 ± 1.1b 15.4 ± 1.4a Body depth (BD) 23.4 ± 1.5b 28.6 ± 2.4a Head length (HL) 32.3 ± 2.6a 31.7 ± 2.3a % HL % HL Maxillary barbel length (MBL) 30.8 ± 5.5b 48.5 ± 5.8a Pre-dorsal length (PDL) Pectoral fin length (PFL) Head depth (HD) Eye dimension (ED)

128.2 ± 9.5a 52.5 ± 4.7c 37.2 ± 4.4a % MBL 64.9 ± 8.6a

54.6 ± 5.9c 64.8 ± 5.9b 34.4 ± 3.6b % MBL 41.1 ± 5.4c

Hybrid % SL 40.3 ± 3.0a 14.1 ± 1.0b 29.7 ± 1.7b 10.3 ± 1.0c 21.9 ± 1.3c 26.9 ± 2.8b % HL 48.3 ± 6.8a 61.5 ± 5.8b 69.6 ± 5.3a 34.4 ± 3.1b % MBL 47.1 ± 7.4b

% SL (% Standard length), % HL (% Head length) and % MB (% Maxillary barbel) Mean ± Sd.


4

ภาพที่ 1 แสดงการจัดกลุ่มของปลา 3 ชนิดด้วยวิธี Canonical analysis ซึ่งมีความถูกต้องในการ จัดจ้าแนก 98.7 %

ลูกผสมกลับ

ลูกผสม

บึก

A

B ลูกผสมกลับ

ลูกผสม

บึก

ภาพที่ 2 แสดงลักษณะภายนอกของลูกปลา 3 ชนิด, A (ด้านหลัง) และ B (ด้านข้าง)


5

ลูกผสมกลับ

บึก

ภาพที่ 3 แสดงความแตกต่างบริเวณด้านล่างของหัวปลาทั้ง 3 ชนิด จ้านวนก้านครีบอ่อนหู ในปลาบึกมี 7 - 9 ส่วนปลาลูกผสมทั้ง 2 ชนิดมี 7 - 9 ขณะที่ก้านครีบอ่อน หลังในปลาลูกผสมทั้ง 2 ชนิด มี 6 ก้าน ส่วนปลาบึกมี 5 -7 ก้าน ส่วนก้านครีบอ่อนท้องในปลาลูกผสมกลับมี 7 - 8 ก้าน ปลาบึกและปลาลูกผสมมี 7 - 9 ก้าน ก้านครีบอ่อนก้นปลาบึกมี 27 - 30 ก้าน ขณะที่ปลาลูกผสม ทั้ง 2 ชนิดมี 27 - 32 ก้าน (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 แสดงจ้านวนก้านครีบอ่อนของปลาทั้ง 3 ชนิด P. gigas Backcross hybrid Hybrid จ้านวนก้านครีบอ่อนหู (PFR) 7 - 11 7-9 7-9 จ้านวนก้านครีบอ่อนหลัง (DFR) 5-7 6 6 จ้านวนก้านครีบอ่อนท้อง (PeFR) 7-9 7-8 7-9 จ้านวนก้านครีบอ่อนก้น (AFR) 27 - 30 27 - 32 27 - 32 PFR (Pectoral fin rays), DFR (Dorsal fin rays), PeFL (Pelvic fin rays) and AFR (Anal fin rays) Pouyaud et al (1999) ค้ น พบปลาหนั ง ชนิ ด ใหม่ ใ นวงศ์ Pangasiidae โดยใช้ ลั ก ษณะทางด้ า น Morphometric และ Meristics ในการศึกษาพบว่า New pangasiid นี้ มีลักษณะหัวที่ค่อนข้างแบนโดยความ ลึกของหัว 48 – 54 % HL ความกว้างหัว 70 – 76 % HL จะงอยปากยาว 48 -53 % HL ต่อมา อนุพงษ์ และ คณะ (2548) ได้ท้าการศึกษาลักษณะภายนอกและภายในที่ใช้จ้าแนกปลาสวาย (วงศ์ Pangsiidae) และปลา สังกะวาด (วงศ์ Schilbeidae) พบว่าปลาสังกะวาดและปลาสวายมีลักษณะที่คล้ายกันมาก ซึ่งลักษณะส้าคัญ ในการจ้าแนกวงศ์ สกุล และชนิดคือลักษณะความเหมือนและความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาจาก ส่วนหัว


6 ส่วนล้าตัว และส่วนหาง ได้แก่ ลักษณะของหัว ลักษณะของมุมปาก มุมปากของขากรรไกรล่าง จ้านวนและ ขนาดความยาวหนวด การซ้อนหรือไม่ซ้อนทับกันของเยื่อหุ้มกระดูกปิดคอคอด ต้าแหน่งลูกตา สีตามล้าตัว ลักษณะครีบหาง ภาวินี (2555) ได้ศึกษาเปรียบเทียบลักษณะภายนอกของปลาเผาะ (Pangasius bocourti) ปลาสว าย ( Pangasianodon hypophthalmus) และลู ก ผสม (พ่ อ P. bocourti X แม่ P. hypophthalmus) ที่มีความยาวมาตรฐาน 8 -11 เซนติเมตร พบว่าลักษณะส้าคัญที่สามารถแยกปลาทั้ง 3 ชนิ ด ได้ คื อ ความกว้ า งหั ว โดยปลา ปลาเผาะมี ม ากที่ สุ ด รองลงมาคื อ ปลาลู ก ผสม และสวาย ตามล้ าดับ นอกจากนี้ยังสามารถใช้หนวดบนขากรรไกบนในการจัดจ้าแนกได้ดังนี้ ปลาลูกผสมจะยาวมากที่สุด (20.2 % SL) รองลงมาคือปลาเผาะ (16.9 % SL) และสวาย (12.39 % SL) ขณะที่ Gustiano (2004) พบว่าปลา P. djambal ต่างจาก P. hypohthalmus ตรงที่มีกระดูก vomerine ที่ยาวกว่า มีกระดูก palatine ที่กว้าง มากกว่า ส่วนลูกผสมมีค่าอยู่ระหว่างสายพันธุ์แท้ทั้ง 2 สายพันธุ์ นอกจากนี้ยังพบว่า ปลาลูกผสมจะมีลักษณะ ส่วนใหญ่คล้ายกับปลา P. hypohthalmus ยกเว้นลักษณะของกระดูก vomerine และ palatine มีลักษณะ คล้ายกับ P. djambal มีรายงานการใช้เทคนิคการสร้างปลาลูกผสมดังเช่น วงศ์ปฐม และคณะ (2539) ได้ ปรั บ ปรุ ง รู ป ร่ า งของปลาไนสายพั น ธุ์ พื้ น เมื อ งโดยวิ ธี ก ารผสมและคั ด เลื อ กเพื่ อ เหนี่ ย วน้ า ลั ก ษณะที่ ว่ า introductory crossโดยการผสมข้ามพันธุ์ (hybridization) กับปลาไนสายพันธุ์ฮังการี ซึ่งมีรูปร่างสัดส่วนที่ดี แล้ ว จึ ง ท้ า การคั ด เลื อ กและผสมกลั บ (backcross) กั บ สายพั น ธุ์ พื้ น เมื อ ง 2 ครั้ ง เพื่ อ คงลั ก ษณะที่ ดี ไ ว้ ใ น การศึกษาครั้ งนี้ ได้ด้าเนิ น การผสมกลั บ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 ใช้แม่พันธุ์พื้นเมืองและแบบที่ 2 ใช้พ่อพันธุ์ พื้นเมือง ผลปรากฏว่า ปลาไนสายพันธุ์ปรับปรุงทั้งสองมีรูปร่าง ลักษณะล้าตัวโดยรวมแตกต่างจากสายพันธุ์ พื้นเมืองอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ และผลจากการวิเคราะห์สัดส่วนแสดงให้เห็นว่าปลาไนสายพันธุ์ปรับปรุงทั้ง สองมีขนาดส่วนหัวเล็กลงในขณะที่สัดส่วนความลึกของล้าตัวและคอดหาง มากกว่าสายพันธุ์พื้นเมือง สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ จากการทดลองเลี้ยงเป็นเวลา 52 วัน ในกระชัง น้​้าหนักสุดท้ายของปลาบึกมีค่ามากที่สุดขณะที่ปลา ลูกผสมกลับ (backcross hybrid) และปลาลูกผสม (hybrid) ไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นอัตรารอดและอัตรา การเจริญเติบโตจ้ าเพาะของปลาลู กผสมดีกว่าปลาลูกผสมกลั บ ปลาลูกผสมกลับมีลักษณะบางประการที่ เหมาะสมที่จะพัฒนาเชิงพาณิชย์ ได้เช่น ขนาดของหัวจะเล็กกว่าปลาบึกซึ่งจะท้าให้ปริมาณเนื้อมีมากกว่าปลา บึก (ตารางที่ 4) ตลอดจนความกว้างล้าตัวมากกว่าปลาบึกและปลาลูกผสม แต่อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษา เพิ่มเติมเกี่ยวเทคนิคการให้อาหารตลอดจนคุณภาพอาหารในการเลี้ยง ปริมาณและคุณภาพของเนื้อเมื่อปลา อยู่ในขนาดตลาด นอกจากการจัดจ้าแนกปลา 3 ชนิด โดยใช้เทคนิคทางด้าน morphometric และ meristic แล้ว ควรศึกษาความแตกต่างด้านพันธุกรรมเพิ่มเติมเพื่อยืนยันความถูกต้องด้วยในอนาคต


7 ตารางที่ 4 ลักษณะภายนอกที่ส้าคัญใช้ในการจ้าแนกปลา 3 ชนิด ในช่วงขนาดความยาว 6 นิ้ว ได้แก่

ลักษณะ

P. gigas (บึก)

Backcross hybrid (พ่อบึก x แม่ลูกผสม)

ต้าแหน่งตา/หัว

ตาต่้ามุมปาก/ หัวหัวใหญ่

ตาต่้ากว่ามุม ปาก/หัวเล็ก

ตาเหนือมุม ปาก/หัวเล็ก Hybrid

หนวดบนขา กรรไกบน

สั้นไม่เลยตา

ความยาวจาก จะงอยปาก ถึงเริ่มต้นครีบหลัง (% HL) มาก (128.2)

ความ ความยาว ยาวครีบ ครีบหลัง สีบนล้าตัว หู (% SL) (% HL) เหลือง ไม่มีแถบน้​้า เงิน 3 แถบ ที่ข้างล้าตัว

ปานกลาง (19.3)

สั้น (52.5)

เหลือง ไม่มีแถบน้​้า เงิน 3 แถบ ที่ข้างล้าตัว มีแถบสีน้า เงิน 3 แถบ ที่ข้างล้าตัว

ยาวเลยตา

ปานกลาง (54.6)

สั้น (11.0)

ปาน กลาง (64.8)

ยาวเลยตา

ปานกลาง (61.5)

ยาว (40.3)

ยาว (69.6)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.