นิตยสารดอนบอสโก-May-June 2020 (Thai Salesian Bulletin)

Page 1

May-June 2020

1


นิตยสารดอนบอสโก นิ ต ยสารซาเลเซี ย น (Salesian Bulletin) คื อ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ เ ป็ น ทางการของคณะซาเลเซี ย นซึ่ ง คุณพ่อบอสโกได้เป็นผู้ริเริ่มไว้เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1877 นิตยสารนีไ้ ด้รบั การตีพมิ พ์อย่างดีเรือ่ ยมา เพื่อเผยแพร่งานด้านการจัดการศึกษาอบรมของ คุณพ่อบอสโกไปทัว่ โลก ปัจจุบนั นิตยสารซาเลเซียน มีทงั้ หมด 66 อีดชิ นั่ 31 ภาษา เผยแพร่ใน 132 ประเทศ ทั่ ว โลก นิ ต ยสารดอนบอสโกของประเทศไทย คือหนึ่งในจ�ำนวนนี้ด้วย ซึ่งได้เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี ค.ศ.1958 จนถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 63 และได้เปลี่ยน จากการตีพิมพ์รายเดือนเป็นราย 2 เดือนตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2018 เป็นต้นมา เจ้าของผู้พิมพ์ คุณพ่อเทพรัตน์ ปิติสันต์ ที่ปรึกษา บิชอปโยเซฟ ประธาน ศรีดารุณศีล บรรณาธิการบริหาร sdbsocomthai@gmail.com กองบรรณาธิการ ซ.ฉวีวรรณ เกษทองมา, ซ.ระวิวรรณ บวกหาร ซ.อุทุมพร แซ่โล้ว, ซ.ลัดดา รัชนีลัดดาจิต คุณพ่ออนุสิทธิ์ จันทร์เพ็ญ, คุณธัญญา ศิโรรัตน์ธัญโชค แผนกการเงิน บ.วรวุฒิ จิรสุจริตธรรม ส�ำนักงานนิตยสารดอนบอสโก 32 ถ.กรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร 0-2731-7100 E-mail : thaisdbbulletin@gmail.com พิมพ์ที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโกกรุงเทพ โทร. 0-2652-9625 ถึง 30 จัดพิมพ์โดย แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียน E-mail : sdbsocomthai@gmail.com

2

EDITOR’s NOTE

ท่านผู้อ่านที่เคารพรัก การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ตั้งแต่ปลายปี 2019 ต่อเนื่องมาจนถึง ปี 2020 จากจุ ด ก� ำ เนิ ด ในเมื อ งอู ่ ฮั่ น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน ไปยังประเทศต่างๆ ถึงเวลานี้เชื้อไวรัส ได้แพร่กระจายไปยังทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย จ�ำนวน ผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่าสองล้านคน ตาย มากกว่าหนึง่ แสนเจ็ดหมืน่ คน (สถิติ ณ วันที่ 21 เมษายน 2020) และไม่สามารถคาดการณ์ ได้ว่าจะสิ้นสุดลงตรงจุดไหน

อยู ่ ใ นเรื อ ล� ำ เดี ย วกั น ดั ง ที่ ส มเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส ได้ ใ ห้ ข ้ อ คิ ด เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2020

ท่ามกลางความสูญเสีย ความเจ็บป่วย ล้มตาย ความเสียหายทางเศรษฐกิจ ก็มี เรื่องราวดีๆ เกิดขึ้นมากมายเช่นกัน

ในช่ ว งหั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ ของการแพร่ ระบาด สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่มองไม่เห็นอย่าง เชื้อไวรัสท�ำให้เราเห็นว่ามนุษย์เป็นสิ่ง มีชวี ติ ทีเ่ ปราะบาง ถึงวันนีเ้ ราคงต้องหันกลับมา ทบทวนตัวเองว่าอะไรคือสิ่งมีค่ามากที่สุด ใครจะคาดคิดว่าวิกฤติโรคระบาดได้เข้ามา เปลี่ยนพฤติกรรมการด�ำรงชีวิตชนิดคาด ไม่ถงึ นีเ่ ป็นข้อดีทเี่ ราได้รบั จาก Covid-19 เพราะจากไวรัส “ล้างโลก” เป็นไวรัส “เปลี่ยนโลก” ขอพระเป็นเจ้าและแม่พระองค์อปุ ถัมภ์ พิทักษ์เราทุกคนจากโรคร้ายนี้

มาตรการปิดเมือง ลดการเคลื่อนย้าย จ�ำกัดการใช้ชีวิตนอกบ้านเป็นมาตรการ ส� ำ คั ญ ในการหยุ ด ยั้ ง การแพร่ ร ะบาด เป็ น ผลท� ำ ให้ ม ลพิ ษ ทางอากาศลดลง ธรรมชาติได้รบั การฟืน้ ฟู ผูค้ นมีเวลาได้อยู่ กับครอบครัวมากขึ้น คริสตชนใส่ใจกับ ด้านจิตใจมากขึ้น ที่ส�ำคัญมากกว่าก็คือ คนไทยเห็นใจและช่วยเหลือกัน ด้วยการ แจกจ่ า ยอาหาร หน้ า กากอนามั ย และ แอลกอฮอล์ล้างมือ ฯลฯ เพราะเราทุกคน

นิตยสารดอนบอสโกฉบับนี้ขอเป็น สื่ อ กลางให้ เ ยาวชนแสดงความคิ ด เห็ น ถึงผลกระทบที่ได้รับจากการระบาดของ ไวรัสนี้ และน�ำเสนอข่าวสารต่างๆ ของ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ของครอบครั ว ซาเลเซียนทั่วโลกที่เป็นส่วนเล็กๆ ส่วนหนึ่ง ในการบรรเทาความทุกข์ยากของพี่น้อง

วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่จิตตารมณ์และกิจการซาเลเซียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานธรรมทูต การศึกษาอบรม งานอภิบาลเยาวชน การส่งเสริมและปลูกฝังกระแสเรียก 2. กระชับสายสัมพันธ์และความเป็นหนึ่งเดียวกันในระหว่างกลุ่มต่างๆ ของครอบครัวซาเลเซียน 3. เผยแพร่ความรักและความศรัทธาต่อพระเยซูเจ้าและแม่พระ db Bulletin

บรรณาธิการ


CONTENTs

d b B U L L E T I N M AY - J U N E 2 0 2 0 ภาพจากปก

JR - สมิทธิ์ วิริยภาษ หนุ่มไอซ์ฮอกกี้ เยาวชนทีมชาติไทย โรงเรียนแสงทองวิทยา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ภาพ : Sittichai Phatinawin

2 EDITOR’s NOTE

Faith & Catechesis

Salesian World

10 พระวาจาในชีวิตประจ�ำวัน

สิ่งยิ่งใหญ่ที่สุดคือความรัก

เราจะสอนลูกๆ ให้ใกล้ชิดพระเจ้า ได้อย่างไร?

4 สารอัคราธิการ

6 เรื่องเล่าจากสิ่งรอบตัว ของพ่อบอสโก

การผจญภัยของระฆัง วิหารแม่พระองค์อุปถัมภ์

34 นักบุญยอห์น บอสโก กับ

พระมารดามารีย์องค์อุปถัมภ์

พระมารดากับ ธมอ.

36 ครอบครัวซาเลเซียน

ของคริสตชน 16 CTimes - Catechetical Moment

พระเยซูเจ้ายังคงประทับอยู่ต่อไป บนโลกนี้

Youth & Education 7 เสียงเยาวชน

เยาวชนคิดอย่างไรกับผลกระทบ JR - สมิทธิ์ วิริยภาษ หนุม่ ไอซ์ฮอกกี้ เยาวชนทีมชาติไทย ของโควิด-19?

22 เส้นทางจอม Youth

Life

SYM คืออะไรกันแน่? 24 เพื่อนนักอบรม รักทะลุใจ ไล่เชื้อร้าย

“หัวใจที่ใหญ่กว่าตัว”

Holiness

12 สัมภาษณ์ คุณพ่อยอห์น วิสเซอร์ 26 One Moment in Time Change...

38 ผู้ศักดิ์สิทธิ์ซาเลเซียน

Happy Birthday

40 พระพรที่ได้รับ

39 เรื่องมีอยู่ว่า....

10

30 Lectio Divina

12 24

บุญราศี ซิสเตอร์มาเรีย โรเมโร

News

18 Local News 28 ส่องโลกซาเลเซียน

36 May-June 2020

3


สารอัคราธิการ Don Ángel Fernández Artime

แปล I สายลมที่พัดผ่าน

สิ่งยิ่งใหญ่ที่สุดคือความรัก

“ในช่วงเวลาแห่งความยากล�ำบากที่เราก�ำลังเผชิญอยู่นี้ มีเพียงความรักที่ให้ชีวิตแก่เรา” เพื่อนๆ ที่รัก และท่านผู้อ่านนิตยสารซาเลเซียนทุกท่าน

4

พ่อขอให้ทุกท่านรับความปรารถนาดีจากใจจริงของพ่อในช่วงเวลาซึ่งความคิด ของเราก�ำลังถูกถาโถมไปด้วยความวิตกกังวลมากมาย พ่อเขียนจดหมายฉบับนี้ เมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2020 ท�ำให้พอ่ คิดไปข้างหน้าถึงเดือนพฤษภาคมซึง่ เป็นเดือนของ พระมารดา ขอให้เราฝากชีวิตของเรา รวมถึงโลกซาเลเซียนไว้กับพระนาง โดยเฉพาะ ในช่วงเวลานี้ที่เราก�ำลังอยู่ในช่วงเวลาแห่งความเจ็บปวดแห่งการแพร่กระจายของ โควิด 19 หรือไวรัสโคโรนา พ่อมั่นใจว่าเราแต่ละคน ซึ่งอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก ได้รว่ มกันสวดภาวนา และยังภาวนาต่อไปอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ วอนขอองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า โดยอาศัยค�ำเสนอวิงวอนของพระมารดาทรงช่วยเหลือและปลอบโยนทุกคน ในช่วงเวลาแห่งความเลวร้ายนี้ ที่ต้องสูญเสียหลายชีวิต แม้ว่าเราอาจมีความรู้ เกี่ยวกับสถานการณ์ของเชื้อโรคนี้ได้ดีขึ้น แต่ก็ยังมีความยากล�ำบากอื่นๆ ที่เราต้องเผชิญ พ่อเชื่อว่าท่ามกลางสถานการณ์แห่งความทุกข์ยากนี้ มีหลายคนที่เป็น พระวาจาของพระเจ้าและเป็นสือ่ ให้กบั เราโดยอาศัยการเป็นพยานแห่งความเชือ่ และความดี ที่ เขาได้ แ สดงออก วั น นี้ พ ่ อ รู ้ สึ ก ว่ า พ่ อ ไม่ ส มควรที่ จ ะใช้ ค�ำพูดของพ่อเอง เพราะพ่อได้ยินค�ำพูดของคนหนึ่งซึ่งให้พ่อสัมผัสได้ถึง ความเชื่ออันแข็งแกร่งในตัวของเขาที่เป็นพยานอย่างแท้จริงถึงผลของ การยึดมั่นในพระเจ้า เพราะฉะนั้น พ่อขอให้เราได้อ่านค�ำพยานต่อไปนี้ที่พ่อคงไม่อาจ อ้างอิงถึงชื่อและสถานที่ได้ เธอผู้นั้นเพิ่งจะสูญเสียสามีไป เขาทั้งสองคนแต่งงานกันและ อยู่ด้วยกันมามากกว่า 23 ปี พวกเขามีลูกทั้งหมด 5 คน และ พยายามสร้างครอบครัวทีง่ ดงามร่วมกันตลอดมา จนมาถึงวันนี้ สามี ของเธอได้ถูกไวรัสโควิด-19 พรากจากไปด้วยอายุ 50 ปี จึงท�ำให้ สถานการณ์แห่งชีวิตของเธอเปลี่ยนไป เธอเชื่อว่า แม้ว่าร่างกาย จะจากกันไป แต่หัวใจยังเป็นหนึ่งเดียวกันเสมอ แน่ น อนว่ า เมื่ อ ใครคนหนึ่ ง ถู ก ตรวจพบว่ า มี เ ชื้ อ โควิด-19 ย่อมท�ำให้ทุกอย่างดูยุ่งไปหมด และมันก็เป็นเช่นนั้น db Bulletin


ในชี วิ ต ของเธอ หลั ง จากที่ ส ามี ไ ด้ ถู ก ตรวจพบเจอเชื้อโควิด-19 แล้ว สามีก็ ต้ อ งถู ก แยกตั ว ออกไปและอยู ่ ภ ายใน บริ เวณพื้ น ที่ ซึ่ ง ถู ก จั ด ไว้ ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ่ ว ย ของโรคนีโ้ ดยเฉพาะ ท�ำให้เธอไม่สามารถ อ ยู ่ เ ฝ ้ า ดู อ า ก า ร ข อ ง ส า มี สุ ด ที่ รั ก อี ก ต่ อ ไปได้ เธอจึ ง ต้ อ งกลั บ บ้ า น มิหน�ำซ�้ำเธอและลูกๆ ยังต้องกักตนเอง อยู่ในบ้านด้วย ในสถานการณ์อันน่า เศร้าใจนี้มันคงสร้างความทุกข์ใจและ ความยากล�ำบากไม่นอ้ ยส�ำหรับตัวของเธอ และครอบครัว กระนัน้ ก็ดี เธอยังคงคิดเสมอว่า พระคริสตเจ้าทรงคอยประคับประคองและ ปลอบประโลมเธออย่ า งแน่ น อน เธอ กล่าวว่า “พระองค์ประทับอยู่กับดิฉัน บนไม้กางเขนนี้ และดิฉันก็เชื่อว่าสามี ของดิฉนั ก็อยูใ่ นพระหัตถ์ของพระองค์ และ ความตระหนั ก นี้ แ หละได้ ส ร้ า งความ แข็งแกร่งให้กับดิฉัน” หญิ ง ผู ้ นี้ ไ ด้ แ สดงออกถึ ง ความเชื่ อ อั น มั่ น คงและเธอยั ง คงภาวนาต่ อ ไป อย่ า งสม�่ ำ เสมอพร้ อ มกั บ ลู ก ๆ เพราะ นีเ่ ป็นหนทางเดียวทีจ่ ะได้รบั การเยียวยารักษา จากการสู ญ เสี ย ครั้ ง นี้ พ่ อ คิ ด ว่ า นี่ คื อ การแสดงออกแห่งความเชือ่ ทีน่ า่ ประทับใจ เธอได้แบ่งปันว่า “ดิฉันใช้เวลาหลายวัน ทีเดียวกับการต้องอยูใ่ นสภาวะแห่งความ เลวร้ายนี้ แต่เวลานี้ดิฉันสามารถอยู่ใน สถานการณ์นี้ด้วยใจที่มีสันติสุขและรู้จัก ยอมรับได้มากกว่า” การยอมรับความ จริ ง จะช่ ว ยเราให้ ส ามารถด� ำ เนิ น ชี วิ ต ด้วยความหวังมากขึ้น ท้ายที่สุด แม้ว่า หญิงผู้นี้อาจยังคงเป็นทุกข์กับการจากไป ของสามี แต่สันติสุขซึ่งมาจากการยอม ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ช่ ว ยท� ำ ให้ เ ธอ มองเหตุการณ์นี้เป็น “พระประสงค์ของ พระเจ้า” ก่ อ นที่ ส ามี ข องเธอจะจากไป เธอ ปรารถนาทีจ่ ะแบ่งปันเรือ่ งราวนีก้ บั ทุกคน เพราะเธอต้องการให้กำ� ลังใจแก่ครอบครัว

Rector Major

ทีเ่ ผชิญหน้ากับสถานการณ์เช่นเดียวกับเธอ เธอต้องการให้ก�ำลังใจพวกเขาในการ ด�ำเนินชีวติ อยูต่ อ่ ไปอย่างมีสนั ติ พ่อเชือ่ ว่า การเป็นพยานของหญิงผูน้ ชี้ ว่ ยสอนเราให้ เข้าใจถึงความส�ำคัญของการแบกกางเขน เพราะพระผู้ซึ่งประทับอยู่บนไม้กางเขน นัน้ ประทานความรักอันไร้ขอบเขตแก่เรา ท�ำให้เราได้รับก�ำลังใจ การบรรเทาใจ และมีความหวังต่อไปในการด�ำเนินชีวิต ครอบครัวอย่างมีความสุข พ่อขอแบ่งปัน ในสิ่งที่หญิงผู้นี้ได้เขียนไว้ “ดิฉันรู้คุณต่อทุกข้อความ ก�ำลังใจ และค�ำภาวนาที่มอบให้แก่ดิฉัน เพราะ สิ่งเหล่านี้ได้ให้ชีวิตแก่ดิฉันเหมือนกับที่ หลายคนได้ภาวนาส�ำหรับสามีของดิฉัน ท้ายที่สุดแล้ว หากคุณหมอไม่สามารถ รักษาสามีของดิฉนั ให้หายได้ ดิฉนั เชือ่ ว่า ต้องมีสิ่งดีที่ยิ่งใหญ่กว่าเกิดขึ้นหรือก�ำลัง เข้ า มาแน่ น อน คงไม่ อ าจปฏิ เ สธได้ ว ่ า สถานการณ์เช่นนีเ้ ป็นช่วงเวลาทีห่ นักหน่วง และยากล�ำบาก แต่ในเวลาเดียวกัน พระเจ้า ประทานความสามารถให้เราได้พบกับ ความรักของผู้อื่นซึ่งเข้ามาช่วยเหลือเรา จนท�ำให้เราเข้าใจว่าพระองค์ทรงรักเรา และนี่แหละคือสิ่งที่ยิ่งใหญ่มาก” ความรักสามารถจับต้องได้จากความ สัมพันธ์อันแน่นแฟ้นในครอบครัว จาก

ข้อความที่เสริมก�ำลังใจ จากค�ำภาวนา ที่มีให้แก่กัน และจากการอุทิศตนของ คุณหมอทีร่ กั ษาผูป้ ว่ ยมากมายหลายกรณี และนี่แหละช่วยเราให้มองเห็นถึงความ เป็นจริงแห่งความรักจากสายตาหลายๆ คู่ ซึ่ ง มี ค วามแตกต่ า งกั น การมองเห็ น ความเป็ น จริ ง นี้ เ องจะช่ ว ยให้ เราเป็ น พยานถึงอะไรบางอย่างที่ยิ่งใหญ่ว่าตัว เรา ขอให้เราได้ออกไปเพือ่ พบปะกับผูอ้ นื่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อยู่ในความยาก ล�ำบาก คุณพ่อบอสโกย�้ำเตือนเราเสมอว่ า ถ้าเรามีความไว้วางใจในพระนางมารีย์ องค์ อุ ป ถั ม ภ์ ข องคริ ส ตชน เราจะเห็ น อัศจรรย์มากมายในชีวิตของเรา บางที เราอาจคิดว่าอัศจรรย์จะเกิดขึน้ เมือ่ ผูป้ ว่ ย โรคมะเร็งหรือโรคร้ายอื่นๆ ได้รับการ รั ก ษาให้ ห าย แต่ พ ่ อ อยากจะบอกว่ า อัศจรรย์ทหี่ ญิงผูน้ แี้ ละลูกทัง้ 5 คนของเธอ ได้รับคือ “อัศจรรย์ในการด�ำเนินชีวิต ด้วยความเชื่อ” ขอพระมารดาปกปักษ์ รักษาและคุ้มครองเราทุกคนเสมอ ด้วยความรัก คุณพ่ออังเกล แฟร์นันเดซ อาร์ติเม

May-June 2020

5


เรื่องเล่าจากสิ่งรอบตัวของพ่อบอสโก Text: Jose J.Gomez PALACIOS I Illustrate: Cesare แปล I ต้นลูกหนาม

การผจญภัยของ ระฆังวิหารแม่พระองค์อุปถัมภ์ ฉันชือ่ คาโรลา ฟรานเชสก้า หนัก 875 กิโลกรัม แต่ฉนั ไม่ได้อว้ นนะ! ฉันคล่องตัว ดูทันสมัยและมีเสียงที่ไพเราะ ฉันมีน้อง สาวทั้งหมด 4 คน น้องสาวที่ถัดจากฉัน หนัก 750 กิโลกรัม และน้องคนเล็กชื่อว่า อังเจลา โจวันนา หนัก 250 กิโลกรัม เสียงของพวกเรานั้นแตกต่างกัน แต่เมื่อ พวกเราบรรเลงร่วมกันทั้งหมดแล้ว จะ พบว่าเสียงของพวกเรานั้นใสและกังวาน ด้วยเสียงที่ต่างกัน เพราะว่าพวกเราเป็น ครอบครัวระฆัง เราเกิดที่โรงหล่อ จี.บี. มาซโซล่า แถววัลดูจจา (วัลเซเซีย) วันหนึง่ พวกเราถูกน�ำไปติดตั้งที่วัลด๊อกโก เมือง ตุริน ที่นั่นเราเห็นเด็กๆ มากมาย รวมทั้ง มีเด็กทีม่ าจากวัลเซเซียเหมือนกับพวกเรา ด้วย พวกเราได้รับการต้อนรับจากเด็กๆ ประมาณหนึ่งร้อยคน ในวันนั้น เราเห็น รอยยิม้ ทีแ่ สนจะพึงพอใจของคุณพ่อบอสโก ซึง่ เป็นผูส้ งั่ ให้สร้างพวกเราขึน้ มา ลองคิดดูสวิ า่ มันสวยงามขนาดไหน ที่พวกเราได้เป็น ส่ ว นหนึ่ ง ในความฝั น ของคุ ณ พ่ อ บอสโก ทีฝ่ นั ถึงวิหารแม่พระองค์อปุ ถัมภ์ทสี่ วยงาม พร้อมๆ กับหอระฆัง เวลาบ่ า ยสามโมงของวั น ที่ 28 พฤษภาคม 1868 โอกาสฉลองพระเยซูเจ้า

6

db Bulletin

ประวัติความเป็นมา

ในวันที่ 21 พฤษภาคม 1868 โอกาสสมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จ สู่สวรรค์ มีการเสกระฆัง 5 ใบ อย่างสง่า และน�ำไปติดตั้งยังหอระฆัง ของวิหารแม่พระองค์อปุ ถัมภ์ ต่อมาในปี 1870 มีการเพิม่ ระฆังอีก 3 ใบ และในปี 1922 มีการเปลี่ยนระฆังใหม่ทั้งชุดซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ (MB9 IX,202-204) เสด็จสู่สวรรค์ พวกเราได้เริ่มต้นการบรรเลงเพลง ในวันนั้นมีบิชอปมาเสกและ อวยพรพวกเราอย่างสง่างาม พวกเราสวมชุดสีบรอนด์สวยงาม สลักด้วยลวดลาย และรูปภาพ พร้อมกับมีบทภาวนาและชื่อของผู้ท�ำบุญสร้างเราขึ้นมาจารึกอยู่ พวกเราได้บรรเลงเพลงบนหอระฆังนี้ นับเป็นที่แรกของเมืองตุริน โดยภาพรวมแล้ว การบรรเลงเพลงของเรายังไม่ค่อยดีนัก เพราะขาดเสียงของ โน้ตบางตัว ด้วยเหตุนี้ ในเดือนพฤษภาคม ปี 1870 ระฆังสามใบใหม่จากประเทศ อาร์เจนตินา ซึ่งมีรูปร่างเล็กกว่าพวกเราได้มาถึง เรารู้สึกว่าปีนี้เป็นปีที่พิเศษมาก เพราะทุกส่วนของลูกตุม้ ระฆังนัน้ เป็นเหมือนการเต้นของหัวใจทีท่ งิ้ สาสน์แห่งชีวติ ให้ ล่องลอยไปในอากาศ ผ่านไปตามหลังคาบ้านต่างๆ ของเมืองตุรนิ เราบรรเลงเพลง พระคริสตสมภพ เพลงพระมารดามารียแ์ ทบเชิงไม้กางเขนและเพลงปัสกา นอกนัน้ พวกเราได้ร้องไห้ผ่านทางเสียงของเราในพิธีปลงศพของคุณพ่อบอสโก คุณพ่อรัว และพระสงฆ์ซาเลเซียนของวัลด๊อกโก... หลังจากนั้นอีก 50 ปี พวกเราต้องร้องไห้ ให้กับตัวเอง เพราะว่าพวกเราถูกย้ายออกไปเหมือนกับเศษโลหะที่ไร้ประโยชน์ ในปี 1922 พวกเราถูกแทนทีด่ ว้ ยระฆังใบอืน่ ทีม่ ขี นาดใหญ่กว่า ต่อมาในปี 1925 พวกเราถูกน�ำไปติดตัง้ ทีห่ อระฆังของวัดพระเยซูเจ้าทรงพระเยาว์ ซึง่ เป็นวัดแห่งใหม่ ของคณะซาเลเซียน ตั้งอยู่ที่ถนนบอร์โก ซาน เปาโลของเมืองตุริน แล้วเราก็อยู่ที่นี่ จนถึงปัจจุบันนี้


เสียงเยาวชน By Andy

เสียงเยาวชน ปี 2020 เปิดศักราชมาพร้อมกับเหตุร้ายที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง... เริ่มตั้งแต่ ไฟป่าที่ออสเตรเลีย, ฝุ่น PM 2.5 ในประเทศไทย, เหตุกราดยิงที่โคราช ฯลฯ แต่ค�ำที่คนทั่วโลกขยาดและหวาดกลัวที่สุด ในขณะนี้ คงหนีไม่พน้ “โควิด-19” โรคระบาดทีน่ อกจากจะคร่าชีวติ และสุขภาพของผูค้ นทัว่ โลกแล้ว ยังส่งผลกระทบด้านต่างๆ ในสังคมมากมายอย่างไม่ปรานี ให้เราฟังความคิดเห็นของเยาวชนว่า

“เยาวชน คิดอย่างไรกับ

ผลกระทบของโควิด-19” ฐาน - ปฏิพล บุญจองรัตน์ อายุ 18 ปี

Than

ผมคิดว่าการระบาดของโควิด-19 มีผลกระทบอย่างรุนแรงกับทุกคน ไม่ว่าจะเกี่ยวกับ การด�ำเนินชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม ทุกคนหวาดกลัวและไม่รู้ว่ามันจะสิ้นสุดเมื่อไร แม้ว่า จะมีผลเสียทีเ่ กิดขึน้ มากมาย มันก็มผี ลดีทเี่ กิดขึน้ ด้วยเช่นกัน เพราะการระบาดของโควิด-19 ท�ำให้ผมและทุกๆ คนได้อยู่ที่บ้านมากขึ้น ผู้คนเดินทางน้อยลงท�ำให้ลดมลพิษ เป็นเหตุให้ ธรรมชาติ อากาศ ทะเลได้ฟื้นตัว ดูสะอาดขึ้น นอกนั้น การระบาดของโควิด-19 ช่วยให้ผม รู้จักประหยัด และใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น เรียกได้ว่าพลิกวิกฤตโรคระบาดให้เป็น โอกาส ผมขอให้เราทุกคนอยู่บ้าน หยุดโรคเพื่อสังคมและคนที่เรารักครับ May-June 2020

7


ไมลา - มลธกานต์ หมื่นระย้า อายุ 17 ปี

Maila

การระบาดของโควิด-19 นี้ ท�ำให้หนูคิดถึงบรรดาหมอและพยาบาลมากที่สุด เพราะต้อง เผชิญกับโรคและต้องรักษาผูป้ ว่ ยโดยตรง อีกทัง้ อุปกรณ์ปอ้ งกันทางการแพทย์กอ็ าจมีไม่เพียงพอ ท�ำให้หมอและพยาบาลต้องเสี่ยงมากขึ้นในการดูแลตัวเอง บุคคลเหล่านี้มีใจเสียสละอย่างมาก หนูอยากจะขอบคุณและให้ก�ำลังใจคุณหมอและพยาบาลทุกคนที่เสียสละเพื่อส่วนรวม และท�ำ เพื่อพวกเราทุกคนมากขนาดนี้

ก้อง - ก้องภพ บุตรโคตร อายุ 15 ปี

Kong

การระบาดของโควิด-19 มีผลกระทบต่อชีวิตประจ�ำวันและโปรแกรมต่างๆ ของผม ไม่ว่า จะเป็นเรือ่ งของการเรียนพิเศษภาคฤดูรอ้ นและการเรียนพิเศษตามสถาบันกวดวิชาต่างๆ ซึง่ ผมต้องเปลี่ยนไปเรียนแบบออนไลน์แทน นอกนั้น ที่บ้านของผมต้องยกเลิกการไปเที่ยวต่าง จังหวัดในช่วงปิดเทอมเพราะสถานการณ์ไม่เอื้ออ�ำนวย ในเรื่องนี้ ผมคิดว่า ตัวผมเองได้รับ ผลกระทบไม่มากนักเมื่อเทียบกับอีกหลายคนที่ได้รับผลกระทบหนักกว่าผมเยอะ เช่น คนที่ ตกงาน คนที่ไร้บ้าน คนที่ไม่มีข้าวกิน ฯลฯ ผมรู้สึกเห็นใจคนเหล่านี้ สิ่งที่ผมท�ำได้ในเวลานี้ ก็คือ พยายามรักษาสุขภาพและใส่หน้ากากอนามัย เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค

กุล - กุลธิดา สุสิริรัตน์จรัส อายุ 19 ปี

Kul

โดยส่วนตัวแล้ว หนูรสู้ กึ กลัวทีจ่ ะติดเชือ้ Covid-19 มาก เนือ่ งจากหนูเดินทางกลับมาเยีย่ มบ้าน ท�ำให้ต้องกักตนเองเป็นเวลา 14 วัน ความรู้สึกในเวลานั้นคือเหงาและรู้สึกเหมือนว่า ตัวเองเป็นเชื้อโรคร้ายที่สามารถแพร่กระจายได้ตลอดเวลา ในช่วงนั้น หนูต้องท�ำอะไรด้วย ตัวคนเดียว รวมทั้งแยกของใช้ทุกอย่างเป็นส่วนตัว ที่ส�ำคัญกว่านั้นคือ ไม่ได้ไปร่วมมิสซา ทั้งๆ ที่วัดก็อยู่ใกล้บ้าน ท�ำให้จิตใจของหนูอ่อนแอลง แต่เมื่อมีเวลาได้อยู่กับตนเองเงียบ ๆ หนูก็ได้ยินเสียงของพระเจ้า ท�ำให้หนูมีความเชื่อความศรัทธามากขึ้น หนูไม่รู้สึกโดดเดี่ยว เหมือนก่อน เพราะหนูเชือ่ ว่าพระเจ้าจะอยูเ่ คียงข้างหนูเสมอไม่วา่ จะในสถานการณ์ไหนก็ตาม

ดริว - ภูริพัฒน์ สิทธิวงศ์ อายุ 18 ปี

Drew

รัฐบาลได้ออกแนวปฏิบตั หิ ลายอย่างเพือ่ ยับยัง้ การระบาดของโควิด 19 ไม่วา่ จะเป็นการ รักษาระยะห่างทางสังคม การอยู่บ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การล้างมือ การกักตนเอง ฯลฯ เพื่อลดอัตราการเเพร่เชื้อ แต่ก็มีบางคนที่เห็นแก่ตัว ไม่ท�ำตาม และที่หนักกว่าก็คือ บางคนหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของคนอื่น เช่น กักตุนหน้ากากอนามัย กักตุน สินค้า ผมคิดว่าบุคคลเหล่านี้เห็นผลประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม พวกเขา ควรจะรับผิดชอบต่อสังคม มีเมตตา ช่วยเหลือซึ่งกันเเละกัน เพื่อประเทศไทยจะได้ผ่าน วิกฤตไปได้อย่างรวดเร็ว ผมขอให้ทุกคนปลอดภัยจากโควิด-19 ครับ

8

db Bulletin


“ สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรง ร�ำพึงและไตร่ตรองเรือ่ ง “พระเยซูคริสต์ ระงับลมพายุ” (มก 4: 35-41) ใน โอกาสที่ ท รงอวยพรเพื่ อ รั บ พระคุ ณ การุณย์แก่ชาวเมืองและชาวโลก (URBI ET ORBI ) หน้ามหาวิหารนักบุญเปโตร เมื่อเย็นวันศุกร์ ที่ 27 มีนาคม 2020 ว่า ...เฉกเช่นบรรดาศิษย์ในพระวรสารที่ เผชิญพายุ พวกเราโดนจูโ่ จมอย่างไม่ทนั รูต้ วั จากพายุรุนแรงที่พวกเราไม่คาดฝันว่าท�ำให้ ชีวิตวุ่นวายปั่นป่วยถึงเพียงนี้ พวกเราต่างก็ รูส้ กึ ว่าอยูใ่ นเรือล�ำเดียวกัน เราทุกคนมีความ อ่อนแอ และไม่รู้จะท�ำอย่างไร แต่ในขณะ เดียวกันที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นที่สุด คือ เราทุกคนช่วยกันออกแรงพายเรือ เราแต่ละ คนจ� ำ เป็ น ต้ อ งคอยให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ และ บรรเทาซึ่งกันและกัน เราทุกคนอยู่ในเรือ ล�ำนั้น เช่นเดียวกับศิษย์เหล่านั้นที่เป็นทุกข์ ร้อนใจ ต่างก็รอ้ งตะโกนเป็นเสียงเดียวกันว่า “เราก�ำลังจะตายกันอยูแ่ ล้ว” (ข้อ 38) พวกเรา ก็เช่นเดียวกัน เราแต่ละคนรู้สึกว่าเราไม่ สามารถจริงๆทีจ่ ะคิดด้วยตัวตนเองอีกต่อไป จ�ำเป็นต้องช่วยกันคิด ร่วมจิตร่วมใจเท่านั้น นี่เป็นการง่ายที่จะเข้าใจตัวเราเองจาก เรื่องเล่าในพระวรสารตอนนี้ สิ่งที่ยากกว่า คือการที่จะท�ำความเข้าใจในทัศนคติหรือ ท่าทีของพระเยซูคริสต์ ในขณะที่บรรดา ศิษย์ของพระองค์ต่างพากันตกอกตกใจจน สิ้นหวัง พระองค์ทรงก้าวไปยังหัวเรือซึ่งเป็น ส่วนที่เรือนั้นก�ำลังจะจมลงก่อน จากนั้น พระองค์ ท รงกระท� ำ อะไร? แม้ พ ายุ รุนแรงก็ต้องสยบขณะที่คลื่นลมแรงโถมใส่

REPORT

ในเรือ ล�ำเดียวกัน”

พระองค์ก็ทรงหลับสบาย พระองค์ทรงวาง พระทัยในพระบิดา นีเ่ ป็นครัง้ เดียวทีพ่ วกเรา เห็นพระเยซูคริสต์ทรงนอนหลับในพระวรสาร เมื่อพระองค์ทรงตื่นจากบรรทม พระองค์ ทรงสยบคลื่ น ลม จากนั้ น พระองค์ ท รง หั น ไปยั ง บรรดาศิ ษ ย์ ต� ำ หนิ พ วกเขา “พวกท่านกลัวอะไร ท่านไม่มีความเชื่อ ดอกหรือ?” (ข้อ 40) ขอให้พวกเราท�ำความ เข้าใจอย่างดี การขาดความเชื่อของบรรดา ศิษย์คืออะไร เมื่อเทียบกันกับความไว้วางใจ ของพระเยซูคริสต์ พวกเขาไม่ได้เลิกเชือ่ ใน พระองค์ ความจริงแล้วพวกเขาเรียกหา พระองค์ ดูซิว่าพวกเขาเรียกหาพระองค์ อย่างไร “โอ้ พระอาจารย์ พระองค์ไม่สนใจ ดอกหรือ หากพวกเราต้องตายไป?” (ข้อ 38) พระองค์ไม่ใส่ใจดอกหรือ? พวกเขาคิดว่า พระเยซูคริสต์ไม่สนใจพวกเขา ไม่สนใจเรื่อง ที่เกี่ยวกับพวกเขา สิ่งหนึ่งที่ท�ำให้พวกเรา และครอบครัวของเราเป็นทุกข์ เจ็บปวดทีส่ ดุ

เพื่อสะท้อนความคิดเห็นของประชาชน “กรณีโควิด-19” สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ได้สำ� รวจ ความคิดเห็นของประชาชนทัว่ ประเทศ จ�ำนวน ทั้งสิ้น 1,457 คน ระหว่างวันที่17-21 มีนาคม 2563 สรุปผลได้ ดังนี้ว่า ประชาชนคิดว่าสถานการณ์ โควิด-19 ของประเทศไทย ณ วันนี้มีผล อย่างมาก 86.68% เพราะ ส่งผลกระทบทุกด้าน โดยเฉพาะการด�ำเนินชีวิต ประจ�ำวัน เสียสุขภาพจิต สุขภาพอนามัย เศรษฐกิจของประเทศ การท่องเที่ยว การค้าลงทุนเสียหายอย่างหนัก ประชาชนท�ำมาหากิน ค้าขายไม่ได้ ขาดรายได้ ถูกเลิกจ้าง ลดโอที ลดเงินเดือน ฯลฯ

คือเมื่อพวกเราได้ยินคนที่พูดว่า “เธอไม่ สนใจเกี่ยวกับฉันหรือ?” นี่แหละเป็นค�ำที่ สร้างบาดแผลและก่อให้เกิดพายุในหัวใจ ของพวกเรา ซึ่งท�ำให้พระเยซูคริสต์สะเทือน พระทัยด้วย เพราะว่ายิ่งกว่าผู้ใดพระองค์ ทรงสนใจ ใส่ ใจเราแต่ ล ะคน อั น ที่ จ ริ ง เมือ่ พวกเขาร้องเรียกหาพระองค์ พระองค์กท็ รง ช่วยบรรดาศิษย์ของพระองค์ให้หายจากการ หมดก�ำลังใจ ให้หายจากความทุกข์กงั วลใจ... ...ขอพระองค์ โ ปรดตรั ส กั บ พวกเรา อีกครัง้ หนึง่ ว่า “จงอย่าได้กลัวเลย” (มธ. 28: 5) พร้ อ มกั บ นั ก บุ ญ เปโตร พวกเราขอมอบ ความวางใจไว้กับพระองค์ เพราะพระองค์ ทรงสนพระทั ย และทรงใส่ พ ระทั ย ดู แ ล พวกเราจนถึงที่สุด (เทียบ 1 ปต. 5:7)

(อ้างอิง: วิษณุ ธัญญอนันต์ - เก็บบทร�ำพึงและการไตร่ตรองของ พระสันตะปาปาฟรังซิส เพื่อมาแบ่งปันและไตร่ตรองในการเผชิญพายุแห่งชีวิต)

จ�ำนวน 13.32% คิดว่ามีผลอยู่บ้างเพราะเป็นเรื่องใกล้ตัว เกี่ยวข้องกับ สุขภาพ แพร่เชื้อได้ง่าย เมื่ออยู่ในที่สาธารณะต้องระมัดระวังตัวมากขึ้น ติดตาม ข้อมูลข่าวสาร อย่างต่อเนื่อง ไม่วิตกกังวลเกินไป ฯลฯ

อ้ า ง : https://www.thairath.co.th/news/politic/1800993โควิ ด -19ระบาด ส่งผลกระทบคนไทยทุกด้าน-วิตกหนัก May-June 2020

9


พระวาจาในชีวิตประจำ�วันของคริสตชน Text: คุณพ่อฟรังซิส ไกส์ ซดบ

พระวาจาในชีวิตประจ�ำวัน ของคริสตชน

เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 ซึ่ง เป็นวันที่คริสตชนระลึกถึงนักบุญเยโรม ผูม้ คี วามรูล้ กึ ซึง้ และรักพระคัมภีรอ์ ย่างมาก สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส ทรง ประกาศพระสมณลิขิต “พระองค์ทรง ท�ำให้เขาเกิดปัญญา” (Aperuit Illis) หัวข้อดังกล่าวนี้มาจากการกระท�ำของ พระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพ ก่ อ นเสด็ จ สู ่ ส วรรค์ ว ่ า “พระองค์ ท รง ท�ำให้เขาเกิดปัญญาเข้าใจพระคัมภีร์” (ลก 24:45) พระสมณลิขติ ฉบับนีส้ บื เนือ่ ง มาจากค� ำ สั่ ง สอนของพระธรรมนู ญ พระสัจธรรมเรื่อง “การเปิดเผยความ จริงของพระเจ้า” (Dei Verbum) ของ

10

db Bulletin

สภาสังคายนาวาติกันที่ 2 ซึ่งส่งเสริม การศึกษาพระวาจาของพระเจ้า และสืบเนือ่ ง มาจากผลงานของสมั ช ชาพระสั ง ฆราช (Synod) ที่ ส มเด็ จ พระสั น ตะปาปา เบเนดิกต์ที่ 16 ทรงเรียกประชุมในปี 2551 โดยมีหัวข้อที่ว่า “พระวาจาของพระเจ้า ในชีวติ และในภารกิจของพระศาสนจักร” และยังสืบต่อเนื่องมาจากพระสมณลิขิต เตือนทีว่ า่ “พระวาจาขององค์พระผูเ้ ป็นเจ้า” (Verbum Domini) ทีส่ มเด็จพระสันตะปาปา เบเนดิกต์ที่ 16 ทรงเขียนเพื่อรวบรวม ผลงานของสมัชชาพระสังฆราชในครัง้ นัน้ ในพระสมณลิขติ “พระองค์ทรงท�ำให้ เขาเกิดปัญญา” สมเด็จพระสันตะปาปา

ฟรังซิสทรงก�ำหนดให้ทกุ ปีในวันอาทิตย์ ทีส่ ามเทศกาลธรรมดาในเดือนมกราคม เป็ น “วั น อาทิ ต ย์ แ ห่ ง พระวาจาของ พระเจ้า” เพราะ “เป็นช่วงเวลาเหมาะสม ของปี เมื่อเราได้รับเชิญให้กระชับความ สัมพันธ์กับชาวยิวและอธิษฐานภาวนา เพือ่ เอกภาพของคริสตชน” (AI 3) สมเด็จ พระสันตะปาปาทรงเน้นคุณค่าสูงส่งของ พระวาจาทั้งหมดที่พระคัมภีร์เป็นพยาน และธรรมประเพณีถ่ายทอดสืบต่อกันมา ทุกวันนี้ พระศาสนจักรตักตวงพละก�ำลัง แสงสว่าง และความเข้มแข็ง จากพระวาจา และศีลมหาสนิท เราเป็นเหมือนประชากร ทีเ่ งีย่ หูอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ฟังเสียงของผูน้ ำ�


ในการเดินทางมุ่งสู่การเผยแผ่และการ สร้างพระอาณาจักรของพระเจ้าตั้งแต่ บนแผ่นดินนี้ การเดินทางมุ่งสู่อนาคตนี้เรียกร้อง ความมุ่งมั่นและความคิดสร้างสรรค์ใน การแบ่งปันพระวาจาของพระเจ้า เพื่อ จะได้เจริญเติบโตในหมู่ผู้มีความเชื่อและ ในพระศาสนจั ก ร ดั ง ที่ พ ระสมณลิ ขิ ต “พระองค์ ท รงท� ำ ให้ เขาเกิ ด ปั ญ ญา” ยืนยันว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ พระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพ กั บ ชุ ม ชนที่ มี ค วามเชื่ อ และพระคั ม ภี ร ์ เป็นองค์ประกอบทีจ่ ำ� เป็นของเอกลักษณ์ คริสตชน” (AI 1) พระธรรมนูญเรื่อง “การเปิ ด เผยความจริ ง ของพระเจ้ า ” (Dei Verbum) ได้รื้อฟื้นความคิดของ บรรดาปิตาจารย์อกี ครัง้ หนึง่ เมือ่ เขียนว่า “ธรรมประเพณีทมี่ าจากอัครสาวกยังคง ก้าวหน้าต่อไปในพระศาสนจักร อาศัย ความช่วยเหลือของพระจิตเจ้า นั่นคือ ความเข้าใจถึงเรือ่ งราวและถ้อยค�ำทีส่ อน ต่อๆ กันมานั้นเพิ่มพูนขึ้นทั้งอาศัยการ ร�ำพึงพิจารณา และการศึกษาของบรรดา ผู้มีความเชื่อที่เก็บรักษาสิ่งเหล่านี้ไว้ใน จิตใจ ทั้งอาศัยความเข้าใจลึกซึ้งเกี่ยวกับ ความจริงทางจิตใจที่เขามีประสบการณ์ ทั้ ง อาศั ย การประกาศสอนของบรรดา ผูส้ บื ต�ำแหน่งพระสังฆราชต่อๆ มา โดยมี พระพรพิเศษที่จะประกันความจริงด้วย” (DV 8) พระวาจาของพระเจ้าจึงเจริญ เติบโตในพระศาสนจักร ปลายศตวรรษทีห่ ก สมเด็จพระสันตะปาปา นักบุญเกรโกรีผยู้ งิ่ ใหญ่เคยสอนว่า “ชุมชน ของพระศาสนจักรทั้งหมดต้องมีบทบาท ในการประกาศและการเข้าใจพระวาจา ของพระเจ้ามากยิ่งขึ้น และนักบุญยอห์น ครีโซสตมตักเตือนฆราวาสว่า “บางคน อาจพู ด ว่ า ฉั น ไม่ เ ป็ น นั ก บวช มี คู ่ สมรสและบุตร ต้องเอาใจใส่ดูแลบ้าน

นี่เป็นถ้อยค�ำที่ท�ำลายทุกอย่าง คือคิดว่า การอ่านพระคัมภีรเ์ ป็นหน้าทีข่ องนักบวช เท่านัน้ แต่ทา่ นทัง้ หลายสิมคี วามต้องการ มากกว่าเขาอีก” น่าเสียดายเป็นเวลานาน ทีบ่ รรดาฆราวาสเลือกด�ำเนินชีวติ ฝ่ายจิต แบบเด็ก โดยพอใจในการท่องข้อค�ำสอน แทนที่จะสัมผัสพระคัมภีร์ นักบุญเยโรม เคยยื น ยั น ว่ า “การไม่ รู ้ พ ระคั ม ภี ร ์ คือการไม่รจู้ กั ของพระคริสตเจ้า” (DV 25) “พระคัมภีร์มิใช่เป็นมรดกของเพียง บางคน ยิ่งกว่านั้น มิใช่เป็นการรวบรวม หนั ง สื อ ต่ า งๆ ไว้ เ พื่ อ ประโยชน์ ข อง อภิสิทธิ์ชนเพียงบางคน แต่พระคัมภีร์ เป็นกรรมสิทธิ์ของประชากรพระเจ้าที่ ถูกเรียกให้มาชุมนุมกันเพือ่ ฟังและยอมรับ พระวาจานั้ น บางครั้ ง อาจมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะพยายามผู ก ขาดพระคั ม ภี ร ์ ไว้ กั บ บุคคลบางกลุ่ม ซึ่งจะเป็นเช่นนั้นไม่ได้ พระคัมภีร์เป็นหนังสือส�ำหรับประชากร ที่ผ่านจากสภาพการกระจัดกระจายและ การแตกแยกไปสู ่ เ อกภาพในการฟั ง พระวาจา พระวาจาของพระเจ้ารวบรวม ผู้มีความเชื่อให้เป็นประชากรหนึ่งเดียว ของพระเจ้า” (AI 4) น่าเสียดายทีค่ ริสตชนส่วนใหญ่ไม่รจู้ กั พระคัมภีรเ์ ท่าทีค่ วร ทัง้ ๆ ทีเ่ ป็นหนังสือซึง่ ตี พิ ม พ์ แ ละแพร่ ห ลายมากที่ สุ ด ในโลก บางทีเป็นหนังสือทีเ่ ก็วางอยูบ่ นหิง้ มีฝนุ่ จับ เพราะไม่ มี ใ ครหยิ บ มาอ่ า น สมเด็ จ พระสันตะปาปาฟรังซิสทรงเชิญชวนเรา ให้ถอื พระคัมภีรท์ กุ วันเท่าทีจ่ ะท�ำได้ เพือ่ จะได้หล่อเลี้ยงค�ำอธิษฐานภาวนา เรา ต้องรูจ้ กั ใช้เพลงสดุดใี ห้เป็นวิธกี ารส�ำคัญ ในการอธิษฐานภาวนา เพราะเพลงสดุดี แต่ละบทชวนเราให้คิดถึงสถานการณ์ ของคริสตชนและชีวติ ของมนุษย์แต่ละคน การร�ำพึงไตร่ตรองพระคัมภีรโ์ ดยวิธกี าร Lectio divina ช่วยเราให้เห็นว่าพระวาจา ของพระเจ้ า มี ค วามหมายส่ อ งสว่ า ง

ชีวติ มนุษย์ แต่เหนือสิง่ อืน่ ใด พระวาจาของ พระเจ้าเร้าใจเราให้เป็นพยานถึงความรัก ของพระเจ้ า ในการช่ ว ยเหลื อ บรรดา พี่น้องที่อยู่ในความต้องการ ด้วยเหตุนี้ สมเด็จพระสันตะปาปาจึงทรงเชิญชวนเรา ให้ระลึกถึงอุปมาเรื่องเศรษฐีกับลาซารัส คริ ส ตชนทุ ก คนได้ รั บ เชิ ญ ให้ มี ใ จ เลือ่ มใสศรัทธาต่อพระคัมภีร์ โดยการอ่าน น�ำมาปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน เคารพรัก ท�ำให้เป็นศูนย์กลางของชีวิตและชุมชน ซึง่ เป็นกระบวนการทีต่ อ้ งใช้เวลายาวนาน “ผู้ที่ได้รับการหล่อเลี้ยงประจ�ำวันจาก พระวาจาของพระเจ้า ก็จะท�ำตนเป็น เพื่ อ นร่ ว มสมั ย กั บ บุ ค คลที่ เขาพบดั ง ที่ พระเยซูเจ้าทรงกระท�ำ” (AI 12)

May-June 2020

11


สัมภาษณ์คุณพ่อยอห์น วิสเซอร์ By กุหลาบป่า

คุณพ่อยอห์น วิสเซอร์ “หัวใจที่ใหญ่กว่าตัว”

12

db Bulletin

คุณพ่อ Johan Sybren Visser หรือ คุณพ่อยอห์น วิสเซอร์ เกิดวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ.1933 ทีเ่ มืองสเนก จังหวัดฟรีสลันด์ ทางตอนเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ ในครอบครัว คาทอลิกที่มีความศรัทธา บิดาของคุณพ่อเป็นข้าราชการที่ ดูแลการก่อสร้างของเทศบาล ส่วนมารดาเป็นแม่บ้าน คุณพ่อเป็นบุตรคนที่ 2 ในจ�ำนวนพี่น้อง 8 คน


วัยเด็กที่ไม่เคยคิดจะเป็นพระสงฆ์ ตั้งแต่เป็นเด็กไม่คิดอยากเป็นพระสงฆ์ อยาก เป็นคนถีบสามล้อ ไม่ค่อยชอบหน้าเด็กช่วยมิสซาอีก ต่างหาก ระหว่างปิดภาคเรียน มีโอกาสไปอยู่กับยาย ทีห่ มูบ่ า้ นเล็ก ๆ มีคณ ุ พ่อและกลุม่ บราเดอร์ซาเลเซียน มาน�ำเด็ก ๆ และเยาวชนในหมู่บ้านท�ำกิจกรรม จัดการละเล่นสนุกสนาน จึงรู้สึกชอบ ปี ค.ศ.1946 บิดาได้งานใหม่ เป็นข้าราชการใน งานก่อสร้าง ดูแลสมบัติของเทศบาลเมือง แม่เป็น แม่บ้าน ดูแลลูก 8 คน ผมเป็นคนที่หัวรุนแรงที่สุดใน ครอบครัว ชอบกีฬา ทุกคนแปลกใจทีผ่ มคิดอยากเป็น พระสงฆ์ เห็นว่าซาเลเซียนดีที่สุด จึงไปเข้าบ้านเณร ซาเลเซียน ปฏิญาณเป็นนักบวชซาเลเซียนครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 1954 ครั้นปี 1956 ได้ขอเป็นธรรมทูต มี จดหมายจากคุณพ่อทีด่ แู ลธรรมทูตให้ไปสยาม ผมไม่รวู้ า่ สยามอยู่ที่ไหน มีคนขายของคนหนึ่งบอกว่าสยามมี ของดี ๆ ธรรมทูตมิใช่ทำ� งานโดดเดีย่ วแต่ไปกันเป็นกลุม่ เพื่อเตรียมตัวเป็นธรรมทูตจึงต้องไปเบลเยี่ยม ที่นี่ ได้พบคุณพ่อกุสตาฟ โรเซ่น คุณพ่อเจ้าคณะแขวง เบลเยีย่ มน�ำกลุม่ นีไ้ ปโรมก่อน ไปอยูท่ วี่ หิ ารพระหฤทัย ซึ่งคุณพ่อบอสโกได้สร้าง ไปเที่ยววาติกัน เข้าเฝ้า พระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 12 แล้วไปตุริน จึงได้พบอีก หลายคนที่เตรียมจะมาเป็นธรรมทูตที่สยามเช่นกัน เมือ่ มาถึงกรุงเทพ คุณพ่อยอห์น อุลลิอานา ให้ไปพัก ทีศ่ าลาแดง ท�ำเอกสารเข้าเมืองให้เรียบร้อย เสร็จแล้ว ก็ เริ่ ม ฝึ ก งานในแดนธรรมทู ต งานแรกก็ คื อ ดู แ ล นักเรียนประจ�ำ 200 คน ที่โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย บ้านโป่ง จ.ราชบุรี อยู่กับเด็กตลอดเวลา โดยไม่ใช้ ความรุนแรง ปฏิญาณตลอดชีพเมือ่ วันที่ 25 มีนาคม 1960 ช่วงเวลา เรียนเทวศาสตร์ชา่ งท้าทายกระแสเรียกธรรมทูตจริง ๆ

ผมไปเรียนทีอ่ นิ เดีย พบกับสงครามกลางเมือง ต้องย้ายลง ไปเรียนทางใต้ ญาติทฮี่ อลแลนด์กเ็ ป็นห่วง ขอร้องให้กลับ ไปเรียนทางยุโรป คุณพ่อเปโตร เยลลีชี เจ้าคณะแขวงไทย ก็ใจดี จัดให้ไปเรียนต่อที่เยอรมัน เรียนจบแล้วก็บวชเป็น พระสงฆ์ทเี่ ยอรมันนัน่ เอง พร้อมเพือ่ นชาวฮอลันดาอีก 3 คน เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ.1964 ด้วยประสบการณ์ย้ายถิ่นฐานการเรียน คุณพ่อจึงพูด ได้หลายภาษา ทั้งอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาเลียน กัสซี (ภาษาท้องถิ่นในอินเดีย) รวมทั้งภาษาไทย และ ต่อมาภาษาเขมรในแดนธรรมทูตบั้นปลายชีวิตอีกด้วย หลังจากบวชเป็นพระสงฆ์ กลับมาเมืองไทยถิ่นเคยอยู่ เป็นคุณพ่อศึกษาที่โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย 2 ปี แล้ว ย้ายไปโรงเรียนแสงทองวิทยา หาดใหญ่ 9 ปี ที่นี่ได้ขอทุน จากประเทศฮอลันดามาสร้างอาคารเรียนถาวร 3 ชั้นที่อยู่ จนถึงปัจจุบัน สร้างมิตรภาพสานสัมพันธ์กับองค์กรทุน ปี 1973 ไปศึกษาต่อด้านชีวิตจิต (Spirituality) ที่โรม คิดว่ากลับมาจะเป็นผู้อบรมหรืออธิการเณร แต่เป็น อธิการที่โรงเรียนอาชีวะดอนบอสโกกรุงเทพฯ จึงเป็น ช่วงเวลาทีจ่ ะต้องท�ำโครงการพัฒนาใหญ่อกี ได้ขอทุนจาก รัฐบาลเบลเยี่ยมและฮอลันดา เพื่อสร้างอาคาร เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทันสมัย วั น ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงเปิดอาคารฝึกงานช่างกล โรงงานและตึกอาคารเรียนห้าชั้น พร้อมทั้งได้เสด็จ พระราชด�ำเนินทอดพระเนตรกิจการต่างๆ ของโรงเรียน ทุกแผนก นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อนักเรียนและคณะ ผู้บริหารโรงเรียนอย่างหาที่เปรียบมิได้ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเปิดศูนย์ฝึกวิชาชีพ ดอนบอสโก กรุงเทพฯ และทอดพระเนตรแผนก ช่างต่างๆ

May-June 2020

13


สมเด็จพระบรม โอรสาธิกราช สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จแทนพระองค์ เปิดอาคารของโรงเรียน อาชีวะดอนบอสโก บ้านโป่ง อย่างเป็นทางการ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ.2528

ครั้ น จบวาระแล้ ว ก็ ไ ปบ้ า นโป่ ง เริ่ ม สร้ า งโรงเรี ย นอาชี ว ะส� ำ หรั บ เด็กยากจน ก็ตอ้ งไปต่างประเทศหาทุนอีก ด้วยความร่วมมือของหลายๆ ฝ่าย รวมทั้งศิษย์เก่าดอนบอสโกในกรุงเทพฯ และคนส�ำคัญซึ่งไปพบที่สุสาน ทหารนานาชาติกาญจนบุรี จึงได้งบประมาณเพียงพอที่จะสร้างอาคาร ท� ำ ให้ โรงเรี ย นเสร็ จ สมบู ร ณ์ และเริ่ ม ด� ำ เนิ น การได้ ภ ายใน 2 ปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส มเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ก ราชสยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เสด็จแทนพระองค์เปิดอาคารของโรงเรียนอย่างเป็นทางการ โดยพระองค์ ทรงเปิ ด แพรคลุ ม ป้ า ยชื่ อ “โรงเรี ย นอาชี ว ะดอนบอสโก บ้ า นโป่ ง ” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ.2528 ท่ามกลางความปลื้มปิติเป็น ที่สุดของคณะผู้บริหาร คณะครู และนักเรียนที่เฝ้ารับเสด็จฯ ครัน้ โรงเรียนอาชีวะดอนบอสโก หัวโป่ง เป็นรูปเป็นร่างเรียบร้อยแล้ว ปี 1985 ก็ลอ่ งใต้ไปเป็นอธิการโรงเรียนแสงทองวิทยา หาดใหญ่ อยู่ 3 ปี แล้ว จึงมารับงานใหญ่ในสังฆมณฑลสุราษฎร์ธานี เมือ่ ปี 1988 ในสมัย ฯพณฯ ประพนธ์ ชัยเจริญ เป็นเหรัญญิกของสังฆมณฑล และที่ชอบมากคือเป็น เจ้าอาวาสอาสนวิหารราฟาเอล ได้ท�ำงานอภิบาลกับสัตบุรุษอย่างใกล้ชดิ เด็ก ๆ สุราษฎร์ ประทับใจ “ฝรั่งร่างใหญ่ ใจดี พูดหวาน น่าพูดคุยด้วย” ใครๆเห็ น ท่ า นเป็ น คนมี “หั ว ใจที่ ใ หญ่ ก ว่ า ตั ว ” เมื่ อ ได้ พ บ ขณะที่ ท่ า นออกไปเยี่ ย มบ้ า นสั ต บุ รุ ษ ทั้ ง ในเมื อ ง นอกเมื อ ง อ� ำ เภออื่ น ๆ รวมไปถึงในสวน ชาวบ้านยังประทับใจภาพที่คุณพ่อนั่งเรือส�ำปั้นล�ำใหญ่ มีคนตัวเล็กพายท้าย พาคุณพ่อไปจอดท่าน�้ำบ้านคริสตชนคลองขุนทะเล และสมหวัง เป็นบรรยากาศที่หายากทีเดียว

14

db Bulletin


ขยายงานแขวงไทยไปกัมพูชา ปี 1991 คุณพ่อวอลเตอร์ บริโกลิน และ บราเดอร์ โรเบิ ร ์ ต ได้ เริ่ ม ไปดู ง านที่ กั ม พู ช า และปี ต ่ อ มา คุณพ่อประธาน ศรีดารุณศีล เจ้าคณะแขวงก็อยากให้ ไปเป็นอธิการบ้านใหม่ทกี่ มั พูชา เราไปเป็นกลุม่ 5 คน ซื้อที่ดิน สร้างรั้วล้อมอาณาบริเวณเพื่อสร้างโรงเรียน บ้านพักส�ำหรับฝึกอาชีพเด็กผู้ด้อยโอกาส เราท�ำงาน ประสานกับรัฐบาลกัมพูชา องค์กรทุนต่างประเทศ อาสาสมัครจากที่ต่างๆ และแขวงไทยอย่างต่อเนื่อง อี ก ทั้ ง ขยายงานออกไปอี ก จนถึ ง ปั จ จุ บั น มี 4 บ้ า น เท่ากับว่ามาเป็นธรรมทูตในประเทศไทยแต่ได้ขยาย ไปเป็นธรรมทูตในกัมพูชาโดยปริยาย

วิธีการประกาศพระวรสาร พ่อสอนค�ำสอนให้เด็กๆ ที่อยู่กับเรา ชาวกัมพูชานับถือผี (Spirit) จิตต่างๆ ทีม่ อี ยูท่ วั่ ไป สอนเขาให้รจู้ กั พระวาจาของพระเจ้า พระเจ้าเป็นจิต สถิตอยูท่ วั่ ไปเช่นเดียวกัน แม้ในระยะเริม่ แรกในบรรดานักเรียนประจ�ำ 80 คน มีเด็กคาทอลิกเพียงคนเดียว พ่อก็สอนค�ำสอน ต่อมามีนกั เรียนหลายคน ได้รับศีลล้างบาป เรียนจบแล้วก็เป็นครูของเราต่อไป

ในมุมมองของรัฐบาลกัมพูชา กิจการต่างๆ ของซาเลเซียนเพื่อเยาวชนเป็นที่รู้จัก ทั้งในแวดวงคนของรัฐบาลและเอกชน จึงได้รับความ ช่วยเหลือทั้งด้านการสร้างอาคารและเครื่องจักรกล คนส�ำคัญทางรัฐบาลมาเยี่ยมชมกิจการของเรา เห็น ว่าเราให้การศึกษา ช่วยเยาวชนให้มีอาชีพ เป็นคน ดี เพราะในชนบทที่ดินเป็นของกลาง ชาวบ้านมี ที่ดินท�ำกินน้อยมาก ส่วนใหญ่ ยากจน

นี่คือชีวิตของธรรมทูตที่ย�่ำไปในหลายดินแดนกว่าจะได้บวช เป็นพระสงฆ์ กว่าจะอุทิศตนมาถึงวันนี้ แม้จะมองไม่เห็นรอยเท้า บนผืนแผ่นดินที่คุณพ่อผ่านไป แต่ก็ประทับใจของหลายคนและ คงอยู่ในสายพระเนตรของพระเจ้าแล้ว ปั จ จุ บั น คุ ณ พ่ อ ยอห์ น วิ ส เซอร์ ประจ� ำ ที่ โรงเรี ย น ดอนบอสโก ปอยเปต

พลังขับเคลื่อนในชีวิต พลังของพ่อมาจากการร�ำพึงภาวนา ยิง่ เวลานีอ้ ายุมากขึน้ ท�ำงานน้อยลง ให้เวลาสวดภาวนามากขึ้น หน้าที่หลักของพ่อเวลานี้คือ สวดภาวนา จะ สวดท�ำวัตรของพระสงฆ์ครบทุกวัน พ่อมีความสุขในชีวติ ซาเลเซียน ในงาน ธรรมทูต และเห็นชัดเจนว่า เราขยายงานได้มาก นอกจากอาศัยพระเจ้า แล้วยังอาศัยคนอื่นๆ อาสาสมัคร ทั้งชาวต่างชาติและชาวท้องถิ่น เช่น ใจที่จดจ่อสานงานธรรมทูตอย่างต่อเนื่อง ได้รับความร่วมมือจากทั่วประเทศกัมพูชาในกองทุนเด็กดอนบอสโก สิง่ ทีท่ า้ ทายคือ ไม่วา่ จะอยูท่ ไี่ หน ต้องใกล้ชดิ กับคน (Don Bosco Children Fund) ไม่ถือตัวว่าเราดีกว่าเขา หรือมีมากกว่าเขา ต้องอยู่ เป็นเพื่อนกับเขาเพื่อช่วยเหลือเขาอย่างจริงใจ อาศัย พ่ออยากบอก... พ่อบอสโกเป็นต้นแบบ เป็นซาเลเซียน คือ เป็นพ่อบอสโก อยากให้ศษิ ย์เก่าตระหนักถึงการด�ำเนินชีวติ ตามทีไ่ ด้รบั จากโรงเรียน อีกคนหนึ่งท่ามกลางเด็กๆ บทบาทของซาเลเซียนใน คือเป็นคนดี จะท�ำอะไรมีความรับผิดชอบ ช่วยเหลือกันและกัน เมื่อ กัมพูชาก็คือ ช่วยคนยากจนให้มีโอกาสช่วยตัวเองให้ แต่งงานมีครอบครัวไปแล้วก็อบรมดูแลลูกให้เป็นคนดี ชีวิตของเราต้อง ดีขึ้น เป็นคนดีขึ้น เสียสละ มิใช่คดิ ถึงแต่ความอยูร่ อดของตนเองเท่านัน้ แต่คดิ ถึงคนอืน่ ด้วย

Don Bosco Center P.O. Box 0140, Mittapheap Village, Sangkat Poipet, Poipet City, Banteay Meanchhey Province, Cambodia

May-June 2020

15


CTimes - Catechetical Moment by Eccomi l Illustrate: Cris

เราจะสอนลูกๆ

ให้ใกล้ชิดพระเจ้าได้อย่างไร? บิดามารดาไม่ ได้มีหน้าที่ดูแลลูกเพียงฝ่ายกายเท่านั้น แต่มีหน้าที่อบรมฝ่ายจิตใจด้วย เพราะพ่อแม่คือครูค�ำสอนคนแรกของลูก CTimes จึงขอเสนอวิธีการเพื่อช่วยลูกและเด็กๆ ให้ ใกล้ชิดกับพระเจ้า

1

ภาวนาออกเสียงในขณะตั้งครรภ์ เด็กในครรภ์ฟังเสียงของแม่ได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเป็นสิ่งส�ำคัญที่ พ่อแม่จะหาเวลาสงบเพื่อการภาวนา อาจภาวนาต่อหน้าไม้กางเขนหรือ ต่อหน้ารูปพระ โดยหาเวลาพิเศษในแต่ละวัน เพื่อสวดภาวนาไปพร้อม กับลูก แม่สามารถวางมือบนหน้าท้องเพื่อสื่อให้ลูกรับรู้ถึงการภาวนาและ ให้ลูกร่วมภาวนาไปด้วยกัน

ตั้งหิ้งพระและประดับไม้กางเขนในบ้าน ในบ้านของคริสตชนควรจะติดไม้กางเขน และรูปศักดิ์สิทธิ์ เช่น รูปพระเยซูเจ้า รูปแม่พระหรือรูปนักบุญต่างๆ ในสถานที่ที่ทุกคน ในครอบครัวมองเห็นได้ เด็กเล็กๆ เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เด็กๆ จะ ซึมซับบรรยากาศและมีความศรัทธาผ่านทางรูปต่างๆ

3 16

db Bulletin

2

สวดกับลูกๆ ก่อนไปนอน ให้ลูกๆ คุกเข่าอยู่ข้างเตียงหรือที่นอน เด็กเล็กๆ อาจสงสัยและ ซักถามเรือ่ งการสวด เราสามารถน�ำเสนอให้เด็กๆ ภาวนาเพือ่ จุดประสงค์ บางอย่าง อาจเริ่มด้วยการพูดคุยและร้องเพลง หรืออาจให้ลูกสวดตาม สอนลูกให้ท�ำส�ำคัญมหากางเขน ทั้งนี้โดยไม่ต้องใช้เวลานานเกินไป


4

พาลูกไปร่วมมิสซา

หลายคนคิดว่าเป็นการร�ำคาญที่จะน�ำเด็กเล็กๆ ไปวัด เพราะว่าเด็ก จะร้องไห้ ท�ำเสียงรบกวน ไม่อยู่นิ่งกับที่ แต่เราควรน�ำเด็กไปวัด หาก เด็กร้องไห้ เราก็ปลอบและให้นม หากเด็กเริ่มโตและซุกซน เราอาจน�ำ เด็กออกไปนอกวัดสักครูเ่ พือ่ สอนและเตือน เมือ่ เด็กสงบจึงน�ำกลับเข้ามา อย่ากังวลว่าต้องน�ำเด็กออกนอกวัดกี่ครั้ง ที่ส�ำคัญคือต้องน�ำเด็กกลับ เข้าวัดเสมอจนเขาเริ่มเข้าใจและเรียนรู้จักวางตัวที่เหมาะสม หากเด็กอยู่ในอายุรู้ความและเริ่มดื้อ ส่งเสียงและดิ้นกับพื้นเวลาอยู่ในวัด ให้บิดามารดาพูดกับลูกด้วยความอ่อนหวาน อธิบายถึงความส�ำคัญและการปฏิบัติตัวในการร่วมมิสซา บางครั้งอาจต้องใช้สายตาใน การเตือนให้เขาหยุดการกระท�ำบางอย่าง

5

สอนเด็กๆ ให้มี ใจเมตตา น� ำ เด็ ก ๆ ให้ ไ ปมี ส ่ ว นร่ ว มช่ ว ยเหลื อ คนอื่ น เข้ า ใจและ เห็ น อกเห็ น ใจเด็ ก คนอื่ น ๆ ที่ ขั ด สนและขาดแคลน อาจให้ พ วก เขามี ป ระสบการณ์ ร ่ ว มกั น เพื่ อ เรี ย นรู ้ ที่ จ ะแบ่ ง ปั น และมองเห็ น ทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่แบ่งแยกและพร้อมจะช่วยเหลือทุกคน

ให้เด็กๆ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของวัดและพระศาสนจักร ให้เด็กๆ มีส่วนร่วมในการน�ำสวด อยู่ในกลุ่มนักขับร้อง ช่วย มิสซา หรือเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มกิจกรรมต่างๆ เช่น กลุ่มเพื่อนซาวีโอ กลุ่มยุวธรรมฑูต ฯลฯ เพื่อให้เด็กๆ ซึมซับว่าพระเจ้าทรงพอพระทัยใน กิจการดีและการช่วยเหลือผูอ้ นื่ ของพวกเขา พ่อแม่ตอ้ งแสดงออกให้ลกู ๆ รู้ด้วยว่า พวกเขาภูมิใจในตัวลูกๆ ของตน

7

6

สอนให้เด็กๆ ชื่นชมธรรมชาติ ไม่จ�ำเป็นต้องพาเด็กๆ เดินทางไปเที่ยวไกล แต่ให้เด็กๆ ชื่นชมกับ ดอกไม้ ท้องฟ้า ดวงดาว ต้นไม้ ภูเขา ทะเล เชิญชวนให้เด็กๆ คิดถึง ความรักของพระเจ้า เป็นสิ่งส�ำคัญที่ให้เด็กๆ รู้ส�ำนึกว่าสิ่งสร้างรอบตัว มาจากพระเจ้า

May-June 2020

17


LOCAL NEWs By SDB Reporter

ข่าวซาเลเซียน ร่วมด้วยช่วยกัน

แจกจ่ายสเปรย์ แอลกอฮอล์ คุณพ่อบุญเลิศ ปณีตัธยาศัย อธิการบ้านซาเลเซียน สามพราน ได้นำ� สมาชิกและโปสตูลนั ต์ในหมูค่ ณะร่วมกัน บรรจุ แ อลกอฮอล์ เ พื่ อ แจกจ่ า ยให้ กั บ ผู ้ ที่ ต ้ อ งการและ ขัดสน จ�ำนวนมากกว่า 2,000 ขวด เมื่อต้นเดือนเมษายน ที่ผ่านมา

ตลอดเดือนเมษายน 2020 คุณพ่อนพดล ยอแซฟ ผู้รับผิดชอบงานอภิบาลเยาวชน ได้แจกอาหารให้กับ ผู้ที่ตกงาน และได้มอบชุด PPE, หน้ากากอนามัย และ แอลกอฮอล์ล้างมือให้กับโรงพยาบาลอ�ำเภอสามพราน, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านใหม่, สถานีอนามัย ต.ท่าข้าม นอกนั้นยังได้มอบแอลกอฮอล์ให้กับแม่ซึ่งเป็น แรงงานต่างด้าวที่น�ำลูกมาฉีดวัคซีนที่ส ถานนีอ นามั ย ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม จ�ำนวน 50 ครอบครัว

ช่วยชาวฟิลิปปินส์ที่ได้รับผลกระทบโควิด-19

“ในเรือล�ำเดียวกัน” คณะซาเลเซี ย น โดยแผนก PDO (Planning &

Development office) จัดโครงการ “ในเรือล�ำเดียวกัน” (‘We are all in the same boat’) เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ ขั ด สนและรั บ ผลกระทบจากการระบาดของโควิ ด -19 ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยการมอบอาหาร สิ่งที่ของที่ จ�ำเป็นและข้าวกล่อง ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนมาจากผูใ้ จบุญ ผ่านทาง แผนก PDO ซาเลเซียน เมือ่ เดือนเมษายน 2020

18

db Bulletin

สั ต บุ รุ ษ ชาวฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ข องวั ด แม่ พ ระองค์ อุ ป ถั ม ภ์ กรุ ง เทพกรี ฑ าได้ จั ด ถุ ง ยั ง ชี พ เพื่ อ แจกจ่ า ยให้ กั บ ชาว ฟิลิปปินส์ในเขตกรุงเทพมหานครที่ได้รับผลกระทบจาก การระบาดของโควิด-19


ร่วมสมัชชาคณะซาเลเซียนครั้งที่ 28 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ถึงวันที่ 14 มีนาคม 2020 คุณพ่อ เทพรัตน์ ปิติสันต์ เจ้าคณะแขวงฯ, คุณพ่อนิพนธ์ สาราจิตต์ และคุณพ่อโรเอล โซโต (กัมพูชา) ได้เป็นตัวแทนแขวงไทย กั ม พู ชาและลาว ร่ ว มประชุ มสมั ช ชาครั้ งที่ 28 ในหั วข้ อ “ซาเลเซียนน่าจะเป็นแบบไหนส�ำหรับเยาวชนในปัจจุบนั ” ที่ วัลด๊อกโก เมืองตุรนิ ประเทศอิตาลี โดยมีสมาชิกซาเลเซียนและ ผู้สังเกตุการณ์เข้าร่วมประชุมจากทั่วโลกจ�ำนวน 222 คน การ ประชุมดังกล่าวได้สนิ้ สุดลงก่อนก�ำหนด (ตามก�ำหนดการเดิม คื อ วั น ที่ 4 เมษายน 2020) เนื่ อ งจากสถานการณ์ การระบาดของโควิด-19 ในประเทศอิตาลี

Donbosco Cambodian’s Family โรงเรียนอาชีวะดอนบอสโกพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ได้ จั ด กิ จ กรรม “Donbosco Cambodian’s Family” โอกาสฉลองปี ใ หม่ ข องชาวกั ม พู ช าให้ กั บ นั ก เรี ย น เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2020 โดยมีกิจกรรมการเล่นเกมต่างๆ การละเล่นพื้นบ้านและการร�ำวง เพื่อเป็นการฉลองร่วมกัน

“ศิษย์เก่าซาเลเซียน” ร่วมคิดค้นชุดตรวจ COVID-19 นายธนกฤต วงษ์ ส ถิ ต ย์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า ซาเลเซี ย นจาก โรงเรียนแสงทองวิทยา จ.สงขลา เป็นหนึ่งในทีมของ ผศ.ดร. ชยสิทธิ์ อุตมาภินนั ท์ อาจารย์ของสถาบันวิทยสิรเิ มธี (VISTEC) ซึง่ สามารถใช้เทคโนโลยีขนั้ สูง ผลิตชุดตรวจจับ ไวรัส COVID 19 ได้ส�ำเร็จในเวลาอันสั้นเป็นคณะแรกๆ ของโลก เมื่อกลางเดือนมีนาคม 2020 ที่ผ่านมา

May-June 2020

19


LOCAL NEWs By SDB Reporter

ข่าวครอบครัวซาเลเซียน

“สังคมให้เรา เราให้สังคม” เมื่อเดือนเมษายน 2020 นักเรียนของศูนย์พัฒนา สมรรถภาพคนตาบอดหญิง อ.สามพราน จ.นครปฐม

ภายใต้ ก ารดู แ ลของ ซิ ส เตอร์ เ ทเรซา น�้ ำ สมบู ร ณ์ ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ฯ ระดมก�ำลังเย็บหน้ากากผ้ากว่า 600 ชิน้ ส่งมอบให้กับพนักงานเก็บขยะและเจ้าหน้าที่กวาดถนน ของเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร (และก�ำลังท�ำต่อไป...) ซิส เตอร์เทเรซา กล่าวว่า “นักเรียนผู้พิการทาง สายตาส� ำ นึ ก เสมอว่ า ทุ ก ๆ วั น พวกเขาได้ รั บ ความ ช่ ว ยเหลื อ จากสั ง คม นี่ จึ ง เป็ น โอกาสหนึ่ ง ที่ พ วกเขา จะได้ตอบแทนสังคม ซึ่งมันเป็นความสุขของการแบ่งปัน ความสุขของการให้และการรับ เราเคยมีความสุขจากการรับ ตอนนี้ เราต้ อ งมี ค วามสุ ข มากกว่ า ที่ จ ะให้ กั บ สั ง คม”

ให้รักเป็นสะพาน

วันที่ 20 เมษายน 2020 ซิสเตอร์คณะภคินพี ระราชินมี าเรีย และคณะครูโรงเรียนพระแม่มารีสาธุประดิษฐ์ กรุงเทพฯและ ครอบครัวโอเจริญชัย ร่วมแบ่งปันอาหาร แอลกอฮอล์ลา้ งมือ หน้ า กากอนามั ย ฯลฯ แก่ พี่ น ้ อ งในชุ ม ชนและผู ้ ค น ที่ สั ญ จรไปมาซึ่ ง ได้ รั บ ผลกระทบจากการระบาดของ โควิด-19 การให้สงิ่ ของเหล่านีเ้ ป็นเครือ่ งหมายถึงความรัก และความเป็นพี่น้องกัน

แจกอาหารเทีย่ งแก่บคุ ลากรทางการแพทย์ วันที่ 3 เมษายน 2020 ซ.นิตยา โจสรรค์นุสนธิ์, ครูเยาวเรศ ชาครียวณิชย์ และคุณจุฑาวรรณ อุทัยธรรม เป็นผูแ้ ทนคณะผูบ้ ริหาร คณะครู และบุคลากรทุกฝ่ายของ โรงเรียนนารีวิทยา มอบก�ำลังใจและอาหารเที่ยงให้หน่วย แพทย์พยาบาลของโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี

20

db Bulletin


บริจาค Face Shield เมื่อต้นเดือนเมษายน 2020 สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียน แสงทองวิทยา จ.สงขลา ได้ตระเวนมอบ Face Shield จ�ำนวน 500 ชิ้น ให้โรงพยาบาลหาดใหญ่, โรงพยาบาล สงขลา, โรงพยาบาลสิงหนคร, หน่วยกู้ภัยหาดใหญ่ และ อนามัยเทศบาลนครหาดใหญ่

ศิษย์เก่าโรงเรียนแสงทองฯ รุ่น 38 บริจาคอาหารและน�้ำดื่ม เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2020 กลุ่มศิษย์เก่าโรงเรียน แสงทองวิทยา รุน่ 38 อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ร่วมกันบริจาค ข้าวกล่อง และน�้ำดื่ม เพื่อช่วยคนที่รับผลกระทบจากการ ระบาดของโควิด -19 นับเป็นอีกกิจกรรมหนึง่ ทีด่ ขี องกลุม่ ศิษย์เก่าซาเลเซียนที่ท�ำความดีเพื่อสังคม

ซิสเตอร์เปาลา คีตภัทร รักบ้านไทย, ซิสเตอร์เทเรซา สไรเม็จ เมา (ชาวกัมพูชา) และซิสเตอร์อนั นา พรรณี วุยแม ได้ปฏิญาณตนครัง้ แรก โดยบิชอป โยเซฟ ประธาน ศรีดารุณศีล ประมุขเขตศาสนปกครองสุราษฎร์ธานี เป็นประธานใน พิธี พร้อมกับบิชอปยอแซฟ พิบูลย์ วิสิฐนนทชัย บรรดา บาดหลวง ซิสเตอร์มะลิวัลย์ ปรมัถต์วิโรจน์ อธิการิณี เจ้าคณะและสมาชิกที่มาร่วมพิธี ณ วัดน้อยของอาราม โรงเรียนนารีวิทยา จ.ราชบุรี

ปฏิญาณตนครั้งแรกและ ปฏิญาณตนตลอดชีวิต เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2020 โอกาสสมโภชการแจ้งสาร เรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ สมาชิกคณะภคินี ผู้รับใช้ดวงหทัยนิรมลของพระแม่มารีย์จ�ำนวน 2 ท่าน คือ ซิสเตอร์เทเรซา เจนจิรา ถวัลย์วนากร และซิสเตอร์ มารีอา ยุวดี คุ้มภัย ได้ปฏิญาณตนตลอดชีพ และ สมาชิก อีก 4 ท่าน คือ ซิสเตอร์เซซีลีอา อารีรัตน์ พร้อมไพรสุข,

May-June 2020

21


SYM คืออะไรกันแน่? เรียบเรียง : สายลมที่พัดผ่าน

SYM คืออะไรกันแน่? SYM คืออะไร และมีความส�ำคัญอย่างไร หลายคนคงอาจมีความคุ้นเคย หรือผ่านหูผ่านตามาบ้างกับค�ำว่า SYM โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเดือนตุลาคมของทุกปี ที่ฝ่ายอภิบาลเยาวชนซาเลเซียนแห่งประเทศไทยได้จัดค่ายเยาวชนที่มีชื่อว่า ค่าย “SYM” แต่ในอันที่จริงแล้ว “SYM” คืออะไรกันแน่ SYM ย่ อ มาจาก Salesian Youth Movement หรือในภาษาอิตาเลียน Movimento Giovanile Salesiano ซึ่งแปลว่า “ขบวนการ เยาวชนซาเลเซี ย น” กล่ า วคื อ เป็ น ขบวนการ ที่ มี ก ารรวมตั ว ของเยาวชนซาเลเซี ย นจาก กลุ ่ ม ต่ า งๆ ที่ อ ยู ่ ใ นสถาบั น ของคณะและ ครอบครัวซาเลเซียน เพื่อท�ำให้จิตตารมณ์และ พระพรพิเศษของคุณพ่อบอสโกได้ถกู ถ่ายทอดออก ไปโดยอาศัยเยาวชนและเพื่อเยาวชน กลุ่มเยาวชน SYM ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในโอกาส เฉลิมฉลองหนึง่ ศตวรรษแห่งมรณกรรมของคุณพ่อ บอสโกผูส้ ถาปนาและเป็นบิดาแห่งครอบครัวซาเลเซียน แม้ ว ่ า คุ ณ พ่ อ บอสโกจะมี ค วามรั ก อภิ บ าลที่ กระตือรือร้นต่อการให้การศึกษาอบรมเยาวชน แต่ท่านคงไม่เคยจินตนาการหรอกว่างานอภิบาล

เยาวชนซาเลเซียนจะมีวิวัฒนาการอย่างไรจาก ยุคหนึง่ ไปสูอ่ กี ยุคหนึง่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยุคนี้ ซึ่งเป็นยุคแห่งดิจิทัล เยาวชนซาเลเซียนจากกลุ่มต่างๆ ที่มีความ หลากหลาย และมี ลั ก ษณะเฉพาะแห่ ง การ ก่อก�ำเนิด ได้มาร่วมกันเพื่อเรียนรู้และยึดมั่น ในอุดมการณ์เดียวกันจนท�ำให้ความงดงามแห่ง พระพรพิเศษของคุณพ่อบอสโกได้ถกู เผยแผ่ออกไป จากการที่พวกเขาอุทิศตนเองเพื่อรับการอบรม แบ่งปันประสบการณ์ และร่วมสร้างสรรค์ความดีงาม ให้ กั บ พระศาสนจั ก รและโลกอย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง เป็นการท�ำให้ประสบการณ์ของ “จากเยาวชนเพือ่ เยาวชน” เป็นความจริงขึ้นมา ด้วยเหตุนี้ เอกลักษณ์ของ SYM คือการรวมตัว ของกลุ ่ ม เยาวชนหรื อ สมาคมต่ า งๆ ซึ่ ง โอบรั บ


จิ ต ตารมณ์ ซ าเลเซี ย นพร้ อ มกั บ ระบบ ป้องกันของคุณพ่อบอสโกให้ฝงั ลึกและแนบ สนิทในกลุ่มของตนเอง แม้ว่าแต่ละกลุ่ม จะมี ลั ก ษณะเฉพาะหรื อ จุ ด เน้ น ที่ แตกต่ า งกั น แต่ รู ป แบบการอบรม กิจกรรมที่สร้างสรรค์ มีความร่าเริงยินดี รวมไปถึงวิสัยทัศน์ที่เปิดกว้างจะท�ำให้ แต่ละกลุ่มเยาวชนซาเลเซียนหยั่งรากลึก อยู่ในคุณพ่อบอสโก และใช้พระพรที่มี ความหลากหลายในการรับใช้ซึ่งกันและ กัน ท�ำให้ SYM กลับกลายเป็นขบวนการ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีความงดงามและมีศกั ยภาพ ในการปลุกเร้า พร้อมกับช่วยเยาวชน ให้ค้นพบความหมายที่แท้จริงของชีวิต โดยอาศั ย การร่ ว มรั บ ประสบการณ์ อย่างมีชีวิตชีวาในพระศาสนจักร ขบวนการเยาวชนซาเลเซียนอยูภ่ ายใต้ ง า น อ ภิ บ า ล เ ย า ว ช น ซ า เ ล เซี ย น ที่ จุดยุทธศาสตร์คือการอบรมให้เยาวชน สามารถด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามวั ฒ นธรรม และสภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถิ่นได้ อย่างมีคณุ ภาพ ขบวนการเยาวชนซาเลเซียน จึ ง ช่ ว ยส่ ง เสริ ม พระศาสนจั ก รในการ ประกาศข่าวดีด้วยการให้การศึกษาและ อบรมเยาวชนโดยใช้วิธีการที่ดึงดูดของ ยุ ค สมั ย นอกนั้ น ขบวนการเยาวชน ซาเลเซี ย นจะต้ อ งมี ศู น ย์ ก ลางอยู ่ ที่ พระกายทิพย์ของพระคริสตเจ้า และน�ำพา เพื่อนพี่น้องเยาวชนอื่นๆ ให้มาด�ำเนิน ชีวิตในหมู่คณะของผู้มีความเชื่อได้อย่าง

มีชีวิตชีวา พร้อมกับแบ่งปันพรสวรรค์ที่ แต่ละคนมี มอบเป็นของขวัญแก่กนั และกัน เพื่อร่วมเดินทางจาริกแสวงบุญในโลกนี้ เดินมุ่งตรงไปข้างหน้า และสนับสนุน ซึ่ ง กั น และกั น ด้ ว ยวิ ธี ก ารเหล่ า นี้ จะ ท�ำให้ขบวนการเยาวชนซาเลเซียนเป็นอีก องค์กรหนึง่ ซึง่ มีชวี ติ ในพระศาสนจักรและ มีส่วนช่วยในการขับเคลื่อน และเปลี่ยน โลกให้ เ ป็ น ภาพลั ก ษณ์ ข องพระเจ้ า ที่ แลเห็นได้ในปัจจุบัน ในบริบทของขบวนการเยาวชนซาเลเซียน แห่งประเทศไทย คงต้องย้อนกลับไปใน สมัยทีค่ ณ ุ พ่อเลโอ โอโชวา เป็นผูร้ บั ผิดชอบ งานอภิ บ าลเยาวชนระดั บ แขวง และ เป็ น เลขาธิ ก ารสภาเยาวชนคาทอลิ ก แห่งประเทศไทย เพราะท่านเป็นบุคคล แรกที่น�ำรูป แบบของ SYM เข้ามาใน ประเทศไทย เพราะในสมัยก่อน โรงเรียน ซาเลเซียนทุกโรงเรียนจะมีกลุ่มเยาวชน ที่เรียกว่า “เพื่อนซาวีโอ” และทุกๆ ปีก็ จะมีการจัดการชุมนุมเพื่อนซาวีโอ จน กระทั่งมาระยะหนึ่ง ฝ่ายอภิบาลเยาวชน ซาเลเซียนได้ตอบรับนโยบายของคณะจึง ได้เปิดกว้างต่อกลุ่มเยาวชนในสังกัดของ ครอบครัวซาเลเซียน และกลุ่มเยาวชนที่ มีซาเลเซียนเป็นจิตตาธิการ ให้มาร่วม ท�ำกิจกรรมตามโอกาส หรือร่วมในค่าย เยาวชนด้วยกัน กลุ่มต่างๆ เหล่านั้น ไม่ ได้เป็นกลุม่ เพือ่ นซาวีโอ แต่เป็นกลุม่ อืน่ ๆ อาทิ กลุ่มเด็กช่วยมิสซา กลุ่มเยาวชน

อาสาสมัคร เยาวชนจากกลุม่ ต่างๆ เหล่านี้ มาร่วมรับการอบรมและท�ำกิจกรรมร่วมกัน กับเพื่อนซาวีโอ ด้วยเหตุนี้จึงกลับกลาย เป็ น ขบวนการเยาวชนซาเลเซี ย นแห่ ง ประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน คุณพ่อบอสโกตระหนักเสมอถึงงาน อภิบาลเยาวชนซึ่งต้องเป็นกระบวนการ ที่ ช ่ ว ยส่ ง เสริ ม เยาวชนเป็ น รายบุ ค คล ก่อนให้สามารถพัฒนาศักยภาพทั้งครบ ครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ แ ห่ ง ชี วิ ต มนุ ษ ย์ เพื่ อ เอื้ อ ประโยชน์ ต ่ อ การสร้ า งรากฐานที่ เข้มแข็งในการช่วยสร้างสรรค์หมู่คณะ ให้ ค วามความยุ ติ ธ รรมและความ สงบสุ ข ดั ง ที่ พ ระวิ นั ย ของคณะนั ก บุ ญ ฟรั ง ซิ ส เดอ ซาลส์ บอกไว้ ว ่ า “เรา ให้การศึกษาอบรมและเผยแผ่ข่าวดีของ พระคริ ส ตเจ้ า โดยยึ ด แผนการพั ฒ นา ชี วิ ต มนุ ษ ย์ ทั้ ง ครบ เพื่ อ น� ำ ไปยั ง พระคริสตเจ้าผู้ทรงเป็นมนุษย์ที่ครบครัน เราจะมุ่งอบรมให้เป็นพลเมืองที่ ดี และ คริสตชนที่กระตือรือร้น โดยถือซื่อสัตย์ ต่ อ เจตนารมณ์ ข องผู ้ ตั้ ง คณะของเรา” (พระวินัยคณะซาเลเซียน ข้อ 31) พวกคุณพร้อมหรือยังที่จะมาร่วมใน ขบวนการของคุณพ่อบอสโกกับเรา...

May-June 2020

23


เพื่อนนักอบรม Text : ยวง บอสโก ธัญญา

รักทะลุใจ ไล่เชื้อร้าย

24

db Bulletin

นับแต่ปลายปี 2019 เป็นต้นมา โลก ต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ครั้งใหญ่จาก ผลกระทบที่เกิดจากโรค COVID-19 โรคระบาดเริ่มจากเมืองอู่ฮั่น มณฑล หูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน และแพร่ ระบาดลุกลามอย่างรวดเร็วไปทัว่ โลกกว่า 152 ประเทศก่อให้เกิดทั้งความสูญเสีย ต่อชีวิตและความเสียหายทางเศรษฐกิจ และสังคมอย่างมากมายจนน่าตกใจ เชื้อโรคโควิด-19 มีความร้ายกาจ ตรงที่ เชื้ อ ติ ด กั น ง่ า ยและมุ ่ ง เข้ า โจมตี ที่ ป อด เป็ น สาเหตุ ท� ำ ให้ มี ค นทั่ ว โลก เสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมากหลายหมื่นคน ติดเชื้อหลายล้านคน และยังคงลุกลาม ต่อไป เหตุการณ์นที้ ำ� ให้ผเู้ ขียนนึกถึงจดหมาย นักบุญเปาโลถึงชาวโรม ที่ว่า “บาปเข้ามา ในโลกเพราะมนุษย์คนเดียว และความตาย เข้ า มาเพราะบาปฉั น ใด ความตายก็ แพร่กระจายไปถึงมนุษย์ทุกคนเพราะ ทุกคนท�ำบาป ฉันนั้น” (รม 5:12) บาปมุ่งเข้าโจมตีที่จิตใจของมนุษย์ เข้าครอบง�ำความคิดทัศนคติ การกระท�ำ และน�ำดิ่งสู่ความมืดบอด ความชั่วความ เลวร้ายความวุ่นวายในชีวิตและสังคม ฯลฯ สุดท้ายก็น�ำไปสู่ความตายไม่รู้จบ ในไฟนรก ที่ ป ร ะ เ ท ศ จี น ส า ม า ร ถ ยั บ ยั้ ง สกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรคได้ ก็มา จากความร่วมมือร่วมใจเป็นหนึง่ เดียวกัน ของทุกคนในครอบครัวใหญ่ของเมือง ของมณฑลของประเทศ ควบคู ่ ไ ปกั บ ระบบ นโยบาย การบริหารจัดการของรัฐ และความเสียสละทุ่มเทเอาใจใส่ในการ ดู แ ลรั ก ษาพยาบาลผู ้ ป ่ ว ยของแพทย์ พยาบาล เวชภั ณ ฑ์ แ ละเทคโนโลยี ที่ทันสมัย เมื่ อ ผู ้ เ ขี ย นหั น มาไตร่ ต รองถึ ง ภยันตรายทางด้านจิตวิญญาณ ผลจาก


บาปที่จะเกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนใน ปัจจุบันและอนาคต จากสถิ ติ แ ละองค์ ป ระกอบของ การกระท�ำผิดของเด็กและเยาวชน พบ ว่ามาจาก พฤติกรรมกรรมของบุคคล อันเป็นผลมาจากการอบรมเลี้ยงดูของ ครอบครั ว จากปั ญ หาทางเศรษฐกิ จ สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ในอดี ต คุ ณ พ่ อ บอสโกในฐานะ บิดาที่ให้ก�ำเนิด “ระบบป้องกัน” ใน การอบรมเด็กเยาวชนให้รอดพ้นจาก บาปและมีความหวังในการเจริญชีวิต อยู่เสมอ ด้วยหลักเหตุผล ศาสนา และ ความรักใจดี ผู้เขียนขอแบ่งปันประสบการณ์ที่ได้ ติดตามซาเลเซียนผูร้ ว่ มงานบ้านนารีวฒ ุ ิ และแขวงไทย เข้าไปจัดกิจกรรมสร้าง แรงบันดาลใจให้เด็กและเยาวชนชาย หญิ ง ที่ ห ลงกระท� ำ ความผิ ด จ� ำ นวน มากกว่า 125 คน ในศูนย์ฝึกและอบรม เขต 2 จังหวัดราชบุรี ถึงสองครั้งสอง คราว แม้จะเป็นเพียงระยะเวลาสัน้ ๆ ครัง้ ละ 3 ชั่ ว โมง ที่ พ วกเขาได้ สั ม ผั ส กั บ แบบอย่ า งความรั ก ใจดี ที่ มี ชี วิ ต ของ คุ ณ พ่ อ บอสโก ผ่ า นคลิ ป ชี ว ประวั ติ กิ จ กรรมเกม แบบอย่ า งความดี ข อง บุ ค คล และการสนทนาแลกเปลี่ ย น ข้อคิดที่พวกเขาได้รับรู้ในแต่ละครั้ง แต่จากวิธคี ดิ และค�ำพูดทีส่ อื่ สารออกมา เพียงไม่กปี่ ระโยคทีเ่ ยาวชนเหล่านัน้ พรัง่ พรู ออกมา ส่อแสดงถึงความรู้สึกที่ซ่อนลึก อยูใ่ นหัวใจด้วยความส�ำนึก ยอมรับ และ พร้อมที่จะรัก อย่างน่าอัศจรรย์ เช่น “ ผ ม นึ ก ไ ม ่ ถึ ง ว ่ า จ ะ มี ค น ที่ ล�ำบากกว่า...แย่กว่า...ยากจนกว่า... อดทนกว่า...ไม่ท้อแท้กับปัญหาชีวิต... และยอมเสียสละทุกอย่างในชีวิตช่วย เหลื อ คนอื่ น ๆ...ต่ อ ไปนี้ ผ มตั้ ง ใจจะ

เป็นคนดี...จะท�ำความดี...จะช่วยเหลือ เพื่อน...ช่วยคนที่ล�ำบากกว่า...จะเลิก ท�ำตัวไม่ดี... ฯลฯ” ไม่น่าเชื่อใช่ไหมครับ อาศัยระยะ เวลาสั้นๆ ในการอบรมและการท�ำงาน ของพระจิ ต เจ้ า ในบรรยากาศของ ความรักใจดี การอยู่ท่ามกลาง และ สื่อสารให้พวกเขารู้ว่าถูกรัก จะสามารถ ช่วยกระตุน้ ให้เยาวชนทีแ่ ข็งกร้าวเหล่านี้ ได้มีโอกาสฉุกคิด รู้คิด รู้ท�ำ รู้จักใช้ หลักเหตุผล เกิดส�ำนึกคุณธรรม ใฝ่ฝัน จะท� ำ ความดี เ ลี ย นแบบอย่ า งบุ ค คล ที่เขาประทับใจได้ถึงเพียงนี้ ในยุ ค สมั ย ของคุ ณ พ่ อ บอสโก มีทั้งอันตรายจากความเสื่อมทรามทาง ศีลธรรม สงคราม และความยากจน ทางเศรษฐกิจ ที่พร้อมจะพรากชีวิตและ จิตวิญญาณของเด็กและเยาวชนไปจาก ความดีงามทั้งปวง แต่ อ าศั ย ความรั ก ความเชื่ อ และ ความวางใจในพระเจ้ า การน� ำ ของ

แม่พระ ผ่านการอบรม อภิบาลดูแลด้วย “ระบบป้องกัน” ของคุณพ่อบอสโก ก็ สามารถช่วยพวกเขาให้กลับมาเจริ ญ ชีวิตที่ดีงามได้ ในยุ ค สมั ย นี้ ก็ เ ช่ น เดี ย วกั น ครั บ “ระบบป้องกัน” ของคุณพ่อบอสโก ยัง คงเป็นแอปพลิเคชันทีท่ รงประสิทธิภาพ ในการป้ อ งกั น เชื้ อ โรคเชื้ อ ร้ า ยจาก บาปไม่ ใ ห้ เข้ า มาเกาะกิ น หั ว ใจและ จิตวิญญาณของบรรดาเด็กและเยาวชนได้ ใช่ไหมครับ หากทุกคนทุกครอบครัวจะ พร้อมใจกันหยิบขึ้นมาใช้ด้วยความรัก ใจดีอย่างมีชีวิตชีวา

May-June 2020

25


One Moment in Time Text, Photo : Gassanee T.

Change... ในวิหารของคุณนั้นอุ่นไหม วิหารใหม่หรือเก่า...เล่าสั้นๆ สะอาดเอี่ยมหรือเต็มเปี่ยมด้วยฝุ่นควัน มีดอกไม้ในแจกัน...หรือไม่มี ใช่...ฉันหมายถึง “ วิหารใจ “ ความศักดิ์สิทธิ์รูปแบบใหม่ซีซั่นนี้ ความศรัทธาม้วนมากับ 4G ร่วมพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์...ติด Wi-Fi แม้ว่าเกือบทุกอย่างจะผ่านจอ แต่พระเจ้าฟังค�ำขอผ่าน “ใจ” ได้ ใจที่ดีมีความแรงแซง Wi-Fi สัญญาณชัดมากมายไม่มืดมัว โรคร้าย...ภัยพิบัติ ล้วนกร่อนกัดหัวใจไปจนทั่ว จงตระหนักอย่าตระหนกตกใจกลัว จงปรับตัว...ปรับหัวใจ... เราจะก้าว สู่โลกใหม่ ไปด้วยกัน! ๑York Minster, York, England, Feb 2020

26

db Bulletin


World News

ส่องโลกซาเลเซียน By SDB Reporter

“Drive-in Church” เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิ ด -19 ในประเทศ โปแลนด์ สัตบุรุษจึงไม่สามารถมา ร่วมพิธกี รรมในวัดได้ คุณพ่อ Mariusz Wencławek เจ้ า อาวาสของวั ด นักบุญยอห์น บอสโก เมืองสเชชเซ็น จึ ง ได้ ท� ำ มิ ส ซาแบบ “Drive-in Church” โดยคุ ณ พ่ อ ท� ำ พิ ธี บ น ระเบี ย งชั้ น สองหน้ า วั ด และให้ สัตบุรษุ ร่วมมิสซาอยูใ่ นรถของตน ใน วันอาทิตย์จะมี 6 มิสซา แต่ละรอบจะ มีรถที่เข้ามาร่วมพิธีได้ครั้งละ 40 คัน

อัญเชิญศีลมหาสนิท ไปรอบหมู่บ้าน เนื่องด้วยการระบาดของโควิด-19 ท� ำ ให้ สั ต บุ รุ ษ ต้ อ งกั ก ตนเองอยู ่ ใ น บ้ า น คุ ณ พ่ อ เจ้ า วั ด ซาเลเซี ย นใน เมืองลูบลิยานา ประเทศสโลวีเนีย จึ ง ได้ อั ญ เชิ ญ ศี ล มหาสนิ ท ผ่ า นไป ยังถนนต่างๆ ของหมูบ่ า้ นเพือ่ อวยพร ทุกคน ในช่วงปัสกาที่ผ่านมา

“ดอนบอสโก เดลิเวอรี่” ศูนย์เยาวชน “Don Bosco Rijswijk” ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้จัดท�ำ

โครงการ “ดอนบอสโก เดลิเวอรี่” เพื่อบริการส่งอาหารเป็นมื้อๆ ให้กับ ผู ้ สู ง อายุ ที่ อ ยู ่ ค นเดี ย ว คนเจ็ บ ป่ ว ยและผู ้ ที่ ขั ด สน โดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย อาหารดังกล่าวจัดท�ำในศูนย์เยาวชน โดยมีเยาวชนเป็นผู้รับออเดอร์อาหาร ผ่านทางเฟสบุก๊ และทางโทรศัพท์ และบริการจัดส่งถึงทีบ่ า้ น นอกนัน้ ยังมีบริการ ช่วยซื้อของใช้ที่จ�ำเป็นและจัดส่งให้ถึงที่บ้านด้วย

ร่วมมือคิดค้นยาต้านโควิด-19 ที ม งานห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเทคโนโลยี ชี ว ภาพของมหาวิ ท ยาลั ย ซาเลเซี ย น

“Dom Bosco” (UCDB) เมืองคัมโป กรันเด ประเทศบราซิล ร่วมในการวิจัย การทดสอบโปรตีนที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการทดลองทางชีวภาพของ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อค้นหายาที่สามารถต่อสู้ กับ Covid-19 นอกจาก นักวิจัยจาก UCDB และจากสหรัฐอเมริกาแล้ว ยังมี นักวิทยาศาสตร์จากบราซิล อินเดียและโปรตุเกสร่วมในโครงการนี้ด้วย

May-June 2020

27


ส่องโลกซาเลเซียน By SDB Reporter

ซิสเตอร์ซาเลเซียนท�ำหน้ากากผ้า แจกจ่ายที่ประเทศอิตาลี แคว้ น ลอมบาร์ เ ดี ย ซึ่ ง อยู ่ ท าง ภาคเหนือของประเทศอิตาลี เป็นเขต ที่มีการแพร่ระบาดอย่างหนักของเชื้อ โควิด-19 บรรดาซิสเตอร์ซาเลเซียนใน หมูค่ ณะวิลลาซานโจวันนี เมืองมิลาน จึงได้ช่วยกันตัดเย็บหน้ากากผ้าเพื่อ แจกจ่ายให้กับประชาชนที่ต้องการ ซึ่งก�ำลังขาดแคลนอย่างหนักในช่วง เดือนมีนาคมและเมษายน 2020

“Bosco Reach Out” แขวงซาเลเซียนกูวาฮาติ (Guwahati) ประเทศอินเดีย จัดโครงการ “Bosco Reach Out” โดยแจกจ่ายสิ่งของ อาหาร ของใช้ที่จ�ำเป็นแก่คนยากจน ผู้อพยพ และคนที่ตกงาน ซึ่งได้รับผลกระทบจากการที่ทางราชการมีค�ำสั่ง ปิดเมืองเป็นเวลา 21 วัน เนื่องมาจากการระบาดของโควิด-19 โครงการ ดังกล่าวนี้เริ่มด�ำเนินการมาตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2020 โดยตั้งเป้าหมายที่จะ ช่วยเหลือคนยากจนจ�ำนวน 3,500 ครอบครัวในรัฐอัสสัมและรัฐเมฆาลัย

อนุสาวรียค์ ณ ุ แม่มาร์เกริตา

ซาเลเซียนโปรตุเกสช่วยคนไร้บ้าน ตั้ ง แต่ ป ลายเดื อ นมี น าคม 2020 เป็ น ต้ น มา หมู ่ ค ณะซาเลเซี ย นที่ กรุ ง ลิ ส บอน ประเทศโปรตุ เ กส ได้ เ ตรี ย มอาหารจ� ำ นวน 500 ชุ ด ทุ ก วั น เพื่อแจกจ่ายช่วยเหลือคนซึ่งไร้บ้านและคนยากจนที่อยู่ตามถนนในกรุงลิสบอน ซึ่งมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น อันเป็นผลจากการระบาดของโควิด-19 ในประเทศ โปรตุเกส

28

db Bulletin

เมือ่ เดือนมีนาคม 2020 ทีผ่ า่ นมา คุณพ่ออังเกล แฟร์นันเดซ อาร์ติเม อั ค ราธิ ก ารคณะซาเลเซี ย นได้ เ สก อนุ ส าวรี ย ์ คุ ณ แม่ ม าร์ เ กริ ต า ที่ วัลด๊อกโก กรุงตุริน ประเทศอิตาลี ซึง่ สร้างขึน้ ตรงจุดซึง่ เคยเป็นแปลงผัก ที่ คุ ณ แม่ ม าร์ เ กริ ต าปลู ก เพื่ อ เลี้ ย ง บรรดาเด็กๆ ของคุณพ่อบอสโก (อยู่ ด้านข้างของวิหารแม่พระฯ) ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นอนุสรณ์แห่งความรู้คุณต่อบิดา มารดาของสมาชิกซาเลเซียนทั่วโลก


EAO News

รับรางวัล “POSCO TJ Park Prize”

REGIONAL NEWs By SDB Reporter

แต่งตั้งที่ปรึกษาศิษย์เก่าซาเลเซียนรุ่นเยาว์ ภูมิภาค EAO คนใหม่ คุณไมเคิล ฮอท ประธานศิษย์เก่าซาเลเซียนระดับโลกได้ แต่งตั้ง คุณนีล เอวัลเจลิสตา ชาวฟิลิปปินส์ อายุ 27 ปี เป็น ทีป่ รึกษาศิษย์เก่าซาเลเซียนรุน่ เยาว์ (GEX) คนใหม่ประจ�ำ ภูมิภาค EAO แทนคุณอัลเบิร์ต พีดาเด ชาวติมอร์เลสเต ซึ่งหมดวาระ หน้าที่ในต�ำแหน่งดังกล่าวนี้คือ ส่งเสริม กิจกรรมของศิษย์เก่ารุ่นเยาว์ในภูมิภาคนี้และสนับสนุนให้ ทุกสถาบันซาเลเซียนมีสมาคมหรือชมรมศิษย์เก่า รวมทั้ง ประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆ ของศิษย์เก่าในภูมิภาค EAO และระดับโลก

เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2020 โรงเรียนอาชีวะดอนบอสโก กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ ได้รบั รางวัล “POSCO TJ Park Prize” จากมูลนิธิ POSCO (Pohang Steel Company) มู ลนิ ธิ ดัง กล่ า วจะมอบรางวัลให้กับบุคคลหรือองค์กรที่ สนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์ การศึกษา การบริการสังคมและ ด้านเทคโนโลยี โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2007 เป็นต้นมา

แจกอาหาร ระหว่างวันที่ 6-30 เมษายน 2020 หมู่คณะซาเลเซียน

ช่วยเหลือคนยากจน

ของอนุสรณ์สถานคุณพ่อยอห์น ลี ร่วมกับสมาคม True Love เมืองปูซาน ประเทศเกาหลี ได้แจกจ่ายข้าวกล่อง (พิซซ่า พาสต้า ฯลฯ) จ�ำนวน 600 กล่องให้กบั เด็กๆ ในครอบครัวที่ ขัดสน วันละ 3 มือ้ โดยมีเจ้าหน้าทีข่ องกรมประชาสงเคราะห์ ให้ขอ้ มูลของเด็กทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือ โครงการดังกล่าว นี้นอกจากจะช่วยเด็กที่ยากจนให้มีอาหารรับประทานแล้ว ยั ง ช่ ว ยให้ เ ยาวชนที่ ย ากจนได้ มี ร ายได้ จ ากการมาช่ ว ย ท�ำอาหารในอนุสรณ์สถานแห่งนี้ด้วย

คุณพ่อ Joao Roque เจ้าอาวาสวัดแม่พระองค์อุปถัมภ์ พร้อมด้วยสมาชิกบ้านเจ้าคณะและสัตบุรษุ ชาวติมอร์เลสเต ได้ให้ความช่วยเหลือผูย้ ากไร้ในเขตโกโมโร ซึง่ ได้รบั ผลกระทบ จากการแพร่ระบาดของเชือ้ โควิด-19 โดยได้มอบอาหารและ ของใช้ที่จ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิต

May-June 2020

29


LECTIO DIVINA By บิชอป โยเซฟ ประธาน ศรีดารุณศีล

“พระเยซูเจ้ายังคง ประทับอยู่ต่อไปบนโลกนี้”

Lectio (พระเจ้าตรัสอะไร)

16บรรดาศิษย์ทั้งสิบเอ็ดคนได้ไปยังแคว้นกาลิลี ถึงภูเขาที่พระเยซูเจ้าทรง ก�ำหนดไว้ 17เมื่อเขาเห็นพระองค์ ก็กราบนมัสการ แต่บางคนยังสงสัยอยู่ 18พระเยซูเจ้าเสด็จเข้ามาใกล้ ตรัสแก่เขาเหล่านัน้ ว่า “พระเจ้าทรงมอบอ�ำนาจ อาชญาสิทธิท์ งั้ หมดในสวรรค์และบนแผ่นดินให้แก่เรา 19เพราะฉะนัน้ ท่านทัง้ หลาย จงไปสั่ ง สอนนานาชาติ ใ ห้ ม าเป็ น ศิ ษ ย์ ข องเรา ท� ำ พิ ธี ล ้ า งบาปให้ เขาเดชะ พระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต 20จงสอนเขาให้ปฏิบัติตามค�ำสั่งทุกข้อ ที่เราให้แก่ท่าน แล้วจงรู้เถิดว่าเราอยู่กับท่านทุกวันตลอดไปตราบจนสิ้นพิภพ” (มธ 28:16-20)

ท�ำความเข้าใจพระวาจา

ด้วยประโยคจากหนังสือพระคัมภีรภ์ าษาฮีบรูที่ ท่านรูด้ วี า่ “พระยาห์เวห์ พระเจ้าแห่งสวรรค์ได้ ประทานอาณาจักรทัง้ หลายบนแผ่นดินแก่เรา” (2 พศด 36:23) พระผู้ทรงกลับคืนชีพ ผู้ทรง เป็นพระเจ้า-สถิตกับ-เรา ตรัสว่า “พระเจ้า ทรงมอบอ�ำนาจอาชญาสิทธิ์ทั้งหมดในสวรรค์ และบนแผ่นดินให้แก่เรา” (มธ 28:18) ดังนั้น พระวรสารจึงประกาศความครบถ้วนสมบูรณ์ ของประวัติศาสตร์แห่งความรอดพ้น

@ ความเชือ่ เป็นสิง่ ส�ำคัญส�ำหรับชีวติ บน โลกนี้ @ การที่พระเจ้าทรงรับธรรมชาติมนุษย์เป็นข้อเท็จจริงถาวร พระเยซูเจ้าทรงเป็นสมาชิกคนหนึ่งของมนุษยชาติ ทรงเป็นศูนย์กลางของ ความเชื่อเป็นองค์ประกอบของการสร้าง การไถ่กู้ การต่อสู้ในชีวิต ความหวัง และชีวิต ประวัติศาสตร์ ทรงเป็นประวัติศาสตร์ มัทธิวเริ่มต้นพระวรสารของท่านด้วยประโยคนี้ “หนังสือล�ำดับพระวงศ์ของ นิรันดร พระเยซูคริสตเจ้า.....อิมมานูเอล พระเจ้าสถิตกับเรา” (มธ 1,1.23) ท่านลงท้าย

30

db Bulletin


ต่อไปนีเ้ ป็นค�ำให้สมั ภาษณ์ของพระสันตะปาปา เบเนดิกต์ที่ 16 แก่นกั ข่าวชือ่ Jacques Servais เมื่อปี ค.ศ.2016 นักข่าวถามพระองค์ว่า “ความเชื่อคืออะไร พระองค์ทรงมีความเชื่อได้อย่างไร”? สมเด็จ พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ทรงตอบว่า “ในแง่ ห นึ่ ง ความเชื่ อ คื อ การติ ด ต่ อ กั บ พระเจ้าอย่างลึกซึ้งเป็นส่วนตัว เป็นการติดต่อ ในระดับลึกของตัวตน ทีน่ ำ� ข้าพเจ้ามาอยูต่ อ่ หน้า พระเจ้าในความสัมพันธ์ที่สนิทชิดเชื้อที่สุด จน กระทั่ ง ข้ า พเจ้ า สามารถสนทนากั บ พระองค์ รักพระองค์ และมีความสนิทสัมพันธ์เป็นหนึง่ เดียว กั บ พระองค์ แต่ ใ นเวลาเดี ย วกั น สภาพ ความเป็ น จริ ง ที่ เ ป็ น เรื่ อ งส่ ว นบุ ค คลก็ ข าด หมู่คณะไม่ได้ กล่าวคือ ส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ของความเชื่อ คือความจริงที่น�ำข้าพเจ้าเข้าสู่ ความเป็น “เรา” ของเหล่าลูกของพระเจ้า ใน ชุมชนของพี่น้องชายหญิงที่ก�ำลังจาริกไป การ พบปะกั บ พระเจ้ า ยั ง หมายถึ ง การที่ ข ้ า พเจ้ า เปิดตัวออกไปสู่ประชาคมของพระศาสนจักร ที่มีชีวิตชีวา โดยละจากการปิดตนเองอยู่ในความ โดดเดี่ยวตามล�ำพัง พระศาสนจักรเป็นคนกลาง ที่ช่วยข้าพเจ้าพบกับพระเจ้า แต่การพบปะกับ พระองค์ก็เป็นเรื่องส่วนตัวในระดับใจ ความเชื่ อ เกิ ด จากการฟั ง ดั ง ที่ นั ก บุ ญ เปาโลกล่าวไว้ แต่การฟังต้องการผู้ที่พูดให้ฟัง

ความเชือ่ มิใช่ผลของการไตร่ตรอง อีกทัง้ มิใช่การหาทางแทรกเข้าไปในส่วนลึกของ ชีวิตของข้าพเจ้า ทั้งผู้พูดและผู้ฟังเป็นสิ่งจ�ำเป็นทั้งสองฝ่าย แต่ยังไม่พอ จ�ำเป็น ต้องมีการฟังด้วย เพราะพระเจ้าทรงเรียกข้าพเจ้าจากภายนอก โดยเริ่มต้นจาก ประวัติศาสตร์ที่พระองค์ทรงสร้าง (Benedict XVI, Interview by Jacques Servais, 2016) @ พระเจ้า-สถิต-กับเรา ทรงเรียกร้องการร่วมมืออย่างเต็มที่ พระเยซูเจ้าทรงเป็นบุคคลทีม่ ชี วี ติ น่าเคารพ น่าพบ น่าคบ น่าอยูใ่ กล้ชดิ ทรง เป็นผูค้ รบครัน ขาดพระองค์ไม่ได้ ทรงเป็นเอกในทุกสิง่ และทุกเรือ่ งราว พระองค์ ทรงท�ำให้ความเป็นมนุษย์ของฉันบรรลุความไพบูลย์ สิ่งนี้ท�ำให้เราเข้าใจว่า อุดมการณ์ของชีวิตก็คือ การ “ท�ำตนให้ละม้ายคล้าย” กับพระเยซูเจ้า “ผู้ที่ พระองค์ทรงทราบล่วงหน้านั้น พระองค์ทรงก�ำหนดจะให้เป็นภาพลักษณ์ของ พระบุตรของพระองค์” (รม 8:29)

Meditatio (พระวาจาตรัสกับฉันวันนี้)

@ การประทับอยู่ของพระเยซูเจ้า บนแผ่นดิน ยังคงด�ำเนินต่อไป แม้ไม่ ปรากฏแก่สายตา พระองค์ก็ทรงประทับอยู่จริง พระองค์ผู้ทรงเป็นพระวจนาตถ์ ผู้ทรงมารับสภาพมนุษย์ “จงรู้เถิดว่าเราอยู่กับท่านทุกวันตลอดไปตราบจนสิ้น พิภพ” (มธ 28:20) มัทธิวเริ่มต้นพระวรสารของท่าน โดยบอกผู้อ่านให้ทราบว่า พระเยซูเจ้า บุคคลทีท่ า่ นก�ำลังจะกล่าวถึง เป็น “อิมมานูเอล พระเจ้าสถิตกับเรา” (มธ 1:23)ท่านจบพระวรสารของท่านด้วยค�ำสัญญาว่า พระองค์จะทรงประทับอยู่ กับเราตลอดไป แม้เมือ่ เสด็จกลับสูส่ วรรค์แล้ว พระเยซูเจ้ายังคงเป็น “พระเจ้าสถิต กับเรา”จวบจนสิน้ พิภพ พระองค์ทรงมอบพันธกิจให้กบั บรรดาศิษย์ของพระองค์ ไปทั่วโลกเพื่อประกาศข่าวดี พระองค์ตระหนักดีว่า ทรงส่งพวกเขาไปเหมือน แกะท่ามกลางฝูงสุนขั ป่า พวกเขาจะต้องพบกับความเป็นศัตรูและการเบียดเบียน (อ้าง มธ 10:16-22) ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงไม่ปรารถนาให้พวกเขาต้องกระท�ำ พันธกิจตามล�ำพัง และในยามทีพ่ ระองค์กำ� ลังจากพวกเขาไป พระองค์กส็ ญ ั ญาว่า จะอยูก่ บั พวกเขาต่อไป แม้พวกเขาจะไม่ได้เห็นพระองค์ ไม่ได้ยนิ เสียงของพระองค์ ไม่สามารถสัมผัสพระองค์ แต่พระองค์จะทรงอยู่ท่ามกลางพวกเขา ถ้าจนถึง เวลาที่พระองค์ตรัสกับพวกเขา พระองค์ทรงประทับอยู่ ณ แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น คาเปอร์นาอุม ทะเลสาบ บนภูเขา หรือที่นครเยรูซาเล็ม บัดนี้ พระองค์ จะประทับอยู่ในสถานที่ทุกแห่งที่บรรดาศิษย์อยู่ May-June 2020

31


@ ลูกาบอกเราว่า หลังจากได้เฝ้ามองพระองค์เสด็จขึน้ สูส่ วรรค์แล้ว บรรดา ศิษย์กลับไปกรุงเยรูซาเล็มด้วยความยินดียิ่ง” (ลก 24:52) พวกเขาสัมผัสกับสิ่งที่ พระองค์ทรงสัญญาไว้ได้ นัน่ คือ “จงรูเ้ ถิดว่าเราอยูก่ บั ท่านทุกวันตลอดไปตราบจน สิ้นพิภพ” นี่คือพระวาจาสุดท้ายที่พระองค์ตรัสบนโลกนี้ และเป็นจุดเริ่มต้น ของชีวิตพระศาสนจักร ที่ปรากฏให้เห็นในหลายรูปแบบ เช่น ทางศีลมหาสนิท ในพระวาจา ในตัวของศาสนบริกร ในบรรดาเด็กๆ ผู้ที่รอคอยโอกาส และ รูปแบบอืน่ ๆอีก (SC 7) นอกนัน้ ยังมีการประทับอยูใ่ นลักษณะเฉพาะทีพ่ ระเยซูเจ้า ทรงบอกให้ทราบ นั่นคือ “ที่ใดมีสองหรือสามคนชุมนุมกันในนามของเรา เรา อยู่ที่นั่นในหมู่พวกเขา” (มธ 18:20) ดังนั้น พระองค์ทรงมีพระประสงค์ที่จะ ประทับอยู่ทุกหนแห่ง @ ความเอาใจใส่ที่พระเจ้าทรงมีให้เรานั้นคงอยู่ “ตราบจนสิ้นพิภพ” พระวาจาของพระเจ้ายิ่งใหญ่กว่าทุกสิ่ง และจะไม่ผ่านพ้นไป พระองค์จะทรงเป็น “พระเจ้า-สถิต-กับเรา”พระเจ้า พระเยซูเจ้าที่เดินไปพร้อมกับเรา ไม่มีวันใด ในชีวติ ของเราทีม่ ไิ ด้อยูใ่ นความห่วงใยของพระเจ้า พระองค์ทรงห่วงใยและเดินไป พร้อมกับเรา ปราชญ์โบราณกล่าวว่า “homo viator, erectus “หมายความว่า “มนุษย์ เดินตัวตั้งตรง และเดินด้วยความหวัง ไม่ว่าเขาจะไปที่ใด เขารู้ว่า ความรักของพระเจ้าน�ำหน้าเขาเสมอ ไม่มสี ว่ นไหนของโลกทีอ่ ยูน่ อกกรอบชัยชนะ ของพระคริสตเจ้า ผูท้ รงกลับคืนชีพ ถามว่า ชัยชนะนีค้ อื อะไร? ค�ำตอบคือ ชัยชนะ ของความรัก” (พระสันตะปาปาฟรังซิส)

ทุกอย่าง ในจิตใจของบางคนทรงประทับอยู่ ประดุจคนแปลกหน้า เขาไม่ปล่อยให้พระองค์ สั่งหรือกระท�ำการใดๆ” ขอบคุณ “ท่านทั้งหลายไม่รู้หรือว่า ท่าน เป็ น พระวิ ห ารของพระเจ้ า และพระจิ ต ของ พระเจ้าทรงพ�ำนักอยู่ในท่าน?...พระวิหารของ พระเจ้านั้นศักดิ์สิทธิ์ และท่านคือพระวิหารนั้น ...พวกท่านเป็นของพระคริสต์และพระคริสต์ เป็นของพระเจ้า” (1คร 3:16.23) “วิญญาณของ ข้าพเจ้าเอ๋ย จงถวายพระพรแด่พระยาห์เวห์เถิด ..จงถวายพระพรแด่ พ ระนามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข อง พระองค์” (สดด 102:1) ขอพรพระจิตเจ้า “เราจะวอนขอพระบิดา แล้วพระองค์จะประทานผูช้ ว่ ยเหลืออีกองค์หนึง่ ให้ท่าน เพื่อจะอยู่กับท่านตลอดไป คือพระจิต แห่งความจริง ซึ่งโลกรับไว้ไม่ได้ เพราะมอง พระองค์ไม่เห็นและไม่รู้จักพระองค์ แต่ท่าน ทั้งหลายรู้จักพระองค์ เพราะพระองค์ทรงด�ำรง อยู่กับท่านและอยู่ในท่าน” (ยน 14:16-17)

Oratio (พระวาจาท�ำให้ฉันภาวนา)

Contemplatio

ขอโทษ นักบุญยวงแห่งไม้กางเขนกล่าวว่า “การประทับอยู่ของพระเจ้าใน วิญญาณมีหลายรูปแบบ ส�ำหรับบางคน พระองค์ทรงประทับเหมือนอยู่ตาม ล�ำพัง กับบางคนทรงประทับอยู่ในลักษณะของการเป็นเพื่อน กับบางคนทรง ประทับอยู่ในลักษณะของความพึงพอใจ ในบางคนกลับประทับอยู่อย่างไม่พอใจ ในจิตใจของบางคนพระองค์ทรงประทับอยู่เหมือนเจ้าของบ้านที่จัดการทุกสิ่ง

32

db Bulletin

(พระวาจาของพระเจ้าส�ำเร็จเป็นจริง)

“ยิ่งเรามีพระเจ้าสถิตอยู่ในเรามากเท่าใด เราก็ยงิ่ มีจติ ส�ำนึกถึงการประทับอยูข่ องพระองค์ ในสภาพความเป็นจริงรอบตัวเรามากเท่านั้น โดยเฉพาะในบุคคลที่อยู่รอบข้าง ที่ในบางครั้ง


ใบหน้าของเขาบ่งบอกถึงความแข็งกร้าวและ เมื่อพระจิตทรงเข้าประทับในวิญญาณ ก็เพียงพอแล้ว พระองค์ทรงให้ ความชั่ว จนยากแก่การมองเห็นการเปิดเผย ความบรรเทาและรักษาบาดแผลทุกชนิด เราได้รบั ความเข้าใจว่า เราจะไม่ทอดทิง้ องค์พระจิตเจ้า แต่เราจะรักษาพระองค์ไว้กบั เรา เราทุกคนจะเป็นลูกของพระองค์ ของพระเจ้า” (Benedict XVI). ให้เราสร้างนิสัยค่อยๆ น�ำจิตของเราเข้าสู่ภายในตนเอง เหมือนเป็นวัดน้อย Communicatio (น�ำพระวาจาไปปฏิบตั )ิ ณ ที่ซึ่งเรา ภาวนาพร้อมกับพระแม่มารีย์ เหมือนตะเกียงที่ลุกอยู่ตตลอดเวลา” “นักบุญเปาโลกล่าวว่า เราเป็นพระวิหาร (Blessed Giuseppe Allamano) ขององค์พระจิตเจ้า ถามว่า เราท�ำอะไรเมื่อยู่ใน นิยามใหม่ของพันธสัญญาคือ “เราจะเป็นพระเจ้าของท่าน เราจะเป็น พระเจ้า สถิต กับท่าน” นี่เป็นพระวาจาสุดท้ายในพระวรสาร นี่คือความเชื่อของะรา พระวิหาร? ในพระวิ ห าร เราอยู ่ เ งี ย บๆ คิ ด ถึ ง กล่าวคือ พระเยซูคริสตเจ้าทรงประทับอยูก่ บั เราตลอดไป” (Enzo Bianchi, Bose) องค์พระจิตเจ้าผู้ทรงประทับอยู่ในตัวเรา ในพระวิหาร เราสวดภาวนา ดังนัน้ เมือ่ เรา ได้รบั ค�ำยืนยันว่า องค์พระจิตเจ้าทรงประทับอยู่ ในเรา เราจึงสนทนากับพระองค์ด้วยความ ยินดี และฟังการดลใจของพระองค์ด้วยความ ตั้งใจ องค์พระจิตเจ้าทรงพอพระทัยประทับอยู่ ในวิญญาณทีร่ อ้ นรน บ่อยครัง้ เราร�ำพึงถึงความจริง ที่ ย่ิ ง ใหญ่ แ ละให้ ค วามบั น เทาใจประการนี้ นั่นคือ เราเป็นพระวิหารขององค์พระจิตเจ้า ท่ า นอยากเป็ น นั ก บุ ญ ไหม? ถ้ า เช่ น นั้ น อย่าปล่อยใจยึดติดกับบุคคลและสิ่งของ จงมี ความศรัทธาต่อองค์พระจิตเจ้าเถิด เราเข้ า ใจแล้ ว ว่ า เพราะเหตุใ ดวิญญาณ ดวงเล็กๆ จึงสามารถท�ำสิ่งใหญ่โตได้มากมาย ค�ำตอบก็คือ เพราะจิตใจของเขาเต็มเปี่ยมไป ด้วยองค์พระจิตเจ้า May-June 2020

33


นักบุญยอห์น บอสโก กับพระมารดามารีย์องค์อุปถัมภ์ พระมารดากับ ธมอ. Text I ว.วรินทร์

นักบุญ ยอห์น บอสโก กับพระมารดา มารีย์องค์อุปถัมภ์ พระมารดากับ ธมอ. 34

db Bulletin

ในช่วงเวลาที่โลกเต็มไปด้วยการเฝ้าระวัง ความหวาดระแวง ความเป็นห่วงกังวล ต่อสถานการณ์การระบาดของโลกโควิด-19 ที่ แ พร่ ก ระจายอย่ า งรวดเร็ ว และติ ด ต่ อ อย่ า งง่ า ยดายนั้ น เป็นช่วงเวลาที่ไม่บังเอิญ แต่เป็นดังโอกาสที่เชิญชวนให้เรา ย้อนมองชีวิตและก้าวเดินอีกครั้งหนึ่ง... ในช่วงเวลานี้ เราอดไม่ได้ที่จะคิดถึงนักบุญยอห์น บอสโก ผู้ซึ่งมีความรัก ความศรัทธาต่อพระมารดามารีย์องค์อุปถัมภ์ อย่างที่สุด ดังในคอลัมภ์ “คุณพ่อบอสโกและโรคระบาด” ของ นิตยสาร ดอนบอสโกฉบับทีแ่ ล้ว หน้า 27 ทีว่ นั นัน้ ทีน่ กั บุญยอห์น บอสโก ได้กล่าวกับเด็กๆ ว่า “ถ้าพวกเธอรักษาวิญญาณให้อยูใ่ น พระหรรษทานของพระ และไม่ทำ� บาปหนักเลย พ่อรับรองว่าจะ ไม่มีใครเลยในพวกเธอติดโรคนี้” วันนั้นเป็นวันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันฉลองแม่พระแห่งหิมะ ในหนังสือของ Sr.Lina Dalcerri, fma “พระนางมารีย์ใน จิตตารมณ์และชีวิตของธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์” ซึ่งในช่วงแรก ของหนังสือของซิสเตอร์ลีนา ได้กล่าวถึงชีวิตของนักบุญยอห์น บอสโก บิดาผู้ตั้งคณะ ว่าท่านนั้นมีความศรัทธาเลื่อมใสต่อ พระมารดามารียภ์ ายใต้ชอื่ “องค์อปุ ถัมภ์” เนือ่ งจากท่านมองที่ พระศาสนจักร ที่มีความต้องการ ด้านต่างๆ ต้องประสบกับ ปัญหาและภยันตรายต่างๆ ท่านได้เขียนไว้ว่า “ปัจจุบันนี้ ความต้องการทีจ่ ะวิงวอนพระแม่มารียไ์ ม่ใช่เป็นเรือ่ งส่วนตัว แต่ เป็นเรื่องของทุกคน ไม่ใช่เรื่องเฉยๆ แต่ต้องท�ำให้ร้อนรน ไม่ใช่ เรื่องของคนบาป แต่ต้องกลับใจ เป็นเรื่องของคนบริสุทธิ์ที่ต้อง รักษาไว้ …ช่างตรงกับสถานการณ์ในปัจจุบันนี้เสียนี่กระไร นักยุญยอห์น บอสโก มองพระมารดามารีย์เสมือนเป็นที่พึ่ง ของพระศาสนจักร ในแง่มุมของพระศาสนจักรนี้เองเป็นหลัก พื้นฐานของชื่อ “องค์อุปถัมภ์” ท่านได้เผยเรื่องนี้กับคุณพ่อ คาวิเญีย “แม่พระต้องการให้เราเคารพพระนางโดยใช้ ‘องค์อปุ ถัมภ์ ของคริสตชน’ ช่วงเวลานีเ้ ป็นเวลาทีย่ ากล�ำบาก ซึง่ จ�ำเป็นต้องพึง่ พระนางพรหมจารี เพือ่ ขอให้ชว่ ยรักษาและปกป้องความเชือ่ ของ คริสตชน”…และปกป้องโลกของเรา ชื่อ “องค์อุปถัมภ์” เป็นศูนย์รวมของทุกชื่อ และที่เป็น ทุกลักษณะของพระนางมารีย์ เพราะในชื่อนี้บ่งบอกถึงหน้าที่ ส�ำคัญๆ ของพระนาง คือ ความเป็นมารดาของพระเจ้าและ พระกายทิพย์ของพระคริสตเจ้า นักบุญยอห์น บอสโก ได้เรียกพระนางมารียเ์ ป็น “มารดาของ พระศาสนจักร” ก่อนที่พระสันตะปาปา เปาโลที่ 6 จะประกาศ ในปี 1964 เมื่อปิดประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 สมัยที่ 3


พระองค์ท่านได้ตรัสว่า “ประสบการณ์ จากอดีต ถึง 18 ศตวรรษ ได้แสดงให้ เราเห็นว่าพระนางมารีย์ยังคงท�ำหน้าที่ มารดาของพระศาสนจักรและองค์อปุ ถัมภ์ ของคริสตชนในสวรรค์ต่อไป” ชือ่ องค์อปุ ถัมภ์ ทีน่ กั บุญยอห์น บอสโก ใช้ นี้ ได้ เ น้ น ลั ก ษณะข้ อ นี้ ข องพระแม่ พระมารดามารีย์องค์อุปถัมภ์คือ มารดา ผู ้ ข ยั น ขั น แข็ ง ในธรรมนู ญ เรื่ อ งพระ ศาสนจักร (LUMEN GENTIUM) ได้ เน้นว่า พระนางไม่ได้เป็นผู้บันดาลความ รอดพ้ น แต่ โ ดยอาศั ย ค� ำ เสนอวิ ง วอน ของท่าน เราจึงได้รับความรอดพ้น โดย อาศัยความรักเยี่ยงมารดา พระนางยังคง เอาพระทัยใส่ดูแลลูกๆ ของพระนางที่ ยังคงเดินทางท่ามกลางภยันตรายต่างๆ ให้บรรลุถึงเมืองสวรรค์ นักบุญยอห์น บอสโกได้ใส่แนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับความเป็นพระศาสนจักรนี้ ลงในรูปภาพที่ “โลเรนโซนี” ได้วาดและ ประดิษฐานในอาสนวิหารแม่พระองค์ อุปถัมภ์ที่ตุริน โดยภาพนี้ประกอบด้วย แม่พระองค์อปุ ถัมภ์ซงึ่ รายล้อมด้วยบรรดา อัครสาวก ผู้เขียนพระวรสาร ผู้ซึ่งเป็น เสาหลักของพระศาสนจักร นักบุญยอห์น บอสโกต้ อ งการจะแสดงภาพลั ก ษณ์ ทุกแง่มมุ ของความเป็นของพระศาสนจักร ลงในภาพสีน�้ำมันนี้ แม้ แ ต่ บ ทภาวนาที่ ท ่ า นแต่ ง และ

คาวิเญียได้ใส่ท�ำนองเพลงที่ว่า “ข้าแต่ พระนางพรหมจารี ผู้ทรงฤทธิ์ ผู้ปกป้อง พระศาสนจั ก ร ผู ้ อุ ป ถั ม ภ์ ยิ่ ง ใหญ่ ข อง คริสตชน ผู้น่าเกรงขามดุจกองทัพยาม สู ้ ศึ ก พระนางผู ้ เ ดี ย วสามารถท� ำ ลาย ความผิดหลงทัง้ ปวงของโลก ยามเราต้องทุกข์ ระทม ต้องยืนหยัดต่อสู้ ต้องขัดสนจนยาก โปรดคุ้มครองให้พ้นศัตรูผู้มุ่งร้ายและ เมื่อเราจะต้องละจากโลกนี้ ขอโปรดรับ ดวงวิญญาณเข้าสูส่ วรรค์ดว้ ยเถิด อาแมน” เป็ น บทภาวนาที่ มี เ นื้ อ หาเพื่ อ วอนขอ พระพรส�ำหรับพระศาสนจักรอย่างชัดเจน มากทีเดียว ท ว ่ า ค ว า ม รั ก ค ว า ม ศ รั ท ธ า ต ่ อ พระมารดามารี ย ์ อ งค์ อุ ป ถั ม ภ์ ไ ม่ ไ ด้ หยุ ด อยู ่ เ พี ย งแค่ ก ารรั บ รู ้ ถึ ง บทบาท ของพระนางพรหมจารี ผู ้ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ น ประวั ติ ศ าสตร์ แ ห่ ง ความรอดพ้ น และ ในชีวิตของพระศาสนจักรเท่านั้น ทว่า ยังหมายถึงชีวิต ความเป็นอยู่ทั้งสิ้น ณ ปัจจุบันของเราแต่ละคนด้วย… ส�ำหรับคณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ เป็นดังครอบครัวนักบวชทีเ่ ป็นของแม่พระ ทั้งหมด (cf C 4) จากการมองย้อนไป พิจารณาแรงบันดาลใจของคณะเกี่ยวกับ พระมารดามารีย์ ซึ่งมาจากค�ำพูดของ คุ ณ พ่ อ บอสโกเองที่ ว ่ า พระนางมารี ย ์ ทรงด�ำเนินไปมาในบ้านหลังนี้ (cf Cronistoria V, 51-52) นักบุญยอห์น บอสโก

พูดประโยคนี้กับซิสเตอร์รุ่นแรกของคณะ ในโอกาสที่ ท ่ า นไปเยี่ ย มบ้ า นที่ นิ ส ซา มอนแฟร์ราโตครั้งสุดท้าย ในปี 1885 จึง เป็นการง่ายที่จะเชื่อมสัมพันธ์กัน ค�ำว่า “บ้ า น” ในที่ นี้ เราตั้ ง ใจหมายถึ ง โลก ซึ่ ง เรา ธมอ. และหมู ่ ค ณะผู ้ อ บรมได้ รับมอบหมายให้ประกอบพันธกิ จ ด้ า น การอบรม ซึง่ พระมาดามารียท์ รงประทับอยู่ ในฐานะผู ้ ป กป้ อ ง ผู ้ น� ำ และผู ้ เ ป็ น แรงบันดาลใจ พระนางทรงช่วยเราให้ดำ� เนิน ชีวติ ด้วยพลังของพระพรพิเศษอันก่อให้เกิด ชีวิตในปัจจุบันกาลของประวัติศาสตร์ “พระนางมารีย์ทรงด�ำเนินไปกับเรา” ไม่ใช่ค�ำพูดลอยๆ แต่เป็นความเป็นจริงที่ กระตุน้ “วิสยั ทัศน์” ความเชือ่ มัน่ ทีห่ ยัง่ ลึก ในความเชือ่ และในพระพรพิเศษซาเลเซียน เป็นประสบการณ์จริงของชีวิตที่นักบุญ มาเรีย โดเมนิกา มัซซาแรลโล ได้เชื่อมั่น และถือเสมอว่า “พระมารดามารีย์องค์ อุปถัมภ์” คือเจ้าของบ้านที่แท้จริง... เชิญชวนท่านผูอ้ า่ นทุกท่าน ได้วอนขอ พระพรจากพระเจ้าส�ำหรับประชากรของ พระเจ้าทุกคน จะได้รับความสุข สุขภาพ ที่ดี ปลอดพ้นจากภยันตรายทั้งปวง และ ขอโปรดให้สถานการณ์ของการระบาด ของโรคโควิด-19 ดีขนึ้ โดยเร็ววัน ทัง้ นีโ้ ดย อาศัยค�ำเสนอวิงวอนของ “พระมารดา มารีย์องค์อุปถัมภ์” ผู้ “...ทรงด�ำเนินไป กับเรา”... ทุกวัน May-June 2020

35


ครอบครัวซาเลเซียน Text, Photo : MR.OK

JR สมิทธิ์ วิริยภาษ หนุ่มไอซ์ฮอกกี้ เยาวชนทีมชาติไทย ถ้าพูดถึงกีฬาฮอกกี้น�้ำแข็งหรือไอซ์ฮอกกี้ในประเทศไทย ต้องบอกว่าเป็นกีฬาที่ยังไม่ได้รับความนิยมในวงกว้าง แต่อย่างไรก็ดี ในภาพรวมแล้ว วงการฮอกกี้น�้ำแข็งไทย ถือว่าก�ำลังอยู่ในช่วงพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเริ่มมี เยาวชนหันมาเล่นกีฬาชนิดนี้เพิ่มมากขึ้น หนึ่งในนั้น ก็คือ เจอาร์ - สมิทธิ์ วิริยภาษ ศิษย์ซาเลเซียนจาก โรงเรียนแสงทองวิทยา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ซึ่งเป็น ผู้เล่นปีกซ้ายของทีม Southern Wolf และเป็นนักกีฬา ทีมไอซ์ฮอกกี้ไทยชุดเยาวชนชาย U15

: แนะน�ำตัวเอง เจอาร์ : ผมชื่อนายสมิทธิ์ วิริยภาษ ชื่อเล่น เจอาร์ เกิดวันอังคารที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2547 เป็นบุตรคนที่ 3 ในจ�ำนวนพี่น้อง 3 คน ของ นายโสภณ - นางเยาวลักษณ์ วิริยภาษ พ่อแม่ของผมท�ำอาชีพค้าขาย ปัจจุบันผมเรียนจบชั้น ม.3 ของโรงเรี ย นแสงทองวิ ท ยา และเป็ น นั ก กี ฬ าฮอกกี้ สั ง กั ด ทีม Southern Wolf (อ.หาดใหญ่) DB

DB

: แรงบันดาลใจที่อยากเป็น

นักกีฬาไอซ์ฮอกกี้?

เจอาร์ : ผมเข้าสู่วงการไอซ์ฮอกกี้ด้วยการเริ่มเล่น สเก็ ต น�้ ำ แข็ ง มาก่ อ น จากนั้ น ก็ ไ ด้ รั บ การเชิ ญ ชวนจากโค้ ช ให้มาลองเล่นไอซ์ฮอกกี้ เมื่อเล่นแล้วก็รู้สึกสนุก ผมจึงเริ่มเล่น อย่างจริงจัง โดยมีความฝันที่อยากจะเป็นตัวแทนทีมชาติไทย ผมจึงได้เริ่มฝึกซ้อมมากขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดได้เป็นนักกีฬา ทีมไอซ์ฮอกกี้ไทยชุดเยาวชนชาย U15 เมื่อปี ค.ศ. 2019

36

db Bulletin


DB

: แบ่งเวลาอย่างไร ทั้งการเรียน

และการฝึกซ้อม?

เจอาร์ : ผมพยายามแบ่ ง เวลาและรั บ ผิ ด ชอบ ทั้งเรื่องการเรียนและการฝึกซ้อมอย่างดี เนื่องจากที่หาดใหญ่ ไม่มีลานน�้ำแข็งให้ฝึกซ้อม ผมจึงต้องเดินทางโดยทางเครื่อง บินไปฝึกซ้อมที่กรุงเทพตอนเย็นวันศุกร์ เพื่อจะซ้อมในวันเสาร์ และวันอาทิตย์เต็มวัน ซึ่งโดยปกติก็จะซ้อมเสร็จเวลา 23.00 น. ของวันอาทิตย์ จากนั้นผมก็จะไปพักใกล้กับสนามบิน และ เดินทางกลับหาดใหญ่เช้าวันจันทร์เพือ่ ให้ทนั เข้าเรียน ในกรณีทผี่ ม ต้ อ งหยุ ด เรี ย นเพราะไปแข่ ง ขั น ผมก็ จ ะติ ด ตามงานที่ ไ ด้ รับมอบหมายให้เรียบร้อยเสมอ

DB

: คุ ณ ธรรมใดบ้ า งที่ เ จอาร์ ไ ด้ รั บ จากการ

อบรมในโรงเรี ย นซาเลเซี ย น แล้ ว น� ำ มาใช้ ในการเล่นไอซ์ฮอกกี้?

เจอาร์: เรื่องการมีน�้ำใจนักกีฬา และการเห็นอก เห็นใจเพือ่ นร่วมทีม รวมทัง้ นักกีฬาฝ่ายตรงข้าม ผมไม่ได้แข่งขัน โดยมุ่งหวังแต่เอาชนะโดยไม่สนใจกติกา กีฬาต้องน�ำมาซึ่ง มิตรภาพมิใช่ศตั รู รูแ้ พ้รชู้ นะรูอ้ ภัย เมือ่ ชนะก็แสดงน�ำ้ ใจต่อผูแ้ พ้ เมื่อแพ้ก็แสดงความดีใจด้วยกับผู้ชนะ

DB

: ในฐานะศิษย์ซาเลเซียน เราสามารถช่วย

ประเทศชาติได้อย่างไรบ้าง?

เจอาร์: เริ่มจากตัวเราก่อน ให้เรารับผิดชอบ หน้าที่ของเราให้ดี เวลาเรียนก็เรียน เวลาซ้อมก็ตั้งใจซ้อม แค่ : สิ่งที่ ได้รับจากการเป็นนักกีฬาไอซ์ฮอกกี้? เจอาร์ : การเป็ น นั ก กี ฬ าท� ำ ให้ ผ มมี ค วาม การพยายามท�ำหน้าที่ของตนเองอย่างดี รู้ว่าอะไรควรท�ำ อะไร รับผิดชอบ มีวินัย เรียนรู้ที่จะแพ้ได้และชนะเป็น นอกนั้น ไม่ควรท�ำ เราก็จะโตขึ้นโดยไม่เป็นภาระต่อสังคมอย่างแน่นอน การเล่ น กี ฬ าชนิ ด นี้ ยั ง ท� ำ ให้ ผ มรู ้ จั ก จั ด การกั บ ความกดดั น : ความใฝ่ฝันในอนาคต? ในการแข่ ง ขั น รู ้ จั ก การควบคุ ม อารมณ์ เ พราะเป็ น กี ฬ าที่ มี เจอาร์: ผมอยากเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันไอซ์ฮอกกี้ การกระทบกระทัง่ และทีส่ ำ� คัญท�ำให้ผมรูจ้ กั การท�ำงานเป็นทีม การเก่งคนเดียวจะไม่ท�ำให้ทีมชนะได้ และได้สร้างมิตรภาพที่ดี ในรุน่ U20 (อายุไม่เกิน 20 ปี) และเป็นตัวแทนแข่งขันไอซ์ฮอกกี้ ในรุ่นใหญ่ กับเพื่อนๆ นักกีฬา

DB

DB

: ผลงานที่ภูมิใจที่สุด? เจอาร์: การได้แชมป์ไอซ์ฮอกกี้ South East Asia Youth 2019 รุ่นไม่เกิน 15 ปี ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดย มีทีมจากประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ เข้าร่วมแข่งขัน DB

: สิ่งที่อยากบอกกับเพื่อนๆ เจอาร์ : เราทุ ก คนมี ค วามชอบแตกต่ า งกั น ไป ขอให้ แ ต่ ล ะคนค้ น หาให้ เ จอและลงมื อ ท� ำ อย่ า งตั้ ง ใจ รักสิ่งใด ก็ให้ตั้งใจท�ำสิ่งนั้นด้วยความมุ่งมั่น มีจุดมุ่งหมาย และด้ ว ยความพยายาม แม้ อ าจจะไม่ ส� ำ เร็ จ ในวั น นี้ แต่ผมเชื่อว่าก็จะส�ำเร็จสักวันอย่างแน่นอน

DB

May-June 2020

37


ผู้ศักดิ์สิทธิ์ซาเลเซียน By ว.วรินทร์

บุญราศี ซิสเตอร์มาเรีย โรเมโร ด�ำเนินชีวิตระหว่างปี ค.ศ. 1902 – 1977

มาเรีย โรเมโร เกิดที่เมือง กรานาดา ประเทศ นิคารากัว เมือ่ วันที่ 13 มกราคม 1902 บิดาของท่าน เป็ น รั ฐ มนตรี ที่ ร�่ ำ รวยเป็ น ผู ้ ที่ มี ใจกว้ า ง มั ก จะ ช่วยเหลือผู้ที่ยากจนอยู่เสมอ มาเรียมีลักษณะ เหมือนบิดาคือ ใจกว้าง รักคนจน ในสมัยเด็กๆ ท่านได้รับการศึกษาจากสถาบันการศึกษาชั้นดี ท่านมีความสามารถด้านดนตรีเฉพาะอย่างยิ่ง การเล่นเปียโน และไวโอลิน แม้ทา่ นจะมีอนาคตทีร่ งุ่ เรือง แต่ทา่ นเลือกทีจ่ ะ เป็นนักบวช และดูเหมือนว่าในบรรดาคณะนักบวช ต่างๆ จิตตารมณ์ของคุณพ่อ บอสโกเป็นสิ่งที่ท่าน ประทับใจมากที่สุด

38

db Bulletin

หลั ง จากปฏิ ญ าณตนตลอดชี พ ในคณะ ธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์แล้ว ท่านถูกส่งไปอยู่ที่ คอสตารีกา (Costa Rica) ท�ำหน้าที่สอนเรียนใน วิทยาลัยที่มีชื่อ ซึ่งเป็นที่นิยมของคนมีฐานะ และ ปัญญาชน เด็กนักเรียนที่ท่านสอนเป็นนักเรียน ที่เก่ง ดี และรวย แต่ด้วยหัวใจเยี่ยงคุณพ่อบอสโก ท่านใฝ่ฝันที่จะช่วยเหลือผู้ที่ยากจน และไม่เป็นที่ ต้องการของสังคม ท่านอุทิศตนติดตามช่วยเหลือ พวกเขา ไม่วา่ พวกเขาจะอยูแ่ ห่งหนใดในโลก ท่าน ได้ชนะหัวใจคนทั้งเมืองด้วยชีวิตที่อุทิศทั้งหมด เพื่อคนจนโดยปราศจากเงื่อนไข ท่ า นตระหนั ก ว่ า วั น หนึ่ ง ตนเองต้ อ งล่ ว งลั บ ดับสูญไป แต่ภารกิจของพระจะต้องคงอยู่ต่อ ไป ท่านจึงก่อตั้งกลุ่มอาสาสมัครซึ่งประกอบด้วย เยาวชน ฆราวาสผูแ้ พร่ธรรม นายแพทย์ สถาปนิก วิศวกร และผูส้ นับสนุน เพือ่ เตรียมพวกเขาส�ำหรับ การเป็นผูน้ ำ� ในงานเมตตาสงเคราะห์ตา่ งๆ ทา่ นเรียก พวกเขาว่า “ธรรมทูตน้อย” ด้ ว ยความรั ก ความศรั ท ธาที่ ท ่ า นมี ต ่ อ พระเยซูเจ้า และแม่พระ ท่านสามารถแพร่ธรรม ได้มากมาย รวมถึงสัมผัสกับพระพรของพระนาง ผ่านทางกิจการมากมาย ไม่วา่ จะเป็นการสร้างเมือง ส� ำ หรั บ พระมารดา ซึ่ ง ประกอบกั น เป็ น ชุ ม ชน บ้านส�ำหรับคนจน โรงพยาบาล โรงเรียนอาชีวะ ศูนย์เยาวชน และวัด ทีซ่ งึ่ คนจนทุกคนสามารถอยู่ อย่างมีศกั ดิศ์ รีในสังคม มีความรู้ มีอาชีพ และเป็น พลเมืองที่สุจริตและศาสนิกชนที่ยึดมั่นในศาสนา ซิสเตอร์มาเรีย ไม่ได้ช่วยคนจนเท่านั้น แต่ช่วย คนรวย นายแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศกร ฆราวาสผูแ้ พร่ธรรม รวมถึงเยาวชนผูน้ ำ � ให้แต่ละ คนรู้จักให้ความสามารถ พรสวรรค์ และสิ่งที่ตนมี เพื่อช่วยเหลือคนที่จนกว่า ค�ำเชื้อเชิญของท่าน ได้รับการตอบรับจากทุกฝ่าย แต่ละคนได้ขยาย เครื อ ข่ า ย เป็ น กลุ ่ ม ที่ ก ระจายอยู ่ ทั่ ว ประเทศ ผลงานของท่านเป็นทีป่ ระจักษ์แก่ทกุ คน จนรัฐบาล เมืองคอสตารีกา ยกย่องท่านให้เป็น “พลเมือง แห่ ง ชาติ ” แม้ ใ นท่ า มกลางภารกิ จ มากมาย ซิสเตอร์มาเรียเจริญชีวติ ทีส่ นิทสัมพันธ์กบั พระเจ้า ตลอดเวลา การงานของท่านมาจากพลังภายใน ที่มีรากฐานในความรักต่อพระเยซูเจ้าและแม่พระ ท่านได้ลาจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1977 พระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ทรง แต่งตั้งท่านให้เป็นบุญราศีเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 2002 และยกย่องท่านให้เป็นบุญราศีของ ทวีปอเมริกากลาง


เรื่องมีอยู่ว่า by ลียองเอ

Happy Birthday “เย้!!! อีกไม่กวี่ นั ก็จะถึงวันเกิดแม่แล้ว ดใี จจังเล้ย พอ่ จะได้พา ไปกินข้าวนอกบ้านอีก เย้!!! เย้!!!” เสียงของเจ้าหนูดังลั่นไปทั่วบ้าน เขาวิ่งวนไปวนมาและ กระโดดโลดเต้นราวกับม้าดีดกระโหลก เสียงเอะอะมะเทิง่ ของเขา ท�ำให้เจ้าหนูตัวเล็กที่เพิ่งลืมตาดูโลกได้ไม่กี่สัปดาห์ร้องไห้จ้า ด้วยความตกใจ ความชุลมุนวุ่นวายปนเปกับความสรวลเส เฮฮาและน่ า รั ก สดใสมั ก จะเป็ น สี สั น ของบ้ า นที่ มี เ ด็ ก เล็ ก ๆ อยู่ด้วยเสมอ และแล้วเมื่อวันเกิดของแม่มาถึง เจ้าหนูรีบแต่งตัวซะน่ารัก หวีผมซะเรียบแปล้ เตรียมพร้อมออกไปกินข้าวนอกบ้านเต็มที่ เจ้าหนูยนื หมุนไปหมุนมาอยูข่ า้ งประตูรถ กะว่าถ้าพ่อเปิด ประตูรถปุป๊ เขาจะรีบกระโดดขึน้ นัง่ บนเบาะปัป๊ แต่แปลกคราวนีพ้ อ่ ไม่ได้ถอื กุญแจรถออกมา พ่ อ กลั บ ถื อ จานชามช้ อ นและยกโต๊ ะ ตัวใหญ่ออกมาแทน “มา มา มากินข้าวนอกบ้านกัน” พ่อบอก “ไม่ใช่ ไม่ใช่นอกบ้านนี้ นอกบ้าน ที่มันหรูๆ” เจ้าหนูรีบโต้แย้งทันควัน “หื อ แล้ ว นี่ ไ ม่ ห รู ห รื อ ไงลู ก ” พ่อขมวดคิ้วเป็นเชิงถาม “ไม่ ห รู ไม่ เ ห็ น หรู เ ลย ไม่มีอะไรหรูเลย” เจ้าหนู รีบร้องตอบ

“หรูสลิ กู มานัง่ ตักพ่อนีม่ า พ่อจะบอกอะไรให้ฟงั ดูตามมือพ่อนะ ดูซิลูก เรามีดวงจันทร์ดวงใหญ่เป็นโคมไฟแสงสีทองอยู่ใน ท้องฟ้า มีดวงดาวระยิบระยับห้อยระย้าเป็นผ้าม่านแสนสวย มีต้นไม้ต้นเล็กต้นใหญ่หลากหลายชนิดเป็นผนังวอลเปเปอร์ 3D มีพื้นหญ้าแสนนุ่มเป็นพรมเปอร์เซียลวดลายสุดวิจิตร มีหรีดหริ่งเรไรร้องระงมเป็นเสียงเพลงที่ไพเราะเพราะพริ้ง มี อาหารที่แสนอร่อยเลิศรสจากฝีมือสุดยอดเชฟประจ�ำบ้านคือ แม่ของลูก มีเด็กเสิร์ฟที่พร้อมจะบริการได้ทุกอย่างทุกที่และ ทุกเวลาอย่างพ่อ มีตุ๊กตาโอท็อปประจ�ำบ้านที่แสนจะน่ารักคือ น้องของลูก และก็มลี กู เป็นลูกค้ากิตติมศักดิท์ กี่ นิ ฟรีไม่ตอ้ งจ่าย ตังค์สกั บาทแถมยังไม่ตอ้ งกลัวว่าเช็คจะเด้งอีกต่างหาก อย่างงีจ้ ะ ไม่เรียกว่า“หรู”ได้ยังไง” เจ้าหนูมองตาม จินตนาการตามที่พ่อพูด แล้วก็อมยิม้ อย่างมีความสุข แต่พอถามถึงของ ขวัญวันเกิดของแม่ในปีนี้ เจ้าหนูรีบบอกว่า “ก็แม่เคยบอกว่าหนูและน้องคือของขวัญ แสนพิเศษที่พระเจ้าประทานมาให้กับแม่ หนู ก็คิดว่า แม่คงไม่ต้องการของขวัญอะไรอีกอื่นแล้ว ใช่มั้ยครับ เพราะแม่มีของขวัญแสนพิเศษอยู่แล้ว 555” พระองค์ทรงถักทอข้าพระองค์ เข้ า ด้ ว ยกั น ในครรภ์ ม ารดา ข้ า พระองค์ ข อขอบพระคุ ณ พระองค์ เพราะพระองค์ ทรงสร้ า งข้ า พระองค์ อย่างอัศจรรย์ (สดุดี 139:13-14)

บ�ำรุงการพิมพ์ สุนันทา ตั้งสุรกิจ ฤทัย รุ่งเรืองผล

คุณสาวิตรี สอนพงษ์ อรนงค์ ซื่อเพียรธรรม วินัย ผิวเกลี้ยง อรดี ศิลาโคตร

โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ไม่ประสงค์ออกนาม ( 3 คน) ครอบครัวลัดดาวัลย์ บุญฤทธิ์ฤทัยกุล

ทุกวันที่ 24 ของทุกเดือนจะมีการถวายมิสซา แก่สมาชิกนิตยสาร รวมทั้งผู้มีอุปการะคุณต่อนิตยสาร May-June 2020

39


ไม่ติดโรคโควิด-19 ลูกขอขอบคุณพระแม่ที่โปรดให้ลูกและทุกคนในครอบครัว รวมทั้ง คนอื่นๆ ที่ลูกรู้จัก มีสุขภาพแข็งแรงและไม่ติดเชื้อไวรัสโควิด - 19 แม้ว่า ลูกจะมีความหวาดกลัว แต่ลกู ก็หวังและไว้ใจในพระแม่เสมอ ขอพระแม่ชว่ ย วิงวอนเพื่อลูกด้วยเทอญ อรดี ปลอดภัยจากการผ่าตัด ลูกขอโมทนาคุณแม่พระองค์อุปภัมภ์ที่ได้ประทานการรักษาลูกให้หาย จากการติดเชื้อในกระแสเลือด และปลอดภัยจากการผ่าตัด และโดยเฉพาะ อย่างยิง่ ได้โปรดให้ลกู สามารถเดินได้ตามปกติ ทัง้ ๆ ทีแ่ พทย์ผทู้ ำ� การผ่าตัด มิได้ให้ความหวังว่าลูกจะเดินได้ในช่วงเวลาอันสัน้ นี ้ ลูกขอขอบพระคุณพระแม่ มารีอา มักดาเลนา หายจากเจ็บป่วย เมื่อไม่นานมานี้ ลูกปวดต้นคอและมีอาการเวียนศรีษะทั้งวัน ลูกได้ อธิษฐานขอพระแม่ช่วยรักษาลูกด้วย เพราะลูกกลัวว่าโรคเก่า (เส้นเลือด สมองตีบ) ที่ลูกเคยเป็นจะกลับมาอีก ลูกรักพระแม่และขอบพระคุณพระแม่ ส�ำหรับพระพรต่างๆ ที่ประทานให้แก่ลูกเสมอ โฟสตินา ขอให้มีบุตร ผมและภรรยาแต่งงานมาเป็นเวลาหลายปีแล้วแต่ไม่มบี ตุ ร ผมได้เคยไป ปรึกษาหมอ ได้รับค�ำตอบว่า เราทั้งสองคนอยู่ในภาวะของการมีบุตรยาก ซึ่งไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน นักบวชท่านหนึ่งได้แนะน�ำให้ผมและภรรยา สวดวอนขอพระเจ้าผ่านทางค�ำเสนอวิงวอนของนักบุญดอมินิก ซาวีโอ เวลานี้ ภรรยาของผมตั้งครรภ์แล้ว ผมจึงขอโมทนาคุณพระเจ้าและนักบุญ ดอมินิก ซาวีโอ ที่ประทานพรนี้แด่ผมและภรรยา ผมจึงขอโมทนาคุณ ผ่านทางนิตยสารดอนบอสโกนี้ นิรนาม (หากท่านประสงค์ที่จะโมทนาคุณแม่พระและผู้ศักดิ์สิทธิ์ซาเลเซียนส�ำหรับพระพรที่ได้รับลงใน นิตยสารดอนบอสโก โปรดส่งข้อความมายัง Email: sdbsocomthai@gmail.com)

ค�ำปราศรัยของคุณพ่อบอสโกถึงผู้มีพระคุณ “หากปราศจากความช่วยเหลือของพวกท่านแล้ว พ่อคงท�ำกิจการต่างๆ ได้เพียงเล็กน้อย หรืออาจท�ำอะไรไม่ได้เลย แต่ด้วยความช่วยเหลือของพวกท่าน เราสามารถร่วมมือกับ พระหรรษทานของพระเจ้าเพื่อช่วยซับน�้ำตาให้กับหลายชีวิต และช่วยวิญญาณให้รอดได้มากมาย”

สนใจสมัครสมาชิกได้ที่

ธารน�้ำใจ

บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 Tel: 02-7317100 Email: sdbsocomthai@gmail.com

บัญชี กองทุนนิตยสารดอนบอสโก ธนาคารธนชาต สาขาโรงพยาบาลรามค�ำแหง เลขที่บัญชี 096 - 6 - 11569 - 2

แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียน 32 ถ.กรุงเทพกรีฑา หัวหมาก อ่านนิตยสารออนไลน์

“หากปราศจากพวกท่านแล้ว เราไม่สามารถท�ำอะไรได้เลย”

(หากท่านเปลี่ยนชื่อและที่อยู่ผู้รับ กรุณาแจ้งให้ทางนิตยสารทราบ)

ท่านสามารถร่วมสนับสนุนการพิมพ์นิตยสารดอนบอสโกได้ที่ (ส่งเงินแล้วโปรดแจ้งรายละเอียดให้แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียนทราบด้วย)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.