นิตยสารดอนบอสโก-September-October 2021 (Thai Salesian Bulletin)

Page 1


นิตยสารดอนบอสโก นิตยสารซาเลเซียน (Salesian Bulletin) คือ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ เ ป็ น ทางการของคณะซาเลเซี ย นซึ่ ง คุ ณ พ่ อ บอสโกได้ เ ป็ น ผู ้ ริ เริ่ ม ไว้ เ มื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม ค.ศ. 1877 นิตยสารนี้ได้รับการตีพิมพ์อย่างดีเรื่อยมา เพื่ อ เผยแพร่ ง านด้ า นการจั ด การศึ ก ษาอบรมของ คุณพ่อบอสโกไปทั่วโลก ปัจจุบันนิตยสารซาเลเซียน มีทงั้ หมด 67 อีดชิ นั่ 32 ภาษา เผยแพร่ใน 132 ประเทศ ทั่ ว โลก นิ ต ยสารดอนบอสโกของประเทศไทยคื อ หนึ่งในจ�ำนวนนี้ด้วย ซึ่งได้เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี ค.ศ.1958 จนถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 64 และได้เปลี่ยนจากการตีพิมพ์ รายเดือนเป็นราย 2 เดือนตั้งแต่เดือนมีนาคม 2018 เป็นต้นมา เจ้าของผู้พิมพ์ คุณพ่อเทพรัตน์ ปิติสันต์ ที่ปรึกษา บิชอปโยเซฟ ประธาน ศรีดารุณศีล บรรณาธิการบริหาร sdbsocomthai@gmail.com กองบรรณาธิการ ซ.ฉวีวรรณ เกษทองมา ซ.ระวิวรรณ บวกหาร ซ.อุทุมพร แซ่โล้ว ซ.ลัดดา รัชนีลัดดาจิต คุณธัญญา ศิโรรัตน์ธัญโชค แผนกการเงิน พ่อมนูญ สนเจริญ ส�ำนักงานนิตยสารดอนบอสโก 32 ถ.กรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร 0-2731-7100 E-mail : thaisdbbulletin@gmail.com พิมพ์ที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก กรุงเทพฯ โทร. 0-2652-9625 ถึง 30 จัดพิมพ์โดย แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียน E-mail : sdbsocomthai@gmail.com

EDITOR’s NOTE

เมื่อพูดถึงภาวะโลกร้อน หลายคนคงมี ภาพจ�ำเป็นพื้นดินแตกระแหง ภาพต้นไม้ ถูกโค่นเหลือแต่ตอ ภาพธารน�ำ้ แข็งบนเกาะ กรี น แลนด์ แ ละทวี ป แอนตาร์ ก ติ ก าก� ำ ลั ง ละลายซึง่ จะท�ำให้ระดับน�ำ้ ทะเลเพิม่ ขึน้ หรือ ภาพกระแสน�ำ้ อุน่ ในมหาสมุทรแอตแลนติก ที่เปลี่ยนทิศทางหรือหยุดไหล ท�ำให้ระบบ การไหลเวียนของมหาสมุทรผิดปกติ ซึ่งดู เป็นภาพที่ห่างไกลและดูจะเป็นโลกอีกใบ ทีเ่ ราไม่มที างได้เจอในชีวติ แต่ในความเป็นจริง ภาวะโลกร้อนนั้นส่งผลกระทบและใกล้กับ ‘โลกของเราแต่ละคน’ มากกว่าที่คิด โลกของคนรักฟุตบอล ที่อาจจะไม่มี สนามฟุตบอลหรือการแข่งขันฟุตบอลให้ดอู กี ในเวลาแค่ไม่กปี่ ี เพราะสนามฟุตบอลจมน�ำ้ ไปหมด โลกของคนชอบดืม่ กาแฟ ทีอ่ าจไม่เหลือ กาแฟให้ดื่มแล้วในเวลาอีกไม่ถึง 30 ปี เพราะจะไม่มีพื้นที่ใดบนโลกปลูกเมล็ด กาแฟได้ โลกของชาวไร่ ช าวนา ที่ อ าจเผชิ ญ ภั ย แล้ ง น�้ ำ ท่ ว ม และผลผลิ ต เสี ย หาย เพราะดินฟ้าอากาศแปรปรวน โลกของว่าที่พ่อแม่มือใหม่ ที่อาจไม่มี โอกาสเห็นหน้าของเจ้าตัวน้อย เพราะพิษ ของฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดต่างๆ และโลกของใครอี ก หลายๆ คน ที่ ก� ำ ลั ง จะเปลี่ ย นไปตลอดกาลจากผล กระทบของภาวะโลกร้อน

สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาทรงเชื้ อ เชิ ญ ทุ ก คนให้ ม าดู แ ลรั ก ษาโลกใบนี้ ซึ่ ง เป็ น บ้ า นที่ เ ราอาศั ย อยู ่ ร ่ ว มกั น โดยทุ ก ปี พระศาสนจักรได้จัดเทศกาลแห่งสิ่งสร้าง (1 กันยายน - 4 ตุลาคม) เพื่อฟื้นฟูความ สัมพันธ์ระหว่างผู้สร้างและสิ่งสร้าง และ สร้ า งความตระหนั ก ว่ า เราทุ ก คนต้ อ ง ร่ ว มมื อ กั น ปกป้ อ งดู แ ลบ้ า นที่ เราอาศั ย ร่วมกันนี้ พระศาสนจักรได้ก�ำหนดหัวข้อ ประจ� ำ เทศกาลแห่ ง สิ่ ง สร้ า งในปี นี้ ว ่ า “บ้ า นส� ำ หรั บ ทุ ก คน? ฟื ้ น ฟู บ ้ า นของ พระเจ้า” หรือภาษาอังกฤษว่า “A Home for All? Renewing God’s Oikos” (‘Oikos’ แปลว่า บ้าน ค�ำว่า ‘ระบบนิเวศ’ มาจาก รากศัพท์ในภาษากรีก 2 ค�ำ คือ ‘Oikos’ = บ้าน และ ‘Logos’ = เหตุผล, ความคิด) ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ พระวาจาของ พระเจ้ า ที่ ว ่ า “แผ่ น ดิ น และสรรพสิ่ ง บนแผ่นดินเป็นของพระยาห์เวห์ โลกและ ผูค้ นทีอ่ ยูใ่ นโลกก็เช่นเดียวกัน” (สดด 24:1) ในฐานะทีเ่ ราเป็นสิง่ สร้างและเป็นส่วนหนึง่ ของโลกใบนี้ ให้เราร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพื่อฟื้นฟูโลกใบนี้ โดยเริ่มจากการดูแลโลก ใบเล็กๆ ของเราเอง ด้วยการ ‘เปลีย่ น’ วิธคี ดิ และพฤติกรรม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการใช้ชีวิต อาหาร พลั ง งาน การรี ไ ซเคิ ล ฯลฯ เพื่อให้โลกของเรานั้นยังคงอยู่ตราบนาน เท่ า นาน และเมื่ อ โลกใบเล็ ก ๆ ของเรา ทุ ก คนมารวมกั น โลกใบใหญ่ นั้ น ก็ จ ะ ดีขึ้นได้อย่างแน่นอน

วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่จิตตารมณ์และกิจการซาเลเซียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานธรรมทูต การศึกษาอบรม งานอภิบาลเยาวชน การส่งเสริมและปลูกฝังกระแสเรียก 2. กระชับสายสัมพันธ์และความเป็นหนึ่งเดียวกันในระหว่างกลุ่มต่างๆ ของครอบครัวซาเลเซียน 3. เผยแพร่ความรักและความศรัทธาต่อพระเยซูเจ้าและแม่พระ

บรรณาธิการ


CONTENTs

ภาพจากปก

dbBULLETIN

SEPTEMBER - OCTOBER 2021

2 EDITOR’s NOTE

Salesian World 4 สารอัคราธิการ

เขารับใช้และมอบชีวิตของตน จนถึงวินาทีสุดท้ายของชีวิต

6 เรื่องเล่าจากสิ่งรอบตัว ของพ่อบอสโก ค�ำทักทาย

10 ค�ำขวัญปี 2022

“ท�ำทุกอย่างด้วยความรัก ไม่ทำ� อะไรทั้งสิ้นด้วยการฝืนใจ”

34 150 ปี คณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ พระมารดามารีย์ เพื่อนร่วมทาง ของธรรมทูต ธมอ ชุดแรก

Life

26 One Moment in Time

Youth & Education 7 เสียงเยาวชน

คิดอย่างไรกับการเรียนการสอนออนไลน์? 14 เพื่อนนักอบรม ใครเป็น...เช่นนี้ รึเปล่า? 36 ใจ คอร์นทเวท วัยรุ่นไทยหัวใจซาเลเซียน

ใจ คอร์นทเวท วัยรุ่นไทยหัวใจซาเลเซียน 15 ปีบนโลกมายา และรักที่มีต่อการแสดง

7

Holiness

38 ผู้ศักดิ์สิทธิ์ซาเลเซียน

“เวรา กรีตา” (1923-1969)

ซาเลเซียนผู้ร่วมงานผู้ศักดิ์สิทธิ์

22

40 พระพรที่ได้รับ

News

18 Local News 27 ส่องโลกซาเลเซียน

30

Blessing in disguise

39 เรื่องมีอยู่ว่า.... รับอะไรดีครับ

Faith & Catechesis

22 5 ค�ำถามเกี่ยวกับวัคซีนโควิด-19 ที่คาทอลิกให้ความสนใจ 16 สวดอย่างไร ให้ละม้าย คล้ายแม่พระ (8) 30 Lectio Divina

36

คริสตชนคือมนุษย์ใหม่ (มก 7:1-23) September-October 2021

3


สารอัคราธิการ Don Ángel Fernández Artime

แปล I สายลมที่พัดผ่าน

เขารับใช้และมอบชีวิตของตน จนถึงวินาทีสุดท้ายของชีวิต “ผมจะไม่ยอมให้คุณเข้าไปเป็นอันขาด แม้ว่าผมจะต้องสละชีวิตของผมเพื่อการนี้ก็ตาม” จากนั้นอาคาชก็ตรงไปที่ชายผู้นั้น รวบตัวเขาไว้แน่นและใช้ร่างกายของตนเป็นเกราะก�ำบังระเบิด ให้ผู้อื่น เขายอมตายเพื่อยับยั้งการสูญเสียอันยิ่งใหญ่แห่งโศกนาฏกรรมครั้งนั้น สวัสดี ผู้อ่านนิตยสารซาเลเซียนที่รัก

อาคาช บาชีร์

พ่อขอทักทายพวกท่านในโอกาสทีเ่ ราก�ำลังเริม่ ต้นปีการศึกษาใหม่ (ที่ยุโรปเปิดเรียนปีการศึกษาใหม่ในเดือนกันยายน) เราคงจะอยู่ ในบรรยากาศของการเริม่ แผนงานใหม่ การมีความสุขกับครอบครัว ที่งดงามและอาจจะมีความปรารถนาที่จะด�ำเนินชีวิตในการรับใช้ ผูอ้ นื่ อย่างเข้มข้นมากขึน้ พ่อใช้คำ� ว่า “อาจจะ” เพราะเราคงเหมารวม ไม่ได้ว่าทุกคนในโลกต้องการที่จะรับใช้ผู้อื่น เพราะหากมองตาม ความเป็นจริงแล้ว บางคนก็ยงั ไม่เด่นชัดในการรับใช้ แต่กม็ อี กี หลายคน ที่รักในการรับใช้ผู้อื่นอย่างน่าชื่นชม พวกท่านคงทราบดีถงึ ความปลืม้ ปิตยิ นิ ดีของพ่อในการแบ่งปัน เรื่องราวต่าง ๆ ที่น่าประทับใจ นั่นคือเหตุผลว่าท�ำไมวันนี้ ในขณะ ที่เราก�ำลังใจจดจ่อกับแผนงานต่าง ๆ เรามีความฝันที่เราอยากให้ เป็นจริง เรามีความคาดหวังซึง่ เราปรารถนาให้เกิดขึน้ ในปีการศึกษาใหม่ กระนั้นก็ดี พ่อยังปรารถนาแบ่งปันเรื่องราวของเยาวชนชายผู้หนึ่ง

4

db Bulletin

เขาก็เป็นเหมือนกับเยาวชนทัว่ ๆ ไป ไม่วา่ เขาจะอยูท่ บี่ า้ น ทีส่ นามเล่น หรืออยู่กับกลุ่มเพื่อน ซึ่งมีหลากหลาย อาทิ กลุ่มอาสาสมัครงาน ธรรมทูต กลุ่มอาสาสมัครงานสังคมสงเคราะห์ หรือกลุ่มผู้น�ำของ ศูนย์เยาวชนซึง่ มีความยินดีเสมอในการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ เยาวชนกลุม่ นี้ มักจะแบ่งปันความงดงามแห่งชีวิตต่อกันเสมอ เยาวชนที่ พ ่ อ ก� ำ ลั ง กล่ า วถึ ง นี้ เป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า ซาเลเซี ย นจาก ปากีสถาน เขายอมตายพร้อมกับระเบิด ยอมตายเป็นมรณสักขีเพือ่ ช่วย อีกหลายชีวติ พ่อไม่ได้กำ� ลังขอให้พวกท่านปฏิบตั เิ หมือนกับเยาวชน ผู้นี้ แต่พ่อต้องการเน้นย�้ำว่า เยาวชนมีศักยภาพในการท�ำทุกสิ่ง ทุกอย่าง และหลายครั้งก็ท�ำในสิ่งยิ่งใหญ่ถึงขั้นเป็นวีรชนผู้กล้า ด้วยซ�้ำไป

เรื่องราวของอาคาช บาชีร์

ชีวติ ของอาคาช บาชีรเ์ ป็นชีวติ ทีน่ า่ ทึง่ จริง ๆ เขาเกิดในครอบครัว ธรรมดาแต่หยั่งรากลึกในความเชื่อคริสตชน อาคาชเป็นเยาวชน คาทอลิกและเป็นศิษย์เก่าซาเลเซียนด้วย เขาได้รับการศึกษาจาก โรงเรียนซาเลเซียนแห่งหนึ่งที่ยูฮานาบัด ซึ่งเป็นหนึ่งในย่านชุมชน คริสตชน อยู่ในเมืองลาฮอร์ ประเทศปากีสถาน อาคาชด�ำเนินชีวิตเหมือนเยาวชนทั่วไป เขาอยู่กับครอบครัว และเพือ่ นฝูงเป็นปกติ ไม่วา่ จะเป็นทีโ่ รงเรียน ทีท่ ำ� งาน ทีส่ นามกีฬา และในการภาวนา แน่นอนว่า ประเทศปากีสถานซึ่งเป็นประเทศ ที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เพราะฉะนั้น การเป็น เยาวชนคาทอลิกคงไม่ได้เป็นอะไรที่ง่ายดาย คงไม่ใช่เป็นแค่ชื่อ หรือมาจากการสืบทอดทางประเพณีของครอบครัว คาทอลิกจะต้อง แสดงออกถึงความเป็นคริสตชนได้อย่างชัดเจนจนเป็นเอกลักษณ์ เพราะฉะนั้น สิ่งที่ท�ำให้อาคาชแตกต่าง มันก็คงเป็นอะไรที่ธรรมดา แต่ในความเรียบง่ายธรรมดานั้นชีวิตของเขาถูกขีดเส้นใต้เอาไว้ ที่ “การรับใช้” เพราะทุกชั่วขณะในชีวิตของอาคาชได้แสดงออก ถึงการรับใช้ จนกระทั้งเขาสละชีวิตของตนเพื่อรับใช้เพื่อนมนุษย์ เขารับใช้และมอบชีวิตของตนจนถึงวินาทีสุดท้ายของชีวิต เมือ่ วันที่ 15 มีนาคม 2015 ในขณะทีก่ ำ� ลังมีพธิ บี ชู าขอบพระคุณ ณ วัดนักบุญยอห์น ซึ่งตั้งอยู่ที่ยูฮานาบัด มีกลุ่มเยาวชนอาสาสมัคร รักษาความปลอดภัยซึ่งอาคาชก็เป็นสมาชิกของกลุ่มนี้ มาช่วย อ�ำนวยความสะดวกทีว่ ดั นักบุญยอห์นด้วย โดยเฉพาะบริเวณทางเข้าวัด ทันใดนั้น ก็มีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น อาคาชสังเกตว่ามีชาย ผู้หนึ่งผิดปกติ และคาดเดาว่าภายใต้เสื้อคลุมของชายผู้นี้มีระเบิด


พ่อแม่และน้องชายของอาคาช

หลุมศพของอาคาช

ซุกซ่อนไว้ ชายผู้นี้พยายามเดินเข้าไปในวัด และหวังที่จะจุดระเบิดในวัด อาคาชเห็นท่า ไม่ดีจึงเรียกบุคคลนั้นมา พูดกับเขา และ พยายามป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เขาเข้ า ไปในวั ด ในทีส่ ดุ ดูเหมือนว่าอาคาชจะไม่สามารถหยุด บุคคลนี้ได้ เขาจึงกล่าวกับบุคคลที่มีระเบิด อยู่กับตัวว่า “ผมจะไม่ยอมให้คุณเข้าไป เด็ดขาด แม้ว่าผมจะต้องสละชีวิตของผม เพื่อการนี้ก็ตาม” จากนั้นอาคาชก็ตรงไปที่ ชายผู ้ นั้ น รวบตั ว เขาไว้ อ ย่ า งแน่ น หนา อาคาชใช้ร่างกายของตนเป็นเกราะก�ำบัง ระเบิ ด ให้ ผู ้ อื่ น เขายอมตายเพื่ อ ยั บ ยั้ ง การสูญเสียอันยิ่งใหญ่แห่งโศกนาฏกรรม ครั้งนั้น ศิษย์เก่าของเราผู้นี้ได้จบชีวิตลง เขาได้มอบอุทิศชีวิตของเขาเพื่อรักษาชีวิต ของผูค้ นนับร้อย ไม่วา่ จะเป็นเด็ก ๆ พร้อมกับ มารดาของพวกเขา เยาวชนอีกหลายคน รวมไปถึ ง สั ต บุ รุ ษ ที่ ก� ำ ลั ง สวดภาวนาอยู ่ ในวัดด้วย อาคาชมีอายุเพียงแค่ 20 ปี เท่านัน้ แต่กส็ ามารถเป็นวีรยุวชนทีก่ ล้าหาญ เหตุการณ์นี้แม้ว่าจะดูหดหู่แต่ก็สร้าง ความประทั บ ใจที่ ลึ ก ซึ้ ง ให้ กั บ ครอบครั ว ซาเลเซียน เราคงไม่สามารถลืมเรือ่ งราวของ อาคาชได้ ชีวติ ของอาคาชเป็นชีวติ ทีเ่ รียบง่าย ก็จริง แต่ในความเรียบง่ายนัน้ ได้จดุ ประกาย ความหมาย ความส� ำ คั ญ และแบบอย่ า ง ที่ น ่ า ประทั บ ใจให้ กั บ เยาวชนคาทอลิ ก แห่งลาฮอร์ รวมไปถึงทุกคนในประเทศ ปากีสถาน และทุกคนในโลกด้วย คุณแม่ของอาคาชกล่าวว่า “อาคาชคือ แก้วตาดวงใจของดิฉัน จริงอยู่ที่ดิฉันและ ครอบครั ว เสี ย ใจมาก แต่ ก็ ค งไม่ เ ท่ า กั บ ความยินดีที่ยิ่งใหญ่ที่พวกเราได้รับ เพราะ อาคาชมิได้เสียชีวิตจากอาการติดยาหรือ จากอุบัติเหตุ เขาเป็นเพียงเยาวชนคนหนึ่ง ทีย่ อมตายบนหนทางแห่งองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า

พระองค์โปรดให้เขาได้เป็นบุคคลทีส่ ละชีวติ เพื่อปกป้องชีวิตของพระสงฆ์และสัตบุรุษ ที่มาสวดภาวนาที่วัด คงไม่ต้องสงสัยเลย ที่ จ ะกล่ า วว่ า อาคาชเป็ น นั ก บุ ญ ของ พวกเราแล้ว” ทุกวันนี้ อาร์ซาลาน น้องชายของอาคาช ก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของทีมงานรักษาความ ปลอดภั ย ซึ่ ง ท� ำ งานรั บ ใช้ วั ด อย่ า งเต็ ม ที่ คุณแม่ยังคงกล่าวอีกว่า “พวกเราไม่ได้บอก ให้น้องชายของอาคาชเลิกท�ำงานนี้ เพราะ พวกเราไม่ตอ้ งการทีจ่ ะหน่วงเหยีย่ วเยาวชน ของเราจากการรับใช้พระศาสนจักร”

ยุวมรณสักขี ในปัจจุบัน

คงมีคริสตชนบางท่านทีอ่ าจลืมการค้นพบ คุณค่าจากการรับใช้ บางครั้ง เราคริสตชน ก็ ลื ม พระบั ญ ญั ติ แ ห่ ง ความรั ก ต่ อ พระเจ้ า ซึง่ ต้องแสดงออกอย่างจริงจังในความรักและ การรั บ ใช้ เ พื่ อ นมนุ ษ ย์ อาคาชเข้ า ใจใน พระบั ญ ญั ติ แ ห่ ง ความรั ก นี้ อ ย่ า งดี แ ละ พยายามท� ำ ให้ เ กิ ด ผลในชี วิ ต ของตนเอง ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ ต ่ อ สิ่ ง เล็ ก น้ อ ย ท� ำ ให้ อาคาชสามารถซื่ อ สั ต ย์ ต ่ อ สิ่ ง ยิ่ ง ใหญ่ ไ ด้ ด้วยการเสียสละชีวิตของตน ท�ำให้อาคาช สามารถรักษาชีวติ ของครอบครัวนับร้อยไว้ได้ ความตายของอาคาชได้ ส ะท้ อ นความรั ก ของพระเยซู เ จ้ า บนไม้ ก างเขน เพราะ พระองค์ สิ้ น พระชนม์ เ พื่ อ ความรอดพ้ น ของมนุษยชาติ ชีวิตของอาคาชได้สะท้อนถึงชีวิตแห่ง การรับใช้ ชีวิตแห่งการภาวนาที่ลึกซึ้ง และ ชี วิ ต แห่ ง ความรั ก ต่ อ เพื่ อ นพี่ น ้ อ ง เราคง ไม่ ต ้ อ งสงสั ย เลยว่ า ชี วิ ต ของเขาได้ แ สดง เครื่ อ งหมายแห่ ง พระพรพิ เ ศษซึ่ ง เป็ น คุ ณ ลั ก ษณะพิ เ ศษต่ อ การศึ ก ษาอบรม ซาเลเซียน นักเรียนทุกคนซึ่งเราซาเลเซียน

ดูแลอยู่คงทราบดีว่า เพื่อจะบรรลุถึงความ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ พวกเขาจะต้ อ งมี ค วามยิ น ดี มีความรักทีล่ กึ ซึง้ ต่อพระเจ้าและเพือ่ นมนุษย์ พร้อมกับดูแลเอาใจใส่ผู้ซึ่งเราอาจจะเข้าใจ พวกเขายากสั ก หน่ อ ย นอกนั้ น ยั ง ต้ อ ง รับผิดชอบต่อหน้าทีป่ ระจ�ำวันอย่างดี รับใช้ผอู้ นื่ และสวดภาวนาอย่างสม�ำ่ เสมอ อาคาช บาชีร์ เป็นแบบอย่างแห่งชีวิตที่ศักดิ์สิทธิ์ส�ำหรับ คริสตชนและทุกคนในโลก ดังนัน้ จึงมีความ เป็นไปได้เสมอที่เราจะเป็นนักบุญในวันนี้ พ่ออยากจะเน้นย�้ำว่าอาคาชเป็นเสียง ของเยาวชนจ�ำนวนหนึง่ ซึง่ มีกล้าหาญ พวกเขา สามารถด� ำ เนิ น ชี วิ ต ยื น หยั ด ในความเชื่ อ แม้ ว ่ า จะต้ อ งเผชิ ญ หน้ า กั บ ความยากจน ความรุนแรงอันเกิดจากนับถือศาสนา ความ แตกต่าง ความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคม การแบ่งแยก และความยากล�ำบากอืน่ ๆ ในชีวติ มีนกั บุญ หลายท่ า นที เ ดี ย วที่ ยั ง คงเป็ น แบบอย่ า ง ให้กบั เราทุกวันนี้ อาทิ นักบุญดอมินกิ ซาวีโอ นักบุญมารีอา กอเรตตี บุญราศีปแี อร์ จอร์โจ ฟราสซาตี นักบุญโฮเซ ซานเชส แห่งริโอ และบุญราศี คาร์โล อาคูติส พ่อเชื่อว่าชีวิตและวีรกรรมขั้นมรณสักขี ของเยาวชนชาวปากี ส ถานวั ย 20 ปี ผู ้ นี้ ต้องท�ำให้เราตระหนักถึงพลังแห่งการท�ำงาน ของพระจิ ต เจ้ า ผู ้ ท รงชี วิ ต และประทั บ อยู ่ กับเราทุกหนแห่งรวมไปถึงหลายที่ซึ่งเรา อาจจะมองข้ามไป ไม่ว่าจะเป็นในบุคคล ที่ สุ ภ าพอ่ อ นโยน ในสถานที่ ซึ่ ง มี ก าร เบี ย ดเบี ย น ในเยาวชน และในบรรดา ผู้ยากจนแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า (ANAWIM) ขอพระเจ้าอวยพรเราทุกคนรวมไปถึง ครอบครัวของเรา หมู่คณะที่เราอยู่ หน้าที่ การงานทีก่ ำ� ลังท�ำ และขอให้เริม่ ปีการศึกษาใหม่ ด้วยความสุข September-October 2021

5


เรื่องเล่าจากสิ่งรอบตัวของพ่อบอสโก Text: Jose J.Gomez PALACIOS I Illustrate: Cesare แปล I ต้นลูกหนาม SIHM

ค�ำทักทาย ฉั น เป็ น ค� ำ ทั ก ทาย ตั ว ของฉั น ไม่ ไ ด้ ถูกสร้างจากวัตถุ ด้วยเหตุนี้ ฉันจึงไม่มี ร่างกาย แต่ฉันถูกสร้างมาจากค�ำพูดง่ายๆ ที่ ล อยอยู ่ ใ นอากาศ คนส่ ว นใหญ่ มั ก มี ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบทางกายกลับมา เมือ่ พวกเขา ได้ยินเสียงของฉัน คุณแม่มาร์เกริตาได้ พูดถึงหนูน้อยยอห์น บอสโกว่า ท่านเป็น ปรมาจารย์ที่แท้จริงในการทักทาย เพราะ ยอห์ น จะพู ด คุ ย กั บ เพื่ อ นบ้ า นที่ เ บ็ ก กี ด้วยความเป็นกันเองจนชาวบ้านหลายคน ที่ มี นิ สั ย หยาบกระด้ า งรู ้ สึ ก ทึ่ ง กั บ ความ จริ ง ใจที่ เ ด็ ก น้ อ ยแสดงออกกั บ พวกเขา ส่วนฉัน ฉันคุน้ เคยกับท่าทีของยอห์นเช่นกัน ยอห์ น ในวั ย เด็ ก ให้ ค วามสนใจในการ ทักทายเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าอีกฝ่ายเป็นเจ้าอาวาสหรือเป็นพระสงฆ์ ในต�ำบลใกล้เคียง เมื่อท่านเห็นพระสงฆ์ ก�ำลังเดินมา ท่านจะชะลอฝีเท้าและยิ้มให้ ด้วยความยินดี จากนัน้ จะก้มศีรษะเล็กน้อย แล้วกล่าวด้วยความเคารพว่า “อรุณสวัสดิ”์ พร้อมกับรอค�ำตอบกลับ อย่างไรก็ตาม มีบ่อยครั้งที่พระสงฆ์บางองค์ไม่ตอบกลับ ค�ำทักทายของท่าน ฉันจึงล่องลอยอย่าง ว่างเปล่าอยู่ในอากาศ ด้วยเหตุนี้ ยอห์น จึงตั้งใจว่า เมื่อท่านได้เป็นพระสงฆ์แล้ว ท่านจะไม่มวี นั ท�ำเหมือนพระสงฆ์เหล่านัน้ และสั ญ ญากั บ ตนเองว่ า ท่ า นจะใจดี กับทุกคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเด็กๆ และ เยาวชน ... และท่านก็ไม่เคยลืมสัญญานีเ้ ลย

6

db Bulletin

ประวัติความเป็นมา ยอห์น บอสโก ในวัยเด็ก มักจะทักทายพระสงฆ์ในบริเวณต�ำบลของท่านและทักทาย เพือ่ นบ้านด้วยความเป็นกันเองเสมอ แต่บอ่ ยครัง้ ทีป่ ฏิกริ ยิ าตอบกลับค�ำทักทายของท่าน ดูเย็นชาและไม่จริงใจ คุณพ่อบอสโกจึงสัญญากับตนเองว่า เมื่อท่านเป็นพระสงฆ์แล้ว ท่านจะไม่ท�ำแบบนี้เลย (Memorie dell’Oratorio, prima decade, n. 12)

เมื่ อ คุ ณ พ่ อ บอสโกย้ า ยไปท� ำ งานเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เด็ ก ยากจนที่ ตุ ริ น ท่ า นพบกั บ ความยากล�ำบากในการเข้าถึงหัวใจที่แท้จริงของเด็กๆ เหล่านั้น ท่านจึงใส่ถ้อยค�ำที่เต็ม ด้วยความร่าเริงให้กับฉันและส่งฉันขึ้นไปในอากาศเพื่อท�ำให้เด็กเหล่านั้นสามารถยิ้ม ออกมาได้ ในบางครั้ง ท่านใส่ถ้อยค�ำแห่งความหวังให้ฉันและส่งฉันไปหาเด็กๆ ที่มี ความกลัวเพื่อบอกกับพวกเขาว่า: “อย่ากลัวเลย พ่อบอสโกจะไม่มีวันทอดทิ้งพวกเธอ” เมื่อท่านไปเยี่ยมเด็กๆ ที่ท�ำงานในโรงงาน ฉันต้องระวังไม่ให้สับสน เพราะเมื่อท่าน ทักทายนายจ้าง ฉันต้องแสดงถึงข้อเรียกร้องและในเวลาเดียวกันก็ต้องแสดงออกถึง ความอ่อนโยนด้วย คุณพ่อบอสโกมีความสามารถในการผสมผสานความแตกต่างได้อย่างลงตัว ซึ่งท่าน ใช้ตามโอกาสต่างๆ ที่เหมาะสม เช่น การใช้ค�ำพูดเพื่อเรียกร้อง เพื่อความเข้าใจ เพื่อ ความกล้าหาญ ด้วยความเคารพ... เมื่อคุณพ่อบอสโกเข้าสู่วัยชรา ฉันรู้ดีว่าอีกไม่นาน เราจะต้องจากกันตลอดกาลและมันก็เเป็นเช่นนัน้ แต่ถงึ กระนัน้ ฉันก็ยงั คงอยูบ่ นริมฝีปาก ของท่านจนถึงวินาทีสุดท้ายของชีวิต คุณพ่อบอสโกได้มอบชุดถ้อยค�ำแห่งความเชื่อและ การอุทิศตนให้กับบรรดาซาเลเซียนของท่านด้วยความรัก รวมถึงกับบรรดาเยาวชน ของท่านด้วย เพื่อพวกเขาจะได้ไม่ลืมว่าท่านรักพวกเขามากเพียงใด และถ้อยค�ำ ชุดสุดท้ายที่ท่านใช้ก็คือถ้อยค�ำแห่งความกตัญญูรู้คุณต่อพระเจ้า...ซึ่งน�ำท่านกลับไปยัง บ้านแท้นิรันดร


Voice of Youth

เสียงเยาวชน By Andy เมื่อโควิด-19 ท�ำให้เด็กๆ ไม่ ได้ไปโรงเรียน ระบบการเรียนทางไกล (ออนไลน์) จึงถูกน�ำมาใช้ ในช่วงที่เราต้องรักษาระยะห่างทางกายภาพกัน แต่ค�ำถามที่ตามมาก็คือ พอไม่ ได้ไปโรงเรียน หน้าตาห้องเรียนของแต่ละคนเป็นอย่างไร? นั่งเรียนบนเก้าอี้ หรือนอนแผ่อยู่บนเตียง? มีการบ้านต้องท�ำเหมือนเดิมไหม หรือเยอะขึ้นกว่าแต่ก่อน? ให้เราฟังความคิดเห็นของเยาวชนกันว่า

คิดอย่างไร

กับการเรียนการสอนออนไลน์? คอม

ฐิติศักดิ์ บุญเพิ่มพูน อายุ 18 ปี

Comp

ผมคิ ด ว่ า การเรี ย นออนไลน์ นั้ น สะดวกและง่ า ยแต่ ก็ ต ้ อ งแลกมาด้ ว ยการมี ความรับผิดชอบสูงเช่นกัน การเรียนออนไลน์มที งั้ ข้อดีและข้อเสีย ข้อดีกค็ อื เราสามารถเรียน ได้ทกุ ทีไ่ ม่จำ� เป็นต้องไปเรียนทีโ่ รงเรียน การเรียนออนไลน์ทำ� ให้ผมได้รจู้ กั จัดตารางเวลา ให้ตนเอง รู้จักบังคับตัวเองและตั้งใจเรียนมากขึ้นเพราะมีสิ่งเร้าภายนอกมากกว่า ที่โรงเรียน ส่วนข้อเสียก็มีเช่นกัน คือเรื่องความพร้อมในการจัดหาอุปกรณ์และสัญญาณ อินเทอร์เน็ตที่ต้องอยู่ในระดับที่ดี ถ้าผมต้องเลือกระหว่างไปโรงเรียนและเรียนออนไลน์ ผมเลือกไปเรียนที่โรงเรียนครับ

September-October 2021

7


บิว

Biew

พรพรรณ อายุ 18 ปี

หนูไม่โอเคกับการเรียนออนไลน์ หนูอยากไปโรงเรียนมากกว่า เพราะเน็ตที่บ้านไม่ดีและ ต้องแบ่งอุปกรณ์ใช้ร่วมกับน้องอีกสองคน หนูรู้สึกว่าการเรียนที่บ้านท�ำให้หนูขี้เกียจมากกว่า บางวันหนูตื่นสาย ตื่นปุ๊บเรียนปั้บเลยค่ะ ส่วนตัวครูผู้สอนเอง บางคนก็สอนไม่รู้เรื่อง บางคน ก็ เ กิ ด ปั ญ หาติ ด ขั ด ขณะสอน แถมมี ก ารบ้ า นเยอะ ที่ ส� ำ คั ญ การเรี ย นที่ บ ้ า นมี ผ ลต่ อ เรื่ อ ง ความรักด้วยค่ะ เพราะท�ำให้หนูไม่ได้นั่งใกล้คนที่หนูแอบชอบ ไม่ได้แอบมองหน้าเขา ท�ำได้ แค่มองผ่านโซเชียลเท่านั้น...

อัฐ

Aut

จักรกฤช ประกอบ อายุ 18 ปี

ผมนั่งเรียนออนไลน์อยู่ในห้องหนังสือที่บ้านซึ่งสงบเงียบมาก และก็เอาขนมและน�้ำมากิน พร้อมกันไปด้วย ส่วนตัวแล้ว ผมคิดว่าการเรียนออนไลน์นั้นสะดวกเพราะผมสามารถเรียนที่ไหน ก็ได้ แต่เป็นทีต่ วั ของผมเองซึง่ ไม่คอ่ ยเต็มทีก่ บั การเรียนสักเท่าไหร่และรูส้ กึ ว่าได้รบั ความรูไ้ ม่เท่ากับ ในห้องเรียน ทั้งๆ ที่ครูก็สอนดีและพร้อมที่จะให้ความรู้อย่างเต็มที่ ข้อดีอีกข้อหนึ่งของการเรียน ออนไลน์ก็คือ ท�ำให้ผมได้กลับมาช่วยงานที่บ้านที่ต่างจังหวัดได้ทุกวันในช่วงหลังเลิกเรียนและ วันหยุด แต่ถ้าให้ผมเลือกระหว่างไปโรงเรียนกับเรียนอออนไลน์ผมขอเลือกไปโรงเรียนดีกว่าครับ เพราะผมสามารถโฟกัสกับการเรียนได้ดีกว่าและได้เจอกับเพื่อนๆ ด้วย

พรีม

Prem

ปัณฑิตา นามแสง อายุ 14 ปี

หลังจากทีห่ นูได้เรียนออนไลน์มาระยะหนึง่ หนูคดิ ว่ามันมีทงั้ ข้อดีและข้อเสีย การเรียนออนไลน์ ท�ำให้หนูได้ปรับปรุงนิสยั ของตนเองให้มคี วามรับผิดชอบในหน้าทีก่ ารเรียนเพิม่ มากขึน้ ส่วนข้อเสีย ของการเรียนออนไลน์ก็คือบางครั้งหนูเรียนไม่เข้าใจ ไม่ได้แสดงความคิดเห็นและไม่ได้เจอกับ เพือ่ นๆ หนูคดิ ว่าการทีไ่ ด้เรียนทีโ่ รงเรียนท�ำให้ได้พดู คุยชักถามและคุณครูสามารถติดตามนักเรียน ได้อย่างใกล้ชิดมากกว่า อย่างไรก็ตาม หากต้องเลือกระหว่างการเรียนออนไลน์และไปโรงเรียน หนูขอเลือกไปโรงเรียนค่ะ

ม่อน

Mon

ณธัช เศวตภาณุภัทร อายุ 15 ปี

ผมไม่คอ่ ยชอบการเรียนออนไลน์สกั เท่าไร เพราะว่าการเรียนออนไลน์ทำ� ให้ผมเกิดความเครียด เนือ่ งจากมีบางเนือ้ หาทีเ่ ข้าใจยากหรือบางเรือ่ งทีไ่ ม่เข้าใจ และแต่ละคนก็มคี วามพร้อมในเรือ่ งทุน และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการเรียนต่างกัน และมีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมือนกัน อย่างไรก็ตาม การเรียนออนไลน์ก็มีข้อดีคือ หลักสูตรมีความหลากหลาย สะดวกสบายในการค้นคว้าหาความรู้ เพิม่ เติม และท�ำให้ตวั ผมเองมีความรับผิดชอบในการเข้าเรียนแต่ละวิชามากขึน้ แต่หากสถานการณ์ ดีขึ้น ผมจะเลือกไปเรียนที่โรงเรียนมากกว่า เพราะว่าจะได้พูดคุยกับเพื่อนร่วมชั้น เรียนรู้ในการ เข้าสังคม และสร้างเครือข่ายตั้งแต่วัยเยาว์

8

db Bulletin


1

5 เทคนิคเรียนออนไลน์ให้สนุก

ตั้งเป้าหมายในการเรียน ลองท�ำแผนการเรียนขึ้นมา การเรียนครั้งนี้จะมีความหมายยิ่งขึ้น ก่อนอื่นลองตั้งค�ำถาม กับตัวเองก่อนว่าเราเรียนรู้สิ่งนี้ไปเพื่ออะไร? เรามีเป้าหมายยังไง กับการเรียนครั้งนี้? มีอะไรที่เราอยากรู้เกี่ยวกับวิชานี้ จะเอาไป ใช้ประโยชน์อะไรเพื่อตัวเองบ้าง? จากนั้นลองท�ำแผนการเรียน ส�ำหรับเป้าหมายนีข้ นึ้ มาแล้วท�ำตามทีต่ งั้ เป้าหมายไว้ให้ได้แค่นเี้ อง

2

ท�ำทุกอย่างให้เหมือนเรียนในห้องเรียนจริงๆ เราจึงต้องสร้างความรูส้ กึ ให้ตวั เอง คิดว่านีค่ อื การเรียนเหมือน ในห้องเรียนจริงๆ ไปเลย ลองจัดตารางเรียนให้เป็นเวลา ใส่มนั ลง ไปในแพลนชีวติ ประจ�ำวันจริงๆ แล้วท�ำตามเวลานัน้ เหมือนกับว่า ต้องไปเข้าคลาสทีต่ อ้ งเช็คชือ่ จริงๆ ก็จะช่วยให้เราเรียนได้ตามแผน มากขึ้น

3

ชวนเพื่อนเปิดหน้าจอมาเรียนออนไลน์ ไปพร้อมกัน เพราะเราต้องห่างกันสักพักและถึงจะอยู่คนละบ้าน วิธีที่ง่าย ทีส่ ดุ คือ โทรปลุกเพือ่ นมานัง่ เรียนออนไลน์พร้อมกันเลย เพือ่ เพิม่ แรงจูงใจให้กนั เอง หลังจากเรียนเสร็จแล้วก็แลกเปลีย่ นความรูก้ นั ได้ผา่ นห้องแชทต่างๆ หากไม่เข้าใจทีเ่ รียนไปก็สอบถามคุณครูเพิม่ เติมเกี่ยวกับเรื่องที่ยังไม่เข้าใจได้ด้วย

4

สร้างบรรยากาศการเรียนให้น่าเรียน เมื่อไรที่เรามีสมาธิ สมองจะโฟกัสกับการเรียนได้ดีขึ้น ซึ่ง แต่ ล ะคนอาจจะมี เ ทคนิ ค ที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น ลองหาวิ ธี ที่ เ หมาะ

T R PO R Eสวนดุ สิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ส�ำรวจความคิดเห็นของประชาชน

ต่อกรณี “หัวอกครู ผู้ปกครอง นักเรียน” กับการเรียนออนไลน์” กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 3,749 คน ส�ำรวจวันที่ 14 - 17 มิถุนายน 2564 พบว่า ประชาชนมองว่า ยังไม่พร้อมส�ำหรับการเรียนออนไลน์ ร้อยละ 51.35 และการศึกษาไทยก็ยัง ไม่พร้อมส�ำหรับการเรียนออนไลน์ ร้อยละ 63.30 สิ่งที่ครูกังวล คือ อุปกรณ์ ไม่พร้อม อินเทอร์เน็ตช้า ร้อยละ 77.18 ผู้ปกครองกังวลว่าบุตรหลานจะไม่มี สมาธิ ขาดความกระตือรือร้น ร้อยละ 66.16 ตัวนักเรียนกังวลว่าจะเรียนไม่เข้าใจ

กับตัวเองดูรวมถึงก�ำจัดสิ่งรบกวนรอบตัว นึกเสมอว่าตอนนี้ก�ำลังเรียนก็คือเรียน ไม่แนะน�ำ ให้ท�ำอย่างอื่นไปพร้อมกันด้วย เพราะอาจจะ ลดประสิทธิภาพในการท�ำความเข้าใจเนื้อหา ของเราได้ เช่น เปิดคลิปเรียนไป ดูทีวีไปด้วย กินไปด้วย ออกก�ำลังกายไปด้วย อาจจะฟังได้ก็จริงแต่ก็จะไม่ได้ รู้สึกโฟกัสเต็มที่กับเนื้อหาจริงๆ

5

ให้รางวัลตัวเอง

เพื่อให้การเรียนในครั้งนี้ไม่เครียดจนเกินไป หรือช่วยสร้าง แรงจูงใจให้เรารีบท�ำให้ส�ำเร็จได้ดั่งใจด้วย เมื่อท�ำตามเป้าหมา ยทีต่ งั้ ไว้ได้แล้ว หรือเรียนจบตามทีต่ งั้ ใจไว้ ก็อย่าลืมทีจ่ ะให้รางวัล ตัวเองเมื่อท�ำส�ำเร็จบ้างนะ อย่างน้อยเป็นก�ำลังใจเล็กๆ ให้ตัวเอง มีแรงพัฒนาตัวเองต่อไป การเรียนออนไลน์ให้ส นุกไม่ใช่เรื่องยากหากรู้จั ก ปรั บ ตั ว อย่างไรก็ตามครูผู้สอนและนักเรียนเองก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า โหยหา บรรยากาศการเรียนการสอนแบบเดิม ที่ทุกคนมีปฏิสัมพันธ์กัน นักเรียนเรียนรู้และเติบโตพร้อมกับเพื่อนๆ วัยเดียวกันในสังคม หากรอเพียงแต่สถานการณ์โควิด-19 ให้ดีขึ้นในอนาคต เราอาจ จะเห็นรูปแบบห้องเรียนผสมผสาน ทั้งการเรียนแบบดั้งเดิมและ การเรียนออนไลน์ควบคู่กันไปอย่างสมบูรณ์ อ้างอิง https://www.facebook.com/ThaiMMTFan/posts/3112288025468995

ร้อยละ 74.25 และประชาชนมองว่าการเรียนออนไลน์นั้นผู้เรียนไม่มีสมาธิ เท่าทีค่ วร ร้อยละ 65.80 โดยสิง่ ทีอ่ ยากให้ภาครัฐ/สถานศึกษาช่วยเหลือ คือ อยากให้ สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือส�ำหรับเรียนออนไลน์ ร้อยละ 62.22 ทั้งนี้มองว่า การเรียนออนไลน์จะกระทบต่อการศึกษาระดับชัน้ ปฐมวัยมากทีส่ ดุ ร้อยละ 35.57 และจะท�ำให้คุณภาพการศึกษาไทยแย่ลง ร้อยละ 68.52 ที่มา: www.thaipost.net/main/detail/106932 September-October 2021

9


คำ�ขวัญอัคราธิการ ปี 2022 Don Ángel Fernández Artime

พี่น้องและเพื่อนๆ ที่รัก หกเดือนทีแ่ ล้ว เรามอบค�ำขวัญของปีใหม่ ให้ธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์และครอบครัว ซาเลเซียน อย่างที่ท�ำกันมาเป็นธรรมเนียม ตั้ ง แต่ ใ นสมั ย ของคุ ณ พ่ อ บอสโก แล้ ว นั้ น หกเดือนต่อมา พ่อถูกขอร้องให้เลื่อนหัวข้อ ค�ำขวัญปี 2022 ให้เร็วขึ้น เพื่อให้สอดคล้อง กับช่วงเวลาของแต่ละซีกโลกที่มีซาเลเซียน ท� ำ งานอยู ่ พ่ อ ก็ ยิ น ดี ท� ำ ตามด้ ว ยหวั ง ว่ า จะช่วยอะไรได้บ้าง

10

db Bulletin

แปล I บ.สันติสุข

ปี 2022 เป็นปีที่เราจะฉลองศตวรรษที่สี่ ของมรณกรรมของท่านนักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์ โดยให้ ค� ำ ขวั ญ สอดคล้ อ งกั บ ชี วิ ต ของท่ า น นักบุญ ซึง่ เป็นต้นธารทีม่ าของชีวติ ซาเลเซียน ของคุ ณ พ่ อ บอสโก บิ ด าและผู ้ ตั้ ง ของเรา ทีต่ กั ตวงและน�ำมาร�ำพึงไตร่ตรองตลอดเวลา โดยเฉพาะเมือ่ จะต้องเลือกรูปแบบการอบรม และการประกาศข่าวดี ซึ่งกลายเป็นลักษณะ จ�ำเพาะของคณะซาเลเซียน “เราเรียกตัวเองว่า ซาเลเซียน”

เรารู้ดีว่าคุณพ่อบอสโกมีความประทับใจ อย่างลึกซึง้ ในตัวของท่านนักบุญ ท่านนักบุญ เป็ น แรงบั น ดาลใจแท้ จ ริ ง ของคุ ณ พ่ อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในฐานะที่ท่านนักบุญ เป็นนายชุมพาบาลแท้ เป็นอาจารย์แห่งความรัก เป็นผูท้ ำ� งานทีไ่ ม่รเู้ หน็ดรูเ้ หนือ่ ยเพือ่ ความรอด ของวิญญาณ... ตัง้ แต่เมือ่ เป็นสามเณรหนุม่ ยอห์น บอสโก ถือเป็นข้อตั้งใจตั้งแต่ก่อนบวชเป็นพระสงฆ์ “ขอให้ความรักและความอ่อนโยนของท่าน นักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์ชี้น�ำข้าพเจ้าตลอด เวลา” และในบันทึกศูนย์เยาวชน คุณพ่อ บอสโกบอกว่า “(ศูนย์เยาวชน) เริ่มต้นด้วย การเรี ย กตั ว เองด้ ว ยชื่ อ ของนั ก บุ ญ ฟรั ง ซิ ส แห่งซาลส์ [...] เพราะเรามอบงานที่ต้องมี ความใจเย็นและอ่อนโยนไว้ในความอุปถัมภ์ ของนั ก บุ ญ ท่ า นนี้ ด ้ ว ยหวั ง ว่ า เราจะได้ รั บ พระหรรษทานจากพระเจ้าในการเลียนแบบท่าน ในความใจดีอย่างพิเศษและในการได้มา ซึ่งวิญญาณมากมาย” แน่นอนที่ว่า ค�ำขวัญปีนี้จะเป็นโอกาส พิเศษสุดในการรับรูแ้ ละพบกับตัวเราในชีวติ จิต ของนั ก บุ ญ ฟรั ง ซิ ส แห่ ง ซาลส์ แ ละชื่ น ชม ในลั ก ษณะพิ เ ศษของชี วิ ต จิ ต ซาเลเซี ย น ของคุณพ่อบอสโกมากยิ่งขึ้น รวมทั้งคุณค่า แสนประเสริฐในชีวิตจิตเยาวชนซาเลเซียน จึ ง ไม่ ต ้ อ งสงสั ย เลยว่ า เราจะเห็ น ตั ว เรา สะท้อนออกมาในชีวิตจิตเหล่านี้และส�ำนึก ในการต้องเป็น “ซาเลเซียนมากขึน้ ” ในครอบ ครัวซาเลเซียนของเรา กล่าวคือ เต็มเปี่ยม ด้วยด้วยจิตตารมณ์ของนักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์


เป็นจิตตารมณ์ทซี่ มึ ซาบในความเป็นซาเลเซียน และในพระวาจาของพระวรสารและในความ ตี พิ ม พ์ แ ละตี พิ ม พ์ เ พิ่ ม ในรู ป แบบหนั ง สื อ ของเราในฐานะครอบครัวของคุณพ่อบอสโก เรียบง่ายที่คุณพ่อบอสโกเสนอให้เด็กของท่าน ในเวลาเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น ฐานของการอบรมที่ Marie Margaret Alacoque ผู้ซึ่งหลังจาก ในภาษาและในบริบทของศตวรรษที่ 19 เป็นของพระเจ้าทั้งครบ ดังนั้น เราจะไม่สนใจเพื่อท�ำให้สิ่งนี้เป็น มรณภาพของนักบุญฟรังซิสได้รบั การเผยแสดง ด�ำเนินชีวิตในโลกอย่างเต็มร้อย แหล่ ง ที่ ม าของแรงบั น ดาลใจและข้ อ เสนอ ที่ เ ปิ ด ทางไปสู ่ ค วามศรั ท ธาต่ อ ดวงพระทั ย นีน่ า่ จะเป็นข้อเสนอเชิงวิวฒ ั นาการทีส่ ดุ ยอด ด้ า นการอภิ บ าลและชี วิ ต จิ ต ในสมั ย ของเรา ศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้าในพระศาสนจักร ส่วนอีกความเรียงหนึ่งที่เกี่ยวกับความรัก ของนักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์ พระสันตะปาปา ได้อย่างไร ต่อผู้อื่น คงเหลือแค่สารบัญ อันเนื่องมาจาก เบเนดิกที่ 16 ได้ทรงกล่าวไว้อย่างลึกซึ้งและ การมรณกรรมก่อนวัยอันสมควรของนักบุญ งดงามเมื่อตรัสว่าการเชื้อเชิญที่ยิ่งของใหญ่ แก่นแห่งจิตใจ ทีน่ กั บุญฟรังซิสแห่งซาลส์ได้เสนอให้แก่คริสตชน ในช่วงรับการอบรมของท่านที่ปารีส สิ่งที่ ฟรังซิสในวันที่ 28 ธันวาคม 1622 ในวัย 55 ปี คือ “การเป็นของพระเจ้าทัง้ ครบ การด�ำเนินชีวติ สะกิดใจให้นกั บุญฟรังซิสกลับใจคือการอ่าน เพลง มนุ ษ ยนิ ย ม (humanism) ของนั ก บุ ญ อย่างเต็มร้อยในโลกและในงานทีเ่ ราแต่ละคนท�ำ แห่งบทเพลง (เพลงของโซโลมอน) เชิงลึก ฟรังซิส ความปรารถนาและความสามารถ ในการเข้าสู่การเสวนาได้กับทุกคน คุณค่าที่ ตามสถานนะ” (Preface to the Introduction ภายใต้การชี้น�ำของพระสงฆ์เบเนดิกติน to the Devout Life) ในเอกสารที่ ส� ำ หรั บ ท่ า นแล้ ว เป็ น แสงที่ ใ ห้ สี สั น แก่ ท่านให้แก่มิตรภาพ มีความส�ำคัญอย่างมาก ุ พ่อบอสโก พระสันตะปาปาปีโอที่ 9 ประกาศท่านนักบุญ ความเข้ า ใจทั้ ง หมดเกี่ ย วกั บ พระเจ้ า และ ส�ำหรับการติดตามในแนวทางทีค่ ณ เป็ น นั ก ปราชญ์ ข องพระศาสนจั ก รในช่ ว ง ชี วิ ต มนุ ษ ย์ ทั้ ง ในการจาริ ก ส่ ว นตั ว และใน น�ำมาใช้...ทุกอย่างสร้างบนรากฐานทีแ่ ข็งแกร่ง ของหัวใจ อย่างที่นักบุญฟรังซิสได้ด�ำเนินชีวิต กว่าสองศตวรรษต่อมา มีการเน้นถึงกระแสเรียก ความสัมพันธ์กับผู้อื่น สู่ความครบครัน ความศักดิ์สิทธิ์ที่กว้างขึ้น สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ท ่ า นเลื อ กส� ำ หรั บ คณะ มีการระบุว่า “(ความศรัทธาที่แท้จริง) ทอแสง เสด็จเยีย่ ม (Visitation) ยังแสดงให้เห็นว่าหัวใจ ระหว่างการมองการณ์ ไกล ประกายไปทั่วทุกแห่งหนและเข้าถึงบัลลังก์ เป็นเครื่องหมายชี้บอกของมรดกฝายมนุษย์ (providence) กับความรักใจดี ของกษัตริย์ทั้งหลาย รวมทั้งซุ้มของเหล่านาย และฝ่ายจิต นัน่ คือ หัวใจทีถ่ กู ทิม่ แทงด้วยลูกศร สองอย่างที่สะท้อนรูปแบบที่ท่านรู้สึกได้ พล ศาลของผู้พิพากษา โรงเก็บภาษี ที่ท�ำงาน สองลูก ซึ่งหมายถึงความรักต่อพระเจ้าและ ในดวงพระทัยพระเจ้าและการเปิดหัวใจให้แก่ และแม้กระทั่งกระท่อมคนเลี้ยงสัตว์...[...]” ความรักต่อเพือ่ นพีน่ อ้ ง ทีเ่ ข้ากับสองความเรียง พี่น้องชายหญิง ซึ่งเป็นสองอย่างที่เกี่ยวโยงกัน (Brief Dives in misericordia, 16 November ทีส่ รุปความคิดและการสอนของท่าน ความเรียงแรก อย่ า งแน่ น แฟ้ น นั้ น เป็ น ความส� ำ นึ ก ใน 1877) และเช่นนี้ การเชิญชวนให้เป็นผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิน์ ี้ คื อ ความรั ก ของพระเจ้ า ซึ่ ง เป็ น ผลงาน พระญาณเอือ้ อาทรและวิธกี ารเข้าหาและการมี ไปถึ ง ฆราวาสและการดู แ ลเพื่ อ เจิ ม ถวาย ที่พากเพียรในการให้การอบรมกลุ่มแรกของ ปฏิสมั พันธ์กบั แต่ละบุคคล หรืออีกนัยหนึง่ เป็น สิ่งสร้างชั่วคราวและการสร้างความศักดิ์สิทธิ์ คณะเสด็จเยี่ยม เป็นค�ำบรรยายที่ได้รับการ ความอ่อนโยนหรือความรักใจดีของท่านนัน่ เอง ในชีวติ ประจ�ำวันตามทีส่ งั คายนาวาติกนั ทีส่ อง และชี วิ ต จิ ต ในสมั ย ของเรารบเร้ า ให้ ท� ำ อุ ด มการณ์ ข องมนุ ษ ยชาติ ที่ คื น ดี แ สดงออก ในความกลมกลื น ระหว่ า งการภาวนาและ การกระท�ำในโลก ระหว่างการแสวงหาความครบครัน กับสภานภาพฆราวาส ด้วยความช่วยเหลือ แห่ ง พระหรรษทานของพระเจ้ า ที่ ซึ ม ซาบ ในมนุษย์ โดยไม่ได้ท�ำลายความเป็นมนุษย์ แต่ช�ำระให้ด้วยการยกมนุษย์ขึ้นสู่ความสูงส่ง ของพระเจ้า” เราพบแหล่ ง ที่ ม าของชี วิ ต จิ ต นี้ ไ ด้ อ ย่ า ง แน่นอนในหลากหลายทีทา่ ขององค์พระผูเ้ ป็นเจ้า September-October 2021

11


คำ�ขวัญอัคราธิการ ปี 2022 Don Ángel Fernández Artime

ความไว้วางใจพระญาณเอือ้ อาทรมีรากฐาน อยู่ในการอบรมที่ท่านได้รับที่ปารีสและปาดัว นั่นคือ “holy indiffernce” ฉันวางใจในดวง พระทัยพระเจ้าอย่างไม่สั่นคลอน และความ วางใจนี้ ค รอบคลุ ม ไปถึ ง ทุ ก เหตุ ก ารณ์ แ ละ สถานการณ์ที่ตามมาในชีวิตแต่ละวันของฉัน ฉั น “ไม่ มี สิ่ ง ใดที่ จ ะขอและไม่ มี สิ่ ง ใดที่ จ ะ ปฏิเสธ” โดยรู้ดีว่าทุกอย่างอยู่ในพระหัตถ์ พระเจ้ า ในทุ ก สถานการณ์ นั ก บุ ญ เปาโล คิดท�ำนองเดียวกันเมื่อท่านเขียนถึงชาวโรมัน “เรารูว้ า่ พระเจ้าทรงบันดาลให้ทกุ สิง่ กลับเป็น ประโยชน์แก่ผู้ที่รักพระองค์ ผู้ที่ทรงเรียกเรา มาตามพระประสงค์ของพระองค์ เพราะผู้ที่ พระองค์ทรงทราบล่วงหน้านั้น พระองค์ทรง

12

db Bulletin

ก�ำหนดจะให้เป็นภาพลักษณ์ของพระบุตรของ พระองค์ ด ้ ว ย เพื่ อ พระบุ ต รจะได้ เ ป็ น บุ ต ร คนแรกในบรรดาพี่ น ้ อ งจ� ำ นวนมาก” (รม 8,28-29) ความอ่ อ นโยนของดวงใจเมื่ อ ปฏิ บั ติ กั บ เพื่ อ นพี่ น ้ อ ง แม้ ว ่ า เพื่ อ นพี่ น ้ อ งจะไม่ มี ความเป็นเพือ่ นหรือไม่มนี สิ ยั น่ารักแม้แต่นอ้ ย เป็นการสะท้อนถึงความวางใจเดียวกัน ก่อนจะเป็น แค่ ลั ก ษณะนิ สั ย การวางใจในหั ว ใจมนุ ษ ย์ จึ ง เป็ น การเปิ ด ส� ำ หรั บ กิ จ การของพระเจ้ า เพื่อความเต็มเปี่ยมแห่งชีวิต ความอ่อนโยน และความรักใจดีเป็นท่าทีเข้าหาของธรรมทูต ซึ่ ง จะเอื้ อ การพบปะระหว่ า งพระหรรษทาน และอิสรภาพในหัวใจของผู้ที่อยู่ต่อหน้าฉัน

ในทุกกรณีและสถานการณ์ จึงไม่ใช่แค่มารยาท ที่ดีเท่านั้น ถ้ า เราคิ ด เกี่ ย วกั บ วิ ธี ที่ คุ ณ พ่ อ บอสโก ประยุ ก ต์ ค วามรั ก ใจดี นี้ ใ นระบบการอบรม ของท่าน เราก็เข้าใจถึงแรงบันดาลใจที่ลึกซึ้ง ทีไ่ ปหล่อเลีย้ งมัน ดังทีเ่ ป็นส�ำหรับนักบุญฟรังซิส แห่งซาลส์

การฝึกปฏิบัติในพันธกิจ ที่ Chablais และ Da mihi animas ของคุณพ่อบอสโก

ประสบการณ์เข้มข้นของการประกาศข่าวดี ใน Chabais ระหว่างปี 1593 (ต�ำแหน่งของ ท่านคือ Provost) และ 1596 (มิสซาบูชา ขอบพระคุณวันคริสต์มาสที่ Thonon) ณ ที่ซึ่ง พันธกิจของท่านวางรากฐานแข็งแกร่งส�ำหรับ ชีวติ ท่าน เป็นพันธกิจทีย่ ากเป็นทีส่ ดุ (“ทีน่ ที่ กุ คน มี ค� ำ สบประมาทอยู ่ ริ ม ฝี ป ากและก้ อ นหิ น ในมือ”) แต่ก็เป็นวิกฤติที่น�ำการเติบโตและ เปลี่ยนแปลงธรรมทูตเป็นอันดับแรก ก่อนจะ ยังประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น เป็นเรื่องน่าสนใจที่จะมองดูช่วงปีเหล่านั้น เป็นดังการอบรมในแง่ศีลมหาสนิท พิธีบูชา มิ ส ซาขอบพระคุ ณ ที่ มี ก ลุ ่ ม คนจ� ำ นวนมาก เข้าร่วม ตามด้วยการแห่ศลี ...หลังจากทีว่ า่ งเว้น ไปหลายปี (คริสต์มาส 1596) เป็นการกลับมา หลังจากที่แร่ร่อนในทะเลทรายเป็นเวลานาน ณ ทีซ่ งึ่ ท่านเป็นผูท้ ดี่ ำ� เนินชีวติ ด้วยศีลมหาสนิท และกลายเป็ น การอยู ่ ท ่ า มกลางประชาชน แบบซ่อนเร้น ประชาชนทีเ่ คยเป็นอริ ท่านเป็นฝ่าย เข้าหาและเป็นเพื่อนกับทีละคน เราต้องค�ำนึงว่าการอยู่ของเราซาเลเซียน ในภาคพื้ น ที่ ค นส่ ว นใหญ่ ไ ม่ เ ป็ น คาทอลิ ก ชีวิตจิตศีลมหาสนิทกลายเป็นประกาศก จาก ภายในของธรรมทูตชีวิตจิตนี้พยายามเข้าถึง ผู ้ ที่ เขาถู ก ส่ ง ไปหาด้ ว ยความพากเพี ย รและ เสมอต้นเสมอปลาย โดยไม่ละเว้นการประกาศ อย่ า งเปิ ด เผย แต่ ก็ รู ้ ว ่ า ควรจะรอเวลาของ พระเจ้า และไม่รอให้สัตบุรุษมาเต็มวัด แต่


ปะปนกับพวกเขาในทุกแห่งและด้วยทุกวิธีที่ ท�ำได้ พร้ อ มกั บ ศี ล มหาสนิ ท และต่ อ เนื่ อ ง ในกระแสเดียวกัน เราผนึกความเป็นศูนย์กลาง ของไม้กางเขนและความไว้วางใจในพระแม่มารีย์ เข้าไปด้วย ทุ ก อย่ า งเหล่ า นี้ ชี้ บ อกเราเกี่ ย วกั บ ความหลงใหลด้านการอบรมและการประกาศ ข่ า วดี ข องคุ ณ พ่ อ บอสโก โดยมี ก ารประทั บ อยู่ขององค์พระผู้เป็นเจ้าในศีลมหาสนิทและ การประทับอยู่ของพระแม่มารีย์อย่างเด่นชัด ในชีวิตของศูนย์เยาวชน ในท่ามกลางเด็กๆ ของท่าน เวลาเดียวกันก็ได้มาซึง่ พลังในแต่ละวัน เพื่อท�ำให้ Da mihi animas, cetera tolle ส�ำคัญยิ่งยวดและการท้าทายที่แท้จริงในโลก จึงเป็น “ความเป็นซาเลเซียน” ที่ต้องรู้สึกและ เป็นความจริง เชือ่ ว่าแต่ละคนต้องการ “เพื่อนฝ่ายวิญญาณ” ทุกวันนี้ที่มีการสื่อสารเป็นศูนย์กลาง ทีต่ นเองสามารถได้รบั การแนะน�ำ ความช่วยเหลือ แต่เราจะสื่อสารอย่างไร? การน�ำทางและมิตรภาพ นักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์เป็นองค์อุปถัมภ์ นักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์ในรูปแบบ ของนักหนังสือพิมพ์ พระพรพิเศษของท่าน ของคุณพ่อบอสโกในการติดตาม พ่อขอสรุปเค้าโครงสั้นๆนี้ ซึ่งจะเป็นที่มา ในแง่ของการเป็นนักสื่อสารนั้นน่าสนใจมาก เยาวชน : พระพรพิเศษทีเ่ จริญรุง่ เรือง ของค�ำขวัญ 2022 ส�ำหรับครอบครัวซาเลเซียน ของคุณพ่อบอสโกในโลกเพือ่ น�ำไปขยายความ ซึ่งมีทั้งการเห็นพ้องต้องกันระหว่างความรัก และเกิดผลในระหว่างกันและกัน และความสนใจในการไตร่ตรอง วัฒนธรรม ในศิลปะการอบรมและชีวิตจิตของคุณพ่อ โดยมีคำ� เชิญชวนของพระสันตะปาปาเบเนดิกที่ 16 มนุ ษ ยนิ ย มในแง่ ง ดงาม และการส่ ง เสริ ม บอสโกมี “ความสัมพันธ์หนึ่งเดียวของบรรดา ที่ ต รั ส กั บ เราในช่ ว งท้ า ยของการเข้ า เฝ้ า การให้ ก� ำ ลั ง ใจ การสร้ า งความกลมกลื น นักบุญ” อย่างแท้จริง ซึง่ ไม่ได้เกิดจากความว่างเปล่า เป็นการขอให้เรา ใน “จิตตารมณ์แห่งอิสรภาพ” ด้วยการสร้างสรรค์และสนับสนุนการเสวนา แต่ ไ ด้ รั บ การหล่ อ เลี้ ย งจากรากที่ ห ยั่ ง ลึ ก ท�ำตามประจักษ์พยานที่เป็นแบบอย่างแท้จริง ระหว่างผู้ที่มีความสามารถมากกว่าและมั่งคั่ง ผลงานของพระจิ ต ในประวั ติ ศ าสตร์ ข อง ของมนุษยนิยมคริสตชนซึง่ ท�ำให้เรารูว้ า่ เฉพาะ มากกว่าในพืน้ ทีเ่ หล่านี้ นักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์ พระศาสนจักรที่น�ำหน้าท่าน จึงไม่ใช่การเพิ่ม ในพระเจ้าเท่านัน้ ทีเ่ ราจะพบความพึงพอใจและ จึงเป็นอาจารย์ของการสื่อสารส�ำหรับทุกคน หรือการท�ำซ�้ำ แต่เป็นความเจริญรุ่งเรืองและ ความรู้สึกโหยหาพระองค์ “พี่น้องที่รัก ในยุค ผู้เผยแพร่ยิ่งใหญ่ในรูปแบบและสถานการณ์ การเกิดผลที่เลี้ยงดูด้วยงานของพระจิตผู้ทรง ของเราที่ ค นเสาะหาอิ ส รภาพ แม้ ก ระทั่ ง ทีท่ า่ นด�ำเนินชีวติ แค่คำ� นึงถึงจดหมายจ�ำนวนมาก ให้ความมีชีวิตชีวาแก่พระศาสนจักรผ่านทาง ด้ ว ยความรุ น แรงและการก่ อ ความวุ ่ น วาย ทีส่ ะท้อนพันธกิจของท่านในฐานะพระสังฆราช นักบุญฟรังซิสแห่งซาลส์และอีญาซีโอ ดอมินิก อาจารย์ย่ิงใหญ่ฝ่ายจิตและสันติภาพผู้นี้ช่าง และเทเรซาแห่งอาวีลา เหมาะกับกาลเวลา เพราะท่านให้ “อิสรภาพฝ่ายจิต” และนักบุญก็เป็นที่ประจักษ์แล้ว เราเห็ น ศิ ษ ย์ ของท่ า นคนหนึ่งในคุณ พ่อ ข้อเสนอส�ำหรับพระศาสนจักรทุกวันนีแ้ ละ แก่ผู้ติดตาม เป็นจิตตารมณ์แท้ นักบุญฟรังซิส บอสโกทีท่ ำ� ตามความกระตือรือร้นของอาจารย์ แน่ น อนส� ำ หรั บ ครอบครั ว ซาเลเซี ย นแห่ ง แห่งซาลส์เป็นประจักษ์พยานที่เป็นแบบอย่าง ด้ ว ยรู ป แบบที่ ท ่ า นมี ใ นมื อ (the popular คุณพ่อบอสโกคือการเติบโตพัฒนาในศิลปะ ของมนุษยนิยมคริสตชน ด้วยรูปแบบเป็นกันเอง “mass” press) ในช่วงเวลา 40 ปี งานเขียน แห่งการติดตามเส้นทางของความเชือ่ โดยเฉพาะ ด้วยค�ำพูดซึง่ บางครัง้ เป็นดังบทกวี ท่านเตือนใจ ของคุณพ่อบอสโกได้รับการตีพิมพ์ 318 ชิ้น... ของเด็กชาย เด็กหญิง และหนุ่มสาวจ�ำนวน เราว่าในส่วนลึกของตัวตน มนุษย์ต้องการ เฉลี่ยแล้วทุกสองเดือนหนึ่งงานเขียน ในเวลา มากมายในโลกที่ยังไม่รู้จักพระเจ้าและเวลา พระเจ้าและสามารถพบกับความยินดีแท้จริง เดียวกันก็เป็นการส่งสารถึงเราเพือ่ ชีบ้ อกความ เดียวกันก็กระหายหาพระองค์โดยแทบไม่รู้ตัว และความส�ำเร็จที่เต็มเปี่ยมในตัวเขานั่นเอง September-October 2021

13


เพื่อนนักอบรม Text : ยวง บอสโก ธัญญา ASC.

ใครเป็น...เช่นนี้ รึเปล่า?

ครอบครัวนี้ สองคนแม่ลูกอยู่กันมานานนับสิบปี ตั้งแต่พ่อ ของเด็กห่างหายจากไปตามทางของตนเอง และไม่เคยกลับมา แยแสความเป็นอยู่ของสองแม่ลูกนี้อีกเลย อาจจะเป็นเพราะว่า ความรักของหนุม่ สาวทีไ่ ร้แก่น จึงเลิกกันได้งา่ ยดายแบบไม่แคร์สอื่ “คนเราแต่ละคนไม่เหมือนกันนะลูก” เช้านีแ้ ม่เริม่ บทสนทนา ไม่สนสังคมอะไรเลย ด้วยน�้ำเสียงและประโยคที่ชวนสงสัย แต่ที่จะทุกข์ระทมนานก็คือ “ลูก” นี่แหละ “แล้วไงต่อคะแม่?” ลูกสาวหันมามองหน้าและถามกลับ บนพืน้ ฐานของการอบรมเลีย้ งดู “แบบแม่เลีย้ งเดีย่ ว” แม้ตาม “ก็...เอ่อ แม่แค่อยากให้ลกู ดูดเู พือ่ นใหม่ให้ดดี ี ก่อนทีจ่ ะไว้วางใจ หลักการจะบอกว่า “แม่” สามารถท�ำหน้าที่ชดเชยได้ทั้ง “ความ กันน่ะ เปิดเทอมใหม่ เพื่อนก็ใหม่ โรงเรียนแห่งใหม่ อาจารย์ เป็นพ่อและเป็นแม่” แต่ก็คงไม่สมบูรณ์แบบเท่ากับครอบครัว ก็ ใ หม่ ยั ง ไม่ คุ ้ น เคยกั น เลย ลู ก คงต้ อ งปรั บ ตั ว มากเชี ย วล่ ะ ” ที่ “พ่อแม่ลูก” อยู่กันพร้อมหน้าและมีความรักความเข้าใจ แม่ออกท่าห่วงใยอยู่ไม่น้อย ความรับผิดชอบ ดูแลเอาใจใส่กันและกันทั้งยามทุกข์และยามสุข “โอ้ย...นึกว่าอะไร...เรื่องพวกนี้ สบายหายห่วงได้เลยค่ะแม่... ต่อให้เก่งปานเทพ มนุษย์ก็อยู่คนเดียวยาก...เพราะพระเจ้า รุ่นนี้แล้ว...” ลูกสาว โพล่งออกมาทันควัน ทรงสร้างชายและหญิงมาเป็นเพื่อนร่วมชีวิตเป็นมิตรคู่ใจดูแล ช่วยเหลือซึ่งกันและกันด้วยความรักซื่อสัตย์...มิใช่หรือ? “จร้า...แม่คนเก่ง...ก็แค่อยากจะเตือน เพราะฉันไม่ใช่กู้ภัย จะกูห้ วั ใจใครคงไม่ได้หรอก...นะยะ” คุณแม่หยอดแบบนักเลงพอ ลูกที่ขาดพ่อ หรือขาดแม่ ก็คงต้องมีอะไรที่อ้างว้าง... แล้วส่งท้ายอีกว่า “แล้วอย่ามานั่งน�้ำตาคลอ...รอแม่ก็แล้วกัน” ตกค้างอยู่ในจิตใต้ส�ำนึกบ้างไม่มากก็น้อย...และที่น่าวิตก กั ง วลยิ่ ง กว่ า นั้ น ก็ คื อ ...การไม่ มี ใ ครที่ เข้ า ถึ ง จิ ต ใจและ น�ำ้ เสียงเยาะเย้าของแม่ เรียกร้องค�ำตอบได้ดี “โถโถ...คุงแม่ขา... ความรู้สึกของลูกเลย แม้แต่คนเดียว ปีนี้นู๋มัดยม4นิ มิใช่ปอ กอกา” คุณลูกยังอวดเก่งตามเคย

14

db Bulletin


ถ้าไม่เชื่อ! ทดลองเสิร์ชกูเกิลดู พิมพ์ค�ำว่า “เด็กติดเกม หรือ สัมพันธ์กบั ครูอาจารย์ทกุ คนของลูก เพือ่ นและพ่อแม่ของเพือ่ นๆลูก เด็กติดเกมฆ่า...” จะพบรายงานข่าวที่น่าเศร้าใจเกี่ยวกับ... ด้วยการพบปะพูดคุย...แชทไลน์...ไลค์เฟส...ทุกวิถีทางที่เธอ ปิตุฆาต...มาตุฆาต...ซึ่งเป็น “บาปหนัก”ที่น่าเศร้าสลดใจ พยายามท�ำจนได้รู้จักและเป็นมิตรกับทุกคน อย่างที่สุด วิธคี ดิ ของเธอก็คอื “ความรักคือการเรียนรู้ ความผิดเป็นครู แต่ประเด็นอยู่ที่ว่า เป็นความผิดของใครกันแน่? ของลูก ประมาทอยู่ไม่ได้ ตามแก้คือสาย อยากให้ถึงที่หมายต้อง หรือของพ่อของแม่ ของผู้ปกครองที่มีหน้าที่อบรมเลี้ยงดูพวกเขา ป้องกัน” นีแ่ หละสโลแกนเด็ดของเธอ ทีเ่ ลีย้ งลูกให้รอดพ้น จากปากเหยี่ยวปากกา การล่อลวงของโลกมาได้ตลอดกว่า หรือจะอ้างเหตุว่า เป็นเพราะพวกเขาป่วยเป็น โรคจิตเวช... สิบปีที่ผ่านมา “แม่ส่งแค่นี้นะลูก สายแล้วต้องรีบไปท�ำงาน” แม่พูดพลาง ปลดล็ อ คประตู ใ ห้ แ ละมองตามหลั ง ลู ก สาวด้ ว ยความห่ ว งใย พูดง่ายๆ ตามส�ำนวนไทยก็คอื “กันไว้ดกี ว่าแก้” เกิดเหตุแล้ว “ขอแม่พระช่วยคุ้มครองหนูด้วยเทอญ” ความรู้สึกจึงเปล่งเสียง จะแย่เพราะแก้ไม่ทันนั่นแหละ แต่ที่ไม่ธรรมดาก็คือ...เธอเป็น ทั้งแม่ ทั้งพ่อ ทั้งพี่ ทั้งเพื่อนที่กุมหัวใจของลูกสาววัยใสไว้ได้ ภาวนาขึ้นในใจ ทั้งสี่ห้องหัวใจ “ฮัลโหล แม่...เย็นนี้ไม่ต้องแวะมารับนะคะ นู๋มีนัดท�ำรายงาน กับเพือ่ น ถ้าเสร็จดึกจะขอนอนค้างทีบ่ า้ นเขาเลยอ่ะนะ...โอเค.แค่นี้ ดังนั้น แม่ลูกคู่นี้...แค่มองตากันก็รู้ใจ...เปิดใจบอกกันได้ นะแม่” ลูกสาวพูดตัดบทพร้อมวางสายเหมือนทุกครัง้ ในช่วงสองปี ไม่ว่าเรื่องอะไร...หนักเบาแค่ไหน...จากใจสู่ใจ...ด้วยความรัก มานี้ คือไม่เคยรอค�ำตอบว่า “อนุญาต หรือไม่” เอาเป็นว่า... อดทน รับฟังกันและกัน...พร้อมเปลีย่ นแปลงแก้ไขผิดให้เป็นถูก... ด้วยเหตุผล...ปรับตัวปรับใจ...รับรู้...เข้าใจเข้าถึงความความรู้สึก แจ้งเพื่อทราบ...เท่านั้น ลึกๆ ของกันและกัน...ไม่ปล่อยภูเขาน�้ำแข็งให้เป็นแค่ทฤษฎี... หัวอกผู้เป็นแม่ดูร้อนรนแต่เหมือนคนที่ชินทาง... “ฮัลโหล แต่สร้างแรงกระตุ้นให้มุ่งไปสู่ความส�ำเร็จกันทั้งสองฝ่าย คุณแม่น้องกล้า เหมือนเดิมนะคะ” คนปลายสายตอบรับสั้นๆ “จงระมัดระวัง จงยืนหยัดมัน่ คงในความเชือ่ จงกล้าหาญ เป็นอันว่ารู้เรื่อง และเข้มแข็ง จงท�ำทุกสิง่ ด้วยความรักเถิด (1คร 16:13-14)” คุณแม่รายนี.้ ..ร้อนรนแต่ไม่โวยคนให้จนใจ...เธอเลือกทีจ่ ะผูก


สวดอย่างไร ให้ละม้าย คล้ายแม่พระ Text : ยาก๊อบ

สวดอย่างไร ให้ละม้าย คล้ายแม่พระ (8)

“แต่ต้นมา พระวจนาตถ์ สถิตอยู่” (ยอห์น 1:1)

ข้อความนีเ้ ป็นประโยคแรกจากพระวรสารโดยนักบุญยอห์น ประโยคนีท้ งั้ นักบุญออกัสติน นักบุญโทมัส อไควนัส และนักปราชญ์ทั้งหลายของพระศาสนจักร มีความเห็นเป็นเสียง เดียวกันว่ามีความลึกซึง้ ทีส่ ดุ เท่าทีป่ ญ ั ญามนุษย์จะคิดและพูดออกมาได้ เพราะประกอบด้วย ค�ำ 3 ค�ำ ที่ต่างก็มีความลึกซึ้งที่สุดอยู่ในตัว รวมตัวกันได้ความลึกซึ้งสุดๆ 3 เท่า

16

db Bulletin


“แต่ต้นมา” (In the beginning) ในวาระเริ่มต้น เริ่มต้นของ อะไร ก็เริม่ ต้นของอะไรๆทัง้ หมด ทุกสิง่ ทุกอย่างทีจ่ ะมีจดุ เริม่ ต้นได้ และถ้ า มี สิ่ ง ที่ มี อ ยู ่ แ ต่ ไ ม่ มี จุ ด เริ่ ม ตั้ ง ล� ำ นั่ น คื อ มี ม าเรื่ อ ยๆ โดยก�ำหนดจุดเริม่ ต้นไม่ได้ เพราะถ้ามีจดุ เริม่ ต้นจริงๆก็จะต้องถาม ต่อไปว่าอะไรหรือใครท�ำให้เริม่ ต้นขึน้ มา ก็ตอ้ งถามต่อไปว่าผูท้ ที่ ำ� ให้มีขึ้นมานั้นเริ่มต้นมาเมื่อไหร่และอย่างไร ก็ต้องถามต่อไป เรื่อยๆจนถึงผู้ให้ก�ำเนิดแรกสุดที่ไม่มีใครท�ำให้มีก�ำเนิดขึ้นมา ซึ่ง ก็ต้องไม่มีจุดเริ่มต้นคือไม่มีใครท�ำให้มีขึ้นมา ก็เลยกลายเป็น ผู้ไม่มีจุดเริ่มต้น เป็นองค์มีอยู่และเป็นอยู่อย่างนิรันดร นับเวลา ไม่ได้ และผู้นั้นมิใช่ใครอื่นแต่คือองค์พระวจนาตถ์ ที่ทรงสถิตอยู่ ในนิรันดรภาพ หรืออยู่เป็นนิจนิรันดร “พระวจนะ” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า the word แปลมาจาก ภาษาละตินว่า Verbum ภาษากรีกว่า Logos ทุกค�ำแปลว่าค�ำพูด แต่ค�ำต้นตอที่สุดคือภาษากรีก Logos นอกจากจะมีความหมาย ในภาษาระดับผิวพืน้ ว่าค�ำพูดแล้ว นักปราชญ์กรีกยังให้ความหมาย ที่ลึกซึ้ง ตามบรรยากาศวิชาการว่า องค์ความรู้ทั้งหมดรวมกัน อย่างเป็นระบบ และมีระเบียบตามเกณฑ์เหตุผลที่สมบูรณ์แบบ ทีส่ ดุ นักบุญยอห์นเขียนพระวรสาร เป็นภาษากรีก และตัง้ ใจเลือก เอาค�ำนี้ ให้หมายถึงพระเยซูเจ้า ตั้งแต่เป็นพระบุตรแต่นิรันดร์ ในพระตรี เ อกภาพ โดยยั ง ให้ มี ค วามหมาย ตามเจตนาของ นักปราชญ์กรีกร่วมอยู่ด้วย ค�ำนี้ตามเจตนาของนักบุญยอห์น จึงมีความหมายอย่างน้อย 3 อย่างรวมกันอย่างลงตัว คือ 1. ค�ำพูดค�ำหนึ่งในภาษาใดก็ได้ 2. องค์ความรู้ทั้งหมดรวมกันอย่างเป็นระบบ มีระเบียบด้วยเหตุผล และมีพลังเกิดผลอย่างไม่รู้จบสิ้น 3. องค์พระบุตรในพระตรีเอกภาพ แต่นิรันดร ทรง รับเอากายเป็นมนุษย์เพื่อไถ่บาปมนุษย์และรับมนุษย์ เป็นบุตรบุญธรรมของพระเจ้า ปัญหาส�ำหรับภาษาไทยก็คือ จะแปลเป็นภาษาไทย ด้วยค�ำใดดี พี่น้องร่วมความเชื่อเคยแปลว่า “พระค�ำ” ก็รู้สึกว่าขลังดีและ ได้ความหมายอย่างดีส�ำหรับ ความหมายข้อที่ 1 อยากได้ ความหมายข้อที่ 2 และ 3 ด้วย

ก็ต ้องก�ำหนดนิยามขึ้นมาให้ครอบคลุม ก็ใช้ได้ดีอ ยู ่ พี่ น้ อ ง คาทอลิ ก นิ ย มใช้ “พระวจนาตถ์ ” (วจนะ+อั ต ถะ) ก็ เ น้ น ความหมายข้อที่ 2 ได้ดี เพราะอัตถะ (บาลี) และอรรถ (สันสกฤต) คือเนื้อหา ซึ่งในที่นี้ก็คือเนื้อหาของความรู้ อยากได้ความหมาย ข้อที่ 1 และ 3 ด้วยก็ต้องก�ำหนดนิยามขึ้นมาให้ครอบคลุมก็ใช้ได้ ดีอยู่ สมัยหนึง่ เคยเห็นมีผใู้ ช้พระวจนาถหรือวจนารถเพือ่ ให้แปลว่า พระวจนะที่เป็นองค์ที่พึ่งคือพระผู้ไถ่ก็เน้นความหมายที่ 3 ได้ดี และถ้าอยากได้ความหมายข้อที่ 1 และ 2 ด้วยก็ตอ้ งก�ำหนดนิยาม ขึ้นมาให้ครอบคลุม เพือ่ แก้ปญ ั หาความสับสนและเพือ่ ให้ถกู ต้องตามหลักวิชาการ เขียนข้อเสนอให้แปลตรงจากภาษากรีกและละตินเป็นพระวจนะ ให้มคี วามหมายคลุมทัง้ 3 ความหมาย ถ้าต้องการความหมายทีห่ นึง่ โดยเฉพาะ ก็แปลว่าค�ำหรือค�ำพูด ถ้าต้องการเจาะจงความหมาย ที่ 2 เท่านัน้ ก็แปลว่าวจนาตถ์ และเมือ่ ต้องการเจาะจงความหมาย ที่ 3 เท่านัน้ จึงแปลว่าองค์พระวจนาถ ก็เพียงแต่เสนอให้ผมู้ หี น้าที่ ในพระศาสนจักรได้มีข้อมูลส่วนหนึ่งไว้พิจารณาเท่านั้น แม่พระยังไม่มีพระวรสารตอนนี้ไว้อ่านหรือฟัง แต่ในฐาน ความรูข้ องแม่พระย่อมมีเรือ่ งนีอ้ ยูด่ ว้ ยอาศัยการดลใจของพระเจ้า แม่พระไม่จ�ำเป็นต้องรู้รายละเอียดอย่างนักปราชญ์ แต่แม่พระ รูอ้ ย่างผูม้ คี วามเชือ่ ครบองค์โดยรวม อาศัยญาณเอือ้ อาทรจากพระจิตเจ้า ขอพระวจนะทั้ง 3 ความหมายจงได้รับการเทิดทูนสูงสุด ตลอดกาล นี่คือร่วมใจสวดกับพระแม่เพื่อสวดได้ละม้ายคล้าย พระแม่


LOCAL NEWs By SDB Reporter

ข่าวซาเลเซียน บรรเทาภัยโควิด-19

ครูค�ำสอนซาเลเซียนเรียนหลักสูตรชีวิตจิต ครูฆราวาสฝ่ายอภิบาลและค�ำสอนของสถาบันซาเลเซียน ประเทศไทยจ�ำนวน 21 คน และของประเทศกัมพูชาจ�ำนวน 6 คน รับการอบรมหลักสูตรชีวติ จิตซาเลเซียน โดยเรียนร่วมกับ เพือ่ นๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกและโอเชียเนีย รวม 109 คน หลักสูตรดังกล่าวมีระยะเวลา 3 ปี ซึ่งโดยปกติจะต้องไป เรียนที่ประเทศฟิลิปปินส์ ปีละ 1 เดือน เป็นภาษาอังกฤษ แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ของโควิด-19 จึงเปลี่ยนมาเรียน ในระบบออนไลน์แทนโดยใช้เวลา 18 วัน

วันที่ 21 สิงหาคม 2021 คณะซาเลเซียนได้แจกข้าวกล่อง และเครื่องดื่มจ�ำนวน 300 ชุด ให้กับชาวบ้านในชุมชนซอย เลิศนาวา ย่านกรุงเทพกรีฑา เขตบางกะปิ ชาวบ้านส่วนใหญ่ ในชุมชนนีเ้ ป็นพีน่ อ้ งมุสลิมและพุทธศาสนิกชน ซึง่ ในจ�ำนวนนี้ มีผู้ที่ติดโควิด-19 และผู้ที่ก�ำลังกักตัวที่บ้านรวมอยู่ด้วย การแจกอาหารในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากเยาวชน ของวัดแม่พระองค์อุปถัมภ์ กรุงเทพกรีฑาและศิษย์เก่าเณร ซาเลเซียนทีไ่ ด้จดั เตรียมอาหารและลงพืน้ ทีช่ ว่ ยแจกอาหาร ให้กับชาวบ้าน

ตู้ปันอิ่ม ฉลอง 25 ปี การปฏิญาณตน วันที่ 15 สิงหาคม 2021 โอกาสสมโภชแม่พระรับเกียรติ ยกขึน้ สวรรค์ หมูค่ ณะดอนบอสโกเวียงจันทน์ได้จดั ฉลอง 25 ปี แห่งการปฏิญาณตนของคุณพ่อปอล วู แวน ตรุง และคุณพ่อ ยอห์น บัปติสต์ ฮุย ฮวง วู ณ ศูนย์ฝึกอาชีพดอนบอสโก เวียงจันทน์ สปป ลาว และในตอนค�่ำได้รับเกียรติจาก พระคาร์ดินัลหลุยส์มารีย์ หลิ่ง มังคะเนคุน แห่งเขตศาสนปกครองเวียงจันทน์ บรรดาพระสงฆ์ ครอบครัวซาเลเซียน และนักบวชมาร่วมแสดงความยินดีกับคุณพ่อทั้งสองท่าน และร่วมรับประทานอาหารค�่ำด้วยกัน

18

db Bulletin

วัดนักบุญโยเซฟ บ้านโป่ง จ.ราชบุรี ร่วมกับ สมาชิก ซาเลเซียนผู้ร่วมงาน, VIDES THAI - ซิสเตอร์ซาเลเซียน และสมาชิกสภาภิบาลของวัด ได้จดั ท�ำข้าวกล่องใส่ตแู้ บ่งปัน ไว้ดา้ นหน้าวัดเพือ่ แจกให้กบั ชาว อ.บ้านโป่งทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จากการระบาดของโควิด-19


ปฏิญาณตนตลอดชีพ วันที่ 8 สิงหาคม 2021 คุณพ่อ Roel Soto เป็นประธาน ในพิธปี ฏิญาณตนตลอดชีวติ ของบราเดอร์ เปาโล เล ก๊วก บ่าว ณ วัดน้อยแม่พระองค์อปุ ถัมภ์ ดอนบอสโกพนมเปญ ประเทศ กัมพูชา ประวัติบราเดอร์ เปาโล เล ก๊วก บ่าว เกิด : 31 ธันวาคม 1990 สัญชาติ : เวียดนาม ปฏิญาณตนครั้งแรก : 14 สิงหาคม 2015 การศึกษา : การสอนวรรณกรรมเวียดนาม คติพจน์ : “In the heart of the Church, I will be love” ธรรมทูต : ประเทศกัมพูชา ปี 2019 (น.เทเรซาแห่งพระกุมารเยซู) ภาษา : เวียดนาม อังกฤษ เขมร

บวชพระสงฆ์ใหม่ วันที่ 21 สิงหาคม 2021 บิชอป Thomas Dabre ของ เขตศาสนปกครองปูนา เป็นประธานในพิธีบวชพระสงฆ์ของ คุ ณ พ่ อ ไมเกิ้ ล ดอมิ นิ ก ไกย์ ก วั ด ณ วั ด พระหฤทั ย ของพระเยซูเจ้า เมืองปูเน่ ประเทศอินเดีย ประวัติคุณพ่อไมเกิ้ล ดอมินิก ไกย์กวัด เกิด : 25 ธันวาคม 1984 ที่ประเทศอินเดีย ได้รับการอบรมขั้นต้นที่แขวงมุมไบ ประเทศอินเดีย ปี 2009 ปฏิญาณตนครั้งแรก ที่นาสิก ปี 2015 ปฏิญาณตนตลอดชีพ ที่มุมไบ ปี 2015-2017 เป็นธรรมทูตซาเลเซียนที่ประเทศกัมพูชา ฝึกงานที่ดอนบอสโก สีหนุวิลล์ ปี 2017-2021 ศึกษาเทวศาสตร์ เมลเบิร์น ออสเตรเลีย ปี 2018 ผู้อ่านพระคัมภีร์ เมลเบิร์น ออสเตรเลีย ปี 2019 ผู้ช่วยพิธีกรรม เมลเบิร์น ออสเตรเลีย ปี 2020 สังฆานุกร เมลเบิร์น ออสเตรเลีย ปี 2021 บวชพระสงฆ์ ที่ปูเน่ ประเทศอินเดีย

September-October 2021

19


LOCAL NEWs By SDB Reporter

ข่าวครอบครัวซาเลเซียน ธมอ ปฏิญาณตนครั้งแรก

ธมอ เข้าเงียบประจ�ำปี รุ่นที่ 2 วันที่ 28 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม 2021 สมาชิก คณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ จ�ำนวน 38 คนได้ฟื้นฟูจิตใจ ประจ�ำปีรุ่นที่ 2 ด้วยระบบออนไลน์ โดยรับฟังบทเทศน์ จากบิ ช อป โยเซฟ ประธาน ศรี ด ารุ ณ ศี ล SDB ซึ่ ง ได้ น� ำ การไตร่ ต รองเกี่ ย วกั บ ชี วิ ต ของนั ก บุ ญ เปาโล โดยใช้หนังสือบทร�ำพึงของพระคาร์ดนิ ลั คาร์โล มารีย์ มาร์ตนิ ี เป็นแนวทาง

วันที่ 5 สิงหาคม 2021 ซิสเตอร์ อักเนส ฐนชา โสทน สัตบุรุษวัดพระตรีเอกภาพ หนองหิน จ.นครปฐม ได้ปฏิญาณตน ครั้งแรกที่วัดน้อยของหมู่คณะมารีย์อุปถัมภ์ สามพราน โดยมี คุณพ่อ ยอห์น บอสโก เทพรัตน์ ปิติสันต์ เจ้าคณะ แขวงซาเลเซี ย นแห่ ง ประเทศไทย เป็ น ประธานในพิ ธี พร้อมด้วย คุณพ่อเปโตร สุรพันธ์ ดาวพิเศษ เจ้าอาวาส วัดพระตรีเอกภาพ หนองหิน และคุณพ่ออันตน บุญเลิศ ปณีตัธยาศัย SDB ซึ่งได้จัดเป็นพิธีภายในเฉพาะญาติ พี่น้องของผู้ถวายตนเท่านั้นอันเนื่องมาจากสถานการณ์ ของโควิด-19

ซาเลเซียนผู้ร่วมงานเข้าเงียบประจ�ำปี วันที่ 24 กรกฏาคม 2021 คณะซาเลเซียนผู้ร่วมงาน จัดเข้าเงียบประจ�ำปีออนไลน์ โดยคุณพ่อเปโตร นิพนธ์ สาราจิตต์ จิตตาธิการแขวงคณะซาเลเซียนผู้ร่วมงาน เป็นผู้เทศน์ ในหัวข้อ “พระเยซูอยู่เคียงข้าง” (ยน 8:2-11) ในตอนท้าย ของการฟื ้ น ฟู จิ ต ใจ ได้ มี พิ ธี ก ารรื้ อ ฟื ้ น ค� ำ สั ญ ญาของ การเป็ น ซาเลเซี ย นผู ้ ร ่ ว มงานและการสวดสายประค� ำ ร่วมกันด้วย

คนตาบอดช่วยคนตาบอดสู้ภัยโควิด-19 ศิ ษ ย์ เ ก่ า ของศู น ย์ พั ฒ นาสมรรถภาพคนตาบอด ปากเกร็ด ร่วมกันตัง้ “กองทุนคนตาบอดรวมใจสูภ้ ยั โควิด” ขึน้ โดยในเบื้องต้นได้ให้ความช่วยเหลือคนตาบอดในสอง รูปแบบคือ ส่งมอบกล่องยังชีพไปยังคนตาบอดทีร่ บั ผลกระทบ จากโควิด-19 และ การมอบเงินช่วยเหลือให้กับคนตาบอด ที่ติดเชื้อโควิด-19 ซึ่งก�ำลังรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลสนาม หรือก�ำลังกักตัวอยู่ที่บ้าน

20

db Bulletin


ADMA - EAO Congress Online

วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2021 คณะภคินพี ระราชินมี าเรีย ร่วมกับคณะผูบ้ ริหาร คณะครู บุคลากรโรงเรียนพระแม่มารี อุบลราชธานี น�ำโดย ซิสเตอร์รุ่งนภา สันติศิรินิรันดร์และ ซิ ส เตอร์ น วนั น ทน์ แสนยากุ ล ได้ ไ ปเยี่ ย มชาวบ้ า นและ มอบถุงยังชีพให้กับผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากการระบาดของ โควิ ด -19, ผู ้ ป ่ ว ยติ ด เตี ย งและผู ้ สู ง อายุ ของหมู ่ บ ้ า น นาไหทอง, หมู่บ้านส�ำราญ, หมู่บ้านเทพา, หมู่บ้านนาค�ำ และอี ก หลายหมู ่ บ ้ า นซึ่ ง อยู ่ ใ นจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี

ADMA ประเทศไทย

SQM ปันสุข ยุคโควิด

คณะแม่ พ ระองค์ อุ ป ถั ม ภ์ (ADMA) ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกและโอเชียเนียจัดประชุมระดับภูมิภาคครั้งที่ 2 ในรูปแบบออนไลน์ ระหว่างวันที่ 11-12 กันยายน 2021 ในหัวข้อ “ก้าวเดินดังเช่นพระนางมารีย์ไปยังพระเยซูเจ้า” โดยมีสมาชิก ADMA จาก 10 ประเทศ ในภูมิภาค EAO เข้าร่วมประชุมจ�ำนวน 189 คน ในจ�ำนวนนี้มีตัวแทน จากประเทศไทยเข้ า ร่ ว มประชุ ม จ� ำ นวน 5 คนและมี สมาชิ ก อี ก จ� ำ นวนหนึ่ ง ที่ รั บ ชมการถ่ า ยทอดการประชุ ม ร่วมกันที่ส�ำนักงานเจ้าคณะแขวงซาเลเซียนประเทศไทย

บรรเทาภัยโควิด-19

พิธีปลงศพ ซ.สุธี เจริญพานิช

ช่ ว งเดื อ นกรกฎาคมและสิ ง หาคม 2021 ซิ ส เตอร์ วิไลวรรณ ยนปลัดยศและตัวแทนครูโรงเรียนนารีวิทยา จ.ราชบุรี ร่วมกับเจ้าหน้าที่สังคมพัฒนาสังฆมณฑลราชบุรี ได้ ล งพื้ น ที่ แจกจ่ า ยอาหาร ยารั ก ษาโรค แก่ ช าวบ้ า น ที่ตกงาน ผู้ที่ตกทุกข์ได้ยาก ผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่หมู่บ้าน ห้วยผาก บ้านวังโค บ้านห้วยน�ำ้ หนัก บ้านห้วยกระวาน และ บ้านโป่งแห้ง และหมู่บ้านใกล้เคียง ใน อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี

เมือ่ วันที่ 24 สิงหาคม 2021 บิชอปยอห์น บอสโก ปัญญา กฤษเจริญ เป็นประธานในพิธีบูชาขอบพระคุณปลงศพของ ซิสเตอร์ หลุยส์ คอนซากา สุธี เจริญพานิช สมาชิกคณะ ผู้รับใช้ฯ ณ บ้านพรพัชรหทัยนิรมล จ.ราชบุรี หลังจากนั้น ได้นำ� ร่างของซิสเตอร์ไปบรรจุทสี่ สุ านของอาสนวิหารแม่พระ บังเกิด บางนกแขวก จ.สมุทรสงคราม อนึ่ง ซิสเตอร์สุธี ได้กลับไปยังบ้านพระบิดา เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2021 สิริอายุ 67 ปี ปฏิญาณตนเป็นนักบวช 48 ปี September-October 2021

21


CTimes-Catechetical Moment แปล I สายลมที่พัดผ่าน

5 ค�ำถามเกี่ยวกับ วัคซีนโควิด-19 ทีค ่ าทอลิกให้ความสนใจ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนายังคงสร้าง เพื่อปกป้องชีวิตแล้วนั้น ความรับผิดชอบของผู้ที่ตัดสินใจ

ความเสี ย หายและสร้ า งความทุ ก ข์ อ ย่ า งมหั น ต์ ให้กับโลกของเรา มีผู้คนมากกว่า 4 ล้านคนที่ต้อง จบชี วิ ต และอี ก 210 ล้ า นคนที่ ต ้ อ งเจ็ บ ป่ ว ย เพราะเชื้ อ โรคมหั น ตภั ย นี้ ผู ้ ค นทั่ ว โลกจึ ง ทุ ่ ม เท ความหวังไปยังวัคซีน ซึ่งเปรียบเสมือนอัศวินม้าขาว ทีเ่ ข้ามาช่วยเหลือมนุษยชาติให้ปลอดภัย แม้วา่ วัคซีน จะเป็นตัวช่วยทีด่ ที สี่ ดุ ในการป้องกันเชือ้ โรคโควิด-19 แต่ ในมุมมองของคาทอลิกบางคนวัคซีนบางชนิด ก็ทำ� ให้เกิดค�ำถามทางจริยธรรมขึน้ และนีค่ อื ค�ำถาม 5 ข้อ ซึ่งหลายคนให้ความสนใจ

1. เพราะเหตุใดจึงเกิดข้อโต้แย้งมากมาย เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโควิด 19

วัคซีนหลายประเภทรวมถึง วัคซีน MMR ได้นำ� เซลล์ Human Embryonic Kidney cell (HEK293 cell lines) ซึ่งเป็นผล มาจากการทดลองจากการท�ำแท้งถึง 2 ครั้งเมื่อประมาณ ปี 1970 มาใช้ในกรรมวิธีการผลิต จึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่จะต้อง ตระหนักว่าเซลล์ไลน์ไม่ได้มาจากเซลล์ซึ่งเกิดมาจากการ ท�ำแท้งแบบปกติ แต่สายต่างๆ เกิดมาจากการสืบทอดทีห่ า่ งไกล จากเซลล์ปกติจนถูกลอกแบบเป็นเหมือนกับเซลล์ต้นฉบับ ซึง่ เกิดมาจาก Human Embryonic Kidney tissue เพราะฉะนัน้ การเชือ่ มโยงทีค่ อ่ นข้างห่างไกลนีจ้ งึ ไม่ได้ทำ� ให้เกิดการกระท�ำใด ซึง่ ไปข้องเกีย่ วกับการท�ำแท้งโดยตรงจนอาจเป็นสาเหตุทำ� ให้ ความเลวร้ายในทางจริยธรรม อย่างไรก็ตาม ความเชื่อมโยง ที่ ห ่ า งไกลนี้ ก็ ส ร้ า งความแตกต่ า งให้ กั บ ความรั บ ผิ ด ชอบ ทางจริ ย ธรรม หากความตั้ ง ใจของเราคื อ การรั บ วั ค ซี น

ด้วยตนเองเพื่อจะใช้เครื่องมือนี้มิได้เป็นความรับผิดชอบ เดียวกันส�ำหรับผู้ที่ไม่มีโอกาสเลือก (Instruction Dignitas Personae, n. 35) หรือจะกล่าวง่ายๆ ก็คอื มันเป็นความรับผิดชอบ ของเราในการตัดสินใจทางจริยธรรม แน่นอนว่าความตั้งใจ ของเราต้องปกป้องและรักษาความดีของส่วนรวม ในระยะเวลา 20 ปีทผี่ า่ นมา สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 และคณะกรรมการส่ ง เสริ ม ชี วิ ต แห่ ง สั น ตะส� ำ นั ก ได้ ใ ห้ แนวทางที่ชัดเจนว่า วัคซีนชนิดใดก็ตามที่ใช้ cell lines ในกรรมวิธีเพื่อการผลิตถือว่าได้รับอนุญาตทางจริยธรรม ให้สามารถท�ำได้ เหตุวา่ การกระท�ำดังกล่าวเป็นการรักษาชีวติ และปกป้องเพือ่ นพีน่ อ้ งในสังคมของเราทีเ่ ปราะบาง ตัวอย่างเช่น วัคซีน MMR (ซึง่ ใช้ HEK293 cell lines ในการพัฒนา) ได้ชว่ ย ป้องกันการติดเชือ้ จากโรคหัดเยอรมันซึง่ เป็นโรคทีส่ ร้างผลกระทบ ต่อสุขภาพเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะหากเกิดขึน้ กับสตรีมคี รรภ์ ก็อาจส่งผลท�ำให้ทั้งมารดาและทารกในครรภ์เสียชีวิตได้ การรับวัคซีน MMR จึงเป็นการช่วยรักษาหลายชีวติ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ช่วยทารกในครรภ์ทกี่ ำ� ลังรอเวลาออกมาอยูร่ ว่ มกับเรา ในลักษณะเดียวกัน วัคซีนป้องกันโควิด 19 จะช่วยป้องกันชีวติ ของผูค้ นนับล้าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ บุคคลทีอ่ ยูใ่ นสถานการณ์ เปราะบางก�ำลังเผชิญหน้ากับโรคร้ายและความตาย


2.วัคซีนโมเดอร์นาและไฟเซอร์ แตกต่างจาก วัคซีนจอห์นสันแอนด์จอห์นสันอย่างไร วัคซีนโมเดอร์นาและไฟเซอร์เป็นวัคซีนทีไ่ ด้รบั การพัฒนา มาจากการใช้ mRNA (รูปแบบการสร้างโปรตีนประเภทหนึ่ง ของร่ า งกาย) และไม่ ไ ด้ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ เซลล์ ของทารกในครรภ์ อย่างไรก็ตามวัคซีนทั้งสองชนิดนี้ก็ได้ถูก ทดลองด้วยการใช้เซลล์ไลน์ HEK293 ในขณะทีว่ คั ซีนจอห์นสัน

แอนด์จอห์นสัน และแอสตราเซเนกาใช้เซลล์ไลน์ HEK239 เพือ่ การพัฒนาวัคซีน และท�ำให้ดเู หมือนว่าจะมีความใกล้ชดิ มาก กั บ การท� ำ แท้ ง กระนั้ น ก็ ดี บนพื้ น ฐานแห่ ง ความเข้ า ใจ ที่ว่าเซลล์เหล่านี้กับวัคซีนมีความเชื่อมโยงที่ห่างไกลกันมาก ท�ำให้เราย้อนกลับไปพิจารณาถึงความจริงทีว่ า่ การผลิตวัคซีน ป้องกันโควิดชนิดต่างๆ ยังคงอยู่ในขอบข่ายเดียวกันกับที่ พระศาสนจักรคาทอลิกได้ก�ำหนดแนวทางไว้ตามที่กล่าว ในข้อที่ 1 เพราะเหตุนี้ ในสภาพการณ์ที่เราอาจได้รับวัคซีน ป้องกันโควิด 19 ซึ่งมาจากการพัฒนาของเซลล์ไลน์ที่มาจาก การท�ำแท้ง (เช่นในกรณีวัคซีนจอห์นสันแอนด์จอห์นสัน) ศู น ย์ ชี ว จริ ย ศาสตร์ ค าทอลิ ก แห่ ง อเมริ ก าได้ อ ้ า งอิ ง การชี้ แ จงจากสมเด็ จ พระสั น ตะปาปาเบเนดิ ก ต์ ที่ 1 6 ในปี 2005 เผยแผ่โดยคณะกรรมการส่งเสริมชีวติ แห่งสันตะส�ำนัก ข้อชี้แจงนี้ท�ำให้เราเข้าใจได้ว่า หากคาทอลิกต้องรับวัคซีน ซึ่ ง มาจากการการพั ฒ นาของเซลล์ ที่ ก รรมวิ ธี ก ารผลิ ต เกี่ยวข้องกับการท�ำแท้ง ก็สามารถรับวัคซีนนั้นได้ เพราะ มี ค วามจ� ำ เป็ น จะต้ อ งรั ก ษาสุ ข ภาพและป้ อ งกั น ชี วิ ต

3.เราควรได้รับวัคซีนชนิดใด คาทอลิกทีจ่ ะรับการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 เพือ่ ปกป้อง ชีวิตของตนพร้อมกับครอบครัวและหมู่คณะที่ตนด�ำรงชีวิตอยู่ ควรมีความรู้สึกสบายใจที่จะรับวัคซีนชนิดใดก็ได้ที่ท้องถิ่น ของตนน�ำมาบริการ สภาประมุขบาดหลวงโรมันคาทอลิก แห่งสหรัฐอเมริกาได้ออกเอกสารเพื่อชี้แจงอย่างชัดเจนว่า ถ้าสามารถเลือกได้กค็ วรรับการฉีดวัคซีนโมเดอร์นาและไฟเซอร์ เพราะว่ากรรมวิธีการผลิควัคซีนสองชนิดนี้มีความห่างไกล จากเซลล์ไลน์ HEK293 มากกว่า อย่างไรก็ตาม เมื่อเดือน ธันวาคม 2020 สมณกระทรวงแห่งพระสัจธรรมในนามของสมเด็จ พระสันตะปาปาฟรังซิสและโรมันคูเรีย ได้ออกประกาศว่า “ในกรณีไม่มวี คั ซีนป้องกันโควิด 19 ชนิดทีใ่ นกรรมวิธกี ารผลิต ไม่ได้เกี่ยวพันกับความเลวร้ายทางจริยธรรม ก็คงเป็นเรื่อง ที่ยอมรับได้หากเราจะไปรับบริการวัคซีนป้องกันโควิด 19 ซึ่งมาจากการใช้เซลล์ไลน์จากตัวอ่อนของทารกซึ่งมาจากการ ท�ำแท้งในการคิดค้นและกรรมวิธกี ารผลิต”ยับยัง้ การเสียชีวติ ของผู้คนมากมายจากเชื้อไวรัสโคโรนาโดยเร็ววัน

สมณกระทรวงแห่งพระสัจธรรมพยายามสร้างความชัดเจน นีเ้ พราะมีประชาชนจ�ำนวนมากซึง่ ไม่สามารถเลือกวัคซีนทีต่ น ต้องการจะรับได้ ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นการอนุโลมทางจริยธรรมที่ จะรับวัคซีนชนิดนี้ เพือ่ ปกป้องชีวติ ของหลายคนทีม่ คี วามเสีย่ ง ต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา อีกแง่มุมหนึ่ง ก็ยังเป็นผลดีทาง จริยธรรมที่เราแต่ละคนควรไปรับการฉีดวัคซีนชนิดใดก็ได้ที่ เอื้ออ�ำนวยให้กับเรา เพื่อเราจะได้ยับยั้งการเสียชีวิตของผู้คน มากมายจากเชื้อไวรัสโคโรนาโดยเร็ววัน

September-October 2021

23


4. เราควรท�ำอย่างไรเพื่อยืดหยัดในคุณค่า ของคาทอลิกต่อปัญหาทางจริยธรรมนี้ ในฐานะที่เราเป็นคาทอลิก เราได้รับก�ำลังใจเพื่อส่งเสริม การท� ำ งานของบริ ษั ท หรื อ องค์ ก รทางการแพทย์ ต ่ า งๆ ที่จะไม่ใช้เซลล์ไลน์ ขอให้เราพยายามต่อไปในการเรียกร้อง บริษัทเภสัชกรรมที่จะไม่ใช้ประโยชน์จากเซลล์ไลน์ในการ คิดค้นกรรมวิธีเพื่อพัฒนาวัคซีนในอนาคต การเรียกร้องนี้ เป็ น จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ที่ เ กิ ด ผลได้ เ พราะหากเราพิ จ ารณา จากประสบการณ์ที่ผ่านมา เราเห็นว่าในเมื่อเทคโนโลยี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องก็ต้องท�ำให้ความจ�ำเป็นต่อการใช้ ประโยชน์จากเซลล์ไลน์ HEK293 ต่อการพัฒนาวัคซีน ลดน้อยลงไปด้วย เราคาทอลิกยังถูกเชือ้ เชิญให้รบั การฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 เป็นการส่งเสริมความดีของส่วนรวมเพราะเราปฏิบัติตาม แนวทางการปฏิบตั จิ ากศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค เราถูกเรียก ให้ปฏิบัติตนและแสวงหาวิธีการท�ำประโยชน์เพื่อความดี ของส่วนรวม วิธีการหนึ่งก็คือเราต้องปกป้องชีวิตมนุษย์ และ ด้วยความตระหนักถึงความจริงที่ว่าเราจะต้องปกป้องชีวิต ของบุคคลทีม่ คี วามเปราะบางจากการติดเชือ้ โควิด 19 รวมไปถึง สตรีที่ก�ำลังตั้งครรภ์และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องด้วย เรา จึ ง ต้ อ งพยายามวิ นิ จ ฉั ย การกระท� ำ ทางศี ล ธรรมของเรา ที่จะรักษาชีวิตและศักดิ์ศรีของมนุษย์ในหมู่คณะของเรา คาทอลิกจะต้องเป็นผู้สนับสนุนและเป็นเสียงร้องของคน ยากจนและบุคคลเปราะบาง ดังนัน้ เราจึงต้องพยายามเรียกร้อง ให้ผนู้ ำ� ประเทศของเรากระจายวัคซีนไปยังทุกคนและแบ่งปัน วัคซีนให้กับประเทศอื่นๆ ที่มีความต้องการด้วย โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ในประเทศซึ่ ง ประชากรในประเทศนั้ น มี อั ต รา ความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 24

db Bulletin


5. เราก� ำ ลั ง ประนี ป ระนอมต่ อ คุ ณ ค่ า แห่งการส่งเสริมชีวติ หรือไม่ หากเราก�ำลัง จะเข้าไปรับวัคซีนจอห์นสันแอนด์จอห์นสัน ค�ำสอนทางจริยธรรมของคาทอลิกเรียกร้องให้เราใส่ใจต่อ ความดี ข องส่ ว นรวม และหลี ก เลี่ ย งความร่ ว มมื อ กั บ การกระท�ำที่เป็นบาปหนัก ค�ำสอนทางจริยธรรมคาทอลิก ของเรายั ง บอกให้ เ ราพยายามท� ำ บางสิ่ ง บางอย่ า ง เพือ่ ปกป้องทุกคนทีเ่ ราพบปะ โดยเฉพาะบุคคลทีม่ คี วามเปราะบาง ในทุ ก ด้ า น ค� ำ สอนเหล่ า นี้ ไ ม่ ไ ด้ เ ปลี่ ย นไปจากชี วิ ต ของ พระศาสนจักรและก็จะไม่เปลีย่ นด้วย การต่อต้านการท�ำแท้ง รวมไปถึงการพัฒนาวัคซีนจากการใช้ประโยชน์จากเซลล์ไลน์ ซึ่งมาจากการท�ำแท้งยังคงมีความชัดเจนที่เราไม่เห็นด้วย ตามบรรทั ด ฐานทางจริ ย ธรรมของเรา และเรายั ง คง แสดงจุดยืนนี้ต่อองค์กรแห่งเภสัชกรรมทั้งหลาย เมื่ อ เราต้ อ งประยุ ก ต์ คุ ณ ธรรมทางจริ ย ธรรมนี้ ต่ อ สถานการณ์ ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นและละเอี ย ดอ่ อ นซึ่ ง เราพบในชี วิต ประจ�ำวัน เราถูกเรีย กให้ใช้คุณธรรมแห่ ง ความรอบคอบ เพราะในขณะทีเ่ ราก�ำลังหลีกเลีย่ งความเลวร้าย อยู่นั้น ความรอบคอบก็เรียกร้องให้เราแสวงหาคุณค่าสูงสุด ในทุกสถานการณ์ เมือ่ อยูใ่ นสถานการณ์ทตี่ อ้ งเผชิญหน้ากับ ความละเอี ย ดอ่ อ นของการผลิ ต วั ค ซี น ป้ อ งกั น โควิ ด 19

เราจึงถูกเรียกให้ตระหนักถึงวิธกี ารทีเ่ ราจะสามารถสร้างความดี สูงสุดให้กับสังคมของเรา เราทุกคนจะต้องอุทิศตนต่อการ ปกป้องชีวิตไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใดก็ตาม ด้วยการ ไปรับวัคซีนป้องกันโควิด 19 ชนิดใดก็ได้ทเี่ อือ้ อ�ำนวยให้กบั เรา เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา เราต้อง สนับสนุนให้พน่ี อ้ งคริสตชนของเราไปรับการฉีดวัคซีนป้องกัน โควิด-19 ตามทีพ่ วกเขาหาได้งา่ ยทีส่ ดุ เพราะจากการแสวงหา หนทางเพือ่ ไปฉีดวัคซีน เราสามารถช่วยเหลือหมูค่ ณะของเรา ในการปกป้ อ งชี วิ ต ให้ ห ่ า งไกลจากความตายในช่ ว งการ แพร่ระบาดของไวรัสที่เลวร้ายชนิดนี้ ท้ า ยที่ สุ ด มี ค วามส� ำ คั ญ และจ� ำ เป็ น มากที่ เรา คาทอลิ ก จะต้ อ งค� ำ นึ ง อยู ่ เ สมอถึ ง ความห่ า งไกล จากความเชื่อมโยงระหว่างการท�ำแท้งและการพัฒนา วัคซีนชนิดต่างๆ ค�ำสอนทางจริยธรรมของเราต่อต้าน การท� ำ แท้ ง ในทุ ก กรณี นอกนั้ น ยั ง มี ข ้ อ แตกต่ า ง ทางจริยธรรมระหว่างการท�ำแท้ง การปลูกเซลล์เพือ่ ใช้ ในการรักษา การพัฒนาวัคซีน และการรับวัคซีนด้วย เจตนาในการปกป้องหมู่คณะ เราต้องแยกแยะระดับ ความรับผิดชอบของเราในแต่ละสถานการณ์เหล่านี้ เพื่อหลีกเลี่ยงการท�ำให้สับสนและซับซ้อนเกินไป


One Moment in Time Text, Photo : Gassanee T.

@Arizona, USA

Blessing in disguise กลางแผ่นดินใต้ฟ้าที่ว่ากว้าง ขับรถวนหลงทางกันดารแสน คลืน่ โทรศัพท์ถกู ตัดขาดจากดินแดน ทางขรุขระดูแร้นแค้นรันทดใจ ถึงตอนเทีย่ งแดดสาดเปรีย้ งเรียงภูเขา อาทิตย์แผดพลังเผาจนผิวไหม้ เหมือนอยู่เขาวงกตเวียนวกไป จะวนกลับทางไหนก็หลงทาง ตัดสินใจขับตรงไปท�ำใจสู้ เห็นโบสถ์อยู่ร�ำไรไสวสว่าง ใช้กางเขนโบสถ์นั้นช่วยน�ำทาง

26

db Bulletin

เป็นหมุดหมายเป็นแรงสร้างเป็นแรงใจ สองข้างทางระหว่างไปถึงในโบสถ์ อวลกลิ่นโรสกุหลาบป่าชลาศัย ดงดอกไม้ใกล้ล�ำธารส�ำราญใจ จนถึงโบสถ์ก็เข้าไป...ภาวนา ขอบคุณพระที่ให้ลูกได้หลงทาง จึงได้พบสิ่งสร้างงามนักหนา บางครั้ง... พระเจ้ามอบเส้นทางให้หลงมา เพราะเป็นทางที่ดีกว่าทุกเส้นทาง ……………….


ส่องโลกซาเลเซียน By SDB Reporter

World News ฉลองวันเกิดพ่อบอสโก @ยูเครน วันที่ 16 สิงหาคม 2021 หมู่บ้าน Lviv และ Corostiv ประเทศยูเครน ได้จัดฉลองวันเกิด 206 ปีของคุณพ่อ บอสโก โดยมี บิชอป Ihor Voz’njak แห่งสังฆมณฑล Lviv เป็นประธาน ในพิธบี ชู าขอบพระคุณ ร่วมกับ บิชอป Hrygoriy หลังพิธีได้มีการเสกขนมปัง และน�้ำ เพื่อเป็นการระลึกถึงอัศจรรย์ ของคุ ณ พ่ อ บอสโกที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ วันที่ 22 ตุลาคม 1860

ช่วยผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวที่เฮติ วันที่ 14 สิงหาคม 2021 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.2 ริกเตอร์ โดยมีจดุ ศูนย์กลาง อยู่ลึกใต้ดิน 10 กิโลเมตรที่เมืองเปตี ตรู เดอ นิปเปส ประมาณ 150 กิโลเมตร ทางตะวันตกของกรุงปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงประเทศเฮติ ท�ำให้มผี เู้ สียชีวติ อย่างน้อย 1,900 ราย บาดเจ็บอีกกว่า 9,900 ราย โรงเรียนซาเลเซียนและโรงเรียนของซิสเตอร์ ซาเลเซียน ได้รับความเสียหายไม่มาก และตั้งแต่วันแรกของการเกิดแผ่นดินไหว โรงเรียนซาเลเซียนได้เปิดรับผูป้ ระสบภัยแผ่นดินไหวทีอ่ าศัยอยูร่ อบๆ ให้เข้ามาพัก ในโรงเรียนเป็นการชั่วคราว

ศูนย์บ�ำบัดและฟื้นฟู เยาวชนอัมพาต ส� ำ นั ก งานธรรมทู ต ซาเลเซี ย น เมืองนิวโรเชล ประเทศสหรัฐอเมริกา ก�ำลังด�ำเนินโครงการสร้างศูนย์บำ� บัด และฟื้นฟูผู้ป่วย โดยเฉพาะเยาวชน ทีเ่ ป็นอัมพาตเนือ่ งจากอาการบาดเจ็บ ที่ ไขสั น หลั ง ที่ เ มื อ งกวาดาลาฮารา ประเทศเม็กซิโก ศูนย์ดังกล่าวจะเป็น ศูนย์ของภูมภิ าคละตินอเมริกาแห่งใหม่ และจะเป็นศูนย์แห่งแรกในประเทศ เม็ ก ซิ โ กซึ่ ง จะสร้ า งเสร็ จ ในเดื อ น กันยายน ปี 2023

แต่งตั้งเลขาธิการกระทรวงพัฒนามุนษย์ เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม 2021 สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสได้ทรงแต่งตัง้ ซิสเตอร์ อเลสซานดรา สเมริลลี คณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ (FMA) เป็นเลขาธิการ ของกระทรวงพัฒนามนุษย์ของสันตะส�ำนักและเป็นตัวแทนคณะกรรมการวาติกัน ว่าด้วยเรื่องโควิด-19 September-October 2021

27


ส่องโลกซาเลเซียน By SDB Reporter

World News เทศกาล “Music of St Hyacinth” ครั้งที่ 14

ประชุมครูค�ำสอน วันที่ 23-25 สิงหาคม 2021 ครูคำ� สอนของสถาบันซาเลเซียน แขวงลอมบาร์เดีย -เอมิเลีย (ILE) ประเทศอิตาลี ได้ประชุมร่วมกันที่บ้านซาเลเซียนเมืองซอนดริโอ เพื่อวางแผนงานอภิบาลส�ำหรับปีหน้าและวางแผนเพื่อการพัฒนาทีมครูค�ำสอน ในแต่ละสถาบัน โอกาสนี้ ผู้เข้าประชุมได้รับการอบรมในหัวข้อเกี่ยวกับจิตวิทยา โดย ศาสตราจารย์ Susanna Bianchini จากมหาวิทยาลัยซาเลเซียน กรุงโรม เป็นวิทยากร

วันที่ 14-17 สิงหาคม 2021 สมาชิก ซาเลเซียนแขวงคราคูฟ ประเทศโปแลนด์ ได้ จั ด เทศกาลดนตรี “Music of St Hyacinth” Festival ครั้งที่ 14 เพื่อเป็นเกียรติแด่นักบุญ Hyacinth องค์อปุ ถัมภ์ของแขวงซาเลเซียนคราคูฟ และแด่นกั บุญยอห์น บอสโก องค์อปุ ถัมภ์ ของเมื อ ง Oświęcim ในงาน มีกิจกรรมต่างๆ เช่น เกม Workshop และการแสดงคอนเสิร์ตของเยาวชน ซึ่งมีถ่ายทอดสดผ่านทางอินเทอร์เน็ต

เปิดส�ำนักงานสถานีวิทยุ Padre Cícero แห่งใหม่

ฟื้นฟูจิตใจสมาชิกหลังนวกภาพ วันที่ 8-14 สิงหาคม 2021 สมาชิกซาเลเซียนหลังนวกภาพของหมูค่ ณะ Moshi ประเทศแทนซาเนีย จ�ำนวน 37 คน ได้ไปฟืน้ ฟูจติ ใจประจ�ำปี ณ บ้านของคณะซิสเตอร์ ฟรังซิสกัน เมืองเมาอา ในหัวข้อ “อัตลักษณ์ของกระแสเรียกซาเลเซียนและ การเป็นอัครสาวกในปัจจุบัน” ภายใต้การน�ำของคุณพ่อ Patrick Anthonyraj ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการของแผนกงานอภิบาลเยาวชน

28

db Bulletin

วันที่ 13 สิงหาคม 2021 คุณพ่อ Nivaldo Pessinatti เจ้าคณะแขวง Brazil-Recife (BRE) ได้เป็นประธาน ในพิธเี ปิดส�ำนักงานใหญ่แห่งใหม่ของ สถานีวทิ ยุ Father Cícero ซึง่ เป็นวิทยุ FM เพือ่ การศึกษาซาเลเซียน ถ่ายทอดสด ผ่ า นวิ ท ยุ แ ละโซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร ์ ก ใน พิธีเปิดได้มีแขกรับเชิญซึ่งเป็นบุคคล ส�ำคัญของสถานีวิทยุที่เคยท�ำหน้าที่ ในอดีตมาร่วมงานมากมาย


ส่องโลกซาเลเซียน By SDB Reporter

EAO News

สมาชิก ADMA @ละฮอร์ วั น ที่ 24 สิ ง หาคม 2021 โอกาสระลึ ก ถึ ง แม่ พ ระ องค์อุปถัมภ์ ศูนย์อาชีวะดอนบอสโก เมืองละฮอร์ ประเทศ ปากีสถาน ได้จดั พิธบี ชู าขอบพระคุณครัง้ แรกของปีการศึกษา 2564-2565 โดยในระหว่างพิธี คุณพ่อกาเบรียล ครูซ SDB เจ้ า คณะกิ่ ง แขวงปากี ส ถาน ได้ ม อบมอบเหรี ย ญแม่ พ ระ องค์อุปถัมภ์และสายประค�ำพิเศษแก่สมาชิกสองคนแรก ของคณะแม่พระองค์อุปถัมภ์ (ADMA) กลุ่มดังกล่าวมีหน้าที่ เผยแพร่ความศรัทธาต่อแม่พระ โดยมีคุณพ่อ Noble Lal เป็นจิตตาธิการ

พลีกรรมอดอาหาร นักเรียนชั้นประถมศึกษาจ�ำนวน 22 คน ของโรงเรียน ซาเลเซี ย นที่ เ มื อ งแคนส์ ใ นรั ฐ ควี น ส์ แ ลนด์ ประเทศ ออสเตรเลีย เข้าร่วมการพลีกรรมอดอาหาร เป็นเวลา 1 วัน ซึ่งจัดโดยแผนกธรรมทูตซาเลเซียน ประเทศออสเตรเลีย โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ น�ำเงินในส่วนทีอ่ ดออมจากการพลีกรรม ส่งมอบให้ส�ำหรับกิจการธรรมทูต โดยในครั้งนี้จะน�ำเงิน ดังกล่าวไปบริจาคให้กับองค์กรการกุศล “Justice Squad”

ปฏิญาณตนครั้งแรก และปฏิญาณตนตลอดชีวิต @เวียดนาม

ปฏิญาณตนตลอดชีวิต

คณะซาเลเซียนประเทศไทยร่วมยินดีกับสมาชิกซาเลเซียน ประเทศเวียดนามทีม่ เี ยาวชนจ�ำนวนมากอุทศิ ชีวติ เป็นซาเลเซียน เพื่อเยาวชน วันที่ 12 สิงหาคม 2021 สมาชิกซาเลเซียนประเทศเวียดนาม (แขวงใต้) จัดพิธีรับนวกชนซาเลเซียนใหม่จ�ำนวน 14 คน วันที่ 13 สิงหาคม 2021 มีพิธีปฏิญาณตนครั้งแรกของ ซาเลเซียนจ�ำนวน 19 คน วันที่ 14 สิงหาคม 2021 มีพิธีปฏิญาณตนตลอดชีวิตของ ซาเลเซียน 6 ท่าน ที่หมู่คณะรีนัลดี วันที่ 15 สิงหาคม 2021 มีพิธีปฏิญาณตนตลอดชีวิตของ ภราดาซาเลเซียน 1 ท่าน ที่ Ky Anh

ปฏิญาณตนครั้งแรก

September-October 2021

29


LECTIO DIVINA By บิชอป โยเซฟ ประธาน ศรีดารุณศีล

คริสตชนคื อ มนุ ษ ย์ ใ หม่ (มก 7:1-23) มาช่วยเหลือพ่อแม่ได้นั้นเป็นคอร์บันคือของถวายแด่พระเจ้า’ ชาวฟาริสีและธรรมาจารย์บางคนจากกรุงเยรูซาเล็มมาเฝ้า 12ท่านก็บอกว่าเขาไม่ตอ้ งช่วยเหลือบิดามารดาอีกต่อไป 13ท่านใช้ พระองค์ พ ร้ อ มกั น 2เขาสั ง เกตว่ า ศิ ษ ย์ บ างคนของพระองค์ ขนบธรรมเนียมทีท่ า่ นสอนต่อๆ กันมาท�ำให้พระวาจาของพระเจ้า กินอาหารด้วยมือทีไ่ ม่สะอาด คือไม่ได้ลา้ งมือก่อน 3เพราะชาวฟาริสี เป็นโมฆะ ท่านยังปฏิบัติเช่นนี้อีกมากมาย” และชาวยิ ว โดยทั่ ว ไปย่ อ มถื อ ขนบธรรมเนี ย มของบรรพบุ รุ ษ เขาไม่กนิ อาหารโดยมิได้ลา้ งมือตามพิธกี อ่ น 4เมือ่ กลับจากตลาด สิ่งที่บริสุทธิ์และสิ่งที่เป็นมลทิน เขาจะไม่กินอาหารเว้นแต่จะได้ท�ำพิธีช�ำระตัวก่อน เขายังถือ 14พระองค์ทรงเรียกประชาชนเข้ามาอีกครัง้ หนึง่ ตรัสว่า “ทุกคน ขนบธรรมเนียมอื่น ๆ อีกมาก เช่น การล้างถ้วย จานชาม จงฟังและเข้าใจเถิด 15ไม่มสี งิ่ ใดเลยจากภายนอกของมนุษย์ทำ� ให้เขา และภาชนะทองเหลือง 5ชาวฟาริสีและธรรมาจารย์จึงทูลถาม มี ม ลทิ น ได้ แต่ สิ่ ง ที่ อ อกมาจากภายในของมนุ ษ ย์ นั้ น แหละ พระองค์ว่า “ท�ำไมศิษย์ของท่านไม่ปฏิบัติตามขนมธรรมเนียม ท�ำให้เขามีมลทิน 16ใครมีหูส�ำหรับฟัง ก็จงฟังเถิด” ของบรรพบุรษุ และท�ำไมเขาจึงกินอาหารด้วยมือทีไ่ ม่สะอาดเล่า” 17เมือ่ พระองค์เสด็จเข้าไปในบ้าน ห่างจากประชาชน บรรดาศิษย์ 6พระองค์ตรัสตอบว่า “ประกาศกอิสยาห์ได้พูดอย่างถูกต้อง จึงทูลถามพระองค์ถึงข้อความที่เป็นปริศนานั้นe 18พระองค์ ตรัสถามเขาว่า “ท่านก็ไม่มีปัญญาด้วยหรือ ท่านไม่เข้าใจหรือว่า ถึงท่าน คนหน้าซื่อใจคด ดังที่เขียนไว้ในพระคัมภีร์ว่า สิ่งต่างๆ จากภายนอกที่เข้าไปในมนุษย์นั้นท�ำให้เขามีมลทิน ประชาชนเหล่านี้ให้เกียรติเราแต่ปาก ไม่ได้ 19เพราะมันไม่ได้เข้าไปในใจ แต่ลงไปในท้อง แล้วออกไป แต่ใจของเขาอยู่ห่างไกลจากเรา จากร่ า งกาย” ดั ง นี้ ทรงประกาศว่ า อาหารทุ ก ชนิ ด ไม่ เ ป็ น 7เขานมัสการเราอย่างไร้ความหมาย มลทิน 20พระองค์ยังตรัสอีกว่า “สิ่งที่ออกจากภายในมนุษย์นั้น เขาสั่งสอนบัญญัติของมนุษย์เหมือนกับเป็นสัจธรรม 8“ท่ า นทั้ ง หลายละเลยบทบั ญ ญั ติ ข องพระเจ้ า กลั บ ไปถื อ แหละท� ำ ให้ เขามี ม ลทิ น 21จากภายในคื อ จากใจมนุ ษ ย์ นั้ น ขนบธรรม-เนียมของมนุษย์” 9แล้วพระองค์ทรงเสริมว่า “ท่าน เป็นทีม่ าของความคิดชัว่ ร้าย การประพฤติผดิ ทางเพศ การลักขโมย การฆ่าคน 22การมีชู้ ความโลภ การท�ำร้าย การฉ้อโกง ช่างช�ำนาญในการละเลยบทบัญญัติของพระเจ้า เพื่อถือ การส�ำส่อน ความอิจฉา การใส่ร้าย ความหยิ่งยโส ขนบธรรมเนียมของท่านเองเสียจริงๆ 10เช่นโมเสส ความโง่เขลา 23สิง่ ชัว่ ร้ายทัง้ หมดนีอ้ อกมาจากภายใน กล่าวว่า จงนับถือบิดามารดา และใครด่าบิดาหรือ และท�ำให้มนุษย์มีมลทิน” (มก 7:1-23) มารดา จะต้องรับโทษถึงตาย 11แต่ทา่ นกลับสอน ว่า ‘ถ้าใครคนหนึง่ พูดกับบิดาหรือมารดา ว่า ทรัพย์สินที่ลูกน�ำ

Lectio (พระเจ้าตรัสอะไร)


@ “ท่ า นตายจากบาปแล้ ว แต่ มี ชี วิ ต อยู ่ เ พื่ อ ในทุกสถานการณ์ของชีวติ เหมือนเป็นประสบการณ์ใหม่เสมอ พระเยซูเจ้า ทรงประทานโอกาสและความสามารถให้เราเปลี่ยนได้เสมอ “วิธคี ดิ แบบ พระเจ้าในพระคริสตเยซู” (รม 6:11)

ฟาริสพี ยายามปิดกัน้ พลังธรรมทูตของพระศาสนจักรยุคแรก จ�ำเป็นต้องมี พลั ง ที่ ห ้ า วหาญของเปาโล และการเรี ย กประชุ ม สั ง คายนาครั้ ง แรก ทีเ่ ยรูซาเล็ม เพือ่ หมูค่ ณะกลุม่ แรกสามารถทบทวนกฏทีผ่ นู้ บั ถือศาสนายิว ต้องการใช้บังคับ วิธีกระท�ำแบบฟาริสียังปรากฏให้เห็นได้ในปัจจุบัน แม้ในอ้อมอก ของพระศาสนจักร เช่น การถือกฏอย่างเคร่งครัดตามตัวอักษร กฏระเบียบ เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ล ะเมิ ด มิ ไ ด้ การพิ ถี พิ ถั น กั บ ระเบี ย บแบบแผนและ สิ่งที่ปรากฏภายนอกมากเกินไป การเน้นเปลือกนอกมากกว่าแก่น การนอบน้อมเชื่อฟังกฏระเบียบหรือค�ำสั่งที่ได้รับมาอย่างไม่มีบทบาท ไม่แสดงความคิดเห็นส่วนตัวหรือมีส่วนรับผิดชอบต่อการเรียกของพระ และค�ำร้องขอของบรรดาพี่น้อง การเป็นฟาริสีอาจเกิดขึ้นได้ เมื่อไม่มีการแยกระหว่างแก่นของ ความเป็นคริสตชนในประวัติศาสตร์ กับรูปแบบต่างๆทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมซึ่งปรากฏออกมาให้เห็น แต่จัดกิจการขององค์พระจิตเจ้า ทีเ่ ราไม่เข้าใจให้อยูใ่ นกรอบคิดของเรา และพยายามท�ำให้ผทู้ ไี่ ด้รบั การช่วย ให้เป็นอิสระจากการสิน้ พระชนม์ของพระคริสตเจ้าแล้ว ตกอยูภ่ ายใต้แอก @ ซือ่ สัตย์ตอ่ ธรรมประเพณีดว้ ยการเจริญชีวติ ในวันนี้ ของกฏหมายต่อไป มนุษย์คนเก่ากลับเป็นมนุษย์คนใหม่ ชีวิตของผู้รับ สิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้ สามารถจัดให้อยู่ภายใต้หัวข้อความเป็นฟาริสี ศีลล้างบาปแล้วได้รบั การฟืน้ ฟูอยูต่ ลอดเวลา เขาเจริญชีวติ ด้ ว ยเหมื อ นกั น ได้ แ ก่ การต่ อ ต้ า นบางประการต่ อ การฟื ้ น ฟู ข อง พระเยซูเจ้าทรงเป็น“พระเจ้า” ทรงเป็นอิสระจาก ธรรมประเพณี ทรงเป็นมนุษย์ใหม่ ดังนั้น จึงทรงอยู่ เพื่อการเปลี่ยนแปลง พระองค์ทรงบังเกิดเป็นมนุษย์ เพื่ อ ช่ ว ยมนุ ษ ย์ ใ ห้ พ ้ น จากบาป “ดั ง นั้ น เราถู ก ฝั ง ไว้ ในความตายพร้อมกับพระองค์อาศัยศีลล้างบาป เพื่อว่า พระคริสตเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพจากบรรดาผู้ตาย เดชะพระสิรริ งุ่ โรจน์ของพระบิดาฉันใด เราก็จะด�ำเนินชีวติ แบบใหม่ด้วยฉันนั้น” (รม 6:4) อันที่จริง“ปัสกาคือใบหน้าของโลก” ในสายตาของ “ผูท้ อี่ ยูบ่ นแผ่นดิน” ชีวติ อาจเป็นเรือ่ งจ�ำเจ ซ�ำ้ ซาก กฏหมาย ถูกประกาศออกมาฉบับแล้วฉบับเล่า และถูกก�ำหนดไว้แล้ว ล่วงหน้า แต่ในสายตาของ“ผูท้ มี่ ชี วี ติ ภายใน” ชีวติ ไม่มซี ำ�้ แต่เป็นการเคลือ่ นไหวอยูเ่ สมอ มีการฟืน้ ฟูอย่างไม่หยุดยัง้ การเสด็จมารับธรรมชาติมนุษย์ขององค์พระวจนาตถ์ เป็นหลักประกันของโลกใหม่

September-October 2021

31


สภาพระสังคายนา การส่งสัญญาณอันตรายทีไ่ ม่ถกู ต้อง ต่อความพยายาม ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับยุคสมัยในแวดวงพิธีกรรม การอภิบาล และ พระศาสนจักร ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ต่อธรรมประเพณี ซึ่งแสดงออกในลักษณะของการต่อต้านการฟื้นฟูทุกรูปแบบ สิ่งนี้เป็น ตัวชี้วัดความเป็นหมัน และความไม่สามารถเกิดผลทางจิตวิญญาณ ตรงข้าม ความซือ่ สัตย์ตอ่ องค์พระจิตเจ้าเป็นความซือ่ สัตย์ทขี่ บั เคลือ่ น มิใช่อยูน่ งิ่ เฉยในลักษณะตัง้ รับ เป็นความซือ่ สัตย์ทตี่ อ้ งออกแรงขวนขวาย เพื่อได้มาครอง มิใช่เป็นความซื่อสัตย์ที่มัวแต่โต้เถียงด้วยส�ำนวนโวหาร และหลักการ โดยใช้เหตุผลเพื่อเอาชนะกัน เป็นความซื่อสัตย์ที่ผลักดัน ให้ออกไปท�ำงานธรรมทูต มิใช่ปิดตัวอยู่แต่ใน comfort zone (อ้าง Vita Pastorale ของท่านมาร์ตินี)

“8ท่านได้รับความรอดพ้นเพราะพระหรรษทานอาศัย ความเชื่อ ความรอดพ้นนี้มิได้มาจากท่าน แต่เป็นของ ประทานจากพระเจ้า 9มิได้มาจากการกระท�ำใดๆ ของท่าน เพื่อมิให้ใครโอ้อวดตนได้” (ฟป 2:8-9) ในความเป็นจริง ชีวิตของเราไม่มีอะไรดีพอที่จะเป็น คุณค่าให้พระเจ้าเห็นและรักได้ เราไม่สามารถท�ำให้ชีวิต ของเราเป็นทีส่ บพระทัยพระองค์ กระนัน้ ก็ดี สิง่ ทีพ่ ระองค์ ทรงกระท�ำในตัวเรา ก็มิอาจท�ำให้พระองค์ไม่พอพระทัย ได้เช่นกัน พระเจ้าทรงส่งพระบุตรของพระองค์มาสิ้นพระชนม์ “พระคริ ส ตเจ้ า สิ้ น พระชนม์ เ พื่ อ คนบาป”(รม 5:6) พระคริสตเจ้าเท่านั้นที่ทรงความยุติธรรม จนสามารถ @ ความรับผิดชอบในการเดินทางด้านจิตวิญญาณ ประทานความชอบธรรมให้แก่ผู้อธรรมได้ พระเจ้าได้ส่ง Lectio Divina อบรมคนให้มีวุฒิภาวะและมีบทบาท มนุษย์ใหม่ พระบุตรของพระองค์มาไถ่เรา มิใช่ด้วยทองค�ำ หรือ เงิน ถูกขับเคลื่อนด้วยความเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า เป็นความตระหนักรู้ แต่ด้วยราคาของพระโลหิตของพระองค์” (S. Agostino, ในแผนการความรอดพ้นของพระเจ้า Historia Salutis และแสวงหา Disc. 23 A, 1-4). พระประสงค์ของพระเจ้าอย่างไม่หยุดหย่อน การเจริญชีวิตด้วยปัญญา อย่างชาญฉลาด โดยมีแผนชีวิต สามารถเอาชนะอุปนิสัยและการกระท�ำ @ จิ ต วิ ถี มี ชี วิ ต ชี ว าและก้ า วไปข้ า งหน้ า พร้ อ มกั บ แบบซ�ำ้ ซากได้ทกุ ชนิด ความพร้อมตอบรับต่อพระวาจาก่อเกิดความเป็น พระศาสนจักร สามารถเอาชนะอุปนิสัย ความวักแวก หนุ่มสาวตลอดไป การกระท�ำซ�ำ้ ซากในเชิงรับ จ�ำเป็นทีเ่ ราต้องถามตัวเราเองว่า ในตัวเรา มีชวี ติ เชิงรุกและเปิดหรือเปล่า ผูท้ ไี่ ม่มเี วลาให้กบั Meditatio (พระวาจาตรัสกับฉันวันนี้) การภาวนา ไม่มคี วามก้าวหน้าแต่อย่างใด แม้แต่ผทู้ ภี่ าวนา @ “เราเป็นผู้มีบุญอย่างแท้จริง เมื่อเราน�ำสิ่งที่ได้ฟัง หรือสิ่งที่เราร้อง ก็ อ าจยึ ด ติ ด อยู ่ กั บ ความเฉื่ อ ยชาทางจิ ต ได้ เ หมื อ นกั น ในบทเพลงสรรเสริญไปปฏิบตั ิ การฟังเปรียบได้กบั การหว่าน ส่วนผลของ @ ใน Lectio Divina มีคำ� ว่า “ขอให้เป็นไปกับข้าพเจ้า เมล็ดนั้นเราได้รับจากการกระท�ำของเรา ข้าพเจ้าอยากเตือนพวกท่านว่า ตามวาจาของท่าน”อยู่ พระวาจานี้ท�ำให้เกิดความพร้อม อย่าไปวัดโดยไม่เกิดผลอะไร การฟังสิ่งที่สวยงามมากมาย แต่ไม่น�ำไป ต่อสิ่งใหม่ทุกประการที่องค์พระจิตเจ้าจะทรงประทานให้ ปฏิ บั ติ ก็ ไร้ ป ระโยชน์ ดั ง ที่ นั ก บุ ญ เปาโลเขี ย นถึ ง ชาวเอเฟซั ส ว่ า ท�ำให้เกิดการแสวงหา ล้มิ รส และเปลีย่ นแปลงถิน่ ทุรกันดาร ท�ำให้ศิษย์แห่งพระวาจาแต่ละคนออกเดินอย่างจริงจัง

32

db Bulletin


แห่งความบันเทาจากพระโอษฐ์ขององค์พระผู้เป็นเจ้า พระวาจาที่ให้ ขอโทษ “นอกพระเจ้ามีแต่เสียงอึกทึก ความยุ่งเหยิง ความบันเทาใจ พระวาจาที่ปลอบโยน พระวาจาที่ท�ำให้เข้มแข็ง พระวาจา การทะเลาะเบาะแว้ง การสงคราม กับพระเจ้าทุกสิ่งคือ ที่ให้ความสว่าง พระวาจาที่ให้ความร้อน พระวาจาที่ให้อภัย พระวาจา ระเบียบ ทุกสิ่งอยู่ในระเบียบ พระเจ้าทรงเป็นอยู่ และ ที่ท�ำให้กลับคืนชีพ” (B. Carlo Acutis). พร้อมกับความเป็นอยูค่ อื ชีวติ มิใช่ความเป็นอยูท่ ตี่ ดิ อยูก่ บั เวลา ติดกับข้อจ�ำกัด แต่ชีวิตซึ่งอยู่ในนิรันดรภาพ สิ่งที่มี Communicatio รูปกายคืออะไรถ้ามิใช่เพียงภาพลวงตา? สิง่ สร้างทัง้ หลาย (พระวาจาท�ำให้ประชากรของพระเจ้าเกิดขึ้นใหม่) จะเป็ น อะไรหากถู ก พระผู ้ ส ร้ า งทอดทิ้ ง ? พระเยซู เจ้ า Carlo Acutis ได้จัดท�ำอุปกรณ์ เพื่อช่วยบรรดาเด็กๆ ที่ก�ำลังเรียน ทรงเชือ้ เชิญข้าพเจ้าให้ทงิ้ ทุกอย่าง และมาเป็นศิษย์ตดิ ตาม ค�ำสอนเพื่อบรรลุถึงความศักดิ์สิทธิ์ เป็นข้อๆ ดังนี้ พระองค์ พระเยซูคริสตเจ้าตรัสอยูใ่ นตัวข้าพเจ้า ทรงได้รบั • ต้องมีความปรารถนาอยากเป็นคนศักดิ์สิทธิ์อย่างสิ้นสุดจิตใจ หากยังไม่มี ก็ต้องวอนขอจากพระเจ้าอย่างไม่หยุดหย่อน การฟังและติดตามในทุกสิ่ง” (B. Carlo Acutis). ขอบคุณ ข้าแต่พระยาห์เวห์ พระเจ้าของข้าพเจ้า • พยายามไปฟังมิสซาและรับศีลมหาสนิททุกวัน ทั้ ง หลายพระนามของพระองค์ช่างยิ่งใหญ่ทั่วแผ่นดิน • อย่าลืมสวดสายประค�ำทุกวัน ค�ำสรรเสริญพระองค์ขนึ้ ไปถึงฟากฟ้า พระองค์ทรงใช้ปาก • หาเวลาอ่านพระคัมภีร์สักตอนหนึ่งทุกวัน ของเด็กน้อยและทารกประกาศพระฤทธานุภาพต่อต้าน • หากเป็นไปได้ ให้หาเวลาไปอยูต่ อ่ หน้าตูศ้ ลี และนมัสการศีลมหาสนิท บรรดาศัตรู ทรงปราบบรรดาข้าศึกและเหล่ากบฏให้เงียบไป” พระเยซูเจ้าทรงประทับอยูท่ นี่ นั่ จริง ๆ แล้วเธอจะพบว่าระดับความศักดิส์ ทิ ธิ์ ของเธอจะสูงขึ้นอย่างน่าอัศจรรย์ (สดด 8:1) ขอพรพระจิตเจ้า “ข้าแต่พระเจ้า โปรดประทาน • หากเป็นไปได้ ให้ไปแก้บาปทุกสัปดาห์ แม้เมือ่ มีเพียงบาปเบาก็ตาม พระพรแห่งองค์พระจิตเจ้าลงมายังข้าพเจ้าทั้งหลาย โปรด • มีข้อตั้งใจท�ำบางสิ่งบางอย่างเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นบ่อยๆ ประทานความยุตธิ รรมและสันติภาพแก่โลกทีไ่ ม่มคี วามสงบ • ขอความช่ ว ยเหลื อ จากทู ต สวรรค์ ผู ้ อ ารั ก ขาอย่ า งสม�่ ำ เสมอ ด้วยเถิด โอ้แสงสว่างแห่งพระปรีชาญาณ โปรดเปิดเผย ท่านต้องกลับเป็นเพื่อนที่ดีที่สุดของเธอ พระธรรมล�ำ้ ลึกขององค์พระผูเ้ ป็นเจ้าหนึง่ เดียว สามพระบุคคล ต้นธารแห่งความรักนิรันดร์แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายเถิด”

Oratio (พระวาจาท�ำให้ฉันภาวนา)

Contemplatio

(พระวาจาของพระเจ้าส�ำเร็จเป็นจริง) “พระเยซูคริสตเจ้าทรงเป็นองค์เดียวเสมอ ทั้งอดีต ปัจจุบันและตลอดไป” (ฮบ 13, 8) “ข้าพเจ้าได้ยินมาว่า พระเจ้าทรงปรารถนาได้รับ การเรียกขานว่า “พระบิดา” พระองค์ทรงคิดถึงมนุษย์ ทรงปรารถนาให้เขามีอยู่ ทรงสร้างเขา ยกเขาขึ้นและ รับเขาเป็นบุตรของพระองค์ ความรู ้ สึ ก ต่ า งๆ ผสมปนเปกั น ค� ำ พู ด สั บ สน พูดจาตะกุกตะกัก วิธีที่ดีที่สุดเพื่อพูดกับพระเจ้าก็ คือ เงียบ ความเงียบแห่งนิรนั ดรภาพ ความเงียบ แห่ ง การรอคอย ความเงี ย บแห่ ง ความรั ก สิง่ ยิง่ ใหญ่คอื การสวดภาวนา ข้าพเจ้ารับพระวาจา


150 ปี ธมอ. ภายใต้การนำ�เยี่ยงมารดาของพระนางมารีย์องค์อุปถัมภ์ Text I ภาชนะดินเผา

พระมารดามารี ย ์ เพื่อนร่วมทางของธรรมทูต ธมอ ชุดแรก การเดิ น ทางเพื่ อ ก้ า วข้ า มพรมแดน ที่รู้จักกัน เพื่อออกไปพบปะกับผู้คนและ วัฒนธรรมใหม่ในการประกาศพระคริสตเจ้า แก่เยาวชนนัน้ นับเป็นความฝันอันยิง่ ใหญ่ ในหัวใจของคุณพ่อบอสโก ผู้ก่อตั้งคณะ ตามค�ำชีแ้ นะของพระมารดามารียใ์ นความฝัน เมือ่ อายุ 9 ขวบ “...ทีน่ คี่ อื สนามงานของเธอ” มาเดอร์มัสซาแรลโล ผู้ร่วมตั้งคณะ ธมอ ได้ตอบสนองค�ำเชิญนัน้ ด้วยหัวใจทีก่ ว้างใหญ่ โดยมี พ ระนางมารี ย ์ อ งค์ อุ ป ถั ม ภ์ เ ป็ น แรงบันดาลใจและเพื่อนร่วมทาง ตามที่มี บันทึกไว้ในหนังสือ ความเจริญก้าวหน้า ของคณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ ดังนี้ “...ปี ค.ศ. 1877 นับเป็นปีประวัตศิ าสตร์

34

db Bulletin

ส�ำหรับคณะธิดาแม่พระองค์อปุ ถัมภ์ทขี่ า้ มน�ำ้ ข้ามทะเลไปยังอเมริกาใต้ ทัง้ ทีค่ ณะเพิง่ ถือ ก�ำเนิดมาได้เพียง 4 ปีเท่านั้น ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม คุณพ่อบอสโกเริม่ พูดทีม่ อร์เนเซว่า จะให้ซิสเตอร์บางคนเริ่มเรียนภาษาสเปน และต้นเดือนกันยายน เมื่อคุณพ่อกัลเยโร กลับจากอเมริกาเพื่อร่วมประชุมสมัชชา ครั้งแรกของคณะซาเลเซียน มีข่าวว่าจะมี การส่งธรรมทูตซาเลเซียนชุดที่สาม และ ในครัง้ นีจ้ ะมีซสิ เตอร์ธดิ าแม่พระองค์อปุ ถัมภ์ ร่วมเดินทางไปด้วย ในวันฉลองแม่พระ บังเกิดซึง่ ตรงกับวันเสาร์ มาเดอร์มสั ซาแรลโล ได้รับจดหมายจากคุณพ่อบอสโก เชิญชวน ซิสเตอร์ทคี่ ดิ ว่าตนมีกระแสเรียกเป็นธรรมทูต


ให้เขียนใบสมัครได้ ความตื่นเต้นยินดี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในบ้ า นมอร์ เ นเซนั้ น ไม่ อ าจ บรรยายได้ ยิง่ เมือ่ ทราบว่า คุณพ่อคอสตามาญา คุณพ่ออธิการของบ้าน เป็นหนึ่งในกลุ่ม ที่ จ ะเดิ น ทางไปอเมริ ก าด้ ว ย ใบสมั ค ร มีจ�ำนวนมาก แต่ผู้ที่ถูกเลือกสรรมีเพียง 6 คนเท่านั้น คือ ซิสเตอร์อันเจลา วาเลเซ (อายุ 23 ปี) ซิสเตอร์ยออันนา บอร์ญา (อายุ 17 ปี ) ซิ ส เตอร์ อั น เจลา คั ส ซู โ ล (อายุ 25 ปี) ซิสเตอร์อันเจลา เดเนกรี (อายุ 17 ปี) ซิสเตอร์เทเรซา เจดดา (อายุ 24 ปี) และ ซิสเตอร์เทเรซา มัสซาแรลโล (อายุ 17 ปี) ธรรมทูตชุดแรกนี้ทุกคนอายุยังน้อย หนึ่ง ในนัน้ คือ ซิสเตอร์อนั เจลา วาเลเซ อธิการิณี ซึ่งมีอายุไม่ถึง 24 ปี ด้วยซ�้ำ วั น ที่ 9 พฤศจิ ก ายน ค.ศ. 1877 คณะธรรมทูตได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระสันตะปาปา ปีโอที่ 9 พระองค์ทรงอ�ำนวยพรพิเศษแก่ ทุกคน และให้ข้อคิดจากพิธีกรรมประจ�ำ วันนั้นซึ่งเป็นวันฉลองวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันว่า “ขอให้พวกลูกท�ำตัวเหมือนอ่าง รองรับน�้ำพุ เมื่อรับแล้วก็ปล่อยให้ล้นไป เพื่อประโยชน์ส�ำหรับผู้อื่นด้วย เราต้อง เต็มเปี่ยมด้วยคุณธรรมและปรีชาญาณ...” วันที่ 14 พฤศจิกายน ก่อนทีจ่ ะออกเดินทาง จากท่าเรือเจโนวา คุณพ่อบอสโกได้ให้ ค�ำเตือนใจสุดท้ายแก่ธรรมทูตว่า “จงจ�ำ ไว้ ว ่ า วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการไปต่ า งแดน เยี่ยงธรรมทูตนี้ ก็เพื่อท�ำสงครามกับบาป เราจะลงมือท�ำงานประกาศข่าวดีกับคนป่า

ทีป่ มั ปาหรือปาตาโกเนียทันทีไม่ได้ จ�ำเป็น ต้ อ งเริ่ ม กั บ ผู ้ ที่ เ ป็ น คริ ส ตชนเสี ย ก่ อ น แล้วจึงค่อยขยายวงกว้างออกไปทีละน้อย...” ในนามของพระมารดามารีย์องค์อุปถัมภ์ บรรดาธรรมทูตออกเดินทางด้วยความกล้าหาญ และด้วยความยินดี คุณพ่อคอสตามาญา ได้แอบขโมยรูปแม่พระองค์อปุ ถัมทีค่ ณ ุ พ่อ บอสโกได้เสกและให้ส�ำหรับวัดที่มอร์เนเซ ไปด้วย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เดินทางมีก�ำลังใจ ยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ ทราบว่ า แม่ พ ระเดิ น ทางไป อเมริกากับพวกเขาด้วย ส่วนคุณพ่อกัลเยโร ไม่ทราบเรื่องนี้ ท่านจึงน�ำเอารูปแม่พระ อุม้ พระกุมารก�ำลังยิม้ อีกรูปหนึง่ ซึง่ มีประวัติ เดียวกัน คือถูกขโมยจากห้องศักดิ์สิทธิ์ ในวิ ห ารแม่ พ ระองค์ อุ ป ถั ม ภ์ ที่ ก รุ ง ตุ ริ น รูปนีเ้ ป็นฝีมอื ของนักศิลปินทีก่ ำ� ลังจะตาบอด ซึ่งคุณพ่อบอสโกได้อวยพรและเขาได้หาย ทันทีอย่างน่าอัศจรรย์ เมื่อคุณพ่อบอสโก ทราบว่าคุณพ่อกัลเยโรก�ำลังจะเอารูปนี้ไป ท่านได้เสกรูปนี้ให้เป็นพิเศษ เพราะท่าน อยากให้แม่พระเป็นผูค้ มุ้ ครองบรรดาซิสเตอร์ ในการเดินทางอันยาวไกลและตลอดไป เมื่ อ ถึ ง เวลาเรื อ ให้ สั ญ ญาณที่ จ ะ แล่นออกจากท่าเรือสูม่ หาสมุทรอันกว้างใหญ่

คุ ณ พ่ อ คอสตามาญาตรงไปนั่ ง ที่ เ ปี ย โน และบรรเลงบทเพลงที่ท่านเองได้แต่งสมัย เมื่อครั้งอยู่ที่มอร์เนเซว่า “ข้าฯ อยากรัก พระมารดา ข้ า ฯ ขอมอบถวายดวงใจ แด่พระนาง” ขณะทีเ่ รือค่อยๆ แล่นออกห่าง จากฝัง่ บทเพลงนีเ้ ป็นเพลงอ�ำลาจากธรรมทูต ชุดแรกของคณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ ในขณะที่ คุ ณ พ่ อ บอสโกและมาเดอร์ มัสซาแรลโลยืนอยู่ที่ฝั่ง ได้อวยพรลูกๆ ผู้กล้าหาญที่ยอมทิ้งประเทศของตนเพื่อ ไปสู ่ แ ดนธรรมทู ต ...” (Cronistoria, Vol. II, p. 276-291) จากท่าเรือที่ส่งบรรดาธรรมทูต ธมอ ชุดแรก มุ่งสู่แผ่นดินอเมริกาใต้ ได้เปิด ประตูหวั ใจอันกว้างใหญ่ในหน้าประวัตศิ าสตร์ ของคณะทีเ่ ขียนขึน้ โดยซิสเตอร์ธดิ าแม่พระ องค์อปุ ถัมภ์ใน 93 ประเทศทัว่ โลก จนกระทัง่ ทุกวันนี้ เป้าหมายเดียวของการออกเดินทาง ไปยังดินแดนธรรมทูตพร้อมกับพระนาง มารีย์ คือการด�ำเนินชีวิตอย่างซื่อสัตย์ ตามคติพจน์ที่ว่า “ขอแต่วิญญาณ สิ่งอื่น ไม่ต้องการ” และน้อมรับการมอบฝากของ พระนางทีว่ า่ “เราขอมอบฝากพวกเขาไว้กบั เธอ” ตลอดไปทุกยุคทุกสมัย


ใจ คอร์นทเวท Text : Mr.OK

ใจ คอร์นทเวท วัยรุน่ ไทยหัวใจซาเลเซียน 15 ปีบนโลกมายาและรักที่มีต่อการแสดง

โด่ ง ดั ง จากบทบาทของไพรั ช ตอนเด็ ก ในละครเรื่ อ งวาสนารั ก ท� ำ ให้ ทุ ก คนตกหลุ ม รั ก หนุ ่ ม ใจ คอร์ น ทเวท เข้าอย่างจัง ด้วยความน่ารักและมีรอยยิ้ม ตลอดเวลาที่ ได้พูดคุย เมื่อได้รู้จักตัวตน จริ ง ๆ ของหนุ ่ ม คนนี้ ก็ อ ดที่ จ ะหลงรั ก ไม่ ไ ด้ กั บ มาดนิ่ ง ๆ แต่ ก วนๆ มาติ ด ตาม หนุ ่ ม ฮอตเปิ ด ใจสั ม ภาษณ์ ไ ปพร้ อ มกั น ใจ คอร์นทเวท ลูกครึ่งไทย-อังฤษ ก�ำลังเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเซนต์ดอมินกิ กรุงเทพฯ เขาเป็นนักแสดงและนายแบบหนุ่มหล่อผู้ท�ำงาน มาหลากหลาย ทั้งในฐานะนายแบบ ถ่ายโฆษณา เดินแบบ และนักแสดง...

จุดเริ่มต้น

“ผมเข้าวงการบันเทิงมาตั้งแต่อายุ 2 ขวบครับ ตอนนั้นคุณแม่เจอกับโมเดลลิ่งโดยบังเอิญ และก็ได้ ถูกชักชวนให้น�ำผมมาเริ่มถ่ายแบบ ตั้งแต่นั้นผมก็ รับงานหลายอย่างเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ประมาณ 15 ปีกว่าแล้วครับ” “ผมว่างานในวงการบันเทิงผมชอบหมดเลย ไม่รนู้ ะ แต่ที่ชอบมากที่สุดก็เป็นเรื่องของการแสดง ตอนนี้ ผมรู ้ สึ ก สนุ ก กั บ งานที่ ท� ำ ครั บ แล้ ว พอผมตั้ ง ใจ ผมเห็นผลงานออกมา มันท�ำให้ผมมีความสุขครับ”

36

db Bulletin


ผลงานที่ผ่านมา

ผมมี ผ ลงานหลายอย่ า งทั้ ง ในด้ า น โฆษณา ถ่ายแบบและการแสดง อาทิเช่น ละครเรือ่ งวาสนารัก ละครคูเ่ วร โฆษณามาม่า โฆษณาฟู้ดแพนด้า โฆษณาช็อกโกแลต Super Star ของประเทศอิ น โดนี เซี ย โฆษณานม Dutch Lady ของประเทศ มาเลเซีย ฯลฯ

15 ปีบนโลกมายา ช่วยปรับความคิดให้ดูโตขึ้น

“ผมว่ามันเป็นเรื่องของโอกาสที่ได้รับ ด้วยครับ ผมได้เรียนรู้อะไรหลายๆ อย่าง เลยท�ำให้ผมรู้สึกว่ามันเป็นช่วงของการ เก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ อะไรที่ ผ มท� ำ ได้ แล้วมีโอกาสได้ทำ� ผมจะคว้าไว้และท�ำให้ดี ที่สุด” “การที่ เราเรี ย นไปด้ ว ยและท� ำ งาน ไปด้วย ท�ำให้ต้องรู้จักแบ่งเวลาและฝึก การมีความรับผิดชอบ การท�ำงานในวงการ บั น เทิ ง ท� ำ ให้ ผ มเติ บ โตในทางที่ ดี แ ละ ได้ เ ห็ น มุ ม มองใหม่ ๆ ของการใช้ ชี วิ ต ผมพยายามท�ำทุกสิ่งทุกอย่างอย่างเต็มที่ และมีความสุขกับสิง่ ทีท่ ำ� อยูใ่ นปัจจุบนั หรือ ก�ำลังจะท�ำในอนาคต เพราะเราจะได้ใช้ชวี ติ ให้คุ้มค่าที่สุด”

ความมั่นใจให้กับผมในการเลือกชีวิตและ อาชีพ และให้อสิ ระในการเลือกทางเดินชีวติ ครับ” นอกจากการสนับสนุนของครอบครัวแล้ว ยังมีโรงเรียนที่เป็นเสมือนบ้านหลังที่สอง ของใจด้วย “ตลอด 12 ปี ในรัว้ ซาเลเซียน (ร.ร.เซนต์ดอมินิก) ผมได้รู้จักนักบุญดอมินิก ซาวีโอ และพ่อบอสโก และรูส้ กึ ผูกพันกับคณะผูใ้ หญ่ คุณครูและเพื่อนๆ อย่างมาก ผมอยาก ขอบคุณคณะผูใ้ หญ่ทกุ ท่านทีอ่ บรมและดูแล เอาใจใส่ผมอย่างดีในโรงเรียน บรรยากาศ ที่ อ บอุ ่ น ในโรงเรี ย นช่ ว ยบ่ ม เพาะให้ ผ ม เติบโตมาจนถึงทุกวันนี้”

มองอนาคต

ถ้ า ชี วิ ต เป็ น การเดิ น ทาง ชี วิ ต ของใจ ก็กำ� ลังอยูใ่ นช่วงเริม่ ต้น เพราะการเดินทาง แห่งชีวิตยังอีกยาวไกล เมื่อถามว่าเขามอง อนาคตข้างหน้าอย่างไร ใจบอกกับเราว่า “ผมต้องฝึกฝนความสามารถต่างๆ ต่อไป อีกมาก ผมอยากท�ำงานด้านการแสดง ให้ เ ป็ น อาชี พ ที่ มั่ น คง และอยากมอบ ความสุขให้กับสังคมผ่านทางการแสดง ของผม และถ้ามีโอกาสช่วยเหลือ สังคมและประเทศชาติไม่ว่าทางใด ก็ตาม ผมยินดีจะช่วยเหลือเต็มที่ แพสชันด้านอื่นๆ ในชีวิต แค่ นี้ ผ มก็ มี ค วามสุ ข “ผมชอบเรื่ อ งการเล่ น ดนตรี ค รั บ แล้วครับ” มีช่วงหนึ่งที่ผมสนใจฝึกตีกลอง บางครั้ง ก็จะไปเล่นดนตรีกบั เพือ่ นบ้าง แต่ชว่ งหลังๆ นี้ ไม่ค่อยได้ไปเล่นดนตรีสักเท่าไหร่ ตอนนี้ สนใจฟังเพลงมากกว่า”

บุคคลเบื้องหลัง

นอกจากความทุ่มเทให้กับการพัฒนา ความสามารถด้ ว ยตั ว เองแล้ ว อี ก แรง สนั บ สนุ น หนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ เขาสามารถเป็ น ใจ คอร์ น ทเวท ในวั น นี้ ไ ด้ นั่ น คื อ ‘ครอบครัว’ แบ็กอัพที่ไม่เคยห่างกาย “ผมอยากขอบคุ ณ พ่ อ แม่ แ ละทุ ก คน ในครอบครั ว ที่ ค อยซั พ พอร์ ต และเพิ่ ม

อยากบอก

อยากบอกกับผูใ้ หญ่วา่ “อยากให้เปิดใจ รับฟังเสียงของวัยรุน่ ไทยให้มากขึน้ เพือ่ จะได้ เข้ า ใจและรู ้ ค วามคิ ด เห็ น อี ก มุ ม หนึ่ ง ด้วย สังคมของเราจะได้อยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข” อยากบอกกับเพื่อนๆ (วัยรุ่น) ว่า “ให้ ท� ำ หน้ า ที่ ข องตนเองอย่ า งดี ตั้ ง ใจเรี ย น และท�ำทุกอย่างด้วยความสุขโดยไม่ท�ำให้ ผู ้ อื่ น เดื อ ดร้ อ น ตั ว ผมเองรู ้ สึ ก ภู มิ ใจที่ วั ย รุ ่ น ไทยในปั จ จุ บั น มี ก ารแสดงออก ทางความคิดเห็นมากขึ้นและกล้าลงมือท�ำ สิ่งที่เป็นประโยชน์เพื่อให้สังคมดีขึ้น”


ผู้ศักดิ์สิทธิ์ เรียบเรียง: ผ้าขาวบาง

ผู้รับใช้ของพระเจ้า

“เวรา กรีตา”

ซาเลเซียนผู้ร่วมงานผู้ศักดิ์สิทธิ์ (1923-1969)

เมื่ อ วั น ที่ 26 พฤษภาคม 2021 สมณกระทรวงว่ า ด้ ว ย การแต่งตั้งนักบุญได้ประกาศ อนุ ญ าตให้ เริ่ ม กระบวนการ เพื่อพิจารณาแต่งตั้ง “ผู้รับใช้ พระเจ้ า เวรา กรี ต า” เป็ น บุญราศีและเป็นนักบุญ เวรา กรีตา เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม 1923 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ท่านเป็นบุตร คนที่สองในจ�ำนวนพี่น้องสี่คน ของนาย Amleto และนาง Marianna Zacco บิดาของท่าน เป็นช่างถ่ายภาพ เนื่องด้วย วิกฤติดา้ นการเงินของครอบครัว ในปี 1930 ครอบครั ว จึ ง ได้ ตั ด สิ น ใจย้ า ยบ้ า นไปที่ เ มื อ ง ซาโวนา แต่ไม่นาน ครอบครัว ก็ตอ้ งเผชิญกับวิกฤติดา้ นการเงิน อีกครั้ง บิดามารดาจึงส่งท่าน ไปอยู ่ กั บ ลุ ง ที่ เ กาะซิ ชิ ลี เพื่ อ เรียนหนังสือ เวลานัน้ ท่านอายุได้ 12 ปี ทีน่ นั่ ท่านได้มโี อกาสรูจ้ กั กับ ซิสเตอร์ซาเลเซียน หลังจากเรียนจบแล้วท่านได้กลับมาที่ซาโวนา (ขณะนั้นท่านอายุ 17 ปี) วันที่ 4 กรกฎาคม 1944 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการ โจมตีทางอากาศอย่างกะทันหันในเมืองซาโวนา เวราและเพื่อนๆ ได้วงิ่ ไปหลบภัย ขณะวิง่ ไปหาทีห่ ลบภัยนัน้ ท่านล้มลงและคนอืน่ ๆ ได้เหยียบท่าน ท�ำให้ท่านได้รับบาดเจ็บสาหัส ท่านนอนอยู่ที่นั่น เป็นเวลาหลายชั่วโมงท่ามกลางคนเจ็บและคนตาย ในที่สุด ท่าน ถู ก น� ำ ส่ ง โรงพยาบาลโดยสภากาชาด ตั้ ง แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา

38

db Bulletin

ท่านไม่เคยหายจากอาการบาดเจ็บ ที่ท่านได้รับในวันนั้นเลย ท่าน ต้ อ งทนทุ ก ข์ ท รมานมาก ตลอดชีวิตที่เหลือเพราะอาการ บาดเจ็บนี้ ท่านมีโอกาสได้ไป แสวงบุญทีเ่ มืองลูรด์ สองสามครัง้ แต่ท่านก็ไม่เคยภาวนาวอนขอ การรักษา ท่านถวายความทุกข์ ทรมานและชี วิ ต ของท่ า น เพื่อการกลับใจของคนบาป จากนัน้ ไม่นาน ท่านมีอาการ ดีขนึ้ ท่านจึงได้ไปท�ำงานเป็นครู ประถมในโรงเรี ย นแห่ ง หนึ่ ง บรรดาลู ก ศิ ษ ย์ รั ก ท่ า นมาก ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 1959 เวราเริ่มมีประสบการณ์ลึกลับ บางอย่ า ง ท่ า นเริ่ ม ได้ ยิ น “เสียง” ของพระเยซูเจ้าที่ตรัส กับท่านเป็นการส่วนตัว ท่าน ได้ ยิ น เสี ย งนี้ ต ลอดมานั บ ตั้งแต่ปี 1959 จนท่านสิ้นใจ ในปี 1969 ท่านได้บันทึกข้อความที่ท่านได้ยินในสมุดบันทึก รวม 13 เล่ม ข้อความเหล่านี้ได้รับการรวบรวมและตี พิ มพ์ เป็นหนังสือในปี 1989 โดย Giuseppina และ Liliana ซึ่งเป็น พี่สาวและน้องสาวของท่าน เวรารูจ้ กั กับซาเลเซียนเป็นเวลาหลายปี ท่านมักจะไปร่วมมิสซา ที่วัดแม่พระองค์อุปถัมภ์ที่ซาโวนาซึ่งดูแลโดยพระสงฆ์ซาเลเซียน บ่อยๆ ท่านได้ให้ค�ำสัญญาเป็นซาเลเซียนผู้ร่วมงานในปี 1967 ซึ่งเป็นเวลาสองปีก่อนที่ท่านจะสิ้นใจ คุณพ่อผู้แนะน�ำวิญญาณ ของท่านคือ คุณพ่อ Gabriello Zucconi


เรื่องมีอยู่ว่า by ลียองเอ

รับอะไรดีครับ

ทุกวันที่ 24 ของทุกเดือนจะมีการถวายมิสซา แก่สมาชิกนิตยสาร รวมทั้งผู้มีอุปการคุณต่อนิตยสาร

บ�ำรุงการพิมพ์ ธิติมิชส์ กิจเจริญ ครอบครัวศรีดอกรัก ประเสริฐศรี สมจิตติ์ชอบ ครอบครัวเหลืองอร่ามสุข

ครอบครัวมีขันทอง บุญลือ ธรรมนิตย์ กรชนก ช่างนับ วีรี ประทีปปรีชา

เขมพงศ์ พุทธรักษา วันดี เจริญพงศ์ชัย ครอบครัวกิจบ�ำรุง กัลยาณี สุวรรณจิต

มนัส อุชชิน หงษ์ฟ้า พรทิพย์ เอื้อวนาปักษา คณะภคินีผู้รับใช้ฯ

สถาบันธิดาพระราชินีมาเรีย เล็ก แทรตนิค คณะ VDB แอนนี่ ซื่อเพียรธรรม

ธนภณ สวนช�ำนิ อนงค์ลักษณ์ งั้นเจริญ และครอบครัว กษมา เสวตวิวัฒน์ และครอบครัว อังคณา ฉันทวงศ์วิริยะ และครอบครัว เทวิกา เอื้อประเสริฐวณิช และครอบครัว

September-October 2021

39


พระองค์ทรงรักเราสุดพรรณา ลูกจึงขอโมทนาคุณ ดิฉันเป็นทุกข์ใจมากที่สุดในชีวิต จากเหตุการณ์ พระเจ้ า และแม่ พ ระผ่ า นทางนิ ต ยสารดอนบอสโก ที่โควิด-19 ระบาดเข้ามายังคนในครอบครัวของลูก มา ณ โอกาสนี้ ศิริกุล ปิติสันต์ คือ ลูกชายและสามี หลังจากที่ลูกชายไปตรวจและ ทราบผลแน่ ชั ด ว่ า เป็ น บวกแล้ ว พวกเราทุ ก คน ในบ้านจึงรีบไปตรวจ ผลปรากฏว่าสามีของดิฉันก็ติด แม่พระทรงฟังค�ำภาวนา โควิด-19 ด้วยเช่นกัน ลูกชายของดิฉันถูกส่งตัวเข้าสู่ วั น หนึ่ ง ขณะที่ ลู ก ก� ำ ลั ง เตรี ย มเอกสารส� ำ คั ญ กระบวนการรักษาซึ่งอาการก็ดีขึ้นเป็นล�ำดับจนหาย ที่ต้องให้กรรมการลงนาม...ปรากฏว่าทั้งคอมพิวเตอร์ เป็นปกติ ส่วนสามีมีอาการหนักขึ้นเรื่อยๆ หลังจาก และเครื่องพิมพ์มีปัญหา ลูกคิดถึงแม่พระขึ้นมาทันที รอคิ ว อยู ่ ที่ บ ้ า นสามวั น จึ ง มี ร ถพยาบาลมารั บ ตั ว เพราะหากอุปกรณ์เหล่านี้มีปัญหา ลูกจะไม่สามารถ ไปรักษา อาการของสามีค่อยๆ ทรุดหนักลงเรื่อยๆ ท� ำ งานให้ เ สร็ จ ตามก� ำ หนดเวลาได้ ลู ก จึ ง สวดขอ จนในที่ สุ ด ต้ อ งอยู ่ ใ นห้ อ งไอซี ยู แ ละใช้ ท ่ อ ช่ ว ย แม่พระองค์องค์อุปถัมภ์ให้ช่วย ทันใดนั้นอุปกรณ์ หายใจ ดิฉนั เริม่ ใจคอไม่ดรี อ้ งไห้หนักมาก ดิฉนั ไม่รวู้ า่ ก็กลับมาใช้งานได้ดังเดิม ลูกขอขอบพระคุณแม่พระ จะท� ำ อย่ า งไรดี จึ ง ได้ เรี ย กทุ ก คนในบ้ า นมาสวด ที่ช่วยเหลือลูกตลอดมา แม้ในเรื่องเล็กน้อย อ้อนวอนขอต่อพระเจ้าและแม่พระ สิ่งนี้เป็นสิ่งเดียว ควันเทียน ที่ดิฉันคิดได้ในตอนนั้น เนือ่ งจากไม่สามารถไปเยีย่ มผูป้ ว่ ยได้ ดิฉนั จึงต้อง รอดชีวิต โทรศัพท์ตดิ ตามอาการจากโรงพยาบาลทุกวัน คุณหมอ ลูกขอขอบพระคุณพระเจ้า และพระแม่มารีอา บอกว่าสามีมีความดันต�่ำ มีไข้ มีอาการติดเชื้อ ปอด เป็นพิเศษ ช่วงไม่นานทีผ่ า่ นมาลูกป่วยอย่างกะทันหัน เสียหายเยอะพอสมควร หมอให้ยาเพือ่ คนไข้จะได้หลับ ขัน้ โคม่า อยูด่ ๆี หายใจติดขัดน�ำ้ ท่วมปอดต้องเข้ารักษา เพื่อให้ปอดได้พักผ่อน ดิฉันโทรติดตามอาการทุกวัน ในห้อง ICUและใส่ทอ่ ช่วยหายใจ ทรมานมากๆ ช่วงโควิด แต่อาการก็ยังทรงๆ และหมอก็บอกไม่ได้ว่าจะเป็น ห้ามใครเยี่ยม มองไปเตียงข้างๆ มีแต่คนไข้วิกฤต อย่างไรต่อไป ต้องดูตามอาการในแต่ละวัน เป็นแบบนี้ “ฉันจะพ้นขีดอันตราย มีชวี ติ รอดกลับไปเห็นหน้าลูกๆ ตลอด 14 วัน... หรื อ ไม่ ” ช่ ว งที่ ห มดสติ ไ ปเห็ น แต่ ภ าพบรรพบุ รุ ษ หลั ง จากรั ก ษาตามอาการต่ อ มาอี ก หลายวั น ที่เสียชีวิตไปแล้วมีชีวิตสดใส แล้วฉันล่ะจะอยู่ ณ ที่ใด อัศจรรย์ก็เกิดขึ้น หมอโทรมาแจ้งว่าสามีรู้สึกตัวแล้ว ป่วยปางตายหรือตายแล้วจริงๆ...เมื่อฟื้นขึ้นมาได้ และหมอได้ตรวจถึงสองครั้งแต่ไม่พบเชื้อ จึงอนุญาต แต่พิศวง งงงวย ลูกมาอยู่ที่นี่ได้อย่างไร ท�ำไมต้องใส่ ให้ ดิ ฉั น มาเฝ้ า คนไข้ ไ ด้ มั น ช่ า งเป็ น ข่ า วดี จ ริ ง ๆ ท่อหายใจ ลูกไม่รู้ว่าชีวิตจะเป็นอย่างไรต่อไป ลูกได้ ในรอบหนึง่ เดือนทีส่ ามีนอนป่วยอยู ่ สามีดฉิ นั มีอาการ สวดภาวนาขอพระเจ้าและพระแม่มารีย์ ให้ลูกพ้นขีด ดีขนึ้ อย่างผิดหูผดิ ตา หายจากอาการเพ้อ รับประทาน อันตราย ในที่สุดผ่านไป 1 สัปดาห์ ลูกได้ออกจาก อาหารได้เยอะขึน้ สามีบอกดิฉนั ว่ามันทรมานเหลือเกิน ห้อง ICU มาอยูห่ อ้ งพิเศษเพือ่ เฝ้าดูอาการและรักษาต่อ ได้ขอพระให้ยกไปหลายสิบครัง้ แต่พระก็ยงั ทรงเมตตา เพียง 2 วัน ลูกสามารถออกจากโรงพยาบาลได้ ดีใจ ให้ มี ชี วิ ต อยู ่ ที่ สุ ด สามี ดิ ฉั น ก็ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ อย่างบอกไม่ถูก นับเป็นพระพรที่ยิ่งใหญ่ที่พระเจ้า กลั บ บ้ า นได้ เมื่ อ วั น ที่ 8 มิ ถุ น ายน 2021 รวม เมตตารักษาให้หายป่วยอย่างฉับพลัน ลูกขอโมทนา เวลา 40 วันที่รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล พระคุณอันใหญ่หลวงที่ได้รับพระพรประเสริฐนี้ กราบ ขอบคุ ณ พระเจ้ า และแม่ พ ระองค์ อุ ป ถั ม ภ์ ที่ ฟ ั ง ขอบคุ ณ พระแม่ ม ารี ย ์ ที่ ไ ม่ ท อดทิ้ ง ลู ก ปั จ จุ บั น ค� ำ ภาวนาและทรงเมตตาต่ อ ลู ก คนบาป สามี ข อง ลูกสุขภาพแข็งแรงดี ดิ ฉั น ร้ อ งไห้ แ ละบอกตลอดว่ า พระเจ้ า มี จ ริ ง และ ลูกพระเจ้า

รอดจากโควิด-19

สนใจสมัครสมาชิกได้ที่

แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียน 32 ถ.กรุงเทพกรีฑา

หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 Tel: 02-7317100 Email: sdbsocomthai@gmail.com อ่านนิตยสารออนไลน์

(หากท่านเปลี่ยนชื่อและที่อยู่ผู้รับ กรุณาแจ้งให้ทางนิตยสารทราบ)

ธารน�้ำใจ ร่วมสนับสนุนการพิมพ์นิตยสารดอนบอสโก เลขที่บัญชี 666-2-11320-5 บัญชี กองทุนนิตยสารดอนบอสโก

ธนาคารทหารไทยธนชาต สาขาโรงพยาบาลรามค�ำแหง (ส่งเงินแล้วโปรดแจ้งรายละเอียดให้แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียนทราบด้วย)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.