นิตยสารดอนบอสโก-March-April 2021 (Thai Salesian Bulletin)

Page 1


นิตยสารดอนบอสโก นิตยสารซาเลเซียน (Salesian Bulletin) คือ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ เ ป็ น ทางการของคณะซาเลเซี ย นซึ่ ง คุ ณ พ่ อ บอสโกได้ เ ป็ น ผู ้ ริ เริ่ ม ไว้ เ มื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม ค.ศ. 1877 นิตยสารนี้ได้รับการตีพิมพ์อย่างดีเรื่อยมา เพื่ อ เผยแพร่ ง านด้ า นการจั ด การศึ ก ษาอบรมของ คุณพ่อบอสโกไปทั่วโลก ปัจจุบันนิตยสารซาเลเซียน มีทงั้ หมด 67 อีดชิ นั่ 32 ภาษา เผยแพร่ใน 132 ประเทศ ทั่ ว โลก นิ ต ยสารดอนบอสโกของประเทศไทยคื อ หนึ่งในจ�ำนวนนี้ด้วย ซึ่งได้เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี ค.ศ.1958 จนถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 64 และได้เปลี่ยนจากการตีพิมพ์ รายเดือนเป็นราย 2 เดือนตั้งแต่เดือนมีนาคม 2018 เป็นต้นมา เจ้าของผู้พิมพ์ คุณพ่อเทพรัตน์ ปิติสันต์ ที่ปรึกษา บิชอปโยเซฟ ประธาน ศรีดารุณศีล บรรณาธิการบริหาร sdbsocomthai@gmail.com กองบรรณาธิการ ซ.ฉวีวรรณ เกษทองมา ซ.ระวิวรรณ บวกหาร ซ.อุทุมพร แซ่โล้ว ซ.ลัดดา รัชนีลัดดาจิต คุณธัญญา ศิโรรัตน์ธัญโชค แผนกการเงิน บ.วรวุฒิ จิรสุจริตธรรม ส�ำนักงานนิตยสารดอนบอสโก 32 ถ.กรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร 0-2731-7100 E-mail : thaisdbbulletin@gmail.com พิมพ์ที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโกกรุงเทพ โทร. 0-2652-9625 ถึง 30 จัดพิมพ์โดย แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียน E-mail : sdbsocomthai@gmail.com

EDITOR’s NOTE

ท่านผูอ้ า่ นทีเ่ คารพรัก ตัง้ แต่ชว่ งปีใหม่ มาจนถึงปัจจุบนั มีผเู้ ขียนอวยพรผ่านทาง สือ่ โซเชียลและทางไปรษณีย์อีกทัง้ ระยะต้นๆ ปี มีผโ้ ู อนเงินมาท�ำบุญเพือ่ สนับสนุนการพิมพ์ และยั ง มี บ างท่ า นได้ เขี ย นมาแบ่ ง ปั น ความรักของพระโดยผ่านทางนักบุญต่างๆ ให้แก่เพือ่ นผูอ้ า่ นด้วยกันได้ทราบ และมี สมาชิกบางคนแนะน�ำสมาชิกใหม่ๆ ให้ ผมขอขอบคุ ณ ส� ำ หรั บ ความใจดี แ ละ มิตรภาพทีท่ า่ นมีตอ่ นิตยสารดอนบอสโก เสมอมา ตามหลักของการสือ่ สารนัน้ เป็นไปไม่ได้ ที่ เ ราจะเป็ น ฝ่ า ยพู ด เพี ย งฝ่ า ยเดี ย ว การสื่อสารที่แท้จริง ต้องมีการตอบโต้ สนทนากั น ผมปรารถนาที่ จ ะให้ นิตยสารดอนบอสโก ไม่เป็นนิตยสารที่ บรรณาธิการและบุคคลในกองบรรณาธิการ พูดเพียงฝ่ายเดียว แต่อยากให้ผู้อ่าน เขียนมาพูดคุย แสดงความคิดเห็น ติชม ทั้งนี้เพื่อจะได้ปรับปรุงนิตยสารให้ดีขึ้น และหากมี อ ะไรที่ ดี ก ว่ า ที่ เรายั ง ท� ำ ได้ ทางเราก็ยินดีที่จะพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ ในฉบับนี้ นอกจากข่าวคราวเกีย่ วกับ ซาเลเซียนและครอบครัวซาเลเซียนแล้ว

เนือ้ หาส่วนหนึง่ นัน้ มอบให้แก่นกั บุญโยเซฟ เพราะเดื อ นมี น าคมเป็ น เดื อ นของ นักบุญโยเซฟ และที่ส�ำคัญไปกว่านั้น สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส ทรง ประกาศให้ปีนี้เป็น “ปีนักบุญโยเซฟ” (8 ธันวาคม 2020-2021) พระองค์ทรงออก สมณลิ ขิ ต ชื่ อ “ด้ ว ยหั ว ใจของบิ ด า” (Patris Corde - With a Father’s Heart) เพื่อร�ำลึกถึงการครบรอบ 150 ปี แห่ง การประกาศว่า “นักบุญโยเซฟเป็นองค์ อุปถัมภ์พระศาสนจักรสากล” นิตยสาร ดอนบอสโกจึ ง น� ำ เสนอความเลื่ อ มใส ศรั ท ธาของคริ ส ตชนต่ อ นั ก บุ ญ โยเซฟ และร่ ว มใจกั บ พี่ น ้ อ งวั ด นั ก บุ ญ โยเซฟ บ้านโป่ง จ.ราชบุรี โอกาสฉลอง 100 ปี ของชุมชนคริสตชน เราก�ำลังอยู่ในช่วงปัสกา จึงขอส่ง ความสุขและพระพรของพระคริสตเจ้า ผูท้ รงกลับเป็นขึน้ มามายังท่านผูอ้ า่ นทุกท่าน ขอให้ท่านผู้อ่านได้ชื่นชมยินดีในโอกาส สมโภชปัสกา “เพราะพระคริสตเจ้าทรง กลับคืนชีพจริงแท้ อัลเลลูยา”

วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่จิตตารมณ์และกิจการซาเลเซียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานธรรมทูต การศึกษาอบรม งานอภิบาลเยาวชน การส่งเสริมและปลูกฝังกระแสเรียก 2. กระชับสายสัมพันธ์และความเป็นหนึ่งเดียวกันในระหว่างกลุ่มต่างๆ ของครอบครัวซาเลเซียน 3. เผยแพร่ความรักและความศรัทธาต่อพระเยซูเจ้าและแม่พระ

บรรณาธิการ


CONTENTs

dbBULLETIN MARCH - APRIL 2021

ภาพจากปก

นีโม่ - จิรัฎฐ์ วรรณลักษณ์ อนาคตนักบิดทางฝุ่นระดับโลก โรงเรียนสารสิทธิพ์ ทิ ยาลัย อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี ภาพ: ชนินทร์ ชายหมัด - IPONE Thailand Mx

2 EDITOR’s NOTE

Salesian World 4 สารอัคราธิการ

หัวใจของมนุษย์มีศักยภาพ ต่อการขับเคลื่อนสิ่งที่ยิ่งใหญ่

6 เรื่องเล่าจากสิ่งรอบตัว ของพ่อบอสโก

ไวโอลินและปืนล่าสัตว์

12 100 ปี ชุมชนคริสตชน

นักบุญโยเซฟ บ้านโป่ง

Life

26 One Moment in Time Struggling...

39 เรื่องมีอยู่ว่า....

แป้งพัฟกับแป้งพาย

Faith & Catechesis 10 ความเลื่อมใสศรัทธาของ

คริสตชนต่อนักบุญโยเซฟ 30 Lectio Divina

“พระเจ้าทรงส่งเสียงร้อง บนภูเขากัลวาริโอ” (มก 15:34) 34 สวดอย่างไร

Youth & Education 7 เสียงเยาวชน

“รักแบบไหน ที่หนุ่มสาวยุคใหม่ต้องการ?” 24 เพื่อนนักอบรม หรือรักฉันไร้ค่า 36 “นีโม่ - จิรัฎฐ์ วรรณลักษณ์”

อนาคตนักบิดทางฝุ่นระดับโลก

Holiness

10

12

22 ข้ารับใช้พระเจ้า

การ์โล เดลลา โตร์เร คริสตชนแท้ 38 ผู้ศักดิ์สิทธิ์ซาเลเซียน หลุยส์ บอลลา 40 พระพรที่ได้รับ

News

18 Local News 27 ส่องโลกซาเลเซียน

36

24

ให้ละม้าย คล้ายแม่พระ (5)

March-April 2021

3


สารอัคราธิการ Don Ángel Fernández Artime

หัวใจของมนุษย์มีศักยภาพ ต่อการขับเคลื่อนสิ่งที่ยิ่งใหญ่

แปล I สายลมที่พัดผ่าน

“ซาเลเซียน” มีความหมายว่า “ด�ำเนินชีวิตเพื่อผู้อื่น” ณ ที่นี้ท�ำให้เรารู้จักซาเลเซียน รู้ว่าพวกเขาคือใคร และด�ำเนินชีวิตอย่างไร

ถึ ง บรรดามิ ต รสหายและท่ า นผู ้ อ ่ า น นิตยสารซาเลเซียน พ่อขอทักทายทุกท่าน ด้วยความจริงใจ ในขณะทีพ่ อ่ เขียนจดหมาย ถึ ง ท่ า นอยู ่ นี้ เป็ น ช่ ว งเวลาที่ ก ลิ่ น อาย แห่งการเฉลิมฉลองคุณพ่อบอสโกยังคงอยู่ พ่อรู้สึกประทับใจมากกับประสบการณ์แห่ง การเฉลิมฉลองคุณพ่อบอสโกในปีนี้ มีหลายสิง่ หลายอย่างทีพ่ อ่ ประทับใจ แต่ในครัง้ นีพ้ อ่ ขอ แบ่ ง ปั น กั บ ท่ า นสองเรื่ อ งซึ่ ง ท� ำ ให้ พ ่ อ รู ้ สึ ก ว่ า หัวใจของ มนุษย์มี

ศั ก ยภาพต่ อ การขั บ เคลื่ อ นสิ่ ง ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ประสบการณ์แรกเกิดขึน้ ช่วงค�ำ่ ของวันที่ 29 มกราคม 2021 ทีว่ ลั ด๊อกโก ในพระวิหาร แม่พระองค์อุปถัมภ์ พ่อมีโอกาสร่วมกับ พี่ น ้ อ งสั ต บุ รุ ษ เพื่ อ สวดท� ำ วั ต รเย็ น ก่ อ น วันเฉลิมฉลองบิดาแห่งครอบครัวซาเลเซียน ของเรา มี เ ยาวชนสี่ ค นซึ่ ง มาชุ ม นุ ม ใน โครงการเศรษฐศาสตร์ของสมเด็จพระสันตะปาปา ฟรั ง ซิ ส ซึ่ ง ด� ำ เนิ น การโดยสั น ตะส� ำ นั ก ที่ กรุงโรมได้มาน�ำการภาวนาให้กับพวกเรา เยาวชนเหล่านี้เป็นนักธุรกิจรุ่นเยาว์ซึ่งมี ทัศนคติทแี่ ตกต่างจากนักธุรกิจทัว่ ไป พวกเขา ไม่ได้มีแนวคิดที่จะสร้างความร�่ำรวยจาก การท�ำธุรกิจซึง่ ท�ำให้ผอู้ นื่ ยากจน แต่พวกเขา ท�ำธุรกิจด้วยความมุง่ มัน่ โดยมีความส�ำนึกถึง ความยุ ติ ธ รรมและความสมานฉั น ท์ เ ป็ น บรรทั ด ฐาน เยาวชนสองคนได้ แ บ่ ง ปั น ประสบการณ์ที่มีอะไรมากกว่าการจัดการ ด้านการเงิน หนึ่งในพวกเขาได้แบ่งปันด้วย ความรูส้ กึ จากก้นบึง้ ของหัวใจว่า เขาได้สญ ู เสีย บิดาเมือ่ สองปีทแี่ ล้ว มารดาของเขาพยายาม ที่จะแสวงหาและเข้าใจความหมาย ทีแ่ ท้จริงของชีวติ และเพือ่ ระลึกถึง สามีอนั เป็นทีร่ กั เธอได้ตดั สินใจ รับเด็กผูอ้ พยพ 2 คนให้มาอยู่ กั บ ลู ก ๆ ของเธอที่ บ ้ า น พ่อสังเกตว่าเยาวชนผู้นี้ ได้แบ่งปันกับเราด้วย ความประทับใจ ที่ ลึ ก ซึ้ ง

เพราะการตัดสินใจของมารดาพร้อมด้วย ความกล้าหาญของเธอที่จะด�ำเนินชีวิตตาม คุณค่าแห่งพระวรสารท�ำให้เธอด�ำเนินชีวิต ด้วยความเชื่ออย่างเต็มเปี่ยมและแสดงออก ถึงความเชื่อที่เป็นรูปธรรม ประสบการณ์ที่สองที่พ่อประทับใจคือ มี เยาวชนหญิงคนหนึง่ เธอเป็นนักธุรกิจเช่นกัน เยาวชนหญิงผู้นี้ได้ตัดสินใจเป็นติวเตอร์ เพื่อช่วยเด็กชาวเซเนกัลคนหนึ่งให้สามารถ ตัดสินใจเลือกทางเดิน เด็กคนนี้สามารถ เจริญเติบโต พร้อมกับศึกษาเล่าเรียนอย่างดี ถื อ เป็ น การเตรี ย มอนาคตอย่ า งดี ที เ ดี ย ว พ่อรู้สึกประทับใจมากกับเยาวชนหญิงผู้นี้ เพราะเธอได้แสดงออกถึงคุณค่าแห่งข่าวดี ที่มีชีวิตจริงๆ ในตัวของเธอ โดยปราศจาก ความหวานซึ้งที่จอมปลอมแฝงอยู่ การเป็น ประจักษ์พยานของเธอมีความหมายส�ำหรับ เราในทุ ก วั น นี้ ด ้ ว ย พ่ อ คิ ด ว่ า เราทุ ก คน สามารถด�ำเนินชีวติ เช่นเดียวกับเยาวชนหญิง ผูน้ ี้ ซึง่ พ่อก็เชือ่ โดยปราศจากความสงสัยอีกว่า หลายคนในพวกเราก็ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต เช่ น นี้ ในวิธีการและรูปแบบซึ่งแตกต่างกันไป

จดหมายที่ท�ำให้หัวใจพองโต

เมื่อเราต้องการพูดถึงอะไรบางอย่าง ทีเ่ ป็น “รูปธรรม” พ่อปรารถนาทีจ่ ะแบ่งปัน ประสบการณ์แห่งการเป็นประจักษ์พยาน อีกเรื่องหนึ่งเพื่อยืนยันถึงความประทับใจ ที่จารึกลงในหัวใจของพ่ออย่างลึกซึ้ง พ่อ เคยแบ่งปันเรื่องราวเช่นนี้หลายครั้งแล้ว ในโลกที่เราด�ำเนินชีวิตอยู่นี้เป็นโลกที่เต็ม ไปด้วยความสับสนวุน่ วาย มิหน�ำซ�ำ้ เรายังถูก รายล้ อ มไปด้ ว ยพลั ง แห่ ง ความมื ด และ ความเป็ น จริ ง อั น เลวร้ า ยอี ก มากมาย


เราจึงต้องพยายามเผยแพร่สงิ่ ดีๆให้เป็นทีร่ จู้ กั คุณพ่อบอสโกได้ท�ำสิ่งนี้ทุกวัน และพ่อเอง ก็จะท�ำเช่นกัน เมือ่ ไม่กวี่ นั มานี้ พ่อได้รบั จดหมายฉบับหนึง่ ซึง่ หลังจากทีพ่ อ่ อ่านแล้ว พ่อเห็นว่าเรือ่ งราว ในจดหมายนี้เป็นประสบการณ์แห่งการ เป็นประจักษ์พยานของเยาวชนหญิงผู้หนึ่ง เธอเจริญชีวิตอยู่ในบรรยากาศซาเลเซียน มาเป็นเวลาหลายปี เรื่องราวที่เธอแบ่งปัน ท�ำให้หัวใจของพ่อพองโต และพ่อบอกกับ ตนเองว่าพ่อจะต้องแบ่งปันเรือ่ งราวนีก้ บั ทุกท่าน เพือ่ พวกท่านจะได้มโี อกาสได้ยนิ เรือ่ งราวดีๆ ทีส่ ามารถสัมผัสจิตใจและไม่สร้างความเจ็บปวด ประการใดเลย นี่คือเนื้อความที่เยาวชนหญิงผู้นี้เขียนถึงพ่อ “ถึงคุณพ่ออังเกลที่เคารพรัก ดิฉันขอ แบ่งปันประสบการณ์ชวี ติ กับคุณพ่อในบริบท ซึ่งดิฉันด�ำเนินชีวิตอยู่ บรรดาซาเลเซียนของ คุณพ่อยอดเยีย่ มมาก พวกเขาปกป้องเราจาก ความทุกข์ยาก เป็นทีพ่ งึ่ ส�ำหรับผูท้ โี่ ดดเดีย่ ว และพยายามหาเวลาเพื่ อ รั บ ฟั ง พวกเรา เพราะเหตุนี้ เราจึงเชือ่ ไว้ใจ และมอบความหวัง ของเราไว้กับพวกเขา พวกเขาท�ำให้จิตใจของเราสงบแม้ใน ช่วงเวลาแห่งความขมขื่น การเฉลิมฉลอง ด้วยความยินดีของเราเป็นเหมือนกับความ ยินดีของพวกเขา คุณพ่อเชื่อดิฉันเถอะคะ ดิฉันไม่ได้ทึกทักเรื่องราวขึ้นมาเอง เพราะ ชี วิ ต ของดิ ฉั น เองได้ เ ปล่ ง ประกายขึ้ น มา จากพระพรพิเศษซาเลเซียน ครั้งแรกใน หมูบ่ า้ นเล็กๆ ซึง่ บ้านซาเลเซียนหลังแรกได้ ถูกสร้างขึ้นในอเมริกา จากนั้นเพียงไม่กี่ปี ที่โรซารีโอซึ่งเป็นเมืองใหญ่ที่สวยงาม ณ ที่นี้ ในบ้านแห่งซานโจส ดิฉันท�ำงานและ มี ส ่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมของวัด ดิฉันได้รับ

ประสบการณ์หนึง่ ซึง่ อยากจะแบ่งปันกับคุณพ่อ คุณพ่อ A ผู้อ�ำนวยการของเรา ท่านรู้จักชื่อ ของนักเรียนทุกคน ท่านทราบว่าจะต้อง เดินเคียงข้างนักเรียนแต่ละคนอย่างไรเมื่อ พวกเขาต้องพบกับสถานการณ์แห่งความ เจ็บปวด ชีวิตของนักเรียนหลายคนต้องถูก รบกวนด้วยเรื่องโศกเศร้าและความยาก ล�ำบากอืน่ ๆ บางคนต้องเผชิญกับโรคร้ายลูคเี มีย บางคนสู ญ เสี ย บิ ด ามารดาไปอย่ า งไม่ มี วันกลับ บางคนต้องเผชิญอยูก่ บั ความเลวร้าย แห่งความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัว และ เรื่ อ งราวร้ า ยอื่ น ๆ อี ก มากมาย คุ ณ พ่ อ ผู้อ�ำนวยการทราบดีถึงปัญหาของนักเรียน แต่ละคนท่านจึงโอบอุ้มนักเรียนแต่ละคน ด้วยหัวใจและค�ำพูดที่งดงาม มีซาเลเซียน ท่านหนึ่งได้ท�ำให้พิธีบูชาขอบพระคุณใน แต่ละวันมีชีวิตชีวา นอกนั้นยังมี คุณพ่อ B ถึงแม้วา่ ท่านชราแล้ว ท่านก็ยงั คงอยูท่ า่ มกลาง เด็กๆ และเล่นกับพวกเขา ท่านชอบเล่าเรือ่ ง ต่างๆ ในอดีตซึ่งสร้างความบันเทิงให้กับ เด็กๆ ยังมีบ้านซาเลเซียนอีกแห่งหนึ่งซึ่ง พวกเราพร้อมกับคุณพ่อ A พยายามหาวิธี การเพื่อสอนเด็กๆ ให้เริ่มอ่านออกเขียนได้ และยังมีซาเลเซียนอีกหลายคนทีด่ ฉิ นั อยาก จะเอ่ยถึงพวกเขา...” เมื่อวันเสาร์ที่แล้ว ดิฉันได้เดินทางเป็น ระยะทาง 900 ไมล์ เพื่อไปพบกับคุณพ่อ C ท่านอาศัยอยูท่ บี่ า้ นซัตตีซงึ่ เป็นบ้านพักผูส้ งู อายุ ดิฉันไปพบท่าน เพียงเพราะอยากจะย�้ำ เตือนว่า ท่านเป็นทีร่ กั ของทุกคนมากเพียงไร ดิฉนั มีโอกาสรับประทานอาหารเทีย่ งกับท่าน และพูดคุยกับท่าน ดิฉันรู้สึกประทับใจที่ ท่านมองเห็นทุกอย่างเป็นสิ่งมีคุณค่า โดย เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อชีวิตมีโอกาสรับใช้ผู้อื่น “ซาเลเซียน” มีความหมายว่า “ด�ำเนิน

Rector Major

ชีวติ เพือ่ ผูอ้ นื่ ” ณ ทีน่ ที้ ำ� ให้เรารูจ้ กั ซาเลเซียน รู้ว่าพวกเขาคือใคร และด�ำเนินชีวิตอย่างไร เราอยู่ในโลกก็เพื่อผู้อื่น คุณพ่อ A พยายาม ย�้ำเตือนบ่อยๆ ให้เราพยายามเลียนแบบ คุณพ่อบอสโก และนีแ่ หละทีท่ ำ� ให้เราค้นพบ สิ่งพิเศษที่ลอยอยู่ในอากาศ แม้ว่าเราอาจ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่เราสามารถ สัมผัสได้ นัน่ คือบรรยากาศในสนามเด็กเล่น ที่โรงเรียน เพราะเหตุนี้ เราต้องท�ำทุกอย่าง ด้วยความยินดี ความหวัง และความศักดิส์ ทิ ธิ์ ขอส่ ง ความปรารถนาดี ม ายั ง คุ ณ พ่ อ อัคราธิการที่เคารพรัก ดิฉันจะภาวนาเพื่อ คุณพ่อและซาเลเซียนทุกท่าน พวกท่าน ท� ำ ให้ เรารู ้ สึ ก ว่ า คุ ณ พ่ อ บอสโกเจริญ ชีวิต อยู่ท่ามกลางพวกเรา และท่านก็อยู่จริงๆ และจะอยู ่ กั บ พวกเราตลอดไป สุ ข สั น ต์ วั น ฉลองคุ ณ พ่ อ บอสโกแด่ ทุ ก ท่ า นคะ” นี่คือประจักษ์พยานแห่งพระพรพิเศษ ซาเลเซียนที่พ่อปรารถนาจะแบ่งปัน พ่อ ไม่ ไ ด้ อ ้ า งอิ ง ชื่ อ จริ ง ๆ ของเธอเพราะพ่ อ อยากจะรักษาความเป็นส่วนตัวของเธอไว้ พวกท่ า นที่ รั ก ที่ พ ่ อ แบ่ ง ปั น เรื่อ งราวดีๆ เหล่านี้ เพราะพ่อเชื่อว่ามันท�ำให้เราเข้าใจ ประสบการณ์ของเยาวชนที่ศูนย์เยาวชน วั ล ด๊ อ กโกซึ่ ง คุ ณ พ่ อ บอสโกเองก็ แ บ่ ง ปั น เรือ่ งราวดีๆ พร้อมกับอยูก่ บั เยาวชนของท่าน เสมอ สิ่งนี้น�ำความยินดีมาสู่หัวใจของพ่อ เพราะมันท�ำให้พอ่ รูว้ า่ บ้านซาเลเซียนหลายแห่ง ในทุกวันนีย้ งั คงรักษารสชาติแห่งวัลด๊อกโกไว้ได้ พ่ อ ขอส่ ง ความปรารถนาดี ม ายั ง ทุ ก ท่ า น ขอให้ หั ว ใจของท่ า นพองโตและเปิ ด สู ่ ความหวังเสมอ


เรื่องเล่าจากสิ่งรอบตัวของพ่อบอสโก Text: Jose J.Gomez PALACIOS I Illustrate: Cesare แปล I ผ้าขาวบาง

ไวโอลินและ ปืนล่าสัตว์ ฉันเป็นปืนส�ำหรับล่าสัตว์ ส่วนสิ่งที่อยู่ ข้างฉันนี้คือคันชักไวโอลิน พวกเราอยู่ใน ห้องเก็บของในฟาร์มแห่งนีม้ ามากกว่า 180 ปี แล้ว เจ้าของของพวกเราคือ ยอห์น บอสโก สมัยทีเ่ ขาเป็นสามเณร เขามักจะมาพักผ่อน ทีน่ ใี่ นช่วงวันหยุดภาคฤดูรอ้ นกับแม่ของเขา ทุกวันเสาร์อาทิตย์ยอห์นจะเรียกรวม เด็กๆ เพื่อสอนค�ำสอนและช่วยสอนเด็กๆ ให้ อ ่ า นออกเขี ย นได้ เขาเป็ น คนน่ า รั ก เด็กๆทุกคนก็รักเขา ยอห์ น มี ค วามสามารถเล่ น ไวโอลิ น ได้อย่างยอดเยีย่ ม ครัง้ หนึง่ ลุงมัทธิวได้เชิญ ให้สามเณรยอห์นไปเล่นไวโอลินโอกาส ฉลองนักบุญบาร์โธโลมิว ทุกอย่างเป็นไป ด้วยดี ทั้งดนตรีทั้งพิธีกรรมท�ำให้สัตบุรุษ ประทับใจ แต่หลังจากอาหารเที่ยงก็เกิด เรือ่ ง ทุกคนทีน่ นั่ เชิญยอห์นให้เล่นไวโอลิน ยอห์นไม่กล้าปฏิเสธจึงเริม่ บรรเลงไวโอลิน หลั ง จากนั้ น ไม่ กี่ น าที ก็ มี เ สี ย งเท้ า เป็ น จั ง หวะ ยอห์ น หั น ไปที่ ห น้ า ต่ า งเห็ น คน ในลานด้ า นนอกก� ำ ลั ง อยู ่ เ ป็ น คู ่ ๆ และ เต้นร�ำกัน สามเณรยอห์นโมโห และพูดกับคน เหล่านั้นว่า “ท�ำไมเป็นแบบนี้ ผมได้เทศน์ไม่เห็นด้วย กับการเต้นร�ำแบบนี้ แต่พวกคุณกลับให้ ผมจั ด เต้ น ร� ำ ในสนามนี้ มั น จะต้ อ งไม่ เกิดขึ้นอีก”

6

db Bulletin

ประวัติความเป็นมา

คุณพ่อบอสโกได้เขียนในบันทึกศูนย์เยาวชนถึงประสบการณ์ช่วงวันหยุดฤดูร้อน ปี ค.ศ.1838 ที่ฟาร์มที่ซูสซัมบรีโนซึ่งโยเซฟ พี่ชายของท่านได้เช่าที่นาอยู่ที่นั่นจนถึง ปี ค.ศ.1839 ส�ำหรับคุณพ่อแล้วมันเป็นวันหยุดที่อันตรายส�ำหรับกระแสเรียกของผู้ที่ เป็นสามเณร อย่างไรก็ตาม ท่านได้ใช้เวลาท�ำงานในไร่ และนอกนั้นได้ใช้เวลาในการ อ่านหนังสือ เป็นช่างไม้ เย็บเสื้อผ้า ท�ำรองเท้าและตีเหล็ก

คันชักไวโอลินที่อยู่ข้างๆ ฉันเล่าให้ฉันฟังหลายครั้งด้วยน�้ำตา เมือ่ กลับถึงบ้านยอห์นพังไวโอลินทิง้ และไม่เล่นมันอีกเลย ฉันขอบอกว่ายอห์นเป็นคน รักษาสัญญา พูดแล้วไม่คืนค�ำ ฉันเป็นพยานได้ ยอห์นเป็นคนมีความสามารถหลายด้าน เขายังเก่งในการล่าสัตว์อีกด้วย วันหนึ่งเขาออกจากบ้านแต่เช้ามืดพร้อมกับฉัน เขาเห็นกระต่ายป่าตัวใหญ่จึงได้ วิ่งตามมันไป จากทุ่งนาผ่านสวนองุ่นข้ามหุบเขาและเนินเขาไปหลายชั่วโมงเพื่อล่า กระต่าย มันเร็วมากและก็อึด แต่ยอห์นเร็วกว่ามัน เขาวิ่งตามมันไปถึง 5 กิโลเมตร ที่สุดกระต่ายตัวนั้นก็เสร็จฉัน ฉันท�ำหน้าที่เล็งและยิงมัน กระต่ายผู้น่าสงสารก็ล้มลงใน ทุ่งหญ้าที่เต็มด้วยน�้ำค้าง แต่ยอห์นกลับไม่ยินดี ฉันเห็นเขาเศร้าและร้องไห้ เพื่อนๆ ที่วิ่งตามเขามาได้แสดง ความยินดีกลับยอห์นทีย่ งิ กระต่ายได้สำ� เร็จ แต่ยอห์นไม่รสู้ กึ เช่นนัน้ เขาได้ขอโทษเพือ่ นๆ ที่ท�ำเรื่องไม่ดีและเดินกลับบ้านไป ยอห์นได้สัญญากับพระเจ้าว่าจะไม่ล่าสัตว์อีก ด้วยเหตุนี้ฉันจึงไม่เคยออกจากมุมมืด ของห้องนี้อีกเลย


Voice of Youth

“รักแบบไหน

ที่หนุ่มสาวยุคใหม่ต้องการ?” เสียงเยาวชน By Andy ความรักเค้าว่ากันว่าเป็นเรื่องของคนสองคน มันต้องประกอบไปด้วยความรักความเข้าใจ เชื่อว่าคนทุกคนล้วนแต่ต้องการความรักที่ดีจริงใจให้แก่กันทั้งนั้น ในยุคสมัยที่ความรักหาได้เกลื่อนกลาดในโลกออนไลน์ ให้เราฟังความคิดเห็นของเยาวชนกันว่า

รักแบบไหน

ที่หนุ่มสาวยุคใหม่ต้องการ?

แมทธิว - เมธัส ทิวาวรรณวงศ์ อายุ 19 ปี

Matthew

ผมยังไม่เคยมีประสบการณ์ตกหลุมรักใครเลยสักคน อย่าว่าแต่มคี วามรักเลย ทุกวันนี้ การแสวงหาความหมายของความรักก็ยงั ด�ำเนินต่อไป จากประสบการณ์อนั น้อยนิดของผม และสิ่งที่หลายๆ คนบอกว่า “นี่แหละคือความรัก” นั้น ส�ำหรับผมแล้ว ผมกลับรู้สึกว่า มันไม่ใช่ เพราะคําว่ารักที่ว่านั้นมันฉาบฉวยและผิวเผินเกินไป ผมว่าความรักนั้นเป็นสิ่ง ทีย่ ากจะเข้าใจ แต่อย่างไรก็ตาม ผมหวังว่าวันหนึง่ ผมจะได้เข้าใจความหมายทีแ่ ท้จริงของมัน และความสับสนที่มีอยู่จะได้ถูกไขให้กระจ่าง ต้นแบบของชีวิตคู่ของผมก็คือคุณพ่อและ คุณแม่ เพราะท่านทัง้ สองมีความรักและมีความอดทนต่อกัน ซึง่ เทียบได้กบั รถถังหุม้ เหล็ก ที่นําความมั่นคงสู่ครอบครัว March-April 2021

7


คิตตี้ - พงศ์พัชรา สุภาจักร์ อายุ 16 ปี

Kitty

ความรักแบบทีห่ นูตอ้ งการคือ “รักทีเ่ ข้าใจกัน” แง่คดิ ของความรักทีห่ นูนำ� มาปรับใช้ใน ชีวติ ส่วนใหญ่มกั จะมาจากครอบครัวและคนรอบๆ ตัวค่ะ หนูคดิ ว่าความเข้าใจเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญมาก ในทุกความสัมพันธ์เพราะว่าเราทุกคนไม่ได้มคี วามคิดทีเ่ หมือนกันในทุกเรือ่ ง ส�ำหรับหนูแล้ว การคิดเห็นไม่ตรงกันนั้นไม่ใช่สิ่งที่ผิดเลย แค่เราพยายามที่จะเข้าใจอีกฝ่าย ยอมรับและ เคารพในความคิดของเขา แค่นั้นก็ท�ำให้เราสามารถอยู่ร่วมกันได้ สิ่งที่หนูประทับใจ มากที่สุดก็คือการที่พ่อแม่ของหนูเข้าใจและสนับสนุนความคิดแทบทุกอย่างของหนู สิ่งนี้ น�ำความสุขใจมาให้หนูเสมอ

ตี๋ - เมธา แซ่หยี อายุ 17 ปี

T

ถ้าถามว่านิยามของความรักส�ำหรับผมในตอนนี้เป็นอย่างไร ผมคงตอบได้เต็มปากว่า เต็มใจ ที่จะแอบชอบและไม่บอกเขา แค่ได้เห็นเขามีความสุขกับคนที่เขารัก ผมก็ดีใจแล้ว ส่วนความรัก ทีผ่ มใฝ่ฝนั นัน้ คงเป็นรักในความแตกต่างของกันและกัน หากเรายอมรับข้อดีและข้อด้อยของทัง้ คูไ่ ด้ พร้อมที่จะปรับตัวเข้าหากัน เราก็คงจะมีความสุขในระหว่างทางที่เดินร่วมกันไปจนถึงปลายทาง ที่เราร่วมวาดฝันกันไว้

เอ๋ - จริญญา กึกก้องอรัญ อายุ 19 ปี

Eh

นิยามความรักของหนูในเวลานีก้ ค็ อื รักนะแต่ไม่กล้าแสดงออก เพราะหนูแอบชอบ รุน่ พีค่ นหนึง่ เวลาหนูเจอหน้าพีเ่ ขาทีไร หนูกจ็ ะเฉยๆ ไม่แสดงออก แต่ลกึ ๆในใจแล้ว หนูอยากจะอยูใ่ กล้ชดิ พีเ่ ขาให้มากทีส่ ดุ โดยไม่ให้พเี่ ขารูต้ วั ส�ำหรับหนูแล้ว ความรัก ต้องเข้าใจกัน หนูเคยเจอปัญหาที่ครอบครัวของฝ่ายชายมาขอหนูให้แต่งงาน แต่วา่ เวลานัน้ หนูยงั เรียนอยูแ่ ละยังไม่พร้อม หนูอยากให้ทางฝ่ายชายเข้าใจในตัวหนู ส�ำหรับหนูแล้ว พ่อแม่เป็นต้นแบบของการใช้ชีวิตคู่ แม้ว่าท่านทั้งสองจะทะเลาะกัน บ่อยมาก แต่ท่านก็ไม่เคยคิดจะหย่ากันและยังรักกันจนถึงทุกวันนี้

เมธ - วรเมธ ยิ่งยงสกุล อายุ 16 ปี

Mate

ความรักของหนุ่มสาวสมัยนี้เกิดขึ้นและจบลงได้รวดเร็วกว่าสมัยก่อนมาก เนื่องจาก เทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน เช่น การจีบกันผ่านโซเชียล ซึ่ง การคุยผ่านแชทนัน้ ไม่ได้กอ่ ให้เกิดการเรียนรูซ้ งึ่ กันและกันเท่าทีค่ วร “ความรัก” ในมุมมอง ของผมนั้น ชายหญิงจะต้องเข้าใจซึ่งกันและกัน เข้าใจในความเป็นตัวของคนที่เราจะเป็น แฟนหรือใช้ชีวิตด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมากๆ เพราะถ้าคบกันไปแล้ว ไม่ท�ำความเข้าใจกัน ก็จะท�ำให้มีปัญหาต่างๆเกิดขึ้นตามมา จนท�ำให้เกิดการแยกทางกันในที่สุด

8

db Bulletin


“ได้โปรด”

“ขอบคุณ”

“ขอโทษ”

3 คำ�พูดที่คุณควรพูดกับคนรักบ่อยๆ #แบบนี้รักตายเลย

สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรงแนะน�ำค�ำพูด 3 ค�ำ ทีค่ นรัก และสามีภรรยาควรใช้จนติดเป็นนิสัยเพื่อรักษาความสัมพันธ์ และช่วยให้ผ่านอุปสรรคต่างๆ ไปได้ นั่นคือ ค�ำว่า “ได้โปรด”, “ขอบคุณ” และ “ขอโทษ” 3 ค�ำนี้ซ่อนความหมายที่แท้จริงของ ความรักและการแต่งงานเอาไว้ เพราะแฟนหรือคนรักของเรา ไม่ใช่สิ่งของ แต่เป็นของขวัญและพระพร ขอเราอย่าตระหนี่กับ การใช้ค�ำเหล่านี้ แต่ขอให้เรากล่าวค�ำเหล่านี้บ่อยๆ นี่คือกุญแจ เพื่อรักษาความสัมพันธ์ (อ้าง AL 133) เมือ่ เราพบคนทีใ่ ช่และเป็นแฟนกันแล้ว ให้เราสวดภาวนาและ ไปร่วมมิสซาด้วยกัน ฝากตัวไว้กับพระเจ้าและพระนางมารีย์ อย่า ไว้ใจในพลังของตนเองในเรื่องความรัก อย่าอยูด่ ว้ ยกันก่อนแต่ง หรือไปจดทะเบียนโดยไม่รบั ศีลสมรส ทั้งนี้เพื่อจะได้รับพระหรรษทานจากพระเจ้า ซึ่งช่วยให้เรารักดังที่ พระองค์ทรงรัก

ORT R EกรุPงเทพโพลล์ โดยศูนย์วจิ ยั มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปิดเผยผลส�ำรวจความคิดเห็น

ประชาชนเรื่อง “รักแบบไหนที่หนุ่มสาวยุคใหม่ต้องการ”โดยเก็บข้อมูลจาก คนวัยหนุ่มสาวใน กรุงเทพมหานครจ�ำนวน 1,134 คน พบว่า ความรักทีห่ นุม่ สาวยุคใหม่สว่ นใหญ่รอ้ ยละ 56.7 ต้องการ คือ “รักต้องเข้าใจกัน” รองลงมาร้อยละ 48.5 ต้องการ “รักแบบมีเหตุผล” และ ร้อยละ 40.2 ต้องการ “รักแบบพึ่งพากัน” ทัง้ นีแ้ ง่คดิ เกีย่ วกับความรักทีไ่ ด้นำ� มาปรับใช้สว่ นใหญ่รอ้ ยละ 29.2 ได้มาจาก

บทภาวนาของผู้ที่มีความรัก

ข้าแต่พระเจ้า ลูกขอสรรเสริญพระองค์ที่โปรดประทานชีวิตให้ลูก และโปรดให้ลูกได้พบกับคนที่ลูกรัก ข้าแต่พระเจ้า พระองค์ทรงเป็นต้นก�ำเนิดแห่งความรัก ที่เบ่งบานระหว่างเรา ขอพระองค์โปรดทวีความรักของลูกให้มากขึ้น โปรดสอนลูกให้เรียนรู้ที่จะเป็นอิสระจาก ความหยิ่งจองหองและความเห็นแก่ตัว และมุ่งแสวงหาแต่ความดีของกันและกัน ขอโปรดให้ค�ำพูดและกิจการของลูกจริงใจและบริสุทธิ์ และเติบโตในความสัมพันธ์ที่เป็นหนึ่งเดียวกันทุกวัน เพื่อจะได้เป็นพยานถึงความรักที่ไม่สิ้นสุดของพระองค์ อาแมน

แง่คดิ ในภาพยนตร์/ละคร รองลงมา ร้อยละ 19.9 ระบุวา่ ได้มาจากการให้สมั ภาษณ์ จากคู่รัก ตัวอย่าง และร้อยละ 19.7 ระบุว่าได้มาจากเพลงและมิวสิควีดีโอ ส�ำหรับคูร่ กั ทีเ่ ป็นต้นแบบในการใช้ชวี ติ คูส่ ว่ นใหญ่รอ้ ยละ 75.1 ระบุวา่ คือคูร่ กั ของพ่อ-แม่ เมื่อให้นิยามความรักที่สอดคล้องกับสถานการณ์การเมืองในบ้านเรา ขณะนี้ ร้อยละ 51.8 ระบุว่า “อยู่ในช่วงปรับตัวเข้าหากัน” รองลงมาร้อยละ 10.8 ระบุว่า “อยู่ใน ระยะท�ำใจ” และร้อยละ 7.3 ระบุว่า “เหมือนเส้นขนาน” (อ้างอิง https://www.ryt9.com/s/bkp/2600320) March-April 2021

9


ความเลื่อมใสศรัทธาของคริสตชนต่อนักบุญโยเซฟ โดย คุณพ่อฟรังซิส ไกส์

ความเลื่อมใสศรัทธา ของคริสตชน ต่อนักบุญโยเซฟ ปีนักบุญโยเซฟ 8 ธันวาคม 2020-2021 10

db Bulletin

วั น ที่ 8 ธั น วาคม 1870 บุ ญ ราศี ส มเด็ จ พระสันตะปาปาปีโอที่ 9 ทรงประกาศกฤษฎีกา “Quemad-modum Deus” ทีแ่ ต่งตัง้ นักบุญโยเซฟ ให้เป็นองค์อปุ ถัมภ์ของพระศาสนจักรคาทอลิก เพือ่ มอบพระศาสนจักรสากลซึง่ ก�ำลังประสบวิกฤติการณ์ ทางการเมืองหลังการสิ้นสุดรัฐพระสันตะปาปา ให้ อยูภ่ ายใต้การพิทกั ษ์รกั ษาของท่านนักบุญผูป้ กป้อง พระเยซูเจ้า ท�ำนองเดียวกัน วันที่ 8 ธันวาคม 2020 ที่ผ่านมาเป็นวันครบรอบ 150 ปีของการประกาศ กฤษฎีกาดังกล่าว และช่วงเวลานีเ้ อง พระศาสนจักร ประสบวิกฤติการณ์อีกครั้งหนึ่ง อันเนื่องมาจาก การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สมเด็จ พระสันตะปาปาฟรังซิสจึงทรงประกาศกฤษฎีกา ให้ เ ฉลิ ม ฉลอง “ปี นั ก บุ ญ โยเซฟ” ตั้ ง แต่ วั น ที่ 8 ธันวาคม 2020 ซึ่งเป็นวันสมโภชพระนางมารีย์ พรหมจารีผปู้ ฏิสนธินริ มล เจ้าสาวของนักบุญโยเซฟ ผู้บริสุทธิ์ยิ่ง จนถึงวันที่ 8 ธันวาคม 2021 โอกาสนี้ ศาลพระศาสนจักรเพื่อชีวิตจิตภายใน (Apostolic Penitentiary) มอบพระคุณการุณย์ ครบบริบูรณ์แก่คริสตชนที่สวดภาวนาบทใดก็ได้ ทีไ่ ด้รบั การรับรองอย่างถูกต้อง หรือประกอบกิจศรัทธา เทิดเกียรตินกั บุญโยเซฟ เช่น สวดบทภาวนา “ข้าแต่ นักบุญโยเซฟผู้มีบุญ...” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน วันที่ 19 มีนาคม สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของ พระนางมารียพ์ รหมจารี วันที่ 1 พฤษภาคม ระลึกถึง นักบุญโยเซฟ กรรมกร และวันฉลองครอบครัว ศักดิส์ ทิ ธิข์ องพระเยซูเจ้า รวมทัง้ วันที่ 19 ของทุกเดือน และทุ ก วั น พุ ธ ซึ่ ง เป็ น วั น ระลึ ก ถึ ง ท่ า นนั ก บุ ญ ตามธรรมเนียมละติน คุณพ่อบอสโกมีความเลื่อมใสศรัทธาต่อนักบุญ โยเซฟเป็นอย่างมาก ท่านกล่าวว่า “ทุกครัง้ ทีว่ อนขอ พระพรจากนักบุญโยเซฟ ไม่เคยถูกปฏิเสธเลย” และในปี 1867 คุณพ่อบอสโกได้เขียนและจัดพิมพ์ หนังสือ “ชีวประวัติของนักบุญโยเซฟ” ซึ่งรวบรวม เนื้อหาจากพระวรสารและจากงานเขียนต่างๆ ที่


มี จ� ำ หน่ า ยในสมั ย นั้ น หนั ง สื อ เล่ ม นี้ แบ่งเป็น 22 บท ตามด้วยบทอธิษฐาน ภาวนาสัน้ ๆ หลายบทถวายเกียรติและวอน ขอพระพรจากบิดาเลี้ยงของพระเยซูเจ้า คุ ณ พ่ อ บอสโกเขี ย นในค� ำ น� ำ ของ หนังสือเล่มนีว้ า่ “ในความเงียบศักดิส์ ทิ ธิ์ ที่ห้อมล้อมชีวิตของนักบุญโยเซฟ เราพบ บางสิ่งที่ลึกลับและยิ่งใหญ่ ท่านนักบุญ เคยได้รับภารกิจจากพระเจ้าตรงกันข้าม กับภารกิจของบรรดาอัครสาวกซึง่ มีหน้าที่ ประกาศพระเยซู เจ้ า ให้ แ ก่ ผู ้ อื่ น ส่ ว น นักบุญโยเซฟต้องปิดบังพระองค์ไว้ บรรดา อัครสาวกต้องเป็นเหมือนโคมไฟซึ่งแสดง พระองค์ให้แก่โลก แต่ท่านนักบุญต้อง เป็นเหมือนผ้าคลุมทีป่ กปิดพระองค์ ดังนัน้ นักบุญโยเซฟไม่ได้มีชีวิตอยู่เพื่อตนเอง แต่เพื่อพระเยซูคริสตเจ้า” คุณพ่อบอสโกเคยฝากบรรดาเยาวชน ที่ ฝ ึ ก งานในโรงเรี ย นของศู น ย์ เ ยาวชน ไว้ในการคุม้ ครองของนักบุญโยเซฟ ส่งเสริม ให้ ตั้ ง “ชมรมนั ก บุ ญ โยเซฟ” ในหมู ่ ผู ้ ฝ ึ ก งานเพื่ อ เยาวชนผู ้ ใช้ แรงงานที่ ม า ร่ ว มกิ จ กรรมในวั น อาทิ ต ย์ จ ะได้ เ ป็ น หนึ่งเดียวกัน สอนเขาเหล่านั้นให้สวดบท ภาวนาสรรเสริญนักบุญโยเซฟเพื่อจะได้ รับพระหรรษทานให้สิ้นใจอย่างราบรื่น ในศีลในพรของพระเจ้า และยังเสนอแนะ ให้จับตามองนักบุญโยเซฟในฐานะแบบ อย่างผู้บริสุทธิ์ทั้งฝ่ายกายและใจ คุ ณ พ่ อ บอสโกเช่ น เดี ย วกั บ นั ก บุ ญ เทเรซา แห่งอาวีลา มีความมั่นใจอย่าง แน่วแน่วา่ นักบุญโยเซฟมีอำ� นาจอธิษฐาน ภาวนาวอนขอพระเจ้าแทนเราอย่างไม่มี ขอบเขตรองจากพระนางมารีย์ พระเยซูเจ้า ไม่ทรงปฏิเสธสิง่ ใดแก่ผทู้ เี่ คยเป็นบิดาเลีย้ ง

บนแผ่นดิน การมอบตนเองให้อยู่ภายใต้ การคุม้ ครองของนักบุญโยเซฟไม่เป็นเพียง การกล่ า วสู ต รตายตั ว แด่ นั ก บุ ญ องค์ ใ ด องค์หนึง่ เท่านัน้ แต่เป็นการเปิดประตูหวั ใจ ต้อนรับนักบุญโยเซฟเข้ามาในชีวติ ของตน การอธิ ษ ฐานภาวนาแด่ นั ก บุ ญ โยเซฟ ไม่ เ ป็ น การสนทนากั บ ผู ้ ที่ อ ยู ่ ห ่ า งไกล จากเรา คุณพ่อบอสโกเคยกล่าวว่า “พ่อ ปรารถนาให้ทุกคนมอบตนไว้ภายใต้การ คุม้ ครองของนักบุญโยเซฟ ถ้าเราอธิษฐาน ด้วยใจจริง พระพรใดทีว่ อนขอไม่วา่ ฝ่ายกาย หรื อ ฝ่ า ยใจ ท่ า นนั ก บุ ญ จะได้ รั บ จาก พระเจ้าส�ำหรับเราเสมอ ในทีส่ ดุ คุณพ่อบอสโกยังประสงค์ให้มี พระแท่นหนึ่งที่มีภาพวาดนักบุญโยเซฟ ตัง้ อยูภ่ ายในพระวิหารแม่พระองค์อปุ ถัมภ์ เมืองตุรนิ เป็นพระแท่นใหญ่โตและงดงาม ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ยั ง คงอยู ่ เ หมื อ นเดิ ม ดั ง ที่ คุณพ่อบอสโกได้แนะน�ำจิตกร โลเรนโซเน่

(Lorenzone) ให้วาด คือเป็นภาพทีน่ กั บุญ โยเซฟก�ำลังอุม้ พระกุมาร และพระนางมารีย์ ทรงยืนอยูข่ า้ งๆ ด้วยความอ่อนหวาน พระกุมาร ทรงยื่นดอกกุหลาบให้นักบุญโยเซฟ ท่าน นักบุญก็โปรยดอกกุหลาบเหล่านั้นลงมา เหนือพระวิหารแม่พระองค์อุปถัมภ์และ ศูนย์เยาวชนที่วัลด๊อกโก เมื่อปี 1869 คุณพ่อบอสโกได้ท�ำพิธีเสกภาพวาดและ พระแท่นนี้ก็อธิบายว่า “ดอกกุหลาบสี ขาวและสีแดง หมายถึงพระพรที่พระเจ้า ประทานแก่ เรา แม้ ด อกกุ ห ลาบสี แ ดง หมายถึงพระพรที่มาพร้อมกับความทุกข์ ทรมานก็ยังเป็นของประทานจากพระเจ้า และเป็นพระพรดีที่สุดส�ำหรับเรา”

March-April 2021

11


100 ปี ชุมชนคริสตชนนักบุญโยเซฟ บ้านโป่ง Text : กุหลาบป่า

100 ปี ชุมชนคริสตชน นักบุญโยเซฟ บ้านโป่ง

สายน�้ ำ ทางรถไฟ น� ำ ผู ้ ค นไปมาหาสู ่ กั น เมื่ อ 100 ปี ท่ี แ ล้ ว ชุ ม ชนใด อยูก่ นั เป็นสุขริมน�ำ้ หรือริมทางรถไฟทีร่ ถไฟจอด ย่อมมีโอกาสทีจ่ ะเสริมส่งความมัน่ คง และมั่งคั่งได้ง่าย ดังเช่นชุมชนริมแม่น�้ำแม่กลองและทางรถไฟสายใต้ ทางด้าน ตะวันตกเฉียงใต้เพียง 68 กิโลเมตรจากกรุงเทพ ซึ่งคณะธรรมทูตซาเลเซียน เลือกเป็นฐานงานอภิบาลบ้านแรกที่บ้านโป่ง จ.ราชบุรี

วัดแรกในชุมชนคริสตชน บ้านโป่งเป็นชุมชนที่มีคหบดีและชาวนา พ่อค้า และข้าราชการ คนขยันขันแข็งและนักเลง อยู่กัน อย่างสอดประสานเป็นชีวิตปกติเช่นชุมชนทั่วไป เมื่อ 100 ปี ที่ผ่านมา คุณพ่อเลโอ ริชาร์ด ธรรมทูต ฝรั่งเศส (MEP) ผู้ร้อนรนใช้ม้าหรือรถไฟเป็น พาหนะเดินทางจากดอนกระเบือ้ งมาอภิบาลคริสตชน ทีห่ นองหิน บางตาล และบ้านโป่ง ครอบครัวคริสตชน

ย้ายจากบางตาลและดอนกระเบื้องมาอยู่บ้านโป่ง มากขึน้ เนือ่ งจากเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการ คมนาคม หลังจากเห็นว่าวัดน้อยริมแม่นำ�้ แม่กลอง ถูกน�ำ้ เซาะตลิง่ ไม่สะดวกในการสร้างวัดถาวร จึงได้ ขอให้ผู้ใหญ่คุ้ยกี่ ทรัพย์เย็น จัดหาซื้อที่ดินในท�ำเล ที่เหมาะกว่าเพื่อสร้างวัด คุณพ่อได้ซื้อที่ดินทาง ตะวันออกของทางรถไฟจ�ำนวน 10 ไร่ และอาศัย ความร่วมมือของสัตบุรษุ ได้สร้างวัดถวายแด่นกั บุญ โยเซฟ เสร็จในปี ค.ศ. 1921

วัดนักบุญโยเซฟ หลังที่ 1

วัดนักบุญโยเซฟ หลังที่ 2

12

db Bulletin


March-April 2021

13


บ้านแรกของคณะซาเลเซียน

เมื่อคณะสงฆ์ซาเลเซียนรับงานอภิบาลในมิสซังราชบุรี ที่ดอนกระเบื้อง บางตาล ท่าหว้า ท่าม่วงและทื่บ้านโป่งนั้น คุณพ่อโยเซฟ ปีนัฟโฟ และคุณพ่อ เปาโล กักกาลิโอ พักอาศัยอยูท่ ดี่ อนกระเบือ้ ง ในวันที่ 15 มิถนุ ายน ค.ศ. 1932 ผู้ใหญ่ของคณะได้แต่งตั้งให้บ้านโป่งเป็นบ้านซาเลเซียนอย่างเป็นทางการ คุณพ่อโยเซฟ ปีนัฟโฟ จึงอยู่ประจ�ำที่บ้านโป่ง

วัดและโรงเรียน

โรงเรียนเซนต์โยเซฟที่คุณพ่อริชาร์ดได้สร้างขึ้นจากการซ่อมแซมบ้าน คุณพ่อเจ้าวัดให้เป็นห้องเรียนชัว่ คราว ต่อมาสร้างอาคารเรียนแยกต่างหากจาก วัด กลุม่ คริสตชนปรารถนาทีจ่ ะมีวดั ใหม่ หลวงสิทธิเ์ ทพการ (นายเลโอ กิมเลีย้ ง วังตาล) ที่ได้ช่วยสร้างโรงเรียนก็ช่วยสร้างวัดใหม่ด้วย บรรดาสัตบุรุษช่วยกัน หาทุนสร้างวัดเป็นเงิน 13,000 บาท คุณพ่ออาเลสซันโดร แทร์ปิน เจ้าอาวาส (ค.ศ.1935-1936) ได้ เขี ย นแบบแปลนวั ด ใหม่ ลงมื อ ก่ อ สร้ า ง ในวั น ที่ 17 มีนาคม ค.ศ.1935 และสร้างเสร็จปลายเดือนกันยายน ค.ศ. 1935 ฯพณฯ กาเยตาโน ปาซอตตี ประกอบพิธีเสกในวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1935 ต่อมามีพิธี บวชพระสงฆ์ 8 องค์ ในวัดใหม่นี้ เมื่อ วันที่ 31 มกราคม ค.ศ.1936

คุณพ่อรีชาร์​์ด สมัยใช้วัดเป็นโรงเรียน ถ่ายพร้อมกับนักเรียนและครู

หลวงสิทธิ์เทพการ และกลุ่มคริสตชนที่ปรารถนาจะมีวัดใหม่ คุณพ่อแทร์ปิน คุณพ่อกาวัลลา และฯพณฯ ปาซอตตี

โรงเรียนเซนต์โยเซฟหลังแรก

พิธีบวชพระสงฆ์ 8 องค์ ในวัดหลังที่สอง สมัยคุณพ่อแทร์ปิน


ทางผ่าน

โอกาสแม่พระฟาติมาเสด็จเยือนประเทศไทย และมาที่บ้านโป่งเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ.1950

ธรรมทูตคณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ กับกิจการโรงเรียนนารีวุฒิ

ฯพณฯ กาเยตาโน ปาซอตตี ได้เชิญคณะกลาริสกาปูชิน ให้มาเปิดอารามที่บ้านโป่ง

คุณพ่อและซิสเตอร์คณะคามิลเลียน ที่โรงพยาบาลซานคามิลโล บ้านโป่ง

เนื่องจากบ้านโป่งเป็นทางผ่านจากกรุงเทพฯ ไปยังด้านใต้ของสังฆมณฑล จึงเป็นจุดแวะพักที่ส�ำคัญ เช่นงานศพ ฯพณฯ กาเยตาโน ปาซอตตี เมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1950 ขบวนแห่ศพออกจากโรงพยาบาลเซนหลุยส์ แวะที่ บ้ า นโป่ ง เพื่ อ ให้ บ รรดาสั ต บุ รุ ษ ได้ เ คารพศพ และร่ ว มภาวนาในพิ ธี บู ช า ขอบพระคุณ ก่อนจะเคลื่อนขบวนต่อไปยังราชบุรี เมื่อแม่พระฟาติมาเสด็จเยือนประเทศไทยและไปเยี่ยมตามสังฆมณฑล ต่างๆ นั้น ได้มาหยุดที่บ้านโป่งเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ.1950 เป็นโอกาส ให้คริสตชนได้แสดงความศรัทธา ร่วมสวดภาวนา จัดขบวนแห่อย่างสง่างาม ก่อนจะเดินทางต่อไปยังบางนกแขวก นอกจากมีพิธีบวชพระสงฆ์ที่วัดนี้แล้ว ยังเป็นที่ประกอบพิธีมิสซาหน้าศพ อย่างสง่า มีสสุ านส�ำหรับนักบวชซาเลเซียนและคณะธิดาแม่พระองค์อปุ ถัมภ์อยู่ ในสุสานของวัด จึงส่งเสริมให้วดั นีเ้ ป็นทีพ่ บปะของบุคคลจ�ำนวนมากทีเ่ กีย่ วข้อง กับครอบครัวซาเลเซียน และในพิธีกรรมต่างๆ จะได้รับความร่วมมือจากบ้าน นักบวช บ้านอบรมในละแวกวัด พร้อมกับองค์กรต่างๆ ของวัดเสมอ

ผู้ร่วมงานตามเส้นทางที่ผ่านมา

นอกนอกจากคณะนักบวชซาเลเซียนที่มาเป็นพ่อเจ้าวัด ผู้บริหารโรงเรียน และอภิบาลนักเรียนทั้งประจ�ำและไปกลับแล้ว ยังมีคณะนักบวชอื่นๆ ที่เข้ามา ร่วมงานอภิบาลดังนี้ ปี ค.ศ. 1931 ธรรมทูตคณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ได้เดินทางเข้ามาใน ประเทศไทย พักอยู่ที่วัดแม่พระบังเกิดบางนกแขวก วันที่ 8 ธันวาคม 1931 ภคินี 5 ท่าน มาอยู่ที่บ้านโป่ง ด�ำเนินงานแผนกหญิงของโรงเรียนเซนต์โยเซฟ แยกจากนักเรียนชาย ซึ่งต่อมาขยายกิจการเป็นโรงเรียนนารีวุฒิ ปี ค.ศ. 1936 ฯพณฯ กาเยตาโน ปาซอตตี ได้เชิญคณะกลาริสกาปูชิน ให้ มาเปิดอารามทีบ่ า้ นโป่งเพือ่ เป็นพลังในการภาวนา ในวันที่ 3 พฤษภาคม 1936 ซิสเตอร์ 5 ท่านแรกมาถึงบ้านโป่ง ได้รบั การต้อนรับอย่างสมเกียรติดว้ ยความ หวังว่าชีวติ แห่งการภาวนาและการท�ำงานอย่างร้อนรนของซิสเตอร์จะเป็นพลัง ส�ำคัญส�ำหรับความก้าวหน้าของมิสซังราชบุรี ปี ค.ศ.1952 คณะคามิลเลียนได้มาด�ำเนินงานของคณะทีบ่ า้ นโป่ง หลวงสิทธิเ์ ทพการ ได้มอบที่ดินและกิจการทั้งหมดในโรงพยาบาลให้แก่คณะคามิลเลียนซึ่งได้ ปรับปรุงขยับขยายกิจการให้ทนั สมัยและใหญ่ขนึ้ ตามล�ำดับ คณะผูร้ บั ใช้คนป่วย คามิลเลี่ยนหญิง เข้ามาเมื่อ ค.ศ.1974 (พ.ศ.2517) นอกจากท�ำงานใน โรงพยาบาลซานคามิลโลแล้วยังร่วมงานอภิบาลของวัดนักบุญโยเซฟ เปิดบ้าน เบธานีส�ำหรับดูแลคนชราอีกด้วย

March-April 2021

15


วัดเพื่อชุมชน

ระหว่างสงครามโลกครั้ง 2 ทหารญี่ปุ่นได้น�ำเชลยศึกจ�ำนวนมากมาที่บ้านโป่ง เพื่อ ก่อสร้างทางรถไฟไปพม่า คุณพ่ออธิการโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย คุณพ่อเจ้าวัด และ สัตบุรษุ ได้ชว่ ยเชลยศึกชาวต่างประเทศตามค่ายต่างๆ สร้างความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ มาอีกนาน เมื่อไฟไหม้ครั้งใหญ่ ในวันที่ 9 กันยายน ค.ศ.1954 (พ.ศ.2497) ตลาดบ้านโป่ง ตั้งแต่สถานีรถไฟจนถึงหอนาฬิกาทั้งสองฝั่งถนนถูกไฟเผาเรียบ คนจ�ำนวนมากต้องมา พักอาศัยที่วัด ที่โรงเรียนและที่โรงพยาบาล ปี ค.ศ.1966 (พ.ศ.2509) ได้เริม่ โครงการช่วยเหลือผูท้ ไี่ ม่มที อี่ ยูอ่ าศัย “หมูบ่ า้ นน�ำ้ เพชร” ส�ำหรับผูม้ รี ายได้นอ้ ย โดยคุณมงคล วังตาล ได้รเิ ริม่ โครงการนีเ้ พือ่ เป็นอนุสรณ์ถงึ บิดามารดา (นายจุ้ย แปลว่าน�้ำ - และนางเพชร) ต่อมาคุณพ่อเจ้าวัดได้หาเงินบริจาคทั้งใน และนอกประเทศ เพื่อขยายที่สร้างหมู่บ้านเพิ่มเติมอีก รวม 26 ไร่ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1968 (พ.ศ.2511) เริม่ จัดตัง้ คณะวินเซนเดอปอล เพือ่ ช่วยเหลือ แนะนํา และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ แก่ครอบครัวที่ยากจนและมีปัญหา ทั้งในด้านจิตใจและ อาชีพการงาน รวมทั้งสวัสดิการ อื่น ๆ เป็นต้นที่โป่งยอ ซึ่งในปี ค.ศ.1978 (พ.ศ.2521) ได้สร้างวัดน้อยนักบุญเบเนดิกส์ ทีโป่งยอ ต่อมาในปี ค.ศ.1993 (พ.ศ.2536) ได้จัดสรร ทีด่ นิ เพือ่ ช่วยเหลือครอบครัวทีย่ ากจนร้อยกว่าครอบครัว ส่วนทีด่ นิ แปลงทีม่ ผี เู้ ช่าอยูแ่ ล้ว สิบกว่าหลังคาเรือนก็แบ่งขาย ส่วนแปลงอื่นๆ ส่วนหนึ่งได้เข้ามูลนิธิสามัคคีธรรม

การพัฒนาด้านอาคารสถานที่

วันที่ 1 เมษายน ค.ศ.1960 (พ.ศ.2503) สังฆมณฑลราชบุรี มอบวัดให้กบั คณะซาเลเซียน จัดการด้านบุคคลากร งานพิธกี รรม งานอภิบาล งานสอนคาํ สอน การบริหารการเงินและ จัดหาทุนส�ำหรับขยายกิจการต่างๆ ของวัด คุณพ่ออันเดร สนิท ลุลติ านนท์ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นประธานคณะกรรมการเพือ่ การก่อสร้างวัดใหม่ พร้อมกับคณะกรรมการชุดหนึง่ เริม่ ลงมือในวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ.1963 พระคุณเจ้าเปโตร คาเร็ตโต เป็นประธานในพิธี เปิดวัดใหม่​่ วันที่ 14 มกราคม ค.ศ.1967 (พ.ศ.2510) ในปี ค.ศ.1981 (พ.ศ.2524) คุณพ่อยอห์น อุลลิอานา ได้สร้างตึกสามัคคีธรรม เพื่อ ใช้เป็นที่ประชุมอบรมสัมมนาต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการส่งเสริมชีวิตครอบครัว ในวันที่ 21-23 พฤศจิกายน ค.ศ.1981 (พ.ศ.2524) ได้จัดสัมมนาขึ้นเป็นครั้งแรก โดย ใช้ชอื่ ว่า “โครงการสัมมนาฟืน้ ฟูชวี ติ ครอบครัว” มีการจัดสัมมนาอย่างต่อเนือ่ ง ขยายไป ยังสัตบุรุษวัดใกล้เคียงด้วย ล่าสุด คุณพ่อยอห์น แปร์ตีเล่ สร้างห้องประชุม และวัดน้อย เพื่อประกอบพิธีมิสซา บูชาขอบพระคุณ ในระหว่างสัปดาห์ ไม่ต้องใช้วัดใหญ่ ท�ำพิธีเปิดในปี ค.ศ. 2009 (พ.ศ.2552) ชื่อว่า “อาคารนักบุญเปาโล”

16

db Bulletin


ขอขอบคุณ

คุณพ่อเจ้าวัด 15 องค์ ตัง้ แต่ธรรมทูตจากประเทศฝรัง่ เศส คือคุณพ่อริชาร์ด จนถึงสมัยธรรมทูตซาเลเซียน คุณพ่อยอแซฟ ปีนฟั โฟ, คุณพ่ออาเลสซันโดร เตอร์ปนิ , คุณพ่อคอนสตันติน กาวัลลา, คุณพ่อย๊อบ การ์นนิ ,ี คุณพ่อบุญไทย สิงห์เสน่ห,์ คุณพ่อซิลวีโอ โปรเวรา, คุณพ่อยอแซฟ ฟอร์ลัสซินี, คุณพ่อนาตัล มาเน, คุณพ่ออันเดร อาเนลลี, คุณพ่อยอห์น อุลลิอานา, คุณพ่อฟรังซิส ซักโก, คุณพ่อแฟรงค์ เดอลอเรนซี, คุณพ่อยอห์น แปร์ติเล่, คุณพ่อยอห์น ลิสซันดริน และคุณพ่อผู้ช่วยเจ้าอาวาสทุกองค์

ผลผลิตจากงานอภิบาล

เมล็ดพันธ์ุแห่งพระวรสารในชุมชนวัดนักบุญโยเซฟ ได้รับการหล่อเลี้ยงจน เติบโตแผ่ขยายร่มเงา ครอบครัวส่งเสริมบุตรหลานให้ได้รบั การศึกษาดี มีกระแสเรียก เป็นพระสงฆ์ นักบวช มีอาชีพการงานมั่นคง เป็นชุมชนที่เข็มแข็ง สามารถ พัฒนาสังคม ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและศาสนา ยิ่งทียิ่งชัดเจนขึ้น เมือ่ มีการวางแผนอภิบาลระดับวัดให้สอดคล้องกับแผนอภิบาลสังฆมณฑลและ ระดับชาติ ค.ศ. 2000-2010 ชุมชนวัดทัง้ 18 กลุม่ มีตวั แทนอยูใ่ นสภาอภิบาล ร่วม กับองค์กรอืน่ ๆ อาทิ ส่งเสริมชีวติ ครอบครัว เยาวชน พลมารีย์ วินเซนเดอ ปอล ผู้สูงอายุ รวมถึงคณะนักบวช โรงเรียน โรงพยาบาล ล้วนมีบทบาทสร้างเสริม ชุมชนให้แข็งแกร่งในการเป็นพยานและโดดเด่นในการรับใช้ในฐานะศิษย์ พระคริสต์ เสียงสรรเสริญพระเจ้า ได้กงั วานจากวัด บ้านนักบวช บ้านอบรมทีอ่ ยู่ รายรอบสถานีรถไฟบ้านโป่งมาเป็นเวลา 100 ปี วันนีก้ ย็ งั ก้องสะท้อนเสียง สรรเสริญและขอบคุณพระเจ้าที่ทรงหว่านเมล็ดพันธุ์แห่งความเชื่อ ส่งบรรดาผู้อภิบาลมาดูแล ใส่ปุ๋ย รดน�้ำ พรวนดิน เพื่อให้ความเชื่อ ที่หว่านไว้เติบโตและผลิดอกออกผล เราชื่นชมผลงานของบรรดา ธรรมทูตและผูน้ ำ� ชุมชนผูม้ นี ำ�้ ใจดีทงั้ หลาย อันก่อให้เกิดชุมชนทีห่ ล่อเลีย้ ง ตั ว เองด้ ว ยข่ า วดี แ ห่ ง พระวรสารและส่ ง ประกายข่ า วดี นี้ อ อกไป โดยรอบ ยอดกางเขนวัดนักบุญยอแซฟที่ตระหง่านอยู่ริมทางรถไฟ หน้าสถานีบา้ นโป่ง ประกาศให้ผคู้ นทีผ่ า่ นไปมาได้รบั ทราบว่าพระเจ้า ประทับอยู่กับประชากรของพระองค์และดูแลเราเสมอมา ขอบคุณ พระเจ้า พระแม่มารีย์ นักบุญโยเซฟซึง่ ได้ปกปักรักษาและน�ำทางลูกๆ ของพระองค์และจะเป็นเช่นนี้ตลอดไป


LOCAL NEWs By SDB Reporter

ข่าวซาเลเซียน

ฉลองวันแขวงซาเลเซียน 2021 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2021 แขวงซาเลเซียนประเทศไทย กัมพูชาและลาวจัดงานวันฉลองแขวงซาเลเซียน 2021 ที่วิทยาลัย เทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง จ.ราชบุรี โดยมีคุณพ่อเทพรัตน์ ปิติสันต์ เป็นประธาน ร่วมกับสมาชิกซาเลเซียนและสามเณร จ�ำนวน 100 คน

จิตอาสาและปัจฉิมนิเทศ ม.3 SME Boy @แสงทองวิทยา

นิตยสารซาเลเซียนกัมพูชาฉบับปฐมฤกษ์ โอกาสฉลอง 30 ปีซาเลเซียนในประเทศกัมพูชา (ซึ่ง ตรงกับวันที่ 24 พฤษภาคม 1991-2021) แผนกสื่อมวลชน ซาเลเซียนกัมพูชาได้จดั ท�ำนิตยสารซาเลเซียน ราย 3 เดือน เป็นภาษากัมพูชาอย่างเป็นทางการฉบับแรก เมื่อเดือน มกราคม 2021 (ปีละ 4 ฉบับ) มีจุดประสงค์เพื่อกระชับสาย สัมพันธ์ของครอบครัวซาเลเซียนและประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร ต่างๆ ให้กับบุคคลทั่วไป ปัจจุบันมีนิตยสารซาเลเซียน ทัว่ โลกทัง้ หมด 67 อิดชิ นั่ 32 ภาษา เผยแพร่ใน 132 ประเทศ รวมทั้งของประเทศกัมพูชาด้วย

18

db Bulletin

นักเรียนและครูประจ�ำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม SME BOY ของโรงเรียนแสงทองวิทยา จ.สงขลา ร่วม กิจกรรมจิตอาสา ณ โรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2021 โดยได้จัดกิจกรรมฐานวิชาการให้กับ นักเรียนระดับชั้น ป.5 และ ป.6 และบริจาคสิ่งของและมอบ ทุนการศึกษาให้กับนักเรียน สิ่งของและเงินดังกล่าวมาจาก การท�ำจิตอาสา รับบริจาคทัง้ ทีโ่ รงเรียนแสงทองวิทยา ตลาด โก้งโค้ง และตลาดกรีนเวย์ หาดใหญ่ นอกนั้น นักเรียน ได้ร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศที่จังหวัดสงขลาด้วย กิจกรรม ดังกล่าวช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้การเป็นผู้ให้ และใช้ชีวิต ร่วมกันอย่างมีความสุข


พิธีเลือกสรร วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 คุณพ่อยอห์น แปร์ติเล เจ้าอาวาสวัดแม่พระเมืองลูร์ด หาดใหญ่ จ.สงขลา เป็น ประธานในพิธเี ลือกสรรของผูเ้ ตรียมตัวเป็นคริสตชนจ�ำนวน 11 คน พิธดี งั กล่าวเป็นเครือ่ งหมายว่าพระศาสนจักรรับรองเขา และเรียกเขาว่าคริสตังส�ำรอง (Catechumens) โดยมี พ่อแม่อุปถัมภ์และสัตบุรุษที่ร่วมเป็นก�ำลังใจและภาวนา เพื่อพวกเขาเป็นพิเศษ

เยี่ยมบ้านนักเรียน สมาชิกหมู่คณะดอนบอสโกโฮมดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ เยี่ยมบ้านของนักเรียนในช่วงปิดเทอม ซึ่งได้รับการต้อนรับ อย่ า งดี จ ากบรรดาผู ้ ป กครองพร้ อ มทั้ ง ได้ รั บ สิ่ ง ของ เพือ่ สนับสนุนกิจการของบ้านจากบรรดาผูป้ กครอง เช่น ข้าว ผัก ผลไม้ ฯลฯ

เยี่ยมหมู่คณะซาเลเซียน ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม 2021 คุณพ่อ เทพรัตน์ ปิตสิ นั ต์ เจ้าคณะแขวงซาเลเซียนแห่งประเทศไทย กัมพูชาและลาว ได้ตรวจเยีย่ มหมูค่ ณะซาเลเซียนบ้านต่างๆ อย่างเป็นทางการ ทัง้ นีเ้ พือ่ พบปะกับสมาชิกและให้กำ� ลังใจ เพื่อจะได้ท�ำงานด้วยใจร้อนรนเพื่อความดีของเยาวชนตาม จิตตารมณ์ของคุณพ่อบอสโกต่อไป

March-April 2021

19


LOCAL NEWs By SDB Reporter

ข่าวครอบครัวซาเลเซียน

ช่วยผู้ยากไร้ อนุ ก รรมการฝ่ า ยสั ง คมของคณะผู ้ รั บ ใช้ ฯ น� ำ ที ม โดยซิ ส เตอร์ วิ ไ ลวรรณ ยนปลั ด ยศ ไปเยี่ ย มชาวบ้ า นและ มอบเครื่องอุปโภคและบริโภคให้กับผู้ยากไร้และครอบครัวผู้พิการตามหมู่บ้านต่างๆ ในเขต จ.ราชบุรี ดังนี้ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ์ 2021 ไปเยี่ ย มชาวบ้ า นที่ บ ้ า นโป่ ง แห้ ง บ้ า นห้ ว ยกระวาน บ้ า นห้ ว ยผาก บ้ า นวั ง โค บ้านท่ากุลา บ้านห้วยน�้ำหนัก จ�ำนวน 24 ครอบครัว วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2021 ซิสเตอร์คณะผู้รับใช้ โนวิส 5 คน และตัวแทนสมาชิกซาเลเซียนจากบ้านสามพราน ไปมอบ สิ่งของและอาหารแห้งแก่ชาวบ้านซึ่งอาศัยในเขตชายแดนไทย-เมียนมา ที่ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี

ประชุมออนไลน์ Talitha Kum Asia ครั้งที่ 5 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2021 ซิสเตอร์ยพุ ดี จารุวภิ าค และ สมาชิกผูร้ บั ผิดชอบงานด้านองค์กรสิทธิมนุษยชน สตรี และ เด็ก เข้าร่วมการประชุมออนไลน์ Talitha Kum Thailand Asia หัวข้อ “การค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมการประมง” มีผู้ เข้าร่วมประชุมจ�ำนวน 63 คนจากคณะนักบวชต่างๆในเอเชีย โดยมีญคุณพ่อบรูโน ชิเชรี และคุณอภิญญา ทาจิตต์ เป็น วิทยากรให้ความรู้และประสบการณ์ตรงในการช่วยเหลือ ชาวประมงผู้เป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์

มุฑิตาจิตแด่คณะผู้ใหญ่ของ SQM เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2021 คณะภคินีพระราชีนีมาเรีย ได้ จั ด แสดงมุ ทิ ต าจิ ต แด่ คุ ณ แม่ เจ้ า คณะและคณะผู ้ ใ หญ่ ณ บ้ า นศู น ย์ ก ลางของคณะที่ โ รงเรี ย นพระแม่ ม ารี สาธุประดิษฐ์ กรุงเทพฯ ในบรรยากาศของความรักฉันพีน่ อ้ ง พร้อมกันนี้ได้มีการเข้าเงียบประจ�ำเดือนมีนาคมในหัวข้อ “นักบุญโซฟแบบอย่างของความซื่อสัตย์และขยันในการ ท�ำงาน” ด้วย

20

db Bulletin


ซิสเตอร์ซาเลเซียนฟืน้ ฟูจติ ใจประจ�ำปี รุน่ ที่ 1

วันฉลองกตัญญูระดับแขวง

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ – 4 มีนาคม 2021 ซิสเตอร์ คณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ จ�ำนวน 35 คน เข้าเงียบ ประจ�ำปี รุ่นที่ 1 ที่บ้านสเตลลา มารีส ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี ภายใต้หัวข้อการไตร่ตรองฝ่ายจิตตามแนวทางของเอกสาร “พระพรแห่งความสัตย์ซื่อมั่นคง ความสุขยินดีในความ มานะพากเพียร” (Il dono della fedeltà, la gioia della perseveranza) โดยคุณพ่อ ออกัสติน ยะรัตน์ ไชยรา (SDB) เป็นผู้เทศน์

วันที่ 5 มีนาคม 2021 สมาชิกธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ แขวงไทย ร่วมใจเป็นหนึง่ เดียวในวันฉลองกตัญญูระดับแขวง ณ บ้านสเตลลา มารีส ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี ในหัวข้อการฉลอง “Coloriamo la speranza” (ระบายสีสันแห่งความหวัง) เป็นการขอบคุณส�ำหรับชีวิตของ ซิสเตอร์ นิภา ระงับพิษ อธิการิณีเจ้าคณะแขวง ผู้น�ำที่มีใจมารดาและเป็นพลังหนุน ให้ทุกคนก้าวไปข้างหน้าด้วยความหวังเสมอ

สมัชชาวิสามัญของสถาบันธิดาพระราชินีมาเรีย ครั้งที่ 4 วันที่ 25-28 กุมภาพันธ์ 2021 สมาชิกสถาบันธิดาพระราชินีมาเรียจ�ำนวน 35 คน ได้ร่วมประชุมสมัชชาวิสามัญ ครั้งที่ 4 ณ บ้านศูนย์กลางสถาบันธิดาพระราชินีมาเรีย สาทร กรุงเทพฯ โดยในพิธีเปิด ได้รับเกียรติจากพระคาร์ดินัล ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวานิช อาร์ชบิชอปแห่งเขตศาสนปกครองกรุงเทพ มาเป็นประธานในวจนพิธีกรรมเปิด การประชุมและให้โอวาท การประชุมสมัชชาวิสามัญครัง้ นี้ เป็นการประชุมเพือ่ ปรับปรุงธรรมนูญและระเบียบปฏิบตั ขิ องสถาบัน ฉบับปี ค.ศ. 2011 ซึง่ ได้รบั การอนุมตั จิ ากประมุขของเขตศาสนปกครองกรุงเทพฯ ให้ทดลองใช้เป็นระยะเวลา 10 ปี เพือ่ ให้สถาบันและสมาชิก ด�ำเนินชีวิตอย่างสอดคล้องกับประมวลกฎหมายของพระศาสนจักร ซึ่งธรรมนูญปี ค.ศ.2011 ใกล้ครบก�ำหนดการรับรอง ดังกล่าวแล้ว March-April 2021

21


ข้ารับใช้พระเจ้า คุณพ่อการ์โล เดลลา โตร์เร Text : อันนา

คริสตชนแท้ ข้ารับใช้พระเจ้า คุณพ่อการ์โล เดลลา โตร์เร

หลายคนคงได้ติดตามเรื่องราวการตามหาบุคคลอันเป็นที่รัก ที่พลัดพรากจากกันนานนับปี บางคนเหลือเพียงช่วงสุดท้ายของ ชีวติ กับภาพลักษณ์ซงึ่ เลือนลางไปพร้อมกับกาลเวลา บางคนจ�ำได้ เพียงเหตุการณ์ในช่วงเวลาสั้นๆ ที่ได้เคยอยู่ร่วมกัน จากภาพถ่าย เพียงใบเดียว และบางคนจากค�ำบอกเล่า มีรายการโทรทัศน์ หรือ เพจในเฟสบุ๊คที่พยายามช่วยตามฝันให้คนที่พลัดพรากได้มา พบกันอีกครัง้ ทีมค้นหาของรายการออกท�ำงานสืบค้นเป็นแรมเดือน คนที่ติดตามหน้าจอทีวีก็คอยลุ้น คอยส่งก�ำลังใจให้กับครอบครัว ที่พลัดพรากได้พบกันอย่างสมหวัง วันนั้นภาพของคนที่รอคอยเต็มไปด้วยความตื่นเต้น กระสับ กระส่าย บีบคั้นหัวใจทั้งคนรอคอยและคนดู วินาทีของการพบกัน ต่างสวมกอดกันและกันพร้อมกับน�้ำตาแห่งความยินดีพรั่งพรู เพราะไม่คาดคิดว่าจะพบเจอบุคคลอันเป็นที่รัก ที่เหมือนตาย

22

db Bulletin

จากกันและแล้วได้พบกันราวปฎิหาริย์ ไม่มีการกล่าวโทษใครถูก ใครผิด แต่เป็นการพบกันที่แสนวิเศษและมีความสุขเหลือล้น ตามครรลองแห่งความผูกพันธ์ของสายเลือด ชีวิตทหารจู่โจมในแนวหน้าของการ์โล เดลลา โตร์เร เป็น การเลือกตัดสินใจทีเ่ อาความดีของวิญญาณเป็นทีต่ งั้ มาเป็นอันดับแรก มิใช่เอาชีวติ เป็นตัวตัง้ ผูบ้ งั คับบัญชาการทหารหน่วยจูโ่ จมกังวลถึง ชีวติ ของทหารแนวหน้ามาก จึงต้องฝึกฝนกันอย่างหนัก เพราะเมือ่ เผชิญหน้ากับข้าศึกความโหดร้ายของสงคราม การไร้มนุษยธรรม ความโหดเหี้ยม และลืมความเป็นมนุษย์ก็จะบังเกิดขึ้น การเปิ ด ทางรั้ ว ลวดหนามเป็ น งานใหญ่ เ ป็ น ความเป็ น ความตายของทหารจู่โจม เส้นลวดหนามที่ม้วนทับกันเป็นกอง สูงราวสองเมตรกว้างสี่หรือห้าเมตรเกี่ยวติดกันแน่น การกระโดด ข้ามลวดหนามจึงเป็นการเสี่ยงชีวิต ทหารจู่โจมจะน�ำไม้กระดาน


พาดบนรัว้ ลวดหนามจึงจะข้ามไปอีกฝัง่ ได้ และต้ อ งท� ำ ในความเงี ย บ โดยมี ศั ต รู ฝ่ายตรงข้ามที่ดูอยู่ในความเงียบ วิธีนี้ ท�ำให้ทหารจู่โจมเสียชีวิตเป็นส่วนใหญ่ ผู้บัญชาการจึงคิดวิธีการตัดรั้วลวดหนาม ด้วยกรรไกรใหญ่ให้มีความกว้างและสูง 50 เซนติเมตร เพื่อให้ทหารจู่โจมคลาน ลอดผ่ า นกองลวดหนามได้ ในขณะที่ เตรียมจิตใจและเตรียมการสู้รบก่อนที่จะ บุกสู้รบกันนั้นเพียง 2 วัน มีการประกาศ เลิกสงครามและเจรจาสงบศึก เมื่อข่าว แพร่ ก ระจายออกไปทหารทั้ ง สองฝ่ า ย เริ่มออกมากจากหลุมเพลาะเหมือนหนู ออกมาจากรู พร้อมกับชูมือยิ้มแย้มด้วย ความยินดี ส่งค�ำทักทายแห่งสันติภาพ ให้แก่กันและกัน โดยไม่มีศัตรูอีกต่อไป แต่กลายเป็นพี่น้องในครอบครัวเดียวกัน การ์โลได้กลับไปอยูก่ บั ครอบครัวอีกครัง้ สิ่งที่ชีวิตทหารจู่โจมได้สอน คือ การท�ำให้ เข้าใจชีวิตคริสตชนอย่างลึกซึ้ง ที่ต้องรัก ความบริสุทธิ์ในตนเองและเคารพความ บริ สุ ท ธิ์ ใ นตั ว ผู ้ อื่ น ถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง แรกที่ คริสตชนต้องท�ำ ถ้าขาดความบริสุทธิ์ใน ร่ า งกาย ก็ ข าดความรั ก ในจิ ต วิ ญ ญาณ ซึ่งมีธรรมชาติและเป้าหมายสูงส่งเหนือ ร่างกายด้วย ในท�ำนองเดียวกัน เมื่อเรา ท�ำผิดต่อความบริสุทธิ์กับผู้อื่น บุคคลนั้น

ท�ำบาปเพราะไม่รกั ใครทีร่ กั ด้วยความรัก จริงใจจะไม่ยอมท�ำบาปทั้งร่างกายและ จิตวิญญาณ เ ห ตุ นี้ เ อ ง ท� ำ ใ ห ้ ก า ร ์ โ ล เข ้ า ใจ ความหมายของชีวิตคริสตชน ความเป็นพี่ เป็นน้อง การเป็นลูกของพระเจ้าอย่างลึกซึง้ เพราะชี วิ ต ของการ์ โ ลได้ เ ห็ น ภาพของ ความตายในเวลาสงครามและความเชื่อ ถึงชีวติ หลังความตายทีค่ ณ ุ แม่ได้พร�ำ่ สอน ได้เปลี่ยนชีวิตอย่างสิ้นเชิง สิ่งที่อยากท�ำ เป็ น อั น ดั บ แรก คื อ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต คริ ส ตชนอย่ า งเข้ ม ข้ น ในการไปร่ ว ม พิธีบูชาขอบพระคุณ รับศีลอภัยบาป และ ศีลมหาสนิท พระเยซูเจ้ามาบังเกิดเป็นมนุษย์ เพื่อ รักทุกคน มิใช่แค่คนที่ยอมรับพระองค์ แต่ผู้ที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพระองค์ด้วย หัวใจคริสตชนคือการเลียนแบบชีวิตของ พระเยซูเจ้า การรักเคารพให้เกียรติต่อ ผู้อื่น มองทุกคนเป็นพี่น้อง จะท�ำเช่นนั้น ได้ตอ้ งอาศัยพลังของพระทีเ่ ข้ามาเสริมให้ จิตวิญญาณเข้มแข็ง คุณพ่อการ์โลรู้ดีว่า ธรรมชาติมนุษย์อ่อนแอยิ่งนัก จะเข้มแข็ง ได้ต้องอาศัยพลังฝ่ายจิตในศีลศักดิ์สิทธิ์ ต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้เราเป็นคริสตชนได้ อย่างแท้จริง

คุณพ่อการ์โล เดลลา โตร์เร พระสงฆ์ซาเลเซียน สิ้นใจอย่างศักดิ์สิทธิ์ ในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ.1982 ในปี ค.ศ.2003 คุณพ่อได้รับเกียรติเป็น “ข้ารับใช้พระเจ้า” (Servant of God) อันเป็นขั้นตอนแรก ของกระบวนการ ด�ำเนินเรื่อง แต่งตั้งเป็นนักบุญ

March-April 2021

23


เพื่อนนักอบรม Text : ยวง บอสโก ธัญญา ASC.

หรือรักฉันไร้ค่า “ลูกของฉันเป็นคนดีแน่นอนค่ะ ดิฉันยืนยัน” เสียงผู้เป็นแม่พูดหนักแน่น “เขาไม่เคยเสพยา ไม่เคยประพฤติไม่ดเี ลยนะค่ะ ฉัน เลี้ยงของฉันมาฉันรู้ดี คุณหยุดกล่าวหาลูกดิฉันนะคะ” สิ้ น เสี ย งพู ด ผู ้ เ ป็ น แม่ ก็ ส ะบั ด หน้ า หนี ผู ้ สื่ อ ข่ า ว ที่พยายามห้อมล้อมยื่นไมค์เข้ามาจ่อปากทันที ผูส้ อื่ ข่าวยังไม่สนิ้ ความพยายาม ยิงค�ำถามกับคุณครู ของเด็กหนุ่มที่ก�ำลังตกเป็นผู้ต้องหาจ�ำหน่ายยาเสพติด จนมีผู้เสพเกินขนาดและเสียชีวิตในห้องน�้ำของสถาน ศึกษาแห่งหนึ่ง “ขอโทษพี่ๆ นักข่าวด้วยครับ ผมเปิดเผยข้อมูล ส่วนตัวของเด็กๆ ไม่ได้ครับ” คุณครูกล่าวด้วยท่าทีสภุ าพ ผู้สื่อข่าวเบนเข็มไปสอบถามคนที่เห็นเหตุการณ์ “แล้วคุณป้าล่ะครับ เหตุเกิดขึ้นยังไง และน้องเขาเป็น อย่างไรบ้างครับ” “อ๋อ ป้าเป็นคนงานทีน่ คี่ ะ่ ตอนสายหลังกริง่ เข้าเรียน ป้าก็มาท�ำความสะอาดห้องน�ำ ้ ตกใจ!มากเลยค่ะ ทีเ่ ห็นเด็ก คนที่เสียชีวิตนั่งคว�่ำหน้าอยู่ในห้องน�้ำ พอตั้งสติได้ป้าก็ เข้าไปจับตัวเขย่าแล้วก็เรียกเพือ่ ให้รสู้ กึ ตัว แต่กไ็ ม่ได้ผลจ้ะ ป้าก็เลยรีบไปตามครูเขามาดู แต่ก็ช่วยไม่ทันแล้ว ป้าก็ ทั้งเสียใจและตกใจมากเลยจ้ะ” คุณป้าคนงานรักษาความสะอาด ซึ่งอยู่ที่นี่มานาน กว่าสิบปี เล่าด้วยท่าทีตกใจอย่างเห็นได้ชัด “แล้วปกติเด็กๆ ทีน่ มี่ คี วามประพฤติอย่างไรบ้างครับ คุณป้า” ผู้สื่อข่าวจี้ถามอีก

24

db Bulletin


“เด็กๆ เอ่อ... ส่วนใหญ่ก็ดีนะ นิสัยดี ไม่ค่อยมี ปัญหาอะไร บางคนก็มีน�้ำใจนะ ยังช่วยป้าบอกเพื่อนๆ ให้ช่วยกันรักษาความสะอาด...บอกสงสารป้าเขา ถ้าเรา ท�ำเลอะเทอะ ป้าแกก็ต้องท�ำเยอะ...” “แล้วทีแ่ อบสูบบุหรี่ พีย้ าอะไรงีม้ ไี หมครับป้า” ผูส้ อื่ ข่าว ตื้ออีก “โอ้ย...ไม่มีหรอกจ้ะ คุณครูที่นี่เอาใจใส่เด็กมากๆ ถ้ารู้ว่าเด็กๆ มีปัญหาอะไร เขาไปถึงบ้านถึงพ่อแม่เด็กๆ ทุกคนเลย...ที่ป้ารู้เนี่ย ไม่ได้เดา หรือเข้าข้างครูที่นี่นะ หนู...” ป้าพูดด้วยท่าทีเอ็นดูนักข่าวที่เริ่มท�ำหน้าฉงน สนเท่ห์ในค�ำตอบที่ได้ฟัง “ก็ลูกป้าคนโตเคยเรียนที่นี่ มีอยู่วันหนึ่ง ครูก็มา บอกว่า..ป้า ลูกป้าแอบเล่นการพนันในห้องเรียนนะ ครูเขาจับได้...เด็กๆ สารภาพว่าได้ชวนกันเล่น “เปิด หนังสือทายเลขกินเงินกันจริง” ...ทีแรกป้าฟังแล้วก็มนึ นะ ลูกป้าจะเอาเงินที่ไหนไปเล่นพนันกับเพื่อน เพราะเงิน ให้กินขนมป้าให้เขาแค่วันละ 5 บาทเท่านั้นเอง เวลาพัก กลางวั น ก็ ม ากิ น ข้ า วห่ อ กั บ ป้ า ที่ ต รงนี้ แ หละ” ป้ า ชี้ ชุดม้านั่งหินที่ตั้งอยู่ข้างๆ “แล้วไงต่อครับป้า” ผู้สื่อข่าวซักเมื่อเห็นป้าหยุดไป “ป้ารู้สึกสังหรณ์ใจ ตอนเย็นกลับไปบ้านก็เลยไปรื้อดู เงินสะสมที่ซ่อนเก็บไว้ใต้ตู้กับข้าว โอ้ย...จะเป็นลม เงินที่เก็บไว้เดือนละเล็กละน้อยของป้า ไม่มีเหลือเลย หมดเลย...ป้าถามลูกชาย เขาก็สารภาพว่าแอบลักไป ทุ ก วั น ไปแทงพนั น กั บ เพื่ อ น...นั่ น แหละ ป้ า ถึ ง ได้ รู ้ ความจริ ง ...เราอยู ่ กั บ ลู ก ทุ ก วั น แต่ ไ ม่ เ คยคิ ด ว่ า เขา จะท�ำอย่างนี้ได้” ป้าพูดเริ่มติดขัดเหมือนสะอึกน�้ำตา

“ทวิภพ ลูกฉันไม่ได้ผดิ อะไร ครูจะมา ให้ลูกฉันรับผิดไม่ได้นะ ฉันไม่ยอมแน่” คุณแม่คนเดิมยังเกีย้ วกราดกางปีกปกป้องลูก โดยไม่ฟังเหตุผลใครทั้งสิ้น “แต่ต�ำรวจก็ได้พิสูจน์หลักฐานทุกอย่าง ชัดเจนแล้วนะครับคุณผู้หญิง ทั้งรอยนิ้วมือ ที่ ซ องยา และทวิ ภ พก็ รั บ สารภาพหมด ทุกอย่างแล้วครับว่าเขาเป็นทั้งผู้จ�ำหน่าย และเสพด้วย” คุณครูพยายามบอกความจริง ที่ ดู เ หมื อ นอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง จะยอมรั บ ไม่ ไ ด้ ว ่ า มันเกิดขึ้นจริง “ทวิภพ เขาขอร้องต�ำรวจและเราทุกคน ว่า ไม่ให้บอกเรื่องนี้กับคุณแม่ เขาไม่ อยากให้ คุ ณ แม่ เ สี ย ใจ และอยากให้ คุณแม่มีความสุข เพราะแม่รักเขามาก ช่ ว ยเหลื อ ปกป้ อ งและตามใจเขามา ตลอด เขาเสียใจ และผมก็เสียใจครับ ที่ ต ้ อ งบอกความจริ ง ทั้ ง หมดให้ คุ ณ ผู้หญิงทราบ” ฉันไม่มีวันเชื่อคุณหรอก ลูกชายของฉัน เรียบร้อยมาก เขาพูด “ครับ” ทุกค�ำ บอกรักฉัน ทุกวัน ฉันก็บอกรักเขาทุกวัน เขาจะท�ำเรื่อง อย่างนี้ได้อย่างไร ฉันไม่เชื่อหรอก ท�ำไมนะ? ท�ำไม ถึงมีแต่คนที่ชอบ ใส่ร้ายลูกฉัน ชอบมาบอกว่าเขาท�ำผิด อย่างนั้นอย่างนี้อ ยู่เรื่อ ย ที่เดิ มก็ เ ป็ น แบบนี้ ย้ายมาที่ใหม่ก็เจอแบบเดิมอีก ฉันจะท�ำอย่างไรกับพวกคุณดีนะ?

March-April 2021

25


One Moment in Time Text, Photo : Gassanee T.

Struggling... ร้านของเรา เหงาร้าง... ไร้ผู้คน สองแถบถนน เศร้าสลด ไม่สดใส ไร้ชีวิต ไร้วิญญาณ ร้าวรานใจ จะอีกนานแค่ไหน... ไม่รู้เลย... มีสิ่งเดียวที่เหลือ...คือความหวัง หมดปัญญา...จะหาพลังหรือค�ำเฉลย ต้องประยุกต์ รุกออนไลน์ แม้ ไม่เคย เมื่อโลกเปลี่ยน หากเราเฉย... ก็จบกัน... ใช้ปัญญา...เถิดที่รัก โลกอาจหยุดชะงัก...กระทันหัน หากหยุดฝันและสั่นผวา...กับผาชัน จงอดทน อดกลั้น ฟันฝ่าไป พระเจ้าทรง สอนเรา ให้เป็นนักสู้ แก้ ไข เรียนรู้ ไม่หวั่นไหว มุ่งมั่นด้วยปัญญาและหัวใจ แล้วเราจะเห็น...เส้นชัย...อีกไม่นาน ………….

@Sighisoara, Romania March 2021


ส่องโลกซาเลเซียน By SDB Reporter

World News อบรมเยาวชนอาสาสมัคร เดือนกุมภาพันธ์ 2021 วัดแม่พระ องค์อุปถัมภ์ Comayagüela ประเทศ ฮอนดูรสั จัดกิจกรรมอบรมเยาวชนและ บุคคลทั่วไปที่สนใจเป็นอาสาสมัคร ในหัวข้อ “คุณด้วยสามารถเป็นอาสาสมัคร!” ทั้ ง นี้ เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ พ วกเขาได้ มี ป ระสบการณ์ ข องการอุ ทิ ศ ตนเอง เพื่อความดีของส่วนรวมและมีใจกว้าง พร้อมทีจ่ ะรับใช้พระศาสนจักรท้องถิน่ ด้วยใจยินดี

จากเด็กขอทานข้างถนนสู่การเป็นนักเรียน สมาพั น ธ์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า ซาเลเซี ย นของประเทศมอลตาและของประเทศบุ รุ น ดี

ร่วมมือกันท�ำโครงการ “มอบโอกาสให้เด็กทุกคน - ช่วยเด็กยากจนในบุรุนดี” โครงการนีไ้ ด้ชว่ ยเหลือเด็กยากจนและเด็กก�ำพร้าจ�ำนวน 38 คนซึง่ ใช้ชวี ติ บนท้องถนน แบบขอทานให้ได้ศึกษาเล่าเรียน และช่วยเหลือผู้ปกครองของพวกเขาให้มีอาชีพ

หลักสูตรออนไลน์ “ด้วยสายตาของพ่อบอสโก” คณะกรรมการแผนกการอบรม ซาเลเซี ย นภู มิ ภ าคอเมริ ก าได้ จั ด หลักสูตรอบรมจิตตารมณ์ซาเลเซียน ออนไลน์ “ด้วยสายตาของพ่อบอสโก” ระยะเวลา 5 เดื อ นให้ กั บ สมาชิ ก ซาเลเซียนและบุคลากรในครอบครัว ซาเลเซียนของภูมภิ าคอเมริกา โดยเริม่ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2021 มีผู้สนใจ เข้าร่วมจ�ำนวน 82 คน จาก 19 แขวง ในภูมิภาคอเมริกา

สอนผู้ลี้ภัยพาราเบคท�ำเตาประหยัดพลังงาน สมาชิกซาเลเซียนซึง่ ท�ำงานช่วยเหลือผูล้ ภี้ ยั ในค่ายอพยพ “พาราเบค” ประเทศ

อูกันดา ได้ท�ำโครงการสอนท�ำเตาประหยัดเชื้อเพลิงให้กับผู้อพยพ ทั้งนี้เพื่อช่วย พวกเขาให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพิ่มขีดความสามารถให้กับบรรดาแม่บ้านและ ยังเป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมด้วย March-April 2021

27


ส่องโลกซาเลเซียน By SDB Reporter

World News อบรมเยาวชน SYM โอกาสเข้าเทศกาลมหาพรต

มอบกางเขนธรรมทูต วันที่ 6 มีนาคม 2021 โอกาสเข้าเงียบประจ�ำภาคของหมู่คณะซาเลเซียน คินชาซา คุณพ่อ Manuel Jiménez เจ้าคณะแขวงอัฟริกา คองโก (ACC) ได้ มอบกางเขนธรรมทู ต ซึ่ ง ได้ รั บ การเสกจากคุ ณ พ่ อ อั ค ราธิ ก ารให้ กั บ สมาชิ ก ซาเลเซียนสองท่านคือ บราเดอร์ Léon Akuma ซึ่งจะถูกส่งไปเป็นธรรมทูต ที่เกาะซามัว และ บราเดอร์ Erik Anselme Mawanga ซึ่งจะไปเป็นธรรมทูต ที่ประเทศโปรตุเกส

โอกาสเริม่ เทศกาลมหาพรต 2021 เยาวชนซาเลเซียน (SYM) ของเมือง โยฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ ได้ศึกษาสาส์นมหาพรตของสมเด็จ พระสั น ตะปาปาและค� ำ ขวั ญ ของ อัคราธิการ 2021 “ขับเคลือ่ นด้วยความหวัง” ผ่านทางการร่วมกิจกรรมต่างๆ มากมาย รวมทั้งการร่วมพิธีบูชาขอบพระคุณ และการรับศีลอภัยบาป ณ วัดนักบุญ ทั้งหลายแห่งเอนเนอร์เดล

ซาเลเซียนสู้ภัยโควิด-19 ที่เมืองปูเน่ อินเดีย ท่ามกลางวิกฤตของโควิด-19 ทัว่ โลก ประเทศอินเดียเป็นอีกประเทศหนึง่ ซึง่ ประชาชนยังคงได้รบั ผลกระทบจากการระบาด อย่างรุนแรง ซาเลเซียนในประเทศอินเดียโดยทางองค์กร Don Bosco Development Society (DBDS) ยังคงให้การช่วยเหลือ ประชาชนโดยเฉพาะผูอ้ พยพในเมืองปูเน่ดว้ ยการมอบอาหาร อุปกรณ์ดำ� รงชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน ชุดสุขอนามัย (เจลล้างมือ หน้ากาก ฯลฯ) รวมทั้งอุปกรณ์เพื่อใช้ในการอาบน�้ำ ฯลฯ ปัจจุบัน ยังมีอัตราการติดเชื้อและการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้นในเมืองมุมไบและ เมืองปูเน่ สถานการณ์ยังคงวิกฤตโดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับผู้อพยพ

28

db Bulletin


EAO News

พระคาร์ดินัล โยเซฟ เซน

REGIONAL NEWs By SDB Reporter

พระคาร์ดินัลชาร์ลส์ โบ

2 คาร์ดินัลซาเลเซียน ผู้ส่งเสริมยุติธรรมและสันติ ทั่วโลกก�ำลังให้ความสนใจต่อสถานการณ์ทางการเมือง ของประเทศเมียนมาและฮ่องกง แม้วา่ จะเป็นคนละสถานทีก่ นั แต่กม็ สี ถานการณ์บางอย่างซึง่ คล้ายคลึงกัน นัน่ คือ ประชาชน ก�ำลังต่อสู้เพื่อประเทศชาติด้วยความหวัง เบเนดิกต์ โรเจอร์ นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชน ชาวอังกฤษได้เขียนบทความตีพิมพ์ใน UCANews เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2021 ว่า “ทัง้ สองแห่งโชคดีทมี่ พี ระคาร์ดนิ ลั ที่ กล้าหาญและพูดตรงไปตรงมานัน่ คือ พระคาร์ดนิ ลั ชาร์ลส์ โบ ของเมียนมา และพระคาร์ดินัล โยเซฟ เซน ของฮ่องกง ทั้งสองท่านเป็นซาเลเซียน ซึ่งพยายามส่งเสริมยุติธรรมและ สันติภาพ” พระคาร์ ดิ นั ล ชาร์ ล ส์ โบ ได้ ท วิ ต ข้ อ ความ เมื่ อ วั น ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ว่า “เมียนมากลายเป็นสนามรบ” คาร์ดนิ ลั โบ เขี ย นโดยยื น ยั น ว่า “คาทอลิกในเมียนมามีแผนอภิบาล ระดับชาติที่ชัดเจนส�ำหรับความร่วมมือในระดับท้องถิ่นกับ เจ้าหน้าที่ทุกระดับ เราพร้อมตลอดเวลาที่จะสนับสนุนและ เป็นสื่อกลางในการเจรจาทันทีครั้งใหม่ระหว่างฝ่ายต่างๆ” พระคุ ณ เจ้ า ให้ ข ้ อ คิ ด ในมิ ส ซาวั น อาทิ ต ย์ ที่ ส องของ เทศกาลมหาพรตว่า “อย่าให้เลือดต้องหลั่งในแผ่นดินนี้ อีก เราต่างก็เป็นลูกของแม่แห่งแผ่นดินเมียนมาด้วยกัน เรา

ภาวนาในมิสซานี้เพื่อความสงบสุขของประเทศ พ่อขอย�้ำว่า ความเกลียดชังไม่เคยขับไล่ความเกลียดชัง มีเพียงความรัก เท่านั้น ความมืดไม่เคยขับไล่ความมืด มีเพียงแสงสว่าง เท่านั้นที่สามารถขจัดความมืดได้ ตาต่อตาท�ำให้คนทั้งโลก ตาบอด ขอให้เราทุกคนเชือ่ ในพลังแห่งความรักและการคืนดี ความเกลียดชังไม่มีทางชนะอะไรเลย” เราภาวนาเพื่ อ สั น ติ ภ าพส� ำ หรั บ ทั้ ง สองประเทศนี้ เป็นพิเศษ

March-April 2021

29


LECTIO DIVINA By บิชอป โยเซฟ ประธาน ศรีดารุณศีล

พระเจ้าทรงส่งเสียงร้อง บนภูเขากัลวาริโอ Lectio (พระเจ้าตรัสอะไร)

แม้กระทั่งการถูกทอดทิ้ง “ข้าแต่พระเจ้า ข้าแต่พระเจ้า ท�ำไม พระองค์ จึ ง ทรงทอดทิ้ ง ข้ า พเจ้ า เล่ า ” นี่ คื อ สิ่ ง ที่ เราเรี ย กว่ า “ครั้นถึงเวลาบ่ายสามโมง พระเยซูเจ้าทรงร้องเสียงดังว่า “มากกว่า” การถูกทอดทิ้ง ตามที่ น.เกรโกรี ผู้ยิ่งใหญ่นิยามไว้ “เอโลอี เอโลอี ลามา ซาบั๊กทานี” ซึ่งแปลว่า “ข้าแต่พระเจ้า “ดังนั้น เวลาของการทรมานจึงเป็นเวลาของพระคริสตเจ้า ข้าแต่พระเจ้า ท�ำไมพระองค์จงึ ทรงทอดทิง้ ข้าพเจ้าเล่า” (มก 15:34) เป็นเวลาที่การประกอบพันธกิจของพระองค์บรรลุความครบถ้วน สมบูรณ์ พระวรสารตามค�ำเล่าของนักบุญยอห์นท�ำให้เราทราบ ความรู้สึกที่อยู่ในส่วนลึกภายในจิตใจของพระเยซูเจ้าในตอนเริ่ม @ การทอดทิ้งบนเขากัลวาริโอ รับประทานอาหารค�ำ่ ครัง้ สุดท้าย “ก่อนวันฉลอง การถูกตรึงกางเขนเป็นจุดสูงสุดของชีวิต ปัสกา พระเยซูเจ้าทรงทราบว่าถึงเวลาแล้ว ของพระเยซูเจ้าบนแผ่นดิน และยังเป็น ทีจ่ ะทรงจากโลกนีไ้ ปเฝ้าพระบิดา พระองค์ทรงรัก จุดสูงสุดของการสัง่ สอนของพระองค์อกี ด้วย ผู้ที่เป็นของพระองค์ซึ่งอยู่ในโลกนี้ พระองค์ พระองค์ทรงสอนด้วย วาจา ท่าทาง และ ทรงรักเขาจนถึงที่สุด” (ยน 13:1) ที่สุดทรงสอนด้วยความเงียบ “บนกางเขน ดังนั้น จึงเป็นเวลาของความรัก ซึ่งปรารถนา นั้ น เอง พระองค์ ท รงเปิ ด เผยค� ำ สอนของ พระองค์เกีย่ วกับพระเป็นเจ้าอย่างเต็มที”่ (Giuseppe Maria Zanghì)

องค์พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงท�ำให้ กิจการช่วยให้รอดพ้นของพระองค์ครบ สมบูรณ์ผ่านทางองค์พระเยซูเจ้าผู้ทรงถูกทอดทิ้ง พระเยซูเจ้าผู้ถูกทอดทิ้งทรงเป็นกุญแจแห่งเอกภาพ ทรงเป็น “มากกว่า” การทรมาน ทรงสูญเสียบรรดา ศิษย์และพระมารดา และก�ำลังสูญเสียชีวติ ทีม่ นุษย์ พยายามกระชากออกจากร่างของพระองค์ โดย การโบยตี การน�ำมงกุฏหนามมาสวมใส่บนศีรษะ การใช้ ต ะปู ต อกตรึ ง ติ ด กั บ ไม้ ก างเขน สิ่ ง ที่ ยั ง คงเหลื อ อยู ่ ก็ คื อ ความสนิ ท สั ม พั น ธ์ เ ป็ น หนึ่ ง เดียวกับองค์พระผู้เป็นเจ้าพระบิดาของพระองค์ พระองค์ทรงพร้อมส�ำหรับการสูญเสีย พร้อมสละ

จะไปจน “ถึ ง ที่ สุ ด ” ในการ บูชาของพระองค์ พระคริสตเจ้าทรงเปิดเผย ความรักที่ครบครันให้เราทราบ นั่นคือ พระองค์ ไม่สามารถรักเรามากไปกว่านี้อีกแล้ว เวลาที่ส�ำคัญ เป็ น ทั้ ง เวลาของการทรมานและเวลาของการรั บ พระสิริรุ่งโรจน์พร้อมกัน (S. Giovanni Paolo II)

@ การภาวนาท�ำให้เสียงร้องของพระเยซูเจ้า ดังขึ้นมาอีก

การทรมานของพระเยซู เ จ้ า เป็ น บทเรี ย น อันยิง่ ใหญ่เรือ่ งการภาวนา พระองค์ทรงสอนภาวนาด้วย พระองค์เอง ในสวนเกทเสมนี “พระองค์ทรงคุกเข่าลง อธิษฐานภาวนา” (ลก 22:41) “พระองค์ทรงอยู่ในความ


ทุกข์กังวลอย่างสาหัส จึงทรงอธิษฐานอย่างมุ่งมั่นยิ่งขึ้น พระเสโทตกลงบนพืน้ ดินประดุจหยดโลหิต” (ลก 22, 44) พระองค์ทรงเชื้อเชิญบรรดาศิษย์ให้เลียนแบบพระองค์ ตรัสว่า ‘นอนหลับท�ำไม จงลุกขึ้นอธิษฐานภาวนาเถิด เพื่อจะไม่ถูกทดลอง’ (ลก 22, 46) ขณะที่ทรงถูกตรึง กางเขนทรงร้องเสียงดังว่า ‘พระบิดาเจ้าข้า ข้าพเจ้ามอบ จิ ต ของข้ า พเจ้ า ไว้ ใ นพระหั ต ถ์ ข องพระองค์ ’ เมื่ อ ตรั ส ดังนี้แล้ว ก็สิ้นพระชนม์ (ลก 23, 46),” “ครั้นถึงเวลาบ่าย สามโมง พระเยซูเจ้าทรงร้องเสียงดังว่า “เอโลอี เอโลอี ลามา ซาบั๊กทานี” ซึ่งแปลว่า “ข้าแต่พระเจ้า ข้าแต่พระเจ้า ท�ำไมพระองค์จึงทรงทอดทิ้งข้าพเจ้าเล่า” (มก 15, 34) ไม่มใี ครพูดได้วา่ ความเป็นมนุษย์จบตรงนี้ และความเป็น พระเจ้าเริ่มตรงนี้ เพราะความเป็นอมตะกับขอบขีดจ�ำกัด ผสมปนเปกันอยู่ภายในตัวเราอย่างน่าอัศจรรย์ ถ้าเรา ตระหนักรู้เราก็อาจเป็นประจักษ์พยานถึงแสงสว่างได้ ด้วยการกล่าวว่า “พระวจนาตถ์ทรงรับเอาธรรมชาติ มนุษย์” เราเชื่อว่าใน DNA ของเรามีโครโมโซมของ พระเจ้าอยู่” (P. Ermes Ronchi)

เทศกาลมหาพรตเรียกร้องให้เราเปลี่ยน โรค COVID ก็ท�ำให้เรา เปลี่ยน เพราะหลังจากนี้ สิ่งต่างๆ จะไม่เหมือนเดิมอีก การเปลี่ยนแปลง ภายในเกิดจากการระลึกว่า ต่อหน้าความชั่วเราไม่เป็นสิ่งสร้างที่ถูกทิ้ง ให้กับความตาย แต่เป็นสิ่งสร้างที่เกิดใหม่เสมอ เป็นสิ่งสร้างที่มุ่งสู่ชีวิต ที่กลับคืนชีพ พระวาจาของพระเจ้าทรงขอให้ท�ำสิ่งที่พระเยซูเจ้าทรงกระท�ำ บนกางเขน

@ เสียงร้องของพระเยซูเจ้าคือเสียงร้องของมนุษยชาติ

Cristiana Capotondi เจริญชีวิตตามแบบอย่างของ Chiara Lubich เธอเล่าประสบการณ์ของการพบปะกับเคียร่าว่า เคียร่าพูดว่า ไม่มี ต้นหนามที่ปราศจากดอกกุหลาบ เธอเปลี่ยนมากจากประโยคที่ว่า “ไม่มีต้นกุหลาบที่ปราศจากหนาม” ความหมายคือ ในทุกประสบการณ์ ที่เจ็บปวดและท�ำให้ผิดหวัง มีความหวัง แสงสว่าง มีพระเจ้าหรือสิ่งที่ พระเจ้าทรงเข้าใจได้ กล่าวคือ มีโอกาสเพื่อได้มาซึ่งความสุข มีโอกาส ส�ำหรับการกระท�ำ โอกาสส�ำหรับการเติบโต และนี่คือสิ่งที่กระตุ้นเตือน ข้าพเจ้าทุกวัน

March-April 2021

31


Meditatio (พระวาจาตรัสกับฉันวันนี้)

@ พระเยซูเจ้าผู้ถูกตรึงกางเขนและถูกทอดทิ้ง เป็น วิธีการรักพี่น้อง การสิ้นพระชนม์ของพระองค์บนกางเขน การถูกทอดทิ้งเป็นบทเรียนสูงสุด ของพระเจ้า ที่สอนว่า ความรักคืออะไร ในการทอดทิ้งของพระเยซูเจ้า คนหนึ่ง พบกุ ญ แจไม่ เ พี ย งเพื่ อ ความเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ พระเจ้ า แต่ยังเป็นการสร้างเอกภาพอย่างแท้จริงระหว่างมนุษย์ ให้ความสว่างแก่ทุกสถานการณ์แห่งชีวิต

@ ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าใจเสียงร้องของการทอดทิ้งของพระเยซูเจ้า ที่ก�ำลังสิ้นพระชนม์ “พระเยซูเจ้าทรงเลือกไม่ลงจากกางเขน ด้วยวิธีนี้ พระองค์จะสิ้นพระชนม์อย่างโดดเดี่ยว ตามล�ำพัง เหมือนถูกทอดทิ้ง แต่ พระองค์จะเป็นประจักษ์พยานว่า พระเจ้าทรงเป็นความรัก พระองค์ทรง อยู่ต่อหน้าการต่อต้านสูงสุด ตลอดไป คือการต่อต้านที่เกี่ยวกับพันธกิจ ของพระองค์ ในความโดดเดี่ยวเดียวดายเช่นนี้ ที่ภายนอกดูเหมือนเป็น ความล้มเหลวอย่างสิน้ เชิง พระเยซูเจ้าทรงร้องออกมาว่า “พระบิดาเจ้าข้า Oratio ข้าพเจ้ามอบจิตของข้าพเจ้าไว้ในพระหัตถ์ของพระองค์” ดังนี้ พระเจ้าแห่ง (พระวาจาท�ำให้ฉันภาวนา) พระวรสารทรงเป็นพยาน ซึ่งเราถูกเชิญให้มอบชีวิตของเรา อดีตของเรา ปัจจุบนั และอนาคตของเราไว้กบั พระองค์” (Da: C. M. Martini, Itinerario ขอโทษ “เมื่อเห็นเปโตรก�ำลังนั่งผิงไฟออยู่ หญิง รับใช้กจ็ อ้ งมองเขาและพูดว่า “ท่านอยูก่ บั เยซู ชาวนาซาเร็ธ di preghiera, 92) ด้วย แต่เปโตรปฏิเสธว่า “ฉันไม่รู้ และไม่เข้าใจว่าท่านพูด @ ในบริบทของกัลวาริโอ การทอดทิ้งของพระบิดาเจ้าท�ำให้มนุษย์ เรื่องอะไร” (มก 14:67-68) “ม่านในพระวิหารฉีกขาด มอบตนไว้ในพระหัตถ์ของพระเจ้า พระคาร์ดนิ ลั มาร์ตนิ ภี าวนาว่า “พระเจ้าข้า เป็นสองส่วนตัง้ แต่ดา้ นบนลงมาถึงด้านล่าง 39นายร้อยซึง่ ข้าพเจ้าไม่สามารถกล่าววาจาของการมอบตนของพระเยซูเจ้า ขอพระองค์ ยืนเฝ้าอยู่เฉพาะพระพักตร์ของพระองค์ เมื่อเห็นพระองค์ ตรัสพระวาจานั้นในตัวของข้าพเจ้า พระองค์ผู้ทรงเจริญชีวิตในข้าพเจ้า สิ้นพระชนม์ดังนั้น จึงพูดว่า “ชายคนนี้เป็นพระบุตรของ ด้วยความไพบูลย์ของพระจิตของพระองค์ โปรดกล่าวบทภาวนาบทนั้น พระเจ้าแน่ทีเดียว” (มก 15:38-39) ในตัวข้าพเจ้า โปรดใส่วาจานั้นในจิตใจของข้าพเจ้า โปรดให้ข้าพเจ้า รู้จักทบทวนชีวิตของข้าพเจ้าทั้งชีวิตภายใต้แสงสว่างของบทภาวนานี้ ขอบคุ ณ “ขณะที่ ทุ ก คนก� ำ ลั ง กิ น อาหารอยู ่ นั้ น ขอโปรดให้ข้าพเจ้ารู้จักทบทวนกิจกรรมของข้าพเจ้า อนาคตของข้าพเจ้า พระองค์ทรงหยิบขนมปัง ตรัสถวายพระพร ทรงบิขนมปัง การเลือกและบทบาทหน้าที่ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ายากจนมากเมื่ออยู่ต่อ ประทานให้เขาเหล่านั้น ตรัสว่า “จงรับเถิด นี่เป็นกาย หน้ากางเขนของพระองค์ ข้าพเจ้าวอนขอพระองค์โปรดประทับการมอบตน ของเรา” 23แล้วพระองค์ทรงหยิบถ้วย ตรัสขอบพระคุณ อย่างสูงสุดในข้าพเจ้า นายร้อยโรมัน ได้ถวายพระสิรริ งุ่ โรจน์แด่พระเป็นเจ้า ประทานให้เขาและทุกคนดื่มจากถ้วยนั้น 24พระองค์ตรัส ประชาชนจากไปพลางทุบอกของตน ก่อนที่พระองค์จะแสดงพระองค์ใน กับเขาว่า “นี่เป็นโลหิตของเรา โลหิตแห่งพันธสัญญา พระสิรริ งุ่ โรจน์ของการกลับคืนชีพ พระองค์ได้แสดงพระองค์ดว้ ยการมอบ ที่หลั่งออกเพื่อคนจ�ำนวนมาก” (มก 14:22-24) ชีวิตของพระองค์ไว้ในพระหัตถ์ของพระบิดาเจ้า

32

db Bulletin


ขอพรพระจิ ตเจ้า “สตรีบางคนมองดูเหตุการณ์ Communicatio อยู่ห่างๆ ในจ�ำนวนนี้มีมารีย์ชาวมักดาลา มารีย์มารดา (พระวาจาท�ำให้ประชากรของพระเจ้าเกิดขึ้นใหม่) ของยากอบคนเล็กและของโยเสทและนางสะโลเมh 41สตรี เหล่านี้เคยติดตามรับใช้พระองค์เมื่อพระองค์ทรงอยู่ใน San José Gabriel Brochero เริ่มต้นพันธกิจศาสนบริการสงฆ์ แคว้นกาลิลี สตรีอนื่ ๆ อีกหลายคนซึง่ ขึน้ มาทีก่ รุงเยรูซาเล็ม ของท่านที่ Córdoba, ในขณะนั้นเกิดโรคมาลาเรียระบาด ฆ่าคนตายกว่า พร้อมกับพระองค์ ก็อยู่ที่นั่นด้วย” (มก 15:40-41) สี่พันคน ท่านคุกเข่าลงใกล้คนที่ก�ำลังตาย เพื่อโปรดศีลเจิมครั้งสุดท้าย แก่พวกเขา Contemplatio ต่อมาท่านได้รับมอบหมายหน้าที่ดูแลชุมชนที่มีประชากรประมาณ (พระวาจาของพระเจ้าส�ำเร็จเป็นจริง) หนึ่งหมื่นคน กระจายอยู่บนพื้นที่ใหญ่กว่าสี่พันตารางกิโลเมตร ท่าน ใช้เวลาถึงสามวัน เดินทางบนหลังล่อ จากเมือง Còrdoba เพื่อไปยัง พระเยซูเจ้าผู้ถูกทอดทิ้ง ทรงประทานบทเรียนสูงส่ง ดินแดนธรรมทูตของท่าน บทเรี ย นจากพระเจ้ า บทเรี ย นแห่ ง วี ร กรรมที่ ส อนว่ า วันนี้ โรคระบาด COVID 19 สัมผัสมนุษยชาติของเราอย่างลึกซึ้ง ความรักคืออะไร ในท่ามกลางความมืดทึบ ความห่วงใยและความเอื้ออาทรทุกรูปแบบ เพือ่ ให้เรามีแสงสว่าง พระองค์ทรงรับความมืดไว้กบั พระองค์ เป็นชัยชนะของพระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนชีพ เพือ่ ให้พระเจ้าทรงประทับอยูใ่ นเรา พระองค์ทรงทดลอง กระแสเรี ย กของคริ ส ตชนคื อ การเป็ น พยานถึ ง พระเยซู เจ้ า ผู ้ ท รง อยู่ห่างจากเรา กลับคืนชีพ เป็นพยานถึงความรักซึ่งชนะความตาย แก่ทุกคนไม่ว่า เพือ่ ให้เราได้รบั ปรีชาญาณ พระองค์ทรงท�ำตนเป็นคนโง่เขลา เขาจะเป็นผูท้ ไี่ ด้รบั การทรมานเพราะโรคระบาด ผูอ้ พยพ ผูล้ ภี้ ยั ประชาชน เพื่อให้เรามีชีวิต พระองค์ทรงยอมรับความตาย ทีถ่ กู เฆีย่ นตีจากความขัดแย้ง จากสงครามและจากความหิว บทบาทหน้าที่ เพือ่ ให้เราเป็นคนบริสทุ ธ์ พระองค์ทรงท�ำตนเป็นคนบาป ที่แน่นอนปลอดภัยก็คือ การภาวนาอ้อนวอน ซึ่งผลสัมฤทธิ์เกิดจากการ เพื่อให้เรามีความหวัง พระองค์เกือบสิ้นหวัง หยั่งรากลึกในพระเยซูผู้ทรงถูกตรึงกางเขน เพือ่ ให้สวรรค์เป็นของเรา พระองค์ทรงรูส้ กึ ว่าถูกทอดทิง้ ในกางเขนของพระคริสตเจ้า เราสามารถคิดถึงชีวิตความเป็นอยู่ พระเยซู เจ้ า ทรงถู ก ทอดทิ้ ง พระองค์ ท รงประทาน ของมนุษย์ ว่าเป็นการผ่าน เป็นการเดินทางของการเปลี่ยนแปลง” ความแน่ใจแก่เราว่า เราจะมีชีวิตในพระองค์ เราแต่ละคน สามารถให้ ก ารเริ่ ม ต้ น แก่ สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ยชาติ ร อคอยจาก (Pope FrancHomily in extraordinary prayer in time of epidemic, St. Peter’s มุมโลกที่เราอยู่ เพื่อส่องแสงสว่างแห่งการกลับคืนชีพของ Square, 27 March 2020) (Fr Stefano Camerlengo and M. Simona Brambilla, Letter on St. José Gabriel Brochero) พระเยซูเจ้าออกไปโดยรอบ (Chiara Lubich)

March-April 2021

33


สวดอย่างไร ให้ละม้าย คล้ายแม่พระ Text : ยาก๊อบ

สวดอย่างไร ให้ละม้าย คล้ายแม่พระ (5)

ในทุกยุค ทุกสมัย พระทัยกว้าง ผู้วางใจ ใฝ่พระพักตร์ จักสมหวัง (เพลงมักนีฟีกัต ข้อ 4) แม่พระทรงแสดงความรูส้ กึ จากใจจริงใจซือ่ ต่อไปว่า พระยาห์เวห์ หรื อ ในกรณี เ ฉพาะหน้ า เช่ น นี้ ก็ คื อ พระบิ ด าของพระเยซู บุ ต ร ในอุทรของพระนางขณะนั้น เป็นพระเจ้าผู้ทรงมีพระทัยดีพระทัย กว้างขวาง ไม่ใช่ในทางภูมิศาสตร์ คือ พระทัยดีพระทัยกว้าง ไปทั่ ว โลกทั่ ว พิ ภพทั้ งจักรวาล ซึ่งเกินมิติความรู้ข องชาวบ้าน ระดับประถมศึกษาจะพึงเข้าใจได้เท่านั้น แต่ยังแผ่ไปทั่วมิติทาง ประวัติศาสตร์ ซึ่งพระนางขณะนั้นมีความรู้เพียงน้อยนิดจาก

การศึกษาพระคัมภีร์จากรับไบฮีบรู แต่พระแม่ก็ทรงเปล่งเสียง ร้องออกมาได้อย่างชัดถ้อยชัดค�ำอย่างที่นักปราชญ์ราชบัณฑิต ทัว่ โลกพากันทึง่ ว่า ปัน้ ภาษาค�ำกลอนออกมาได้อย่างไร ช่างลึกซึง้ มีความหมายเชิงวิชาการอย่างสุดขั้วทีเดียว แต่เราไม่แปลกใจ เพราะพระจิตเจ้าทรงท�ำงานแล้วในปัญญาและจิตใจของพระนาง ทรงใช้โอษฐ์ของพระนางเพื่อประกาศเทววิทยาใหม่ เ กี่ ย วกั บ ทั ศ นคติ ข องพระเจ้ า สู ง สุ ด ผู ้ ท รงสร้ า งและดู แ ลสรรพสิ่ ง ด้ ว ย


พระทัยกว้าง ทัง้ ในมิตแิ ห่งคุณธรรม และในมิตแิ ห่งกาลและเทศะ ในมิติแห่งคุณธรรม แม่พระทรงระบุว่าพระบิดาทรงมีพระทัย กว้าง ภาษาละตินใช้ค�ำว่า “misericordia Ejus” ซึ่งแปลตามตัว อักษรได้ว่า พระเมตตาของพระองค์ แปลเป็นพระทัยกว้างก็น่าจะ ถูกต้อง เพราะพระเมตตาของพระองค์มพี ระทัยกว้างจริงๆ กว้างถึง ทุกคนแม้แต่คนบาปหนาทีส่ ดุ พระองค์กไ็ ม่ทรงรังเกียจ แต่ทรงรอ คอยให้เขาส�ำนึกผิดกลับใจสูค่ วามดี แล้วพระองค์กจ็ ะช�ำระล้างเขา ด้วยหยาดเหงื่อหยดโลหิตของพระองค์ ให้เขาสะอาดบริสุทธิ์ ราวกับไม่เคยมีบาปมาก่อนเลย และทรงรอคอยต้อนรับเขาเข้า สวรรค์ในระดับเดียวกับนักบุญทัง้ หลาย ดังนัน้ ผูท้ รี่ ตู้ วั ว่าเคยเป็น คนบาป ได้กลับใจสารภาพผิดตามธรรมเนียมของพระศาสนจักร แล้ว แล้วยังกังวลใจว่าตนจะคู่ควรกับความรักและเมตตาของ พระองค์หรือ นั่นคิดผิดมาก ราวกับไม่วางใจในพระองค์ ไม่รับ เกณฑ์พระเมตตาของพระองค์” ผู้วางใจใฝ่พระพักตร์จะสมหวัง” เขาไม่สมหวัง ไม่ใช่เพราะพระองค์ไม่เมตตา แต่เป็นเพราะเขา ไม่สนใจในพระเมตตาของพระองค์ โดยเอาเกณฑ์ตดั สินของตัวเอง เป็นหลัก จนละเลยการวางใจในพระเมตตาของพระองค์ และ คิดจะวางใจในเกณฑ์ของตนเองมากกว่าวางใจในพระสัญญาของ พระองค์ “ผู้วางใจ ใฝ่พระพักตร์ จักสมหวัง” ผู้ไม่วางใจ ไม่ใฝ่ พระพักตร์ จักไม่สมหวัง” ผู้คิดผิดอย่างนี้อย่าสิ้นหวัง เปลี่ยนมา วางใจในพระเมตตาแทนการวางใจในตัวเอง ใฝ่ใจในตัวเอง ก็จะ สมหวังทันที เพราะพระเมตตาของพระองค์ไร้พรมแดน ในมิติแห่งกาละหรือเวลา อาจจะมีผู้ตั้งประเด็นสงสัยว่า พวกเราโชคดีที่ได้มีโอกาสรับรู้ข่าวดีของพระบุตร แต่บรรพบุรุษ ของเราจ� ำ นวนมากไม่ มี โ อกาสรั บ รู ้ ข ่ า วดี แ ละไม่ ไ ด้ รั บ ศีลล้างบาป น่าสงสารมากที่พวกเขาเหล่านั้นไม่มีโอกาสได้รับ พรแห่งการไถ่บาปของพระบุตรและไม่มีโอกาสรักแม่พระ อย่างพวกเรา เรื่องนี้เชื่อได้ว่าพระแม่ไม่ทรงวางเฉย แม่พระ รักเราและเปิดประตูสวรรค์ให้เรา แม่พระคงไม่สบายใจที่เห็น บรรพบุรุษของผู้แม่พระทรงรัก ไม่มีโอกาสได้อยู่ในสวรรค์ ร่วมกับพวกเรา แม่พระต้องไม่ยอมให้พวกเราต้องรู้สึก เศร้าโศกเสียใจที่ตัวเองได้อยู่ในสวรรค์กับพระแม่โดยปราศจาก บรรดาบรรพบุรุษที่เราต่างก็รักและห่วงใย เชื่อเถิดว่าแม่พระ ต้องหาทางออกให้อย่างสวยๆ บัวไม่ให้ช�้ำ น�้ำไม่ให้ขุ่น เพื่อ พวกเราที่รักพระแม่ได้เห็นบรรพบุรุษของเรา มีโอกาสรัก พระแม่ตลอดนิรันดรในสวรรค์ด้วยเช่นกัน ในมิติแห่งเทศะหรือภูมิศาสตร์ แม้ในปัจจุบันนี้เอง ใครที่ถือก�ำเนิดในบางประเทศเหล่านี้ โอกาสที่จะได้พึ่ง การไถ่บาปจากพระเยซูเจ้าโดยตรงแทบไม่มีเลย แม่พระ จะท�ำอย่างไร ท�ำทองไม่รู้ร้อนกระนั้นหรือ คงไม่เป็นเช่นนั้น เป็นแน่ พวกเขาควรจะได้มีโอกาสได้เป็นลูกที่ได้พึ่งการ ไถ่บาปของพระบุตรเช่นเดียวกับพวกเรา เวลานี้แม่พระอยู่ใน

สวรรค์แล้ว แม่พระทรงรู้ดีว่ามีวิธีการใดที่ท�ำได้อย่างเฉียบคม นักบุญโทมัสนักปราชญ์ของพระศาสนจักรได้กล่าวไว้ว่า หาก เจ้าลูซแี ฟร์ยอมขอโทษจากพระเจ้า พระเมตตาของพระองค์ยอ่ มมี พอส�ำหรับมันด้วย ถ้าเป็นเช่นนัน้ จริง ใครจะดือ้ รัน้ ไม่ยอมขอโทษ พระเป็นเจ้าเล่า แต่นรกก็ยังคงมีอยู่ตามนิยามของพระศาสนจักร แต่อาจจะไม่มีคนยอมอยู่ก็เป็นได้ เรื่องนี้เป็นรหัสธรรมที่ต้องฟัง และเชื่อตามค�ำชี้แจงของพระศาสนจักร “ผู้วางใจ ใฝ่พระพักตร์” ภาษาละตินว่า timentibus eum ซึ่งมีความหมายตามตัวอักษรว่า “ผู้ย�ำเกรงพระองค์” หมายถึง ผู้วางใจที่เกรงพระทัยพระองค์ ไม่ใช่ได้ใจจนไม่ย�ำเกรงหรือ เกรงพระทัยพระองค์ หมายความว่าให้เดินสายกลาง ไม่ใช่ วางใจจนได้ใจไม่เกรงกลัว และไม่ใช่เกรงกลัวพระองค์อย่างที่ไม่ กล้าวางใจในพระเมตตาเสียเลย อย่างที่นักปราชญ์คนหนึ่งชื่อ ยานเซ่นสอน ทางสายกลางคือเดินตามค�ำสอนและค�ำแนะน�ำต่างๆ ของ พระศาสนจักร ซึ่งไม่แข็งทื่อเถรตรง แต่มีการยืดหยุ่นได้ตาม การน�ำอันชาญฉลาดของพระจิตเจ้า ซึ่งพระเยซูเจ้าทรงสัญญาว่า จะคอยดูแลพระศาสนจักรอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา

March-April 2021

35


ครอบครัวซาเลเซียน Text : MR.OK

นีโม่ จิรัฎฐ์ วรรณลักษณ์ อนาคตนักบิดทางฝุ่นระดับโลก

โมโตครอสหรื อ การแข่ ง ขั น จั ก รยานยนต์ วิ บ ากเป็ น หนึ่ ง ในกี ฬ าเอ็ ก ซ์ ต รี ม ที่ ต ้ อ งบุ ก น�้ ำ ลุ ย ไฟและกระโดดขึ้ น ที่ สู ง สนามแข่งเป็นถนนขรุขระที่มีสิ่งกีดขวางต่างๆ เพื่อสร้างความล�ำบากให้กับนักแข่ง รถที่ใช้ จะเป็นรถสูตร เน้นการขับขี่ในสนามถูกแต่ง ให้ ร ถมี น�้ ำ หนั ก เบา คล่ อ งตั ว ในการขั บ ขี่ กั บ ทุ ก สภาพถนน ผู ้ เ ล่ น ต้ อ งมี ส ติ สมาธิ และฝึ ก ซ้ อ มมาอย่ า งดี เ พราะต้ อ งใช้ ทักษะในการขับขี่ ขั้ น สู ง แ ล ะ ต้องแก้ ปัญหา ต่างๆ

เฉพาะหน้าได้ แม้ว่าจะเป็นกีฬาที่เสี่ยงชีวิตมากส�ำหรับมุมมอง ของคนทั่วไป แต่จริงๆ แล้วมันคือศิลปะของการขับขี่ยานพาหนะ อีกประเภทหนึ่งที่ผู้คนต่างชื่นชอบกันอย่างมาก ปัจจุบัน มีนักกีฬาจักรยานยนต์วิบากไทยที่สร้างชื่อเสียง ในระดั บ ประเทศและระดั บ นานาชาติ ไ ม่ น ้ อ ย หนึ่ ง ในนั้ น ก็ คื อ นีโม่ - จิรัฎฐ์ วรรณลักษณ์ วัย 15 ปี มันไม่ใช่เรื่องง่ายส�ำหรับเขา กว่าจะผ่านมาถึงจุดนี้ได้ ชีวติ ของ “นีโม่” นักบิดหนุม่ ไทยต้องผ่าน ช่ ว งเวลาแห่ ง การฝึกซ้อม และอาการบาดเจ็บจากการ แข่ ง ขั น มานับไม่ถว้ น ติดตามเรือ่ งราวของ นีโม่ ที่ทุ่มเทให้กับสิ่งที่ตัวเองรัก อย่างรถโมโตครอส ที่เขาใช้เวลาอยู่ กับมันกว่า 12 ปี จนกลายเป็นนักบิดรุ่นใหม่ ที่มาแรงที่สุดของประเทศในเวลานี้ แน่นอนว่า เราไม่ ไ ด้ พู ด ถึ ง เพี ย งหน้ า ตาอั น หล่ อ เหลา ของเขาเท่ า นั้ น เพราะ “นี โ ม่ ” มี อีกหลายเรื่องมาเล่าให้เราฟัง


ค้นพบตัวเอง หลงรักโมโตครอสตั้งแต่ 3 ขวบครึ่ง

นีโม่ - จิรัฎฐ์ วรรณลักษณ์ เกิดวันที่ 1 ธันวาคม 2548 เป็นบุตรคนเดียวของ นายบุญตา วรรณลักษณ์ และนางสาวสุมนา ตั น ตระกู ล ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมปี ที่ 3 โรงเรี ย นสารสิ ท ธิ์ พิ ท ยาลั ย อ.บ้ า นโป่ ง จ.ราชบุรี ปัจจุบันเป็นนักกีฬาโมโตครอส นีโม่เล่าว่า “เพือ่ นๆ รุน่ ราวคราวเดียวกัน กับผม พวกเขาชอบเล่นฟุตบอล ตะกร้อ บาสเกตบอล ฯลฯ เพราะเป็นกีฬาที่เล่นกัน โดยทั่วไป แต่ผมกลับหลงรักรถโมโตครอส ทั้ ง นี้ ก็ เ พราะว่ า คุ ณ พ่ อ เป็ น นั ก แข่ ง รถเก่ า ท่ า นสอนผมขี่ รถตั้ ง แต่ อ ายุ 3 ขวบครึ่ ง ” นีโม่ใช้เวลาฝึกฝนตัวเองบนโมโตครอส อยู่ไม่นานจนกระทั่ง 3 ปีต่อมา ด้วยวัย เพียง 6 ขวบ คุณพ่อส่งเขาเข้าแข่งขันรายการ ชิ ง แชมป์ ป ระเทศไทยซึ่ ง เป็ น การแข่ ง ขั น รายการใหญ่ครัง้ แรกในชีวติ และนีค่ อื จุดเริม่ ต้น ของนีโม่บนเส้นทางสายวิบาก

การฝึกซ้อมคือหัวใจส�ำคัญ

“ในวงการโมโตครอสคุณต้องฝึกซ้อม อย่างหนัก ขี่ และ ขี่ ขี่มันเข้าไป และสุดท้าย คุณจะเก่งขึ้น” “ผมคิ ด ว่ า นอกจากการฝึ ก ซ้ อ มแล้ ว ประสบการณ์ ต ่ า งๆ ที่ ผ มได้ รั บ จากการ แข่งขันท�ำให้ผมค่อยๆ พัฒนาฝีมือไปเรื่อยๆ ประสบการณ์เหล่านี้ช่วยให้ผมมีสมาธิ มี ความแข็ ง แรง และเรี ย นรู ้ ใ นการช่ ว งชิ ง จังหวะต่างๆ ในการแข่งขันด้วย” โดยปกตินีโม่จะฝึกซ้อมขี่รถทุกวันเสาร์ และวันอาทิตย์ที่สนามใกล้ๆ บ้าน ส่วน วันธรรมดาก็ฝึกเพิ่มอีก 2 วัน และยังออก กําลังกายเป็นประจ�ำทุกวันโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในวันที่ไม่ได้ฝึกซ้อม

เจ็บแต่ ไม่ถอย

โมโตครอสเป็นกีฬาที่มีความเสี่ยง ผู้เล่น ต้องมีร่างกายที่แข็งแรงและที่ส�ำคัญต้องมี ใจรักเพราะในการฝึกซ้อมและในการแข่งขัน อาจเกิดอุบัติเหตุได้ทุกเมื่อ “มันไม่ง่ายอย่างที่คิด ปัจจัยหลายอย่าง ทีเ่ กิดขึน้ ในสนามแข่งขัน ไม่วา่ จะเป็นสภาพถนน หรือคูแ่ ข่งทีพ่ ร้อมจะเข้ามาปะทะเราตลอดเวลา” “ผมเคยล้มและเคยเจ็บมาเยอะครับ หนัก ทีส่ ดุ มี 2 ครัง้ คือกระดูกเบ้าตาแตกและอีกครัง้ คือขาหัก แต่ผมก็ไม่ทอ้ เจ็บได้กห็ ายได้ครับ”

รางวัลที่ภูมิใจ

“ผมชนะในการแข่งขันโมโตครอสหลาย รายการ อาทิ แชมป์ประเทศไทย อายุไม่เกิน 9 ปี (ปี 2014), แชมป์ประเทศไทย อายุไม่ เกิน 14 ปี (ปี 2018), และล่าสุดในปี 2020 ผมได้รับรางวัลชนะเลิศ 2 รายการคือ แชมป์ ประเทศไทยรุน่ MX2-Junior อายุไม่เกิน 18 ปี และแชมป์ MX2-C อายุ ไ ม่ เ กิ น 23 ปี ส�ำหรับรางวัลที่ผมภูมิใจมากที่สุดคือ รางวัล แชมป์เอเซีย อายุไม่เกิน 14 ปี เมื่อปี 2017 โดยแข่งทัง้ หมด 4 สนามด้วยกัน 2 สนามแรก แข่งที่ประเทศมาเลเซีย และอีก 2 สนาม ที่ ป ระเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ นอกนั้ น ผมเคย เป็ น ตั ว แทนประเทศไทยไปร่ ว มแข่ ง ขั น โมโตครอสที่ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และญี่ปุ่นด้วย”

โมโตครอสให้อะไรกับนีโม่

“สิ่ ง แรกที่ เ ห็ น ได้ ชั ด คื อ สุ ข ภาพที่ ดี และร่างกายที่แข็งแรง นอกนั้น ยังช่วยให้ผม มีวินัยในตัวเองดีขึ้น เวลาเดียวกัน การไป แข่งขันท�ำให้เราได้รบั ประสบการณ์ มีชอื่ เสียง มีคนชืน่ ชมและยังมีรายได้เป็นของตัวเองด้วย ผมรู้สึกภูมิใจในตัวเองครับ”

เป้าหมายในอนาคต

นีโม่บอกกับเราว่า นักกีฬาที่เป็นไอดอล ของเขาคือ Tim Gajser และ Jeffrey Herlings ทั้งสองคนนี้เป็นนักแข่งระดับโลกและเป็น แชมป์โลก “ผมเองมีเป้าหมายที่อยากจะท�ำหน้าที่ เป็นตัวแทนประเทศไทยเพื่อไปแข่งขันใน ระดับต่างๆ รวมทั้งในระดับโลกด้วย” อยากบอกกับเพื่อนๆ ว่า “การเล่นกีฬา ทุกชนิดนั้นดีหมดครับ อย่างน้อยก็ท�ำให้เรา มีสุขภาพที่ดี... อยากให้เพื่อนๆ ค้นพบสิ่งที่ ตนเองชอบ แล้วทํามันให้เต็มที่ ทําให้เป็น อาชีพของเราให้ได้” ชีวติ ของนีโม่ในเวลานีเ้ หมือนมีเข็มทิศ รอบกายทีพ่ าเขาไปถูกทาง ทัง้ ความมุง่ มัน่ ตั้งใจของตัวเอง พ่อแม่ และทีมงาน เบื้องหลัง ชีวิตของคนเราก็เหมือนกับ การขี่รถโมโตครอสเข้าเส้นชัย ขอแค่เรา แต่ละคนมีความตัง้ ใจและฝึกฝนอย่างหนัก เส้ น ชั ย ที่ ห วั ง ก็ ค งไม่ ไ กลเกิ น เอื้ อ ม อย่างแน่นอน


ผู้ศักดิ์สิทธิ์ เรียบเรียง: “ภาชนะดินเผา”

หลุยส์ บอลลา ข้“ดวงดาวที ารับ่สใช้่องสว่พาระเจ้ า งทางเดิน”

หลุยส์ บอลลา เกิดที่สกีโอ เมืองวินเชนซา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 1932 ในครอบครัวคริสตชนที่มีความเชื่อ ศรัทธา เมื่ออายุ 11 ปี ท่านได้ยินเสียงหนึ่งพูดกับท่านในขณะ ทีอ่ ยูใ่ นวัดน้อยของศูนย์เยาวชนว่า “เธอสามารถเป็นพระสงฆ์ได้นะ ท�ำไมไม่ลองดูละ่ ” ปีตอ่ มา ในสถานทีเ่ ดียวกัน ท่านได้ยนิ เสียงเดิม เรียกท่านอีกให้ไปเป็นธรรมทูตอยู่ท่ามกลางชนเผ่าพื้นเมือง โดยท่านจะเป็นผู้ท�ำให้ข่าวดีของพระเจ้าแพร่ไปผ่านทางการเดิน ไปเยี่ยมหมู่บ้านต่างๆ หลุยส์ บอลลา ได้ถวายตัวครั้งแรกเป็นนักบวชซาเลเซียน เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 1949 เมือ่ ท่านอายุได้ 21 ปี ท่านได้เดินทาง ไปเป็นธรรมทูตทีป่ ระเทศเอกวาดอร์ ทีน่ นั่ ท่านได้ศกึ ษาเทววิทยา และได้บวชเป็นพระสงฆ์ในวันที่ 28 ตุลาคม 1959 ท่านเรียนภาษา สเปนและภาษาชนเผ่าชัวร์ (Shuar) ได้อย่างรวดเร็ว ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ใช้ ในการติดต่อสื่อสารกับคนพื้นเมืองที่นั่น หลายปีต่อมา พระเจ้าทรงมีพระประสงค์ให้ท่านท�ำงานกับ อีกชนเผ่าหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า ชนเผ่าอาชัวร์ (Achuar) ในประเทศเปรู

38

db Bulletin

ท่านจึงได้เดินทางไปทีน่ นั่ ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1984 โดยท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูแ้ ทนของสมเด็จ พระสันตะปาปา (Apostolic Vicar) อยูท่ เี่ มือง ยูรมี ากอส (Yurimaguas) ส�ำหรับท่านแล้ว ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาแห่งความเหงา และความโดดเดี่ยวที่สุดเพราะท่านต้อง อยู่ห่างจากสมาชิกในหมู่คณะ ด้วยเหตุนี้ ในเวลาต่ อ มาท่ า นจึ ง ได้ ตั้ ง หมู ่ ค ณะ ซาเลเซียนขึ้นที่นั่น ท่านได้จุ่มตัวอยู่กับ ชนเผ่าอาชัวร์ โดยที่ยังคงรักษาอัตลักษณ์ ความเป็นซาเลเซียนสงฆ์เอาไว้ แม้ว่าท่าน ต้ อ งประสบกั บ ความทุ ก ข์ ย ากล� ำ บาก มากมาย แต่ท่านก็วางใจในพระเจ้าเสมอ ท่านหมั่นเรียนรู้ขนบธรรมเนียมและวิธี ปฏิ บั ติ ข องผู ้ ค นที่ นั่ น พั น ธกิ จ หลั ก ของ ท่านก็คือการประกาศข่าวดีให้แก่ชนเผ่า อาชัวร์ทุกคน ซึ่งท่านรักเสมือนเป็นลูก ของท่านเอง ท่านได้เขียนแบบเรียนภาษาอาชัวร์ขนึ้ ซึง่ นับว่าเป็นงานเขียนชิน้ แรกทีถ่ กู พิมพ์ใน ภาษาอาชัวร์ เพื่อให้เด็กๆ สามารถเรียนรู้ ภาษาของตน ซึ่งต่อมาแบบเรียนดังกล่าว ได้รบั การยอมรับในระดับสากล นอกเหนือ จากงานประกาศข่ า วดี ข องพระเจ้ า แล้ ว ท่ า นยั ง ติ ด ตามเอาใจใส่ ใ นการพั ฒ นา ชนเผ่าอาชัวร์ในทุกด้าน เช่น ด้านการ ศึกษา การดูแลสุขภาพ ฯลฯ ชาวบ้าน รั ก ท่ า นมากและขนานนามท่ า นว่ า “Yánkuam’ Jintia” แปลว่า “ดวงดาว ที่ส่องสว่างทางเดิน” ท่านสิ้นใจเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2013


เรื่องมีอยู่ว่า by ลียองเอ

แป้งพัฟกับแป้งพาย เราเป็ น ฝาแฝดกั น ค่ ะ …ที่ พ ่ อ แม่ ตั้ ง ชื่ อ ให้ เราว่ า แป้ ง พั ฟ กั บ แป้ ง พายก็ เ พราะว่ า แม่ ช อบกิ น พายบลู เ บอร์ รี่ ส่ ว นพ่ อ ก็ชอบกินพัฟไส้ไก่ค่ะ เราทั้งคู่มีอะไรคล้ายๆ กั น ไม่วา่ จะเป็นนิสยั ท่าทาง หรือส�ำเนียงการพูด เราชอบอะไรเหมือนๆ กันไม่วา่ จะเป็นอาหาร ของใช้ การแต่ ง ตั ว หรื อ การละเล่ น ต่ า งๆ แต่เราก็มีความต่างในความเหมือนนะคะ เพราะเราต่างก็เป็นตัวของตัวเองในแบบที่ เราเป็นค่ะ ถ้าจะถามว่าใครดีกว่ากัน ใครเก่ง กว่ากัน หรือใครน่ารักกว่ากัน มัน ก็ตอบยากนะคะ เพราะขนาดเงา สะท้อนของตัวเราเองยังบิดเบี้ยวไป เบี้ยวมาเลยค่ะ เวลาเซลฟี่หน้าตัวเองกับมือถือ หรือ ถ่ายรูปตัวเองกับกล้องถ่ายรูป ยังนึก อยู ่ เ ลยนะคะว่ า หน้ า เหมื อ นตั ว เอง หรื อ เปล่ า เพราะแอพสมั ย นี้ เ ยอะ เหลือเกิน ไม่ว่าจะเป็นแอพหน้าใส แอพหน้ า เนี ย น แอพหน้ า เรี ย ว

“พระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ขึ้นตาม พระฉายาของพระองค์ พระเจ้าทรง อวยพรพวกเขา” (ปฐก.1:27-28)

ทุกวันที่ 24 ของทุกเดือนจะมีการถวายมิสซา แก่สมาชิกนิตยสาร รวมทั้งผู้มีอุปการะคุณต่อนิตยสาร

บ�ำรุงการพิมพ์ เกศณี ไทยสนธิ ศิริพันธ์ แจ้งพิพัฒน์ ธิดารัตน์ เบญจบรรพต ศักดิ์สกล พรหมสาขา ณ สกลนคร

แอพหน้าขาว แอพหน้าสวย แอพหน้าเด้ง สารพัดแอพ….. แม้แต่มองหน้าตัวเองในกระจกยังหน้าไม่เหมือนกันทุกบานเลยค่ะ….. มองหน้าคูแ่ ฝดของตัวเองเนีย่ ะแหละค่ะ ชัดเจนทีส่ ดุ ไม่ต้องใช้มุมช่วย ไม่ต้องใช้แอพ….. ดั ง นั้ น เราจึ ง ตั้ ง ใจว่ า เราจะเป็ น เงาสะท้อนของกันและกันค่ะ เพื่อสะท้อน ภาพลักษณ์ทชี่ ดั เจนในแบบทีเ่ ราเป็น เวลาที่ เรามองหน้ากัน เราไม่ได้เห็นแค่ตัวเราเอง เท่ า นั้ น ค่ ะ แต่ เราเห็ น พ่ อ แม่ ที่ ช ่ ว ย ปั้นแต่งเราให้เป็นเราอยู่ทุกวันนี้ค่ะ เพราะฉะนัน้ เมือ่ พ่อแม่อยูใ่ นตัวของเรา เราก็ยิ่งจะต้องให้เกียรติท่านด้วย การให้เกียรติตัวของเราเอง โดย การท�ำในสิ่งที่ถูกที่ควร ที่ถูกต้อง ที่เหมาะสมค่ะ

ภัทร ภัทรกุล เสาวลักษณ์ จิรานนท์ ทรงเกรียรติ อิงคามระธร อรนงค์ ซื่อเพียรธรรม

วรรณา ชยานุภัทร์กุล อรดี ศิลาโคตร กลุ่มเพาะรัก ผ่องใส ป้อมจักรศิลป์

อารีย์ เจริญพานิช ครอบครัวภูมิตระกูล ครอบครัวอุชชิน วารี แปงดง

กรองขวัญ ยอแซฟ สรวัฒน์ ดีสุดจิตร ทิพวรรณ ทิวาวรรณวงศ์ ไม่ออกนาม 10 ท่าน ครอบครัว ธีรวชิรกุล ทัธนา ศรีธรักษา March-April 2021

39


หายป่วย ผมเป็ น คริ ส ตชนที่ ท� ำ แต่ ง าน เที่ ย วเตร่ บ ้ า ง ไม่สนใจเรื่องวัดวา มาเข้าวัดเฉพาะโอกาสส�ำคัญเท่านั้น จนกระทัง่ ผมป่วยหนัก ขยับตัวล�ำบาก เดินไม่ได้ แขนขา อ่อนแรง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ จนคิดว่าจะไม่รอดชีวิต ได้สงั่ เสียน้องสาวให้จดั งานศพให้ผม ครอบครัวได้พาไป หาหมอ ระหว่างรักษาตัวผมพยายามตัง้ ใจสวดขอพระช่วย โดยเฉพาะขอแม่พระให้ชว่ ยชีวติ ผม ถ้าผมสามารถกลับมา เดินได้ ผมจะมาเข้าวัดเป็นคริสตชนที่ดี บัดนี้อาการ ของผมดีขึ้น เดินได้เกือบปกติ สามารถขับรถได้แล้ว ผมตั้งใจมาเข้าวัดแน่นอน ผมขอขอบคุณแม่พระที่ฟัง ค� ำ ภาวนาของผมและประทานพระพรให้ ห ายป่ ว ย ในเวลาอันรวดเร็ว เอากุสติโน ไพบูลย์

อัศจรรย์ผ่านทางคุณพ่อการ์โล เดลลา โตร์เร ข้าพเจ้าได้ประกาศขายสวนที่เชียงรายเป็นเวลา นานมาก มีหลายคนสนใจไปดูสวนแต่ไม่มีสักรายที่ ตัดสินใจซื้อ สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ท�ำให้งานที่ท�ำเกี่ยวกับการท่องเที่ยวต้องหยุดไปด้วย ข้าพเจ้าสวดขอพระเจ้าให้ชว่ ยขายทีใ่ ห้ได้ วันหนึง่ ข้าพเจ้า ไปร่วมมิสซาที่อาสนวิหารพระหฤทัยเชียงใหม่ซึ่งตรง กับวันฉลองแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ หลังมิสซา ข้าพเจ้าได้นำ� สารสายประค�ำน�ำชีวติ ปีที่ 32 ฉบับที่ 142 เดือนพฤษภาคม 2563 กลับมาอ่านทีบ่ า้ น ด้านหลังจะมี บทภาวนาผ่านทางค�ำเสนอวิงวอนของคุณพ่อการ์โล เดลลา โตร์เร ข้าพเจ้าได้อ่านและเริ่มสวดขอท่านช่วย ผ่านไป 2 อาทิตย์ ได้มผี ตู้ ดิ ต่อซือ้ ทีต่ ามทีข่ า้ พเจ้าได้วอนขอ จากท่าน จึงขอโมทนาคุณคุณพ่อการ์โล เดลลา โตร์เร และขอบพระคุณพระเป็นเจ้าที่พระองค์มาทันเวลาเสมอ

การผ่าตัดเป็นไปด้วยดี เมื่อ 6 ปีก่อน คุณแม่ของลูกไปตรวจภายในแล้ว พบถุงน�้ำในรังไข่ ขนาด 2 เซ็นติเมตร แต่ตัดสินใจว่ายัง ไม่ผ่าตัดออก รอดูอาการก่อนเพราะคิดว่าจะหายได้เอง แต่เมื่อ เวลาผ่านไป คุณแม่รู้สึกท้องอืด ทานอาหาร แล้วไม่ค่อยย่อย จนกระทั่งเดือนพฤศจิกายนปีที่ผ่านมา ได้ไปตรวจติดตามอีกครั้งพบว่าถุงน�้ำมีขนาดใหญ่ขึ้น เป็น 6 เซนติเมตร คุณหมอจึงแนะน�ำให้ผา่ ตัดออก คุณแม่ และครอบครัวได้ตดั สินใจให้คณ ุ แม่ไปผ่าตามค�ำแนะน�ำ ของคุณหมอ ซึ่งเราก็มีความกังวลอยู่มากพอสมควร เนื่องจากคุณแม่อายุเยอะแล้ว จึงสวดภาวนาและขอ ค�ำภาวนาจากเพื่อนพี่น้องให้วิงวอนพระเป็นเจ้าผ่าน ค�ำเสนอวิงวอนของแม่พระให้การผ่าตัดเป็นไปด้วยดี ในที่ สุ ด ผลการผ่ า ตั ด เป็ น ที่ น ่ า พอใจ คุ ณ แม่ ฟ ื ้ น ฟู สุขภาพได้เร็ว ลูกและครอบครัว ขอโมทนาคุณแม่พระ องค์อุปถัมภ์ที่ช่วยให้รักษาคุณแม่ประสบความส�ำเร็จ และผ่านพ้นไปด้วยดี กิ๊ก

วารินทร์ สุทธิจิตต์

สนใจสมัครสมาชิกได้ที่

แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียน 32 ถ.กรุงเทพกรีฑา

หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 Tel: 02-7317100 Email: sdbsocomthai@gmail.com อ่านนิตยสารออนไลน์

(หากท่านเปลี่ยนชื่อและที่อยู่ผู้รับ กรุณาแจ้งให้ทางนิตยสารทราบ)

ธารน�้ำใจ

ท่านสามารถร่วมสนับสนุนการพิมพ์นิตยสารดอนบอสโกได้ที่ บัญชี กองทุนนิตยสารดอนบอสโก ธนาคารธนชาต สาขาโรงพยาบาลรามค�ำแหง เลขที่บัญชี 096-6-11569-2

(ส่งเงินแล้วโปรดแจ้งรายละเอียดให้แผนกสื่อมวลชนซาเลเซียนทราบด้วย)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.