JUBILE annual report2552

Page 1


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

2


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

3


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

4


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

5


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สาส์นจากประธานกรรมการบริษัท

*7

สาส์นจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

*8

สาส์นจากประธานกรรมการตรวจสอบ

*9-10

คณะกรรมการและกรรมการบริหาร

*11

คณะกรรมการตรวจสอบ

*12

คณะผู้บริหาร

*13-15

ประวัติคณะกรรมการและกรรมการบริหาร

*16-21

ข้อมูลทั่วไป

*22-23

สรุปข้อมูลทางการเงิน

*24-28

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

*29-31

ปัจจัยความเสี่ยง

*32-41

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

*42-57

รายการระหว่างกัน

*58-68

คาอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

*69-84

งบการเงินประจาปี 2552

*85-121

6


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

เรียนท่านผู้ถือหุ้น ปี 2553 จะเป็นอีกปีหนึ่งที่ท้าทายต่อการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ เป็นอย่างมาก สืบเนื่องจากการขยาย งานและการลงทุนที่บริษัทฯ ได้ดําเนินการเสร็จสิ้นไป แล้วตั้งแต่ในรอบปี 2552 ไม่ว่าจะเป็นการขยายสาขาของ บริษัท การพัฒนาด้านระบบคอมพิวเตอร์ให้เป็นร ะบบ เรียลไทม์ เพื่อต่อยอดไปยังธุ รกิจต่าง ๆ ซึ่งความสําเร็จ การขยายงานและการลงทุนดังกล่าวจะช่วยส่งเสริม ศักยภาพให้บริษัทฯ ทวีความแข็งแกร่ง และพร้อมที่จะ ยืนหยัดรับมือกับสภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ และ เศรษฐกิจโลก ที่คาดว่าจะเข้าสู่ภาวะวิกฤตในรอบปี 2553 บริษัทยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) หรือ JUBILE ได้จดทะเบียนหลักทรัพย์เอ็มเอไอ อย่าง เป็นทางการซึ่งนับเป็นก้าวสําคัญอีกก้าวหนึ่งของบริษัท เราที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว JUBILE ได้รับการ ยอมรับในแวดวงอุตสาหกรรมเครื่องประดับและอัญมณี อย่างกว้างขวางในฐานะผู้จําหน่ายสิน ค้าเครื่องประดับ เพชร และเพชรกะรัต อีกทั้งการเป็นผู้นําในการสร้าง นวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับธุรกิจเครื่องประดับในประเทศ ไทย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องช่องทางการจัดจําหน่าย การสร้าง อาชีพอย่างมั่นคงให้กับคนไทยในการขายเครื่องประดับ การสร้างมาตรฐานในพฤติกรรมการใช้เครื่องประดับ อย่างมีคุณภาพ และการนําใบรับประกันคุณภาพเพชร ระดับสากลให้กับผู้บริโภคเครื่องประดับภายในประเทศ ไทย จากการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ของ เราในวันนี้สะท้อนให้เห็นถึงการยอมรับจาก

อุตสาหกรรมอัญมณีไทย และความมั่นใจที่นักลงทุนมี ให้แก่ธุรกิจของเรา ผมอยากจะขอเชิญชวนนักลง ทุนให้ พิจารณาผลงานที่ผ่านมา และความมั่นคงทางการเงิน ของเรา และคาดหวังว่าสาธารณชนจะได้เข้ามามีส่วน ร่วมมากยิ่งขึ้นกับความสําเร็จของบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ ไพรส์ จํากัด (มหาชน) ที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคต บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่าการประสานงาน อย่างลงตัวทั้งด้านการออกแบบและพัฒนา ด้านการผลิต และจัดจําหน่าย ด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล จนกระทั่งถึงการดูแลสังคมสิ่งแวดล้อมสามารถ ตอบสนองความต้องการอย่างหลากหลายของลูกค้าได้ อย่างไม่มีข้อจํากัดนั้น เป็นแนวทางที่ถูกต้อง พร้อมทั้ง การสร้างความสมดุลในการเติบโตอย่างมั่นคง นํามาซึ่ง ประโยชน์ร่วมกันทั้ง ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า พนักงานและ สังคม อันจะส่งผลให้ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นผู้นํา ด้านอัญมณีในเวทีโลกอย่างเต็มภาคภูมิได้ในอนาคต ในนามของคณะกรรมการบริษัท ยูบิลลี่ เอ็น เตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) จึงขอขอบคุณผู้ถือหุ้น พนักงานทุกระดับ และผู้มีส่ วนเกี่ยวข้องในกิจการของ บริษัทฯ ที่มอบความไว้วางใจและสนับสนุนทั้งทางตรง และทางอ้อมมาโดยตลอด ทั้งคณะกรรมการจะกํากับ ดูแลกิจการด้วยความโปร่งใส ยุติธรรมเพื่อให้บริษัทฯ มี การเติบโต และสร้างผลกําไรให้ผู้ถือหุ้น มีความ รับผิดชอบต่อสังคม และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รั บการ สนับสนุนอย่างมั่นคงยั่งยืนตลอดไป

ขอแสดงความนับถือ

มนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการบริษัท 7


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) เป็นผู้นําในธุรกิจการจัดจําหน่ายเครื่องประดับเพชรและ เพชรกะรัตในประเทศไทย ภายใต้เครื่องหมายการค้า “เพชรยูบิลลี่” โดยมีจํานวนสาขามากเป็นอันดับหนึ่งของ ประเทศ ซึ่งปัจจุบันนี้ บริษัทฯ มีสาขาครอบคลุมอยู่กว่า 70 สาขาทั่วประเทศ นอกเหนือจากการเป็นผู้นําในการสร้าง นวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับธุรกิจเครื่องประดับในประเทศ ไทย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องช่องทางการจัดจําหน่าย การสร้าง อาชีพอย่างมั่นคงให้กับคนไทยในการขายเครื่องประดับ การสร้างมาตรฐานในพฤติกรรมการใช้เครื่องประดับ อย่างมีคุณภาพ และการนําใบรับประกันคุณภาพเพชร ระดับสากลให้กับผู้บริโภคเครื่องประดับภายในประเทศ ไทย อีกหนึ่งพันธกิจที่สําคัญของ “เพชรยูบิลลี่ ” ในวันนี้ คือ การบริหารองค์กรอย่างมีหลักธรรมา ภิบาลและ โปร่งใส ให้ได้รับความเชื่อถือจากนักลงทุน ลูกค้า คู้ค้า และพันธมิตรทางธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้ ทุก ๆ หน่วยงานในองค์กรมีความมุ่งมั่นในการพัฒนา คุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ให้ทัดเทียมกับ ระดับสากล ควบคู่กับการบริการอย่างประทับใจให้กับ กลุ่มผู้บริ โภคทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศอย่าง ต่อเนื่อง

ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา “เพชรยูบิลลี่ ” ได้ยึด มั่นแนวทางดําเนินธุรกิจโดยยึดหลักในความเป็น มาตรฐาน สรรสร้างอุตสาหกรรมเครื่องประดับใน ประเทศไทย ปัจจุบันนี้ “เพชรยูบิลลี่” ถือได้ว่า ได้เติบโต อีกขั้นหนึ่ง โดยเป็นบริษัทค้ าปลีกอัญมณี ที่ได้จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ เป็นบริษัท มหาชน แห่งแรก และแห่งเดียวในประเทศไทย การที่บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) ได้ เดินทางด้วยก้าวย่างที่มั่นคงมาถึงทุกวันนี้ เป็นสิ่งสําคัญที่ ยืนยันถึงความมุ่งมั่น ความตั้งใจ และ ความใส่ใจ ในทุก ๆ รายละเอียด และ แสดงถึงการที่บริษัทฯ ได้รับ การสนับสนุน ส่งเสริม จากบุคคลากรทุกฝ่าย ทั้งภายใน และ ภายนอกองค์กร ผมขอขอบพระคุณ ทุก ๆ ความสนั บสนุนและ ส่งเสริมจากทุก ๆ ฝ่าย ที่มีให้เสมอมา และ ผมพร้อมที่จะ ก้าวไปข้างหน้าด้วยก้าวย่างที่แข็งแกร่ง และมั่นคง ตลอดไป พร้อมกับการสร้างความประทับใจ และความ เชื่อมั่น ให้กับทุกคน ทุกฝ่าย ที่ได้เข้ามาสัมผัสกับแบรนด์ “เพชรยูบิลลี่”

ขอแสดงความนับถือ

วิโรจน์ พรประกฤต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

8


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

เรียนท่านประธานกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบของบริษั ท ยูบิลลี่ เอ็นเตอ ร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) ประกอบด้ว ย กรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ด้าน การบริหาร การจัดการ การบัญชีและการเงิน มี นายอํานวย นาครัชตะอมร เป็นประธานกรรมการ นายไพโรจน์ มาลีหอม และนาง สาวซนวา เด่นเมฆา เป็นกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบมีอํา นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบต่ อคณะกรรมการบริษัท ตามที่ได้กําหนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ในรอบปีบัญชี 2552 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่อย่ างเป็นอิสระและ ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมาย โดยได้ประชุมรวม กับฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้อํานวยการฝ่ายบัญชี การเ งิน และผู้อํานว ยการอาวุโสสํานักตรวจสอบ ภายใน ตามวาระที่เกี่ยวข้อง จํานวน 7 ครั้ง ซึ่งสรุปได้ ดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา สอบทานงบการเงินของบริษัทประจํารายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2552 ร่วมกับฝ่ายบริหาร และ ผู้สอบบัญชี ทั้งนี้ ฝ่ายบริหารเป็นผู้มีหน้าที่ ความ รับผิดชอบในการจัดทํารายงานทางการเงิน ผู้สอบ บัญชีเป็นผู้รับผิดชอบในการรายงานและแสดง ความเห็น ต่องบการเงินดังกล่าว คณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นว่ ารายงานทางการเงินของบริษัทได้ จัดทําขึ้นอย่ างถูกต้องเป็นไปตามหลักการบัญชีที่ รับรองโดยทั่วไปและมีการเปิดเผยข้อมูลที่สําคัญอย่าง เพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 2. คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจา รณาการ ทํารายการที่เกี่ ยวโยงกันของบริษัทตามหลักเกณฑ์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการ

ตรวจสอบเห็นว่าการทํารายการดังกล่าวเป็นไปอย่ างมี เหตุผล มีเงื่อนไขต่ าง ๆ ตามปกติของธุรกิจและ เป็นไปเพื่อ ประโยชน์สูงสุดของบริษัทและมีการ เปิดเผยข้อมูลราย การระหว่างกันและรายการที่เกี่ยว โยงกันอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ 3. คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา ค่าตอบแทนและคัดเลือกผู้สอบบัญชีของบริษัท เอเอ็น เอส ออดิท จํากัด ซึ่งกําหนดให้ นายอธิพงศ์ อธิพงศ์ สกุล ผู้สอบบัญชีทะเบียนเลขที่ 3500 หรือ นายประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผู้สอบบัญชีทะเบียน เลขที่ 4917 หรือ นายวิชัย รุจิตานนท์ ผู้สอบบัญชี ทะเบียนเลขที่ 4054 หรือนายบรรจง พิชญประสาธน์ ผู้สอบบัญชีเลขที่ 7147 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท ประจําปี 2553โดยเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อ นําเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติ ในการ คัดเลือก ผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และได้ ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้า ร่วมประชุม เพื่อพิจารณาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับระบบ ควบคุมภายในและแผนการ ตรวจสอบบัญชีประจําปี 4. คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมิน ระบบการควบคุมภายในตามแนวท างที่ กําหนดโดย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ซึ่งครอบคลุมถึง การควบคุมด้านการ บริหาร การเงิน การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งสอบ ทานนโยบายแนวทางการบริหารความเสี่ยงเห็นว่า บริษัทมีการควบคุมภายในและการบริหารความ เสี่ยง ที่เพียงพอและมีประสิทธิผล 5. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน ความเป็นอิสระ แผนการตรวจสอบภายในประจําปี ขอบเขตงานของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และ พิจารณาผลการ ตรวจสอบภายในและความคืบหน้า 9


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ของการดําเนินงาน รวมทั้งได้พิจารณาประเมินผลการ ปฏิบัติงานของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า การตรวจสอบภายใน ของบริษัทเป็นไปอย่างอิสระ เพียงพอและมี ประสิทธิผล 6. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการ ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และได้ประชุมร่วมกับผู้บริหารหน่วยงาน เพื่อสอบ ทานการเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติตามกฎหมาย ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นว่ า บริษัทมีการดูแลและปฏิบัติตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้องและไม่พบข้อบกพร่ องที่มี สาระสําคัญ 7. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน นโยบายการกํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณของ

บริษัทให้ ได้มาตรฐานสากลและเหมาะสมกับการ ดําเนินธุรกิจของบริษัท 8. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน และประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองประจําปี โดยได้เปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติที่ดีและกฎบัตร ซึ่งผลของการ ประเมินคณะกรรมการตรวจสอบมีการ ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามกฎบัตร ที่ กําหนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า ในปีที่ผ่ าน มาบริษัทมีการจัดทํารายงานทางการเงินและเปิดเผย ข้อมูลอย่างเพียงพอเป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป มีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบ ควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล ตลอดจนมีระบบการ กํากับดูแลกิจการที่ดี

ขอแสดงความนับถือ

อํานวย นาครัชตะอมร ประธานกรรมการตรวจสอบ

10


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

คณะกรรมการ และ คณะกรรมการ บริหาร

1. นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการบริษัท 2. นายวิโรจน์ พรประกฤต รองประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร 3. นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต กรรมการ และกรรมการบริหาร 4. นายคงเดช โอฬารรติ กรรมการ และกรรมการบริหาร 5. นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย กรรมการ และกรรมการบริหาร 6. นายสหัสโรจน์ โรจน์เมธา กรรมการ และกรรมการอิสระ 7. นายอานวย นาครัชตะอมร ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 8. นางสาวซนวา เด่นเมฆา กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 9. นายไพโรจน์ มาลีหอม กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

11


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

คณะกรรมการตรวจสอบ

1. นายไพโรจน์ มาลีหอม กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 2. นายอานวย นาครัชตะอมร ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 3. นางสาวซนวา เด่นเมฆา กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 4. นายวรวุทร เศรษฐธนารักษ์ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ 12


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

คณะผู้บริหาร

1. นายวิโรจน์ พรประกฤต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

2. นางสุวฒ ั นา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อาวุโส

3. นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต ประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน/ ผู้อานวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล (รักษาการ)/ ผู้อานวยการฝ่ายการตลาดและกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ (รักษาการ)

13


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

4. นายคงเดช โอฬารรติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านปฏิบัติการ / ผู้อานวยการฝ่ายขาย (รักษาการ)

5. นายณัฐวุฒิ เตชัสหงษ์ ผู้อานวยการฝ่ายผลิตและจัดเก็บสินค้า

6. นายวริษฐ์ สายมาลา ผู้อานวยการฝ่ายจัดซื้อวัตถุดิบ

14


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

7. นายยุทธนา แต่ปางทอง ผู้อานวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน

8. นายวรวุทร เศรษฐธนารักษ์ ผู้อานวยการอาวุโส สานักตรวจสอบ ภายใน

15


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

อายุ

[รายงานประจาปี 2552]

66 ปี

ปริญญาเอก บริหารธุรกิจดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตร จาก สมาคม Director Accreditation Program (DAP) 30/2003 ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท Course Role of Chairman Program (RCP) 3/2001 จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 2 ปี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

ประธานกรรมการ บริษัท เชอร์วู้ด เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท น้ําตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน) บริษัท บางกอกสหประกันภั ย จํากัด (มหาชน) บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) เบียร์ไทย (1991) จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) บริษัท สยามสตีลอินเตอร์เนชัน ่ แนล จํากัด (มหาชน) รองประธานกรรมการบริษัท วินเซอร์ โฮเต็ล จํากัด ประธานกรรมการบริษัท เวลตีฟ ้ ู้ด แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริษัท เอเซีย พรีซิชน ั่ จํากัด กรรมการบริษัท เอเซีย แปซิฟิค โปแตซ คอร์ปอเรชัน ่ จํากัด ปลัดกระทรวงกระทรวงอุตสาหกรรม

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ -ไม่มีเกิดความขั ดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิ ดทางกฎหมายใน ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ระยะ 10 ปีทผี่ ่ านมา

16


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

อายุ

57 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสหพาณิชย์

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท

Director Accreditation Program (DAP) 2/2008 Director Certification Program (DCP)113/2009 2 ปี

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็นบริษัท จดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่บริษัท จดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ต่อบริษัท ประวัติการทาผิดทางกฎหมายใน ระยะ 10 ปีทผี่ ่านมา

-ไม่มี-

อายุ

56 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ป.ว.ช.) โรงเรียนพระ กุมารเยซูวทิ ยา Director Accreditation Program (DAP) 72/2008

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา

Director Certification Program (DCP) 113/2009

จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 1 ปี การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ -ไม่มีผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิดทางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ในระยะ 10 ปีทผี่ ่านมา

17


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

อายุ

30 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท พาณิชยศาสตร์และการบัญชี สาขา การตลาด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Accreditation Program (DAP) 72/2008

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

Director Certification Program (DCP) 113/2009

จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 1 ปี การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ -ไม่มีผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิ ดทางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ในระยะ 10 ปีทผี่ ่ านมา 18


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

อายุ

53 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

หลักสูตร MINI MBA NIDA-CP

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

Director Accreditation Program (DAP) 72/2008 Director Certification Program (DCP)115/2009

จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 1 ปี การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ -ไม่มีผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิดทางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ในระยะ 10 ปีทผี่ ่านมา อายุ

53 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาเอก สาขาการตลาด US International University San Diego California Director Accreditation Program (DAP)17/2004

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

Director Certification Program (DCP)115/2009

จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 2 ปี การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

ผู้อํานวยการฝ่ายขายและบริการ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ -ไม่มีผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิดทางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ในระยะ 10 ปีทผี่ ่านมา

19


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

อายุ

53 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

Director Accreditation Program (DAP)76/2008 Audit Committee Program (25/2009) Monitoring the quality of Financial Reporting (MFR 7/2009) Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 5/2009) Monitoring the Internal Audit Function (MIA 5/2009)

จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 2 ปี การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

กรรมการบริหารบริษัท บริษัท เซลิค เคมีคลั ส์ จํากัด

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ -ไม่มีผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขั ดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิ ดทางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ในระยะ 10 ปีทผี่ ่ านมา 20


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

อายุ

50 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Director Accreditation Program (DAP)76/2008

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 2 ปี การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน

-ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

ผู้จัดการฝ่ ายบัญชีและการเงิน บจก. ฐานการพิมพ์ ผู้อานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน บจก. แอดวานซ์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก. เมโทรมอลล์ ดีเวลลอปเมนท์ -ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขั ดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิ ดทางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ในระยะ 10 ปีทผี่ ่ านมา

อายุ

58 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Director Accreditation Program (DAP)76/2008

การอบรมหลักสูตร จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

จานวนปีทเี่ ป็นกรรมการในบริษัท 2 ปี การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีเ่ ป็น บริษัทจดทะเบียน การดารงตาแหน่งกรรมการ/ ผู้บริหารในกิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ บริษัทจดทะเบียน

ผู้อํานวยการอาวุโสฝ่ายผลิต บมจ.สิงห์พาราเทค -ไม่มี-

การดารงตาแหน่งกรรมการ/ -ไม่มีผู้บริหารในกิจการอื่นทีอ่ าจทาให้ เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ประวัติการทาผิดทางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปีทผี่ ่านมา ในระยะ 10 ปีทผี่ ่านมา

21


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ชื่อบริษัทภาษาไทย

:

เลขทะเบียนบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ

: :

ที่ตั้งสํานักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร Home Page ทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญ ทุนจดทะเบียนชําระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ

: : : : : : :

ข้อมูลทั่วไป -----------ข้อมูล บริษัท

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) Jubilee Enterprise Public Company Limited (JUBILE) 0107551000177 ประกอบธุรกิจผลิตและจําหน่ายเครื่องประดับ เพชรกะรัต และเพชรที่ยังไม่ขึ้นตัวเรือน (เพชรร่วง) เลขที่ 721 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 0-2266-5700 0-2-635-9273 www.jubileediamond.co.th 175,000,000 บาท 170,000,000บาท 1 บาท

22


[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

นายทะเบียนหลักทรัพย์

:

ผู้สอบบัญชี

:

ที่ปรึกษาทางกฎหมาย

:

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-229-2800 โทรสาร 0-235-1259 บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด 1.นายประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ผู้สอบบัญชีทะเบียนเลขที่ 4917 หรือ 2.นายบรรจง พิชญประสาธน์ ผู้สอบบัญชีทะเบียนเลขที่ 7147 หรือ 3.นาย อธิพงศ์ อธิพงศ์สกุล ผู้สอบบัญชีทะเบียนเลขที่ 3500 บริษัท ซี.แอม. อินเตอร์เนชั่นแนล ลอว์ จํากัด 67/55 หมู่ที่ 8 ซอยรัตนาธิเบศร์ 24 ถนนรัตนาธิเบศร์ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

23


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สรุปข้อมูลทางการเงิน ผลการดาเนินงานที่สาคัญ

ณ วันที่ หรือสาหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม ผลการดาเนินงาน (ล้านบาท) รายได้จากการขาย ต้นทุนขาย กําไรขั้นต้น กําไรจากการดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน กําไรสุทธิสําหรับปี ฐานะการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ข้อมูลต่อหุ้น (บาท) กําไรสุทธิต่อหุ้น มูลค่าหุ้นตามบัญชี เงินปันผล อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากําไรขั้นต้น อัตรากําไรจากการดําเนินงาน อัตรากําไรสุทธิ อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)

ปี 2552

ปี 2551

ปี 2550

548.23 323.91 224.32 88.24 2.62 60.24

547.76 338.95 208.81 75.85 2.95 52.30

457.79 284.54 173.25 67.03 1.49 49.33

490.12 160.88 329.24

391.95 166.33 225.62

320.26 206.53 113.73

0.43 2.33 0.21

0.52 2.24 0.29

4.33 9.97 175.00

40.92% 15.74% 10.95% 3.02 1.42 0.49 12.29% 18.30% 35.36

38.12% 12.28% 9.55% 2.37 0.45 0.74 14.69% 30.82% 31.06

37.84% 14.64% 10.78% 1.57 0.54 1.82 17.49% 66.60% 33.77 24


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ย (วัน)

100.84

79.92

150.13

แผนภูมิแสดงอัตรากาไรของบริษัท

แผนภูมิแสดงฐานะทางการเงิน

25


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

แผนภูมิแสดงรายได้ตามสายผลิตภัณฑ์ของบริษัท

แผนภูมิแสดงรายได้ตามช่องทางการจัดจาหน่าย

26


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

27


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

28


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัทได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจํากัด ในชื่อ บริษัท ยูบิลลี่

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2536 ด้วยทุนจด ทะเบียนเริ่มแรก 10,000,000 บาท บริษัทได้เพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งมี ทุนจดทะเบียน 40,000,000 บาท ด้วยศักยภาพ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญของผู้บริหารของบริษัทในธุ รกิจจัด จําหน่ายเครื่องประดับเพชรในประเทศไทย ทําให้บริษัทมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งมีทุนจดทะเบียนและชําระแล้ว 120,000,000 บาท ในต้นปี 2551 ในปี 2551 ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2551 บริษัทจดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน และเปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน)” และเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 120,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 175,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 55,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อเสนอขายให้แก่นักลงทุนแบบ เฉพาะเจาะจง จํานวน 15,000,000 หุ้น เสนอขายให้แก่ประชาชนทั่วไปจํานวน 35,000,000 หุ้น และเพื่อรองรับการใช้สิทธิ ของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ที่ออกให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัท จํานวน 5,000,000 หุ้น ในปี 2552 ระหว่าง วันที่ 26-28 ตุลาคม 2552 บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) เสนอขา ยหุ้นสามัญ เพิ่มทุนแก่ประชาชนเป็นครั้งแรกของบริษัท และในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 บริษัทมีการซื้อขายหลักทรัพย์อย่างเป็น ทางการในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอไอ การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญของบริษัท โดยสังเขป มีดังต่อไปนี้ ปี

เหตุการณ์

2536

นายวิโรจน์ พรประกฤตก่อตั้งบริษัทโดยใช้ชื่อว่า “บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด” โดยมีทุนจดทะเบียน 10,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 100,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

2537

เปิดสาขาในรูปแบบเคาน์เตอร์จําหน่ายเพชรแห่งแรกที่ห้างสรรพสินค้าเยาฮัน ถือเป็นการขยายช่อ งทางการ จําหน่ายแบบเคาน์เตอร์ครั้งแรกในธุรกิจจําหน่ายเครื่องประดับเพชรในประเทศไทย

2538

เริ่มดําเนินธุรกิจในรูปแบบลักษณะสาขาที่เป็นของผู้ประกอบการธุรกิจซึ่งทําสัญญาในลักษณะคล้ายแฟรน ไชส์ ในเขตกรุงเทพฯปริมณฑล และ ภาคกลาง ก่อนจะขยายไปยัง ภาคเหนือ และ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ซึ่งเป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่นําการจําหน่ายสินค้าลักษณะนี้มาใช้ในธุรกิจเครื่องประดับเพชร โดยมี สาขารวม 10สาขา

2540

ปรับกลยุทธ์การจําหน่าย และเริ่มขยายช่องทางการจําหน่ายโดยมีการเปิดเคาน์เตอร์ในห้างสรรพสินค้าขนาด ใหญ่ เช่นห้างเซ็นทรัล โรบินสัน เดอะ มอลล์ และห้างสรรพสินค้าท้องถิ่น โดยมีสาขารวม 15 สาขา

2544

ดําเนินแผนการตลาดร่วมกับบริษัทบัตรเครดิต โดยการแสดงรายการสินค้าและจัดจําหน่ายผ่านจดหมาย โฆษณา ซึ่งถือเป็นครั้งแรกสําหรับธุรกิจจําหน่ายเครื่องประดับอัญมณี

2546

เพื่อขยายช่องทางการจําหน่ายในต่างจังหวัด บริษัทได้เพิ่มสาขาประเภทเคาน์เตอร์ ในห้างสรรพสินค้าขนาด ใหญ่และไฮเปอร์มาร์ท เช่น เทสโก้ โลตัส และ บิ๊ก ซี ณ สิ้นปี 2546 โดยมีสาขารวม 37 สาขา

29


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ปี

เหตุการณ์

2547

บริษัทมีสาขาทั่วประเทศ รวม 45 สาขา

2549

ได้รับรางวัล “Super Brand Winner 2005” ซึ่งจัดโดย “นิตยสารสรรสาระ ” (Reader’s Digest) ในสาขา “สินค้าที่ให้ความพึงพอใจแก่ลูกค้าสูงสุด” บริษัทมีสาขาทั่วประเทศ รวม 50 สาขา

2550

สร้างมาตรฐานในการซื้อขายเพชรโดยให้ความรู้กับลูกค้า เกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของใบรับประกันจาก สถาบันในต่างประเทศ ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ โดยเริ่มการจําหน่ายเพชรขนาด 1 กะรัตโดยมี ใบรับรองจากสถาบัน HRD (Hoge Raad voor Diamant) Certificate ประกอบสินค้า ซึ่งใบรับรองนี้ออกโดย Diamond High Council ประเทศเบลเยี่ยม เพื่อเพิ่มความมั่นใจกับลูกค้ามากกว่าการจําหน่ายเพชรในรูป แบบเดิม เปิดศูนย์จําหน่ายเพชร HRD แห่งแรกในประเทศไทย ซึ่งเป็นศูนย์จําหน่ายเครื่องประดับเพชรที่เน้นจําหน่าย เฉพาะเพชรที่มีใบรับประกัน HRD ณ โรงแรม แพนแปซิฟิก กรุงเทพมหานคร ร่วมมือกับ บริษัทกรุงไทย ลิสซิ่ง จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทในเครือธนาคารกรุงไทย ในการซื้อขายเครื่องประดับ เพชรของบริษัทผ่านสาขาทุกสาขาของ ธนาคารกรุงไทย โดยผู้ซื้อสามารถชําระค่าสินค้าเป็นเงินผ่อนผ่าน ช่องทางของธนาคารกรุงไทย ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 ได้มีมติพิเศษให้เพิ่มทุนจดทะเบียน จาก 10,000,000 บาท เป็น 40,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 400,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ได้มีการซื้อสินค้าคงเหลือของห้างหุ้นส่วนจํากัด เพชรยูบิลลี่ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวโยงกัน โดยมี หุ้นส่วนผู้จัดการคือนายสุนทร พรประกฤต บิดาของนายวิโรจน์ พรประกฤต รองประกรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท และได้สิทธิในการใช้พื้นที่เดิมของห้างหุ้นส่วนจํากัดเพชรยูบิลลี่ จัดตั้ง เป็นสาขาสะพานเหล็ก ซึ่งจําหน่ายสินค้าภายใต้ตราสินค้า “ศูนย์เพชร” และ “เพชรยูบิลลี่”

2551

เริ่มการจําหน่ายเพชรที่มีใบรับประกันจาก สถาบัน GIA (Gemological Institute of America) ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือก และเป็นการสร้างความมั่นใจในคุณภาพให้กับลูกค้า ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้มีมติพิเศษให้เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 40,000,000 บาท เป็น 120,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,200,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 ได้ มีมติพิเศษให้แปรสภาพเป็นบริษัท มหาชนจํากัด และได้มีมติให้เปลี่ยนมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญจากหุ้นละ 100 บาท เป็น หุ้นละ 1 บาท ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ได้มีมติพิเศษให้เ พิ่มทุนจดทะเบียนจาก 120,000,000 บาท เป็น 175,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 55,000,000 หุ้น ทั้งนี้ บริษัท ได้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 15,000,000 หุ้น ไว้เสนอขายนักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 30


[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

ปี

เหตุการณ์ 35,000,000 หุ้น เพื่อเสนอขายต่อประชาชนทั่วไป ส่วนอีก 5,000,000 หุ้น จัดสรรเพื่อสํา รองไว้สําหรับการ ใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะออกให้แก่พนักงาน โดยมีทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 120,000,000 บาท เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2551 บริษัทร่วมทุน เค-เอสเอ็มอี จํากัด ภายใต้การดูแลของบริษัทหลักทรัพย์จัดการเงิน ร่วมลงทุน ข้าวกล้า จํากัด ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญเพิ่ มทุนที่สํารองไว้เสนอขายนักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 15,000,000 หุ้น ทําให้บริษัทมีทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 135,000,000 บาท ณ 31 ธันวาคม 2551 มีสาขาทั่วประเทศรวม 60 สาขา

2552

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 บริษัทเข้าทําการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอไอ ณ 31 ธันวาคม 2552 มีสาขาทั่วประเทศรวม 73 สาขา

เป้าหมายการดาเนินธุรกิจ บริษัทตั้งเป้าหมายว่าจะเป็นผู้นําในธุรกิจค้าปลีกเพชรและเครื่องประดับเพชรในประเทศไทย โดยพัฒนาให้การ ซื้อขายเครื่องประดับเพชรมีความโปร่งใส ให้ข้อมูลที่ถูกต้องกับผู้บริโภค และปรับเปลี่ยนมุมมอ งของผู้บริโภคให้เพิ่ม ความสําคัญในความประณีตของชิ้นงาน เพื่อให้อุตสาหกรรมเครื่องประดับเพชรในประเทศไทยทัดเทียมในระดับนานาชาติ นอกจากนี้บริษัทจะเน้นการสร้างความเชื่อมั่นและความเข้มแข็งให้กับเครื่องหมายการค้า “เพชรยูบิลลี่” โครงสร้างรายได้ (หน่วย: ล้านบาท) ที่มา: บมจ. ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

2549

ประเภทรายได้ จากการจจานวนเงิ าหน่าย/น ภทรายได้จากการจาหน่ าย/ บริการ ร (ล้านบาท)

2550 2549

2552 2551

2552

ลัดส่วน

จานวนเงิน

ลัดส่วน

จานวนเงิน

ลัดส่วน

จานวนเงิน

ลัดส่วน

จานวนเงิน

ลัดส่ว

(ร้อยละ)

(ล้านบาท)

(ร้อยละ)

(ล้านบาท)

(ร้อยละ)

(ล้านบาท)

(ร้อยละ)

(ล้านบาท)

(ร้อยล

1. เครื่องประดับ องประดับ 350.18อัญมณี95.27 เครื่องประดับตัวเรือนทอง อัญ่องประดั มณีเพชรบตัวเรือนทอง 1.1 เครื เพชร 12.47 3.39 สร้อย 18เค 1.2 สร้อย 18เค รกะรัตมีใบรับประกั2.นเพชรกะรัตมีใบรับประกัน -

รต่ํากว่ากะรัต 3. เพชรต่ํากว่ากะรัต เพชรที่มีใบรับประกัน1.1 เพชรที่มีใบรับประกัน เพชรที่ไม่มีใบรับประกั1.2น เพชรที่ไม่มีใบรับประกัน4. รายได้ค่าบริการ ได้ค่าบริการ 0.46 5. อื่น ๆ ๆ 4.47 รวมรายได้ ายได้ 367.58

2551 2550

345.42 350.18 11.27 12.47

74.71 95.27 2.44 3.39

438.55 345.42 11.77 11.27

78.82 74.71 2.12 2.44

461.19 438.55 11.88 11.77

83.82 78.82 2.16 2.12

461.19 11.88

91.63

19.82

91.63 72.73

19.82 13.07

72.73 34.90

13.07 6.34

34.90

-

- 4.74

- 1.03

14.85 4.74 6.73

2.671.03 1.21

14.85 18.47 6.73 17.73

2.67 3.36 1.21 3.22

18.47 17.73

0.13

0.46 4.73

0.13 1.02

4.73 3.13

1.02 0.56

3.13 4.06

0.56 0.74

4.06

1.22

4.47 4.53

1.22 0.98

4.53 8.60

0.98 1.55

8.60 1.96

1.55 0.36

1.96

367.58 462.32 100.00 100.00

462.32 556.36

100.00

556.36 550.19

100.00

550.19

100.00

31

8

10


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สําหรับ ปี 2552 ยอดขายและให้บริการของบริษัทเท่ากับ 461.19 ล้านบาท โดยในส่วนของเครื่องประดับเพชรเพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.16 เนื่องจากบริษัทฯได้ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า และเพชร กะรัตมียอดจําหน่ายลดลงจากงวดเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 52.01เนื่องจากในช่วงที่ เศรษฐกิจชะลอตัว บริษัทเน้นจําหน่ายเครื่องประดับเนื่องจากมีราคาต่อชิ้นต่ํากว่า ทําให้ขายได้ง่ายกว่า นอกจากนี้อัตรากําไร ขั้นต้นของเครื่องประดับยังสูงกว่าเพชรกะรัตและเพชรร่วงด้วย

ปัจจัยความเสี่ยง

ในปี 2552 เกิดภาวะเศรษฐกิจที่มีการชะลอตัว รวมถึงปัญหาทางการเมือง ทําให้บริษัท ยูบิล ลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) จําเป็นต้องเพิ่มความระมัดระวังในการบริหารความเสี่ยงในธุรกิจ เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับบริษัทไม่ว่าจะเป็นด้านการตลาด การขาย การเงินและการ บริหารงานขององค์กร ดังนั้นความเสี่ยงจึงเป็นเรื่องที่สําคัญในอันดับต้น ๆ ในการดําเนินธุรกิจ บริษัทได้พิจารณาความเสี่ยงขององค์กรดังนี้ 1.1 ความเสี่ยงจากสภาวะทางเศรษฐกิจ จากงบการเงินประจําปี 2552 ยอดขายและให้บริการของบริษัท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.09 จากงวดเดียวกันของ ปีก่อน กําไรสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.19 จากงวดเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากในปี 2551 และ 2552 ประเทศต่าง ๆ ประสบปัญหา ทางด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ วิกฤติการเงินในสหรัฐอเมริกาซึ่งส่งผลกระทบเป็นวงกว้างและต่อเนื่องไปทั่วโลก เป็นต้น สําหรับ ประเทศไทยที่พึ่งพาการส่งออกในระดับสูง ดังจะเห็นได้จากสัดส่วนของมูลค่าการส่งออกต่อจีดีพีของไทยมีมูลค่าประมาณ ร้อยละ 60 โดยเฉพาะการส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกามีสัดส่วนประมาณร้อยละ 25 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมดในช่วงปี 2549 ‟ 2551 ดังนั้นการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐมีผลทําให้ผู้ผลิตและส่งออกหลายรายต้ องปิดกิจการลง จํานวนคน ว่างงานเพิ่มขึ้นทําให้รายได้ต่อครัวเรือนลดลง ทําให้กําลังซื้อในประเทศลดลงตามไปด้วย นอกจากนี้ ในประเทศไทยได้มี ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ ส่งผลให้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของ ประเทศ ซึ่งทั้ง 2 ปัจจัยทําใ ห้ประชาชนลดการใช้จ่าย ส่งผลต่อการลดลงของอุปสงค์ในประเทศ ทําให้ความต้องการ เครื่องประดับซึ่งเป็นสินค้าหลักของบริษัทไม่เติบโตเช่นกัน อย่างไรก็ดี ทางผู้บริหารของบริษัทมีนโยบายที่จะลดผลกระทบจากความเสี่ยงดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นการบริหาร สินค้าคงเหลือ นําเสนอสินค้าให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าโดยใช้เครื่องมือทางการตลาดมาช่วย พร้อมทั้งทําการวิจัย ทางการตลาดเพื่อศึกษาความต้องการและพฤติกรรมของลูกค้า และจัดกิจกรรมส่งเสริการขายเพื่อกระตุ้นความสนใจของ ลูกค้า ส่วนด้านต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง บริษัทได้เจรจาต่อรองราคากับผู้ ขายวัตถุดิบของบริษัท รวมถึงควบคุม ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารให้เหมาะสมด้วย 1.2 ความเสี่ยงจากการดาเนินธุรกิจที่สินค้ามีราคาแพงและเคลื่อนย้ายได้ง่าย เนื่องจากสินค้าของบริษัทเป็นเพชรและเครื่องประดับ ที่มีราคาสูงเคลื่อนย้ายได้ง่าย ทําให้บริษัทมีควา มเสี่ยง เกี่ยวกับการที่สินค้าของบริษัทอาจสูญหายจากบุคคลภายนอก และภายในบริษัท นอกจากนี้บริษัทยังมีการย้ายสินค้าจาก สาขาหนึ่งไปยังอีกสาขาหนึ่ง ทําให้อาจเกิดการสูญหายระหว่างทางได้ สําหรับความเสี่ยงจากการสูญหายจากบุคคลภายนอก เช่นการโจรกรรม หรือ สําหรับความเสี่ยงจาก การสูญหาย จากการทุจริตบุคคลภายในของบริษัท เช่น การนําสินค้าไปขายแล้วไม่บันทึกบัญชี แล้วจึงนําสินค้าแบบเดิมมาเก็บไว้ หรือ การโจรกรรมจากบุคคลภายในของบริษัทเอง หรือ บุคคลภายในสับเปลี่ยนเพชรเพื่อนําสินค้าเทียมมาจําหน่าย เป็นต้น บริษัทมีนโยบาย และระเบียบวิธีการปฏิบัติงานที่เน้นวัตถุประสงค์ในการ “ป้องกัน ” ที่รัดกุมในทุกชั้นตอน และทุกพื้นที่ 32


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

เช่น บริษัทมีนโยบายให้ทําการเก็บสินค้าไว้ในตู้นิรภัยทุกครั้งหลังเวลาเลิกงานทุกครั้ง โดยสินค้าคงเหลือทุกประเภทจะมี การบันทึกรายการเข้า-ออกทุกครั้ง และจะต้องการคํานวณความครบถ้วนและถูกต้องของรายการดังกล่าวทั้งหมด ณ สิ้นวัน เช่นกัน นอกจากนั้นบริษัทมีการเก็บวัตถุดิบไว้ในห้องมั่นคงภายในสํานักงานใหญ่ที่มีการบันทึกภาพโดยกล้องโทรทัศน์ วงจรปิดตลอด 24 ชั่วโมง ควบคู่กับมีระบบตรวจจับความร้อน สําหรับควบคุมภายในเพื่อตรวจสอบ บริษัทมีการสุ่มตรวจสินค้าที่สา ขาโดยฝ่ายบัญชีและผู้จัดการเขต ตรวจสอบสต๊อคสินค้าอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง และมีการสุ่มตรวจสอบสินค้าที่ห้องมั่นคงสํานักงานใหญ่ อย่างน้อยเดือน ละ 1 ครั้ง นอกจากนี้บริษัทมีนโยบายการโอนสินค้าระหว่างสาขาอยู่ตลอดเวลา ผ่านสํานักงานใหญ่โดยไม่มีการบอกกล่าว ล่วงหน้าว่าจะโอนสินค้า ชิ้นใด เมื่อไหร่ ไปสาขาใด ดังนั้นความเสี่ยงจากการนําสินค้าไปขายแล้วไม่บันทึกบัญชี แล้วจึงนํา สินค้าแบบเดิมมาเก็บไว้ หรือการโจรกรรมจากบุคคลภายในของบริษัทเอง หรือ บุคคลภายในสับเปลี่ยนเพชรเพื่อนําสินค้า เทียมมาจําหน่าย โดยไม่สามารถตรวจพบได้มีโอกาสน้อย นอกจากนี้ยังมีการชดเชยความเสียหาย โดยการทําประกันภัยสําหรับความเสียหายจากอัคคีภัยและการโจรกรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 อัตราส่วนระหว่างทุนประกันต่อสินค้าคงเหลือสุทธิคิดเป็นร้อยละ 100 สําหรับความเสี่ยงจากการเคลื่อนย้ายนั้น ทุกการเคลื่อนย้ายสินค้าของบริษัท ไม่ว่า จะเป็นการย้ายสินค้าจากสาขา หนึ่งไปยังอีกสาขาหนึ่ง หรือการจัดส่งสินค้าจากสํานักงานใหญ่ไปยังแต่ละสาขาของบริษัทนั้น จะต้องได้รับการอนุมัติจาก ผู้จัดการแผนกธุรการขายขึ้นไปทุกรายการเท่านั้น โดยการย้ายสินค้าระหว่างสาขานั้นจะกระทําโดยตรงไม่ได้ ทุกสินค้า จะต้องถูกจัดส่งมาที่สํานักงานใหญ่ก่อนเท่านั้น และฝ่ายธุรการขายจะเป็นผู้บริหารจัดการ และควบคุมการจัดส่งทั้งหมด ออกไปยังสาขาปลายทาง และสําหรับทุกการเคลื่อนย้ายสินค้าออกจากส่วนกลางนั้น รายการทั้งหมดจะต้องทําการบันทึก รายการดังกล่าวทั้งหมด พร้อมทั้งการเซ็นรับรองการออกของจากบริษัทที่แผนกคลังสินค้าเท่านั้น นอกจากนั้น สําหรับทุก ๆ การจัดส่ง บริษัทได้ทําประกันการจัดส่งไว้ โดยในการส่งแต่ละครั้ง บริษัทได้จํากัดความเสี่ยงโดยด้วยการกําหนดให้ มูลค่าสินค้าจัดส่งในแต่ละครั้งไม่เกิน 100,000 บาทต่อครั้ง และมูลค่าดังกล่าวก็เป็นมูลค่าที่อยู่ภายใต้การทําประกันทั้งหมด 100% ดังนั้นหากมีการการสูญหายเกิดขึ้น บริษัทจะไม่ได้รับผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่อผลประกอบการของบริษัท บริษัทมีนโยบาย และระเบียบวิธีการปฏิบัติงานในการควบคุมการเข้า-ออกห้องมั่นคงในสาระสําคัญดังต่อไปนี้ „ การเข้าสู่พื้นที่ของห้องคลังสินค้า ‟ ต้องใช้กุญแจ และบัตรแถบแม่เหล็กเข้าสู่พื้นที่เท่านั้น ซึ่งกุญแจ และ บัตรดังกล่าวจะถูกถือโดยผุ้จัดการแผนกคลังเท่านั้น ซึ่งพนักงานอื่น และกรรมการบริษัทไม่สามารถที่จะเข้าสู่พื้นที่ดังกล่าว ได้อย่างอิสระ „ การเข้าสู่พื้นที่ของห้องมั่นคง (อยู่ในพื้นที่ห้องคลังสิ นค้า ) ‟ ต้องใช้กุญแจ 2 ดอกไขพร้อมกัน ร่วมกับ รหัสปิด-เปิดห้องมั่นคง โดยกุญแจทั้งหมด และรหัสดังกล่าวนั้นถูกถือโดยผู้บริหารต่างแผนก และไม่มีความเกี่ยวข้องกัน อย่างละ 1 ท่าน รวมทั้งหมด 3 ท่าน ซึ่งไม่ใช่ทั้งกรรมการ และผู้ถือหุ้นใหญ่แต่อย่างใด และวิธีการดังกล่าว เป็นวิธีการ ควบคุมภายใน Check and Balance ของบริษัทในการควบคุมการเข้าสู่ห้องมั่นคง ดังนั้น การเข้าห้องมั่นคงดังกล่าวจะเข้าโดยบุคคลคนๆเดียวไม่ได้ ต้องใช้บุคคลอย่างน้อย 3 คนที่เป็นผู้บริหารที่ไม่ มีความเกี่ยวข้องกันทั้งหมดพร้อมกัน ซึ่งพนักงานอื่น และกรรมการบริ ษัทไม่สามารถที่จะเข้าสู่พื้นที่ดังกล่าวได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ รหัสผ่านดังกล่าวจะถูกเปลี่ยนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นอกจากนั้น ภายในห้องมั่งคง บริษัทได้ติดตั้งกล้องวงจรปิดซึ่ง เปิดตลอด 24 ชั่วโมง นอกจากที่กล่าวมาแล้วนั้นทางบริษัทยังมีระบบการควบคุมภายในอื่น ๆ ที่ช่วยในการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว ได้ และนอกจากนี้ ทางคณะกรรมการตรวจสอบได้กําหนดให้ฝ่ายตรวจสอบภายในทําการตรวจสอบโดยการติดตามรายการ (Walk-through) ว่าพนักงานและผู้บริหารของบริษัทมีการปฏิบัติตามระเบียบที่บริษัทวางไว้หรือไม่ โดยให้ตรวจสอบเป็น ประจําทุกไตรมาสและเสนอรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 33


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

1.3

ความเสี่ยงจากการที่ปริมาณและคุณภาพของสินค้าตรวจสอบได้ยาก มูลค่าของเพชรนั้นจะขึ้นอยู่กับ คุณลักษณะของเพชร 4 ประการ (4C) คือ สี ความบริสุทธิ์ คุณภาพการ เจียระไน และขนาด ซึ่งคุณลักษณะของเพชรแต่ละเม็ดอาจแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย แต่มีมูลค่าแตกต่างกัน อันเป็นการยาก ในการที่จะตรวจสอบมูลค่าที่แท้จริงของสินค้าคงเหลือของบริษัท ซึ่งอาจจะทําให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดการสับเปลี่ยน ระหว่างเพชรที่ระบุไว้ในฉลากสินค้ากับเพชรที่มีคุณภาพต่ํากว่า ซึ่งหากขาดการมีระบบการควบคุมภายในที่ดี อาจจะส่งผล ต่อมูลค่าสินค้าคงเหลือและต้นทุนขาย รวมถึงผลประกอบการของบริษัทที่แสดงไว้ในงบการเงินก็อาจจะคลาดเคลื่อนด้วย อย่างไรก็ดี สําหรับความเสี่ยงจากการสับเปลี่ยนเพชร และมูลค่าที่แท้จริงดังกล่าว บริษัทได้มีการ กําหนดนโยบาย และระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน เพื่อทําการควบคุมรายล ะเอียดของสินค้า และคุณภาพรายชิ้น โดยมี รายละเอียดที่เป็นสาระสําคัญดังนี้ 1. สินค้าที่มีการจัดซื้อทั้งหมดนั้น บริษัทได้ทําการกําหนดรหัสวัตถุดิบไว้ล่วงหน้า โดยแต่ละรหัสจะแบ่ง คุณลักษณะของวัตถุดิบโดยละเอียด โดยใช้สําหรับเพชรทุกประเภท ทั้งที่มีใบรับประกัน และไม่มีใบรับประกัน 2. สําหรับขั้นตอนการบันทึกวัตถุดิบ จะมีตรวจสอบเพชรทุกเม็ดที่สั่งซื้อโดยผู้เชี่ยวชาญของบริษัทก่อนที่ จะรับสินค้าจากผู้ขาย และหลังจากที่มีการรับวัตถุดิบจากผู้ขายตามใบคําสั่งซื้อและผ่านระบบการตรวจสอบคุณภาพเพชร แล้ว จะมีแยกประเภทวัตถุดิบตามคุณลักษณะโดยละ เอียดตามรหัสวัตถุดิบที่กําหนดไว้แล้ว และจัดเก็บใบสรุปผลการ ตรวจสอบวัตถุดิบไว้ที่แผนกตรวจสอบคุณภาพ 3. หลังจากมีการแยกประเภทตามรหัสวัตถุดิบแล้ววัตถุดิบแต่ละประเภทจะถูกจัดเก็บในห้องมั่นคงทั้งหมด ซึ่งจะมีการจัดเก็บไว้แยกตามประเภทสินค้า และรหัสวัตถุดิบที่กําหนดไว้ 4. สําหรับกระบวนการผลิตสินค้าสําเร็จรูปจะมีการกําหนด รหัสการผลิตของสินค้าแต่ละชิ้นไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ของบริษัท ซึ่งมีข้อมูลระบุถึงวัตถุดิบที่ต้องใช้แยกตามรหัสวัตถุดิบโดยละเอียด 5. ขั้นตอนการเบิกจ่ายวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิต ฝ่ายผลิตมีการจัดทําเอกสารการเบิกวั ตถุดิบตามรหัส และ รายละเอียดการผลิตที่กําหนดไว้ ซึ่งสรุปจากจํานวนเครื่องประดับที่จะผลิต โดยระบุรหัสวัตถุดิบและปริมาณที่ต้องการใน การผลิตในแต่ละครั้ง 6. การรับสินค้าสําเร็จรูปจากผู้รับจ้างผลิต หลังจากที่โรงงานที่รับจ้างการผลิตจัดส่งสินค้าสําเร็จรูปและ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพซึ่งจะรวมถึงคุณลักษณะของเพชรที่เป็นวัตถุดิบว่าตรงกับแบบที่กําหนดไว้หรือไม่ เรียบร้อยแล้ว แผนกผลิตจะทําการกําหนดรหัสสินค้าสําเร็จรูป และมีการพิมพ์ใบรับประกันจากระบบซึ่งจะระบุรายละเอียดของสินค้าว่า ประกอบด้วยคุณภาพของเพชรอย่างไร จํานวน และน้ําหนักของเพชรเท่าใด รวมถึงมีรูปภาพของสินค้านั้นๆไว้อย่างชัดเจน พร้อมกับสินค้าแต่ละชิ้น และนําทั้งสินค้า และใบรับประกันดังกล่าวทั้งหมดไปเก็บไว้ในห้องมั่นคง เพื่อรอการเบิกจ่ายไป ยังสาขาที่ต้องการต่อไป 7. เครื่องประดับที่พร้อมจัดจําหน่ายนั้นจะมีการติดสลากระบุรหัสสินค้าและมีใบรับประกันที่มีรูปสินค้า ดังกล่าวประกอบอยู่ ดังนั้นเมื่อมีการตรวจสอบจะสามารถทราบได้ทันทีว่าสินค้าดังกล่าวมีรายละเอียด และลักษณะอย่างไร 8. สําหรับการตรวจสอบนั้น บริษัทได้กําหนดให้ฝ่ายบัญชีการเงิน เป็นผู้ตรวจนับสินค้าคงเหลือ ทั้งในส่วน ของวัตถุดิบ และเครื่องประดับของแผนกคลังสินค้า และแผนกผลิต เป็นประจําอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 9. สําหรับขั้นตอนการรับเปลี่ยนสินค้าจากลูกค้านั้น หลังจากพนักงานขายรับสินค้าจากลูกค้าจะจัดส่ง สินค้าชิ้นดังกล่าวมายังสํานักงานใหญ่ เพื่อให้แผนกผลิตตรวจสอบคุณสมบัติของเพชร ก่อนที่จะนําไปไปใช้ในการผลิ ต ใหม่ ทั้งนี้การปฏิบัติงานที่สําคัญตามที่กล่าวไว้ 9 ข้อ ข้างต้น ใช้ควบคุมดูแลทั้งเพชรที่ไม่มีใบรับประกันจากสถาบันใน ต่างประเทศ และเพชรที่มีใบรับประกันจากสถาบันในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นเพชรร่วง หรือเพชรกะรัต หรือเพชรที่ 34


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ประกอบอยู่ในเครื่องประดับแล้ว แต่เฉพาะในส่วนของเพชรที่มีใบรับประกันคุณภาพจากสถาบันในต่างประเทศนั้น มี ลักษณะที่ช่วยให้ง่ายต่อการตรวจสอบ กล่าวคือ เพชรที่มีใบรับประกันจากสถาบัน HRD นั้น เพชรทุกเม็ดจะได้รับการบรรจุ อยู่ในกล่องปิดผนึกทั้งหมดมาจากต่างประเทศโดยตรง และในส่วนของเพชรที่มีใบรับประกันจากสถาบั น GIA นั้น เพชร ทุกเม็ดจะได้รับการทําสัญลักษณ์รหัสใบรับประกันไว้ที่ขอบเพชรด้วยแสงเลเซอร์ทั้งหมด เพื่อป้องกันการสับเปลี่ยน และ สามารถระบุถึงเพชรเม็ดนั้น ๆ ได้อย่างแม่นยํา และชัดเจน ทําให้ตรวจสอบคุณลักษณะของเพชรได้ง่าย นอกจากนี้ระบบการควบคุมภายในและระบบการติดตามดูและให้พนักงานและผู้บริหารปฎิบัติตามระบบที่วางไว้ ที่อธิบายไว้ในข้อ 1.2 ก็มีส่วนช่วยในการเพิ่มประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน ดังนั้นจากนโยบาย และระเบียบวิธีการ ปฏิบัติงานของบริษัททั้งหมดที่กล่าวมา บริษัทมีความเชื่อมั่นว่ามูลค่าและคุณภาพของสินค้าที่แสดงไว้ใ นงบการเงินมีความ ถูกต้องเหมาะสมตามที่ควร 1.4 ความเสี่ยงจากการกาหนดราคาสินค้าและการให้ส่วนลด การขายสินค้าของบริษัทส่วนใหญ่ เป็นลักษณะค้าปลีกให้กับผู้ซื้อรายย่อยทั่วไป ทั้งนี้ราคาของเพชรและ เครื่องประดับเพชรจะขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของเพชรที่ต้องอาศัยความรู้และ ประสบการณ์ในการระบุคุณลักษณะ และที่ สําคัญคือราคานั้นขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของผู้ซื้อ ดังนั้นราคาขายและส่วนลดที่ให้ลูกค้าแต่ละรายจะไม่เป็นมาตราฐาน เดียวกัน และราคาจําหน่ายของเครื่องประดับรูปแบบคล้ายคลึงกันจะแตกต่างกันและไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้ และ ยาก ที่จะตรวจสอบได้ว่าจะมีการบันทึกรายได้ได้ถูกต้องครบถ้วน ทําให้อัตรากําไรขั้นต้นจากการจําหน่ายสินค้าแต่ละชิ้นมี ความผันผวนมาก อันส่งผลต่อความสม่ําเสมอในการรับรู้รายได้และกําไร อย่างไรก็ดีบริษัทให้ความสําคัญต่อนโยบายในการกําหนดราคาขายสินค้าและการให้ส่วนลดโดยบริษัทมีนโยบาย ในการกําหนดราคาขายสินค้าและส่วนลดที่ชัดเจนตามประเภทของสินค้า ซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกสาขาของบริษัท ทั้งนี้ พนักงานขายของบริษัทไม่มีอํานาจในการกําหนดราคาขายและให้ส่วนลดโดยอิสระ โดยในส่วนของการกําหนดราคาขายได้มีนโยบายการกําหนดราคาโดยแบ่งประเภทของสินค้าเป็นหมวดหมู่ ตาม ต้นทุนแต่ละแบบของสินค้า รูปแบบของสินค้า ตลอดจนประเภทและราคาวัตถุดิบ และจึงกําหนดราคาจําหน่ายของสินค้า แต่ละประเภทให้เป็นมาตราฐานเดียวกันตามความเหมาะสม นโยบายการกําหนดราคานี้อนุมัติโดยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารด้านปฏิบัติการ (Chief Operating Officer หรือ “COO”) ของบริษัท เป็นบุคคลสุดท้าย ซึ่งหากการกําหนดราคาไม่ เหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อยอดขายเมื่อกําหนดราคาขายสูงเกินไป หรือส่งผลกระทบต่ออัตรากําไรขั้นต้นหากกําหนด ราคาขายต่ําเกินไป ซึ่งจะใช้ประกอบการประเมินผลงานของ COOโดยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และคณะกรรมการบริษัท สําหรับนโยบายส่วนลดของบริษัทนั้น กําหนดให้ส่วนลดแปรผกผันกับค่าคอมมิชชั่นที่พนักงานขายได้รับกล่าวคือหาก ส่วนลดมากผลตอบแทนที่พนักงานขายได้รับจะลดลง นอกจากนี้ส่วนลดมีลักษณะเป็นขั้นบันได มีการกําหนดอัตราสูงสุด ที่พนักงานและผู้บริหารแต่ละขั้นจะให้ได้ สําหรับอัตราส่วนลดขั้นสู งสุดนั้นจะได้รับจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ซึ่ง นโยบายดังกล่าวนั้นได้รับการอนุมัติโดยคณะกรรมการบริหาร ซึ่งส่วนลดสูงสุดนั้นจะไม่ทําให้ราคาขายของสินค้าต่ํากว่า ราคาทุน ทั้งนี้บริษัทไม่มีการให้ค่าตอบแทนในรูปแบบค่าคอมมิชชั่นให้กับผู้บริหารหรือพนักงานฝ่ายอื่น ๆ นอก จาก พนักงานขาย สําหรับความเสี่ยงในเรื่องความถูกต้อง และครบถ้วนในการรับรู้รายได้ของบริษัท จากการให้ส่วนลด เช่น พนักงานขายอาจทําการขายโดยไม่ให้ส่วนลด แต่ได้แจ้งจํานวนเงินต่อบริษัทว่าเป็นจํานวนเงินสุทธิจากการให้ส่วนลดตาม นโยบาย โดยพนักงานทําการเก็บเงินส่วนต่างดังกล่าวไว้ ทําให้บริษัทอาจเกิดความเสี่ยงจากการรับรู้รายได้ที่ไม่ครบจาก ส่วนลดตามนโยบายดังกล่าวได้ 35


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

อย่างไรก็ดี ทางบริษัทได้ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าวเป็นอย่างดี และได้ทําการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว ด้วย การกําหนดให้มีการออกใบกํากับภาษี และใบเสร็จรับเงินพร้อมใบรับประกันสินค้าที่ระบุถึงราคาในการซื้อกับลูกค้าทุกครั้ง นอกจากนั้น ในระบบฐานสมาชิกลูกค้าของบริษัท จะมีการบันทึกมูลค่าในการซื้อของลูกค้าในแต่ละครั้ง เพื่อสะสมเป็น คะแนนรางวัลจากการซื้อของลูกค้าในแต่ละครั้ง และมีการแจ้งข้อมูลดังกล่าวต่อลูกค้าทุกครั้งเช่นกัน ดังนั้ น ด้วยระบบการ ควบคุมภายในดังกล่าว โดยเป็นการควบคุมความถูกต้องของมูลค่าจากลูกค้าโดยตรง ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์การ ตรวจสอบจากบุคคลภายนอก จึงทําให้บริษัทมีความเสี่ยงในกรณีดังกล่าวในระดับต่ํา 1.5 ความเสี่ยงจากความล้าสมัยสินค้าคงเหลือในกลุ่มเครื่องประดับเพชร สินทรัพย์ที่สําคัญที่สุดของบริษัทคือสินค้าคงเหลือ ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีมูลค่าสุทธิเท่ากับ 225.58 ล้าน บาท คิดเป็นร้อยละ 46.03 ของมูลค่าสินทรัพย์รวม และร้อยละ 68.52 ของส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากสินค้า เครื่องประดับเพชร ผู้บริโภคยังยึดติดกับคุณค่าของเพชรและรูปแบบของสินค้าควบคู่กันไป รูปแบบของสินค้าที่ค่อนข้าง แฟชั่นหรือทันสมัยมากเกินไปอาจเป็นปัญหาเมื่อเสื่อมความนิยม ทําให้ต้องลดราคาการจําหน่ายมากกว่าปกติซึ่งทําให้ ความสามารถในการทํากําไรลดลง อย่างไรก็ดีจากการที่ผู้บริหารของบริษัทประกอบธุรกิจจําหน่ายเครื่องประดับเพชรมาเป็นระยะเวลานานกว่า 30 ปี ทําให้เข้าใจถึงภาวะอุตสาหกรรมเครื่องประดับเพชรเป็นอย่างดี ผู้บริหารจึงให้ความสําคัญในการพัฒนารูปแบบของ เครื่องประดับและความต้องการของผู้บริโภค โดยมีการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลการขายที่ผ่านมาของบริษัท ทําการสํารวจ ความคิดเห็นของลูกค้า ในขณะเดียวกันบริษัทยังมีการเก็บรวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับธุรกิจแฟชั่นต่าง ๆ รวมถึงมีการจัดตั้งฝ่าย พัฒนาผลิตภัณฑ์และการว่าจ้างผู้ออกแบบประสบการณ์สูง (Designer) มาเป็นพนักงานประจําของบริษัท เพื่อให้สามารถ ออกแบบสินค้าได้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด โดยรูปแบบสินค้าของบริษัทจะเป็นรูปแบบที่เน้นความเรียบ ง่ายคลาสสิค เน้นที่คุณภาพเพชรเป็นหลัก จึงไม่ประสบปัญหาการล้าสมัยของรูปแบบสินค้าเครื่องประดับเพชร นอกจากนี้ บริษัทยังสามารถนําสินค้าเครื่องประดับที่มีอยู่แปรสภาพกลับไปเป็นวัตถุดิบของบริษัทในการผลิต สินค้าใหม่ได้ ซึ่งจะเสีย ค่าใช้จ่ายประมาณร้อยละ 3 ‟ 5 ของต้นทุนสินค้า ซึ่งมีผลกระทบไม่รุนแรงต่อความสามารถในการทํากําไรของบริษัท ในขณะเดียวกันบริษัทได้มีการบริหารสินค้าคงเหลือเครื่องประดับอย่างมีประสิทธิภาพโดยบริษัทได้วางนโยบาย ป้องกันความเสี่ยง โดยระบุข้อมูลรหั สสินค้า รหัสคอลเล็กชั่น เดือน ปี ที่ผลิต และปีของการออกแบบในแต่ละสินค้าลงบน ฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์และลงบนป้ายราคาเพื่อประเมินหรือตรวจสอบว่าสินค้าแบบใดอยู่ในความต้องการของ ผู้บริโภค หรือสินค้าแบบใดคงค้างในแต่ละสาขาเป็นอย่างไร หากสินค้าแบบใดอยู่ในความต้องการสูงจะทําการวางแผนการ ผลิต หากสินค้าแบบใดอยู่ในความต้องการต่ําหรือสินค้าชิ้นใดคงค้างในสาขาเกินเวลาอันควรจะดําเนินการโอนสินค้า จากสาขาหนึ่งไปอีกสาขาหนึ่ง หรือจากจังหวัดหนึ่งไปอีกจังหวัดหนึ่ง หรือจากภาคหนึ่งไปอีกภาคหนึ่ง อย่างไรก็ตาม บริษัทมีนโยบายจัดการสินค้าคงเหลือโดยนํากลับมาผลิตใหม่ และกําหนดให้พนักงานขายทุกสาขาประเมินความต้องการ ของผู้บริโภคและรายงานสินค้าคงเหลือแต่ละรูปแบบส่งกลับบริษัททุกเดือน เพื่อให้ผู้บริหารมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ในการที่จะผลิตสินค้าแต่ละรูปแบบให้ตรงความต้องการของตลาดมากที่สุด เพื่อเป็ นการลดความเสี่ยงดังกล่าว นอกจากนี้ในกรณีที่มีเครื่องประดับที่ไม่สามารถจําหน่ายได้ บริษัทมีนโยบายที่จะนําเครื่องประดับเหล่านั้นไป เปลี่ยนแปลงรูปแบบใหม่ ซึ่งจะเสียค่าใช้จ่ายประมาณร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 5 ของต้นทุนสินค้า โดยจะไม่มีค่าต้นทุนวัตถุดิบ เพิ่มขึ้น

36


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

1.6

ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้บริหารและบุคลากรที่มีประสบการณ์และความสามารถ เนื่องจากการดําเนินธุรกิจของบริษัทในนาม “ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์” กว่า 16 ปี เป็นการบริหารงานของ ผู้ถือหุ้นและผู้บริหารหลัก คือ นายวิโรจน์ พรประกฤต ซึ่งดํารงตําแหน่งเป็นกรรมการ และประธานเจ้ าหน้าที่บริหาร ด้วย ความรู้ ความชํานาญ และประสบการณ์เกี่ยวกับเพชรและเครื่องประดับเพชร ทั้งในด้านการจัดหาวัตถุดิบ การขยายช่อง ทางการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ และการขยายตลาด เป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้บริษัทมีผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินที่ เติบโตอย่างต่อเนื่อง จึงถือได้ว่าบริษัทมีความเสี่ยงการพึ่งพิงผู้บริหารหลักในการบริหารงานและการจัดการ อย่างไรก็ตาม บริษัทได้ใช้แนวทางการบริหารงานอย่างมืออาชีพ มีการมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบใน การทํางานให้แก่ผู้บริหารท่านอื่น และพนักงานแต่ละฝ่ายงานอย่างชัดเจน มีระบบการจัดเก็บข้อมูลแล ะฐานข้อมูลที่ดี ตลอดจนมี การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องระหว่างผู้บริหารและพนักงานบริษัทอย่างสม่ําเสมอ รวมถึงมี การอบรม ให้ความรู้ และมีการลงทุนด้านการพัฒนาบุคลากรของบริษัท ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดําเนินงานของบริษัท เป็นอย่างดี และสามารถลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้บริหารหลักของบริษัทได้ 1.7

ความเสี่ยงจากการขยายการลงทุน บริษัทมีโครงการในอนาคตที่จะเพิ่มจํานวนสาขาสําหรับจําหน่ายสินค้าแก่ลูกค้าในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และในต่างจังหวัด เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มลูกค้าเป้าหมายให้มากขึ้น เพื่อตอบสน องความต้องการของ ลูกค้าให้ครบทุกกลุ่ม ซึ่งบริษัทจะต้องมีการลงทุนสําหรับการตกแต่งร้านค้า พร้อมทั้งมีเงินทุนหมุนเวียนสําหรับสินค้าใน สาขาที่จะเปิดใหม่ อย่างไรก็ตาม บริษัทอาจมีความเสี่ยงจากการลงทุน หากการลงทุนที่กล่าวมาไม่บรรลุผลตามเป้าหมายที่ บริษัทได้กําหนดไว้ ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย หรืออัตราดอกเบี้ยและภาวะเงินเฟ้อ หรือ พฤติกรรมผู้บริโภคในแต่ละจังหวัด แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทได้วางแผนการลงทุน โดยได้มีหน่วยงานพัฒนาธุรกิจ ทําการศึกษาวิเคราะห์ภาวะตลาดและความเหมาะสมในการลงทุนอย่างรอบคอบใน การขยายสาขาเพื่อนําเสนอต่อ กรรมการบริหารพิจารณาความเป็นไปได้ในการลงทุน รวมทั้งพยายามเปิดสาขาในห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ที่มีกลุ่มลูกค้า เป้าหมายจํานวนมาก เช่น ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล โรบินสัน เดอะมอลล์ เทสโก้โลตัส และบิ๊กซี เพื่อลดความเสี่ยงจาก การลงทุนดังกล่าว 1.8 ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บริษัทมีการนําเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศซึ่งการเสนอราคาและชําระเงินจะใช้เงินตราสกุลเหรียญสหรัฐเป็นหลัก ในขณะที่สินค้าทั้งหมดจะจําหน่ายภายในประเทศ โดยบริษัทมีการสั่งซื้อวัตถุดิบจากต่างประเทศคิดเป็นร้อยละ 95 ของยอด สั่งซื้อวัตถุดิบรวมทั้งหมดของบริษัท รวมถึงราคาวัตถุดิบเพชรที่ซื้อจากผู้ขายที่เป็นตัวแทนจําหน่ายในประเทศไทย จะมีการ ตกลงราคาเป็นเงินเหรียญสหรัฐฯ ตามธรรมเนียมซื้อขายเพชรปกติ ซึ่งหากราคาเงินเหรียญสหรัฐอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงิน บาทก็จะทําให้ต้นทุนของบริษัทต่ําลง แต่ในขณะเดียวกัน หากราคาเงินเหรียญสหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินบาทก็จะทํา ให้ต้นทุนของบริษัทเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในปี 2551 บริษัทมีผลขาดทุนจากอัตรแลกเปลี่ยนเท่ากับ 5.68 ล้านบาท และ ปี 2552 บริษัทมีผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 0.70 ล้านบาท ตามลําดับ อย่างไรก็ตาม บริษัทมีนโยบายป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยการทําสัญญาซื้อ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) ซึ่งบริษัทมีนโยบายและเป้าหมายจะทําการป้องกันความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนประมาณร้อยละ 75 ถึงร้อยละ 100 ของมูลค่ าการสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศ อย่างไรก็ตามบริษัทไม่มี 37


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

นโยบายเก็งกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ การทําสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าดังกล่าวอยู่ในดุลพินิจที่ รอบคอบของผู้บริหารบริษัท โดยผู้บริหารบริษัทจะมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ตลอดเวลา และจะพิจารณาการทําสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าดังกล่าวจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของ อัตราแลกเปลี่ยน และผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อบริษัท ทั้งนี้ การทําสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ดังกล่าว จะทําทันทีเมื่อได้รับสินค้าจากโรงงานเจียระไนในต่างประเทศ (Sightholder) และบันทึกยอดเจ้าหนี้การค้าลงใน บัญชีของบริษัทแล้ว 1.9 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบ โครงสร้างต้นทุนเฉลี่ยของบริษัทประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) เพชร คิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 65 ถึง 75 ของต้นทุน ขาย 2) ทองคํา คิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 15 ถึง 25 ของต้นทุนขาย และ 3) ค่าจ้างผลิต คิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 3 ถึง 5 ของ ต้นทุนขาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของสินค้าแต่ละชนิด จะเห็นได้ว่าเพชรและทองคํา จะเป็นรายการสําคัญที่มีผลต่อต้นทุน ของบริษัท โดยเมื่อวัตถุดิบมีราคาเพิ่มสูงขึ้น ก็จะทําให้ต้นทุนของบริษัทเพิ่มสูงขึ้น สําหรับวัตถุดิบเพชร ราคาจะผันแปรตามราคาในตลาดโลก ทําให้บริษัทอาจไม่สามารถควบคุมมูลค่าที่แน่นอน ของต้นทุนได้โดยราคาเพชรในช่วงที่ผ่านมาตั้งแต่ มกราคม 2551 ถึง กุมภาพันธ์ 2553 เป็นดังนี้ (Rapaport) 140000 120000 100000 80000

4.00 - 4.99 CT

60000

1.00 - 1.49 CT

40000

0.08 - 0.14 CT

20000

-

0

จากตารางดังกล่าวจะเห็นได้ว่า เพชรที่มีขนาดใหญ่ตั้งแต่ 1 กะรัตขึ้นไป จะมีการผันผวนของราคามากกว่าเพชร ขนาดเล็ก และในปัจจุบัน บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงดังกล่าวโดยมีนโยบายในการกําหนดให้วัตถุดิบที่เก็บไว้ส่วนใหญ่ จะเป็นเพชรที่มีขนาด 0.005 กะรัตถึง 0.30 กะรัต ซึ่งเป็นกลุ่มของเพชรที่ไม่ได้รับผลกระทบจากความ ผันผวนของราคาใน สาระสําคัญ และสําหรับเพชรที่มีขนาดตั้งแต่ 1 กะรัตขึ้นไปนั้น บริษัทมีนโยบายในการรักษาระดับของกลุ่มเพชรดังกล่าว เป็นสินค้าของบริษัทมูลค่าไม่เกินกว่าร้อยละ 15 ของมูลค่าสินค้าคงเหลือรวมของบริษัท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีกลุ่มเพชรที่มีขนาดตั้งแต่ 1 กะรัตขึ้นไปคิดเป็นมูลค่าร้อยละ 7.22 ของสินค้าคงเหลือสุทธิของบริษัท อย่างไรก็ดี หากมีความผันผวนของราคาเพชรในตลาดโลก ผู้บริหารเชื่อว่า บริษัทสามารถบริหารจัดการผลกระทบจากความผันผวน ของราคาเพชรที่มีผลต่อโครงสร้างราคาและความสามารถในการทํากําไรของบริษัท เช่น หากในภาวะที่วัตถุดิบมีราคาต่ําลง บริษัทสามารถทํากําไรได้สูงขึ้น และในทางกลับกัน หากวัตถุดิบมีราคาที่สูงขึ้น บริษัทมีนโยบายที่จะพิจารณาการปรับ โครงสร้างราคาผลิตภัณฑ์ให้มีความเหมาะสมต่อราคาต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้นต่อไป

38


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ทองคําสําหรับทําเครื่องประดับนั้นบริษัทใช้ทองคํา 18 เค ซึ่งจะแปรผันตามราคาทองคําบริสุทธิ์ร้อยละ 99.99 เนื่องจากมีส่วนผสมของทองคําร้อยละ 75 กับโลหะอื่น ๆ อีกร้อยละ 25 เพื่อให้สามารถขึ้นรูปตัวเรือนเป็นเครื่องประดับได้ โดยที่ผ่านมาราคาทองคําบริสุทธิ์ร้อยละ 99.99 ในตลาดโลกมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ทั้งนี้ราคาทองคําความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.99 ในตลาดโลกมีการเปลี่ยนแปลงมากตั้งแต่ปี 2549 เนื่องจากเงินเหรียญ สหรัฐมีการอ่อนตัวลง ทําให้ อุปสงค์ของทองคําเพิ่มขึ้นเนื่องจากหลายประเทศมีการถือทองคําเพิ่มขึ้นเพื่อป้องกันการ เปลี่ยนแปลงของมูลค่าเงินสกุลเหรียญสหรัฐ ทําให้ราคาทองคําปรับตัวสูงขึ้นมาก และในปี 2551 มีการเก็งกําไรสินค้าโภค ภัณฑ์ (Commodity) เช่น น้ํามัน ถ่านหิน รวมถึงทองคําด้วย ทําให้ราคาทองคํามีความผันผวนมากนับตั้งแต่ต้นปี 2551 โดย ราคาทองคําบริสุทธิ์ร้อยละ 99.99 อยู่ที่ระดับประมาณ 800 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ ในเดือนมกราคม 2551 ก่อนที่จะปรับ เพิ่มขึ้นไปสูงกว่า 1,000 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ ในเดือนเมษายน 2551 และลดต่ําลงเหลือประมาณ 700 เหรียญสหรัฐต่อ ออนซ์ ในเดือนพฤศจิกายน 2551 และปรับตัวเพิ่มขึ้นอีกครั้งในปี 2552 โดยเพิ่มขึ้นสูงกว่า 1,097 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ ใน เดือนธันวาคม 2552 และปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็น 1,117 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 อย่างไรก็ดี บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงดังกล่าวโดย ในขั้นตอนการจ้างผลิตสินค้าของบริษัท จะมีการตกลง ราคา ทองคํา 18 เค ที่ใช้ในการผลิต วันที่ตกลงคําสั่งผลิตแก่ผู้ผลิตช่วง และใช้เป็นเกณฑ์ในการคํานวณราคาต้นทุน ทําให้ ความผันผวนของราคาวัตถุดิบทองคําไม่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนที่บริษัทได้ทําการตกลงในการผลิตไว้แต่อย่างใด และใน การกําหนดราคาจําหน่ายสินค้า ทางบริษัทก็จะมีการตั้งราคาเพิ่มจากต้นทุนสินค้าของบริษัท จึงไม่ได้รับผลกระทบจากความ ผันผวนของราคาวัตถุดิบมากนัก 1.10

ความเสี่ยงจากจัดหาวัตถุดิบเพชรขนาดใหญ่ เนื่องมาจากลักษณะตามธรรมชาติของเพชรดิบและเทคนิคการเจียระไน ทําให้เพชรที่มีขนาดใหญ่ จะมี อุปทานน้อยกว่าเพชรที่มีขนาดเล็ก และการสั่งซื้อเพชรขนาดใหญ่จําเป็นต้องมีการสั่งจองจากผู้เจียระไนล่วงหน้าเป็น เวลานานกว่าเพชรขนาดเล็ก และบางครั้งไม่มีเพชรขนาดที่ใหญ่ตามต้องการในตลาด ทั้งนี้การสั่งซื้อเพชรขนาดใหญ่มากกว่า 1.00 กะรัต ของบริษัท จําเป็นต้องมีการสั่งซื้อล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 3-4 เดือน แต่อย่างไรก็ตามสินค้าของบริษัทส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 90 จากยอดจําหน่ายสินค้าและให้บริการ จะมีกา รจําหน่ายใน เพชรขนาดเล็กกว่า 0.70 กะรัต ซึ่งเพชรขนาดเล็กสามารถซื้อได้เป็นการทั่วไป และมีอุปทานที่เพียงพอกับความต้องการของ ตลาด จึงทําให้บริษัทยังไม่เคยได้รับผลกระทบจากการขาดแคลนเพชรขนาดใหญ่ 1.11 ความเสี่ยงจากตราสินค้าที่ไม่ได้จดทะเบียน จากการที่บริษัทได้ซื้อสินทรัพย์จากห้างหุ้นส่วนจํากัดเพชรยูบิลลี่ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวโยงกัน โดยที่ห้าง หุ้นส่วนจํากัดเพชรยูบิลลี่ มีหุ้นส่วน เป็นบิดา มารดาและพี่น้องของนายวิโรจน์ พรประกฤต รองประธานกรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท และได้ใช้พื้นที่เดิมของห้างหุ้นส่ว นจํากัดเพชรยูบิลลี่เป็นสาขาสะพานเหล็กของบริษัท และรวมถึงบริษัทได้มีการใช้ตราสินค้า “ศูนย์เพชร” ซึ่งเคยเป็นตราสินค้าของห้างหุ้นส่วนจํากัดเพชรยูบิลลี่ เป็นตราสินค้า สําหรับสินค้าที่จําหน่ายในสาขาสะพานเหล็กของบริษัท ซึ่งตราสินค้านี้ไม่สามารถจดทะเบียนเป็นเครื่องหมา ยการค้าได้ เนื่องจากเป็นคําสามัญที่ใช้กันทั่วไป และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทพบว่าไม่มีผู้ประกอบการรายอื่นใช้ ตราสินค้า “ศูนย์เพชร” ทั้งนี้ บริษัทอาจมีความเสี่ยงที่ผู้ประกอบการอื่นอาจนําตราสินค้า “ศูนย์เพชร” ไปใช้ได้ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิด ความสับสนว่าเป็นสินค้าของบริษัทได้ และถ้าสินค้าที่ถูกกล่าวอ้างดังกล่าวมีคุณภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน อาจจะทําให้เกิด ความเสียหายต่อชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือของบริษัท 39


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

อย่างไรก็ดี ณ ปัจจุบัน บริษัทมีแนวโน้มในการให้ความสําคัญต่อตราสินค้า “เพชรยูบิลลี่” มากกว่าตราสินค้า“ศูนย์ เพชร” เนื่องจากบริษัทได้จัดจําหน่ายสินค้าที่มีตราสินค้า “ศูนย์เพชร” ณ สาขาสะพานเหล็กเพียงแห่งเดียวเท่านั้น ไม่ได้ จําหน่ายไปทั่วประเทศ และลูกค้าที่ซื้อสินค้าที่สาขาสะพานเหล็กนั้น เป็นลูกค้าเฉพาะกลุ่ม และมีจํานวนจํากัดซึ่งมี พฤติกรรมการซื้อในรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ของ “เพชรยูบิลลี่” ซึ่งทางบริษัทเห็นว่าอาจไม่คุ้มต่อการ ลงทุนในการสร้างความเชื่อมั่นในตราสินค้า “ศูนย์เพชร” นอกจากนั้น สําหรับการป้องกันความสับสนอันเนื่องมาจากการ ถูกอ้างอิงตราสินค้า “ศูนย์เพชร” จากบุคคลอื่นในอนาคต บริษัทได้กําหนดให้ในการจําหน่ายสินค้า จาก “ศูนย์เพชร” ในแต่ ละครั้งนั้น ต้องมีการออกใบรับประกันสินค้าทุกครั้งโดยในใบรับประกันต้องระบุคําว่า “ศูนย์เพชร โดยบริษัท ยูบิลลี่ เอ็น เตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน)” 1.12 ความเสี่ยงเกี่ยวกับสัญญาพื้นที่เช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสาขาทั้งหมด 73 สาขา โดยเป็นการจําหน่ายสินค้าให้กับลูกค้ารายย่อยทั่วไป (Retail) โดยผ่านสาขาที่เป็นพื้นที่เช่าของบริษัทเองจํานวน 37 สาขา ผ่านสาขาที่เป็นของผู้ประกอบการธุรกิจซึ่งทําสัญญา ในลักษณะคล้ายแฟรนไชส์จํานวน 16 สาขา ซึ่งตั้งอยู่ในศูนย์การค้าชั้นนําและไฮเปอร์มาร์ททั้งในเขตก รุงเทพฯ ปริมณฑล และในเขตต่างจังหวัด บริษัทจึงต้องทําการเช่าพื้นที่จากผู้ให้เช่าพื้นที่ในรูปแบบของสัญญาเช่า ทําให้บริษัทมีความเสี่ยงใน กรณีที่ไม่สามารถต่อสัญญาเช่าพื้นที่ได้ หรืออาจมีความเสี่ยงจากการที่ผู้ให้เช่าขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขและอัตราค่าเช่าใน การต่อสัญญาและทําให้บริษัทต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าเดิม สําหรับสาขาที่เหลืออีก 20 สาขา เป็นเคาเตอร์ระบบแบ่งรายได้ (GP) ซึ่งไม่มีความเสี่ยงในด้านอายุสัญญาของพื้นที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสาขาที่เป็นพื้นที่เช่าจํานวน 37 สาขา ซึ่งมีอายุการเช่าเป็นรายเดือน ถึง 3 ปี จึงอาจทําให้มีความเสี่ยงจากการที่ไม่สามารถต่อสัญญาเช่าพื้นที่ได้ และมี สาขาจํานวน 16 สาขาที่ดําเนินการโดย สาขาที่เป็นของผู้ประกอบการธุรกิจซึ่งทําสัญญาในลักษณะคล้ายแฟรนไชส์ซึ่งการทําสัญญาเช่าไม่เกี่ยวข้องกับบริษัท โดยตรง ทําให้มีความเสี่ยงจากการที่ไม่สามารถต่อสัญญาเช่าพื้นที่ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามการที่บริษัทเป็นผู้เช่าที่ดีของผู้ให้ เช่าพื้นที่มาโดยตลอด และดําเนินธุรกิจกับผู้ให้เช่าพื้นที่มานาน ถือได้ว่าบริษัทเป็นผู้เช่าพื้นที่ในอันดับต้น ๆ ของผู้ให้เช่าใน ธุรกิจเครื่องประดับ กอปรกับบริษัทมีสาขามากพอในการต่อรองกับผู้ให้เช่า จึงทําให้มีความเสี่ยงเกี่ยวกับการต่อสัญญาเช่า พื้นที่ของบริษัทค่อนข้างน้อย 1.13 ความเสี่ยงจากการออกใบสาคัญแสดงสิทธิให้แก่กรรมการและพนักงาน จากการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ครั้งที่ 1/2551 ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2551 มีมติให้ออกใบสําคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ ”) ประเภทระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ ให้แก่ กรรมการและพนักงานของบริษัท จํานวน 5,000,000 หน่วย โดยมีราคาเสนอขายต่อหน่วย 0 บาท และใบสําคัญแสดงสิทธิมี อายุ 5 ปี นับแต่วันที่ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิเท่ากับ มูลค่าที่ตราไว้ของหุ้น ผู้ลงทุนจึงมีความเสี่ยงในการที่มีต้นทุนสูงกว่าผู้ถือใบสําคัญแสดง สิทธิดังกล่าว และมีความเสี่ยงที่ราคาหุ้นอาจจะลดต่ําลง หากผู้ถือหุ้นกลุ่มดัง กล่าวขายหุ้นหลังการใช้สิทธิ รวมถึงการที่ผู้ ลงทุนจะมีผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไร (EPS Dilution) และมีผลกระทบด้านสัดส่วนการถือหุ้น (Control Dilution) โดยที่ผู้ ลงทุนจะมีส่วนแบ่งกําไรลดลง และมีสภาพความเป็นเจ้าของบริษัทน้อยลง เท่ากับร้อยละ 2.86 โดยคํานวณจากจํานวนหุ้น ทั้งหมดภายหลังจากเสนอขายต่อประชาชนครั้งแรกนี้ ทั้งหมด 170,000,000 หุ น สําหรับผลกระทบด้านราคาหุ้น (Price Dilution) เนื่องจากหุ้นสามัญของบริษัทยังไม่ได้จดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ จึงยังไม่มีราคา 40


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ตลาดของหุ้น แต่หากจะคํานวณจากราคาจองซื้อหุ้นของบริษัทตามการเสนอขายในครั้งนี้ จะมีผลกระทบด้านราคาสูงสุด จากการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับร้อยละ 1.04 อย่างไรก็ตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ขายให้แก่กรรมการและพนักงานดังกล่าว มีการกําหนดเงื่อนไขในการใช้สิทธิ โดยนับจากวันที่ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 ปี ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิครั้งแรกได้ไม่เกินร้อย ละ 25 ของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้รับการจัดสรรจากบริษัท และในทุก ๆ 12 เดือน หลังจากปีแรก ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 50 ร้อยละ 75 และ ร้อยละ 100 ของใบสําคัญ แสดงสิทธิทั้งหมดที่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้รับจัดสรรจากบริษัท ตามลําดับ ซึ่งการกําหนดระยะเวลาในการใช้ สิทธิดังกล่าวจะช่วยป้องกันการมีหุ้นเพิ่มขึ้นในช่วงแรกที่หุ้นของบริษัท ได้รับการอนุญาตให้ทําการซื้อขายในตลาด หลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และหากผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิใช้สิทธิในการแปลงสภาพทั้งหมด จะแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 5,000,000 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2.94 ของจํานวนหุ้นทั้งหมดภายหลังการเสนอขายหุ้นสามัญให้แก่ประชาชน ในครั้งนี้และการใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัท ทั้งหมด 1.14

ความเสี่ยงจากการปรับสิทธิของใบสาคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ในอนาคตอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงราคาใชสิทธิและอัตราการใช สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่ ออกเสนอขายให้กับกรรมการและพนักงาน ที่มีสาเหตุ จากการ เปลี่ยนแปลงลดมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้น การจ่ายหุ้ นเงินปันผล เป็นหุ้นสามัญ เป็นต้น ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีการปรับอัตราการใช้สิทธิ โดยที่จํานวนของหุ้นตามอัตราการใช้ สิทธิหลังการปรับสิทธิที่คํานวณได้มีเศษของหุ้น ให้ปัดเศษที่จํานวนต่ํากว่าหน่วย 1 หุ้นนั้นทิ้ง รวมถึงกรณีที่การ เปลี่ยนแปลงราคาใชสิทธิ อาจมีผลทําใหราคาใชสิทธิใหมมีราคาซึ่งต่ํากวามูลคาที่ตราไว ของหุ้นสามัญของบริษัท ก็ให ใช มูลคาที่ตราไว ของหุ้นสามัญของบริษัทเป นราคาใช สิทธิใหม ซึ่งความเสี่ยงดังกล่าวจะทําให้ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ สามารถใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัทได้ลดลง

41


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ของบริษัท ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 มีรายละเอียดดังนี้

ผู้ถือหุ้น กลุ่มนายวิโรจน์ พรประกฤต 1 บริษัท ร่วมทุนเค-เอสเอ็มอี จํากัด

โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ ทุนจดทะเบียนที่เรียกชาระแล้ว จานวนหุ้น ร้อยละ 101,997,600 59.99 15,000,000

8.824

นายชัยสิทธิ์ ใบไม้

5,550,000

3.265

นายเจนวิทย์ สมบัติเจริญวงศ์

3,800,000

2.235

นายรชต ไล้บางยาง

2,000,000

1.176

นายชิษณุ พงษ์พานิช

1,931,900

1.136

นายประกิต อัศวกาญจน์

1,000,000

0.588

นายศิริชัย รัฐอนันต์พินิจ

961,300

0.565

นายรชต ไล้บางยาง

2,000,000

1.176

นางสาวสุมาลี ติรรัชกุล นางนัยนา แก้วพิจิตร

700,000 550,000

0.412 0.324

1

กลุ่มนายวิโรจน์ พรประกฤต ประกอบด้วย นายวิโรจน์ พรประกฤต ถือหุ้น จานวน 71,997,600 หุ้น นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต ถือหุ้น6,000,000 หุ้น นายอัครพงศ์ พรประกฤต ถือหุ้น6,000,000 หุ้น นางสาวอรรัตน์ พรประกฤต ถือหุ้น 6,000,000 หุ้นและนางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย ถือหุ้น 12,000,000 หุ้น

42


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหาร โดยคณะกรรมการแต่ละคณะมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ โครงสร้างองค์กร

 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ประกอบด้วยผู้มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ที่เป็น ประโยชน์ต่อบริษัท ทั้งหมด 9 ท่าน ซึ่งองค์ประกอบสอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ที่มีกรรมการอิสระไม่น้อย กว่า 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด ดังมีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ 2. นายวิโรจน์ พรประกฤต รองประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) 3. นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย กรรมการและรองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส 4. นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านการเงิน (CFO) 5. นายคงเดช โอฬารรติ กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านปฏิบัติการ (COO) 6. นายสหัสโรจน์ โรจน์เมธา กรรมการ และกรรมการอิสระ 7. นายอํานวย นาครัชตะอมร ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 8. นายไพโรจน์ มาลีหอม กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 9. นางสาวซนวา เด่นเมฆา กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ โดยมีนางสาวเพียงศศิ จุฑานนท์ธีรโชติ ดํารงตําแหน่งเลขานุการบริษัท

43


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท กรรมการของบริษัทมีอํานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการจัดการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของผู้ถือหุ้นที่ชอบด้วยกฎหมายด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัท โดยสรุปอํานาจหน้าที่และความรับผิ ดชอบที่สําคัญตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ดังนี้ 1. จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมสามัญ ประจําปี ภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ของบริษัท 2. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง 3. จัดให้มีการทํางบดุลและงบกําไรขาดทุนของบริษัท ณ วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของบริษัท ซึ่งผู้สอบบัญชี ตรวจสอบแล้ว และนําเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ 4. คณะกรรมการอาจมอบอํานาจให้กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคน หรือบุคคลอื่นใดปฎิบัติการอย่างหนึ่งอย่า งใด แทนคณะกรรมการได้โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมี อํานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจ ยกเลิกเพิกถอนเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจหรืออํานาจนั้นๆ ได้เมื่ อเห็นสมควร นอกจากนี้ คณะกรรมการอาจมอบอํานาจให้คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มี อํานาจหน้าที่ในการปฎิบัติงานต่าง ๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอํานาจ ดังนี้ การมอบอํานาจนั้นต้องไม่มีลักษณะ เป็นการมอบอํานาจที่ทําให้คณะกรรมการบริหาร คณะกรร มการตรวจสอบ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สามารถพิจารณาและอนุมัติรายการที่คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ หรือประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร มีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทย่อย (แก้ไขตามมติที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552) 5. กําหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของบริษัท ควบคุมกํากับดูแลการบริหารและการ จัดการของคณะกรรมการบริหาร ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เว้นแต่ในเรื่องดังต่อไปนี้ คณะกรรมการต้องได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนการดําเนินการอันได้แก่ เรื่องที่กฎหมายกําหนดให้ ต้องได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เช่น การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ การขายหรือโอนกิจการของ บริษัท ทั้งหมดหรือบางส่วนที่สําคัญให้แก่บุคคลอื่นหรือการซื้อหรือการรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเป็น ของ บริษัท การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ เป็นต้น 6. พิจารณาโครงสร้างการบริหาร แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และคณะกรรมการอื่นตามความเหมาะสม 7. ติดตามผลการดําเนินงานให้เป็นไปตามแผนงาน และงบประมาณอย่างต่อเนื่อง 8. กรรมการจ ะต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท หรือ เข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือเป็นหุ้นส่วนไม่จํากัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจํากัด หรือเป็น กรรมการของบริษัทเอกชน หรือบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันแ ละเป็นการแข่งขันกับ กิจการของบริษัทไม่ว่าจะทําเพื่อประโยชน์ตนหรือเพื่อประโยชน์ผู้อื่น เว้นแต่จะได้แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง 9. กรรมการต้องแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า หากมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรง หรือโดยอ้อมในสัญญาที่บริษัททํา ขึ้น หรือถือหุ้น หรือหลักทรัพย์อื่นเพิ่มขึ้น หรือลดลงในบริษัท หรือบริษัทในเครือ 44


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

 คณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจุบันประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบจํานวน 3 ท่าน ทุกท่านเป็นกรรมการอิสระ มีวาระการดํารงตําแหน่ง คราวละ 2 ปี คณะกรรมการ บริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและให้ผู้จัดการสํานักตรวจสอบภายใน ของบริษัท เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจุบันมีรายนามคณะกรรมการตรวจสอบ ดังต่อไปนี้ 1. นาย อํานวย นาครัชตะอมร ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นาย ไพโรจน์ มาลีหอม กรรมการตรวจสอบ 3. นางสาว ซนวา เด่นเมฆา กรรมการตรวจสอบ โดยมีนาย วรวุทร เศรษฐนารักษ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2551 ได้กําหนดให้คณะกรรมการ ตรวจสอบมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงาน อื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกําหนดของสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทําหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และ เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม ด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฏหมายและ ข้อกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจําปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ ละท่าน 45


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

- ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติห น้าที่ตามกฏบัตร (charter) - รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ  คณะกรรมการบริหาร 1. นาย วิโรจน์ พรประกฤต กรรมการบริหาร 2. นาง สุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย กรรมการบริหาร 3. นาง สาวอัญรัตน์ พรประกฤต กรรมการบริหาร 4. นาย คงเดช โอฬารรติ กรรมการบริหาร โดยมีนายยุทธนา แต่ปางทอง เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ตามมติตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ได้กําหนดให้คณะกรรมการ บริหารมีอํานาจหน้าที่ในการบริหารกิจการของบริษัท ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น หรือ นโยบาย คําสั่งใดๆ ที่คณะกรรมการบริษัทกําหนด และให้มีอํานาจอนุมัติและ/หรือเห็นชอบแก่การดําเนินการใด ๆ ตามปกติ และอันจําเป็นแก่การบริหารกิจการของบริษัทเป็นการทั่วไป นอกจากนั้นให้คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่ในการพิจารณา กลั่นกรองข้อพิจารณาต่างๆ ที่จะได้มีการนําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติและ /หรือพิจารณาให้ความ เห็นชอบ ทั้งนี้ตามที่กําหนดไว้ในข้อบังคับหรือคําสั่งของคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนการดําเนินการตามคําสั่งของ คณะกรรมการบริษัทเป็นคราวๆไป นอกจากนั้นให้มีหน้าที่ดําเนินการในเรื่องดังต่อไปนี้ตามความจําเป็นแก่การประกอบ กิจการดังที่จะได้กําหนดไว้ดังต่อไปนี้ด้วย โดยต้องนําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อการอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ 1) นโยบาย เป้าหมาย และแผนงานประจําปีของบริษัท 2) งบประมาณประจําปีของบริษัท 3) แนวทาง นโยบาย และเป้าหมายการลงทุน เพื่อเป็นกรอบการดําเนินการให้ฝ่ายจัดการนําไปถือปฏิบัติ ในการปฏิบัติงาน 4) โครงสร้างอัตราค่าจ้าง สวัสดิการของพนักงาน เพื่อตอบแทนการทํางาน คณะกรรมการบริหารมีอํานาจหน้าที่กระทําการเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ภายในขอบเขตที่ได้กําหนดไว้เป็นเรื่องๆ ดังนี้ 1. การบรรจุ การแต่งตั้ง การถอดถอน การเลื่อนหรือการลดระดับและ /หรือตําแหน่ง การตัดหรือลดค่าจ้าง การ พิจารณาความดีความชอบ การลงโทษทางวินัย การให้รางวัล การจัดสรรโบนัสเพื่อตอบแทนการทํางานหรือ ความดีความชอบ ตลอดจนการเลิกจ้างพนักงานตั้งแต่ระดับ และ/หรือ ตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้าน การเงินประธานเจ้าหน้าที่ ด้านปฏิบัติการขึ้นไป ยกเว้นตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. การจัดซื้อ การจัดจ้าง หรือการจัดทําทรัพย์สินในแต่ละครั้ง หรือแต่ละเรื่องสามารถกระทําได้ภายในวงเงินไม่ เกิน 100,000,000 บาท ทั้งนี้รวมทั้งหมดต้องไม่เกินงบประมาณที่ได้รับอนุมัติในแต่ละปี 3. การทําธุรกรรมตามปกติกับธนาคารหรือสถาบันการเงินสําหรับวงเงินไม่เกิน 100,000,000 บาท 4. การเช่า หรือให้เช่าทรัพย์สินแต่ละแห่ง สามารถกระทําได้โดยมีอัตราค่าเช่าแต่ละแห่งไม่เกิน ปีละ 20,000,000 บาท 46


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

5. การบริจาคเพื่อการกุศลสามารถกระทําได้ภายในวงเงินไม่เกิน 500,000 บาทต่อครั้ง ทั้งนี้รวมทั้งหมดต้องไม่เกิน งบประมาณที่ได้รับอนุมัติในแต่ละปี 6. การเปิดหรือยกเลิกสาขาของบริษัท 7. ควบคุมและกําหนดแนวทางการบริหารการลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทภายในขอบเขตที่คณะกรรมการ มอบหมาย และให้เป็นไปตามที่กฎหมายกําหนด  ผู้บริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีผู้บริหาร2 ตามนิยามของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ดังต่อไปนี้ 1. นาย วิโรจน์ พรประกฤต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. นาง สุวัฒนา ตุลยพิศิษฐ์ชัย รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส 3. นาย คงเดช โอฬารรติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านปฏิบัติการ / ผู้อํานวยการฝ่ายขายและธุรการขาย (รักษาการ) 4. นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านการเงิน / ผู้อํานวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล (รักษาการ)/ ผู้อํานวยการฝ่ายการตลาดและกลุ่มผลิตภัณฑ์ (รักษาการ) 5. นายวรวุทร เศรษฐธนารักษ์ ผู้อํานวยการอาวุโส สํานักตรวจสอบภายใน 6. นาย ณัฐวุฒิ เตชัสหงส์ ผู้อํานวยการฝ่ายผลิตและจัดเก็บสินค้าคงคลัง 7. นาย ยุทธนา แต่ปางทอง ผู้อํานวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน 8. นาย วริษฐ์ สายมาลา ผู้อํานวยการฝ่ายจัดซื้อวัตถุดิบ กรรมการผู้มีอานาจลงนามแทนบริษัท กรรมการผู้มีอํานาจลงนามและทําการแทนบริษัท ประกอบด้วย นายวิโรจน์ พรประกฤต หรือ นางสาวอัญรัตน์ พรประกต ลงลายมือชื่อร่วมกับ นายคงเดช โอฬารรติ หรือ นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย การสรรหากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการของบริษัทจะมีไม่น้อยกว่า 5 คนและกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดต้อง มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรและกรรมการไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนกรรมการทั้งหมดจะต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทยโดย การแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทต้องได้รับมติเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นโดยจะมีข้อหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2. ในการเลือกคณะกรรมการ อาจใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนเลือกกรรมการเป็นรายบุคคลคราวละคน หรือ คราวละหลายคนรวมกันเป็นคณะ ตามแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร แต่ในการลงมติแต่ละครั้งผู้ถือ

2

“ผู้บริหาร” หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา (ผู้ดารงตาแหน่งสูงสุดของบริษัท)

ผู้ซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่ากับผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกรายและให้หมายความรวมถึงผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารในสายบัญชีหรือ การเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า

47


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

หุ้นจะต้องออกเสียงด้วยคะแนนที่มีอยู่ทั้งหมด จะแบ่งคะแนนเสียงแก่คนใดหรือคณะใดมากน้อยเพียงใด ไม่ได้ การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการให้ใช้เสียงข้างมาก หากมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ผู้เป็นประธานที่ประชุม เป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด คณะกรรมการตรวจสอบ ที่ประชุมคณะกรรมบริษัทครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 มีมติกําหนดให้คณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือ หุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ โดยแต่งตั้งจากผู้ที่มีคุณสมบัติครบตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศและ/หรือระเบียบที่ตลาดหลักทรัพย์กําหนด โดยมีจํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ละคนมีวาระดํารงตําแหน่ง 2 ปี กรรมการที่พ้นจากตําแหน่งแล้วสามารถถูกรับเลือกกลับมาดํารงตําแหน่งอีกได้ ทั้งนี้กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน จะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน คณะกรรมการบริหาร ที่ประชุมคณะกรรมบริษัทครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 มีมติกําหนดให้คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ แต่งตั้งกรรมการบริหาร โดยเลือกจากผู้ที่มีความรู้ หรือประสบการณ์และมีความเข้าใจในลักษณะธุรกิจของบริษัท ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร  กรรมการ

ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หมายเหตุ: กรรมการ

สถิติการเข้าประชุมของกรรมการบริษัท ในปี 2550 –2552 สถิติการเข้าประชุม 2550 2551 2551 2552 รายนามคณะกรรมการ (บริษัท จากัด) (บริษัท จากัด) (บริษัท มหาชน) (บริษัท มหาชน) นายมนู เลียวไพโรจน์ 1/3 6/6 นายวิโรจน์ พรประกฤต 1/1 4/4 3/3 6/6 นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย 3/3 6/6 นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต 3/3 6/6 นายคงเดช โอฬารรติ 3/3 6/6 นายสหัสโรจน์ โรจน์เมธา 3/3 6/6 นายอํานวย นาครัชตะอมร 2/4 3/3 6/6 นายไพโรจน์ มาลีหอม 2/4 3/3 6/6 นางสาวซนวา เด่นเมฆา 2/4 3/3 6/6 นายมนู เลียวไพโรจน์ ได้เข้าดํารงตําแหน่งประธานกรรมการบริษัทในวันที่ บริษัท 2 ครั้ง

27 สิงหาคม 2551 จึงไม่ได้เข้าร่วมการประชุม

48


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

 คณะกรรมการ ลาดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รายนามคณะกรรมการ

ปี 2550

นายมนู เลียวไพโรจน์ นายวิโรจน์ พรประกฤต นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต นายคงเดช โอฬารรติ นายสหัสโรจน์ โรจน์เมธา นายอํานวย นาครัชตะอมร นายไพโรจน์ มาลีหอม นางสาวซนวา เด่นเมฆา รวมเบี้ยประชุมคณะกรรมการ

ยังไม่ได้เป็น -ไม่มีกรรมการ ยังไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น กรรมการ -ไม่มี-

ปี 2551

ปี 2552

40,000 30,000 24,000 20,000 20,000 10,000 12,000 10,000 10,000 176,000

240,000 15,000 12,000 10,000 10,000 60,000 42,000 35,000 35,000 459,000

หมายเหตุ: 1. กรรมการของบริษัท 4 ท่านคือ นาย วิโรจน์ พรประกฤต นาง สุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย นาง สาวอัญรัตน์ พรประกฤต และนายคง เดช โอฬารรติ ขอไม่รับเบี้ยประชุมในการประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2552 ครั้งที่ 3/2552 ครั้งที่ 4/2552 ครั้งที่ 5/2552 และครั้ง ที่6/2552

 คณะกรรมการบริหาร ลาดับ 1. 2. 3. 4.

รายนามคณะกรรมการ

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

นายวิโรจน์ พรประกฤต นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต นายคงเดช โอฬารรติ รวมเบี้ยประชุมคณะกรรมการ

-ไม่มียังไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น -ไม่มีกรรมการ

-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-

-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-

รายนามคณะกรรมการ

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

นายอํานวย นาครัชตะอมร นายไพโรจน์ มาลีหอม นางสาวซนวา เด่นเมฆา รวมเบี้ยประชุมคณะกรรมการ

ยังไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น ยังกรรมการ ไม่ได้เป็น -ไม่มีกรรมการ

12,000 10,000 10,000 32,000

42,000 35,000 35,000 112,000

 คณะกรรมการตรวจสอบ ลาดับ 1. 2. 3.

หมายเหตุ: 1. บริษัทไม่เคยมีการจ่ายเบี้ยประชุมให้แก่คณะกรรมการบริษัท โดยเริ่มจ่ายเบี้ยประชุมให้คณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 และมีการจ่ายค่าเบี้ยประชุมตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 4/2551 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2551

49


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

 ผู้บริหาร ค่าตอบแทน ผู้บริหาร

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

จานวน จานวนเงิน จานวน จานวนเงิน จานวน (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) เงินเดือน 6 4,366,900 8 14,689,500 8 โบนัส 6 573,000 8 828,650 8 เงินกองทุน 6 -ไม่มี8 -ไม่มี6 รวม 4,939,900 15,518,150 สํารองเลี้ยงชี พ

จานวนเงิน (บาท) 14,208,800 1,025,975 418,068 15,652,843 ที่มา: บมจ.ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

บริษัทได้มีการจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเมื่อเดือนมกราคม 2552 โดยจะให้ผู้บริหารและพนักงานมีสิทธิที่จะ เลือกที่รับผลประโยชน์หรือไม่ก็ได้ สําหรับผู้บริ หารและพนักงานที่เข้าร่วม บริษัทจะจ่ายสมทบให้อัตราร้อยละ 3 ของ เงินเดือน ค่าตอบแทนอื่น ๆ บริษัทมีการให้ผลตอบแทนแก่กรรมการ และพนักงานในรูปแบบของการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญของบริษัท (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ ”) ชนิดระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี่ย นมือได้ ให้แก่กรรมการและ พนักงานของบริษัทจํานวน 5,000,000 หน่วย เพื่อเป็นสิ่งจูงใจและเสริมสร้างขวัญและกําลังใจให้แก่กรรมการและพนักงาน ของบริษัทที่มีส่วนร่วมในความสําเร็จของบริษัทในช่วงเวลาที่ผ่านมา โดยคณะกรรมการของบริษัทได้รับการจัดสรร ใบสําคัญแสดงสิทธิ ดังนี้

ลาดับ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รายนามคณะกรรมการ

นายมนู เลียวไพโรจน์ นายวิโรจน์ พรประกฤต นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ นางสาวอั ญรัตน์ พรประกฤต ชัย นายคงเดช โอฬารรติ นายสหัสโรจน์ โรจน์เมธา นายอํานวย นาครัชตะอมร นายไพโรจน์ มาลีหอม นางสาวซนวา เด่นเมฆา รวม

ร้อยละของ จานวนใบสาคัญ ใบสาคัญแสดง แสดงสิทธิที่ สิทธิที่ออกในครั้ง ได้รับการจัดสรร นี้ 200,000 249,000 249,000 249,000 249,000 100,000 155,000 130,000 130,000 1,711,000

4.00 4.98 4.98 4.98 4.98 2.00 3.10 2.60 2.60 34.22

ร้อยละของหุ้นทั้งหมดจากใช้ สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิที่ ออกในครั้งนี้ ต่อหุ้นทั้งหมด หลังจากการเสนอขายและใช้ สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ 0.11 ทั้งหมด 0.14 0.14 0.14 0.14 0.06 0.09 0.07 0.07 0.98

โดยที่บริษัทมีการกําหนดเกณฑ์การจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยอ้างอิงจากกับ ระยะเวลาที่เข้ามาร่วมงานกับ บริษัท ตําแหน่งงานในปัจจุบัน และหน้าที่และความรับผิดชอบ 50


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

โดยที่ระยะเวลาที่เข้าร่วมงานกับบริษัทจะนับตั้งแต่วันที่เริ่มงานจนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2552 โดยที่จะปัดเศษของ ปีเป็นจํานวนเต็ม แต่ถ้าหากระยะเวลาที่เข้ามาร่วมงานต่ํากว่า 1 ปีจะนับระยะเวลาที่เข้ามาร่วมงานเท่ากับศูน ย์ และสําหรับ กรรมการของบริษัทจะไม่มีการนับเวลาที่เข้ามาร่วมงานกับบริษัท (ระยะเวลาที่เข้ามาร่วมงานเท่ากับศูนย์ ) ทั้งนี้หาก กรรมการและผู้บริหารท่านใดได้รับสิทธิในการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งในส่วนการดํารงตําแหน่งกรรมการและ ตําแหน่งผู้บริหาร จะถูกทอนสิทธิการได้รับการจัดสรรบางส่วนลง นอกเหนือจากที่แสดงไว้ กรรมการและผู้บริหารของบริษัทตั้งแต่ผู้อํานวยการฝ่ายขึ้นไป มิได้รับผลประโยชน์อื่น ใดจากบริษัท นอกเหนือจากผลประโยชน์ที่พึงได้รับตามปกติ ซึ่งได้แก่ เงินเดือน โบนัส และเบี้ยประชุม การกากับดูแลกิจการ บริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) โดยเชื่อว่า การกํากับ ดูแลกิจการที่ดีแสดงถึงการมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมั่นและ ความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวข้องทุ กฝ่าย อันจะนําไปสู่การเพิ่มมูลค่าและการเติบโตของ บริษัทในระยะยาวอย่างยั่งยืน บริษัทได้ดําเนินการอย่างต่อเนื่องในการส่งเสริมให้มีระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดย มุ่งหวังให้คณะกรรมการและฝ่ายจัดการของบริษัท พัฒนาระดับการกํากับดูแลกิจการและปฏิบัติตามหลักการกํากับดู แล กิจการที่ดี ให้สอดคล้องกับแนวทางที่เป็นมาตรฐานสากล โดยนําหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีซึ่งกําหนดโดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มากําหนดเป็นนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท และกําหนดให้มีการติดตามเพื่อ ปรับปรุงนโยบายดังกล่าวให้สอดคล้องกับแนวทางของตลาดหลักท รัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงใน อนาคต เพื่อให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัท ได้ตระหนักและให้ความสําคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยไม่กระทําการใด ๆ ที่เป็นการละเมิดหรือริดรอน สิทธิของผู้ถือหุ้น รวมถึงส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตน โดยสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น ได้แก่ การซื้อขายหรือการ โอนหุ้น การมีส่วนแบ่งในกําไรของบริษัท การได้รับข่าวสารข้อมูลของบริษัทอย่างเพียงพอ การเข้าร่วมประชุมเพื่อใช้ สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี และการอนุมัติรายการพิเศษ เป็น ต้น บริษัท มีการให้ข้อมูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม ตลอดจนข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้อง ตัดสินใจในที่ประชุมแก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้า และแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบกฎเก ณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประชุม รวมถึง ขั้นตอนการออกเสียงลงมติ บริษัทมีการอํานวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่าง เต็มที่ และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสในการแสดงความเห็นและตั้งคําถามต่อที่ประชุมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบริษัทได้ รวมถึงมีสิทธิมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าร่วมประชุม 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัท มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม ทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นที่ไม่เป็น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นต่างชาติ และผู้ถือหุ้นส่วนน้อย และสร้างความมั่นใจให้ผู้ถือหุ้นว่าคณะกรรมการและฝ่ายจัดการได้ดูแล ให้การใช้เงินของผู้ถือหุ้นเป็นไปอย่างเหมาะสม ด้วยเชื่อว่าเป็นปัจจัยสําคัญต่อความมั่นใจในการลงทุนกับบริษัท โดย คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่กํากับดูแลให้ ผู้ถือหุ้นได้รับการปฏิบัติ และปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน

51


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

คณะกรรมการบริษัท ได้จัดกระบวนการประชุมผู้ถือหุ้นในลักษณะที่สนับสนุนให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท เป็นการล่วงหน้าในเวลาอันสมควร รวมถึงเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าประชุมด้วยตนเอง สามารถใช้สิทธิออก เสียงโดยมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมและออกเสียงลงมติแทนได้ คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นลายลักษณ์อักษร และแจ้งแนวทางดังกล่าวให้ทุกคนในองค์กรถือปฏิบัติ 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัท ตระหนักถึงความรับผิดชอบและการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ และประสานประโยชน์ร่วมกัน อย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มมั่นใจว่าสิทธิดังกล่าวได้รับการคุ้มครอง และปฏิบัติด้วยดี โดยได้กําหนดเป็น แนวทางที่ต้องปฏิบัติเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มไว้อย่างชัดเจน พร้อมทั้งเผยแพร่และรณรงค์ ให้คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายบริหาร ตลอดจนผู้ปฏิบัติงาน ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติในการดําเนินงาน และถือเป็นภาระหน้าที่ ที่สําคัญของทุกคน 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัท ให้ความสําคัญกับการเปิดเผยข้อมูลสําคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ ข้อ มูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่า เทียมกันและ น่าเชื่อถือ ด้วยบริษัท เชื่อว่าคุณภาพของรายงานทางการเงินเป็นเรื่องที่ผู้ถือหุ้นและบุคคลภายนอกให้ความสําคัญ คณะกรรมการบริษัท จึงดูแลเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ข้อมูลที่แสดงในรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง เป็นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระเป็นผู้รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบ การควบคุมภายใน ทั้งนี้รายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานของผู้ สอบบัญชี มี รายละเอียดปรากฏในรายงานประจําปี 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแลกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท คณะกรรมการ บริษัท มีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้นและเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ คณะกรรมการบริษัท มีภาวะผู้นํา วิสัยทัศน์ และมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม จึงจัดให้มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัท และฝ่ายจัดการ ที่ชัดเจน และดูแลให้บริษัท มีระบบงานที่ให้ความเชื่อมั่นได้ว่ากิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัท ได้ดําเนินไปในลักษณะที่ถูกต้อง ตามกฎหมายและมีจริยธรรม คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งในด้านทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็นประโยชน์กับบริษัท รวมทั้งการอุทิศเวลาและความพยายามในการปฏิ บัติหน้าที่ เพื่อ เสริมสร้างให้บริษัท มีคณะกรรมการที่เข้มแข็ง

52


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

กระบวนการสรรหาผู้ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท เพื่อให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้ง เป็นไปอย่างโปร่งใส ปราศจากอิทธิพลของผู้ถือหุ้นที่มีอํานาจควบคุมหรือฝ่ายจัดการ และสร้างความมั่นใจให้กับบุคคลภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล คณะกรรมการบริษัท จึงจัด ให้มีคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทําหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริษัท ในการปฏิบัติหน้าที่กํากับดูแลเกี่ยวกับความถูกต้อง ของรายงานทางการเงิน ประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายใน และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักจรรยาบรรณ ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการกํากับดูแลกิจการที่ดี กรรมการบริษัท ทุกคนมีความเข้าใจเป็นอย่างดีถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการและลักษณะการดําเนิน ธุรกิจของบริษัท พร้อมที่จะแสดงความคิดเห็นของตนอย่างเป็น อิสระและปรับปรุงตัวเองให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา กรรมการบริษัท มีการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวังและรอบคอบ โดยคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของ บริษัท และเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกคน โดยได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในแต่ละปี โดยกําหนดจ่ายปีละ 2 ครั้ง ในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของกําไร สุทธิที่เหลือหลังจากหลังหักเงินสํารองต่าง ๆ ทุกประเภท ตามที่กําหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท และตามกฎหมาย หากไม่ มีเหตุจําเป็นอื่นใดและการจ่ายเงินปันผลนั้นไม่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานปกติของบริษัทอย่างมีนัยสําคัญ การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัท มีนโยบายห้ามกรรม ผู้บริหาร และบุคคลากรของบริษัท ใช้ข้อมูลภายในที่มีสาระสําคัญของบริษัท ซึ่งยัง ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะชนเพื่อประโยชน์ต่อตัวเองและผู้อื่น รวมถึงการซื้อขายหลักทรั พย์ของบริษัท โดยมีวิธีป้องกัน การนําไปใช้ประโยชน์ของผู้บริหารและบุคคลากรของบริษัท ดังนี้ 1. ให้ความรู้แก่กรรมการและผู้บริหาร ให้รับทราบเกี่ยวกับหน้าที่ที่ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ ของตนคู่สมรส และบุตรที่ไม่บรรลุนิติภาวะ รวมถึงบทกําหนดโทษตาม พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2. กําหนดให้ผู้บริหารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ต่อ สํานักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และจัดส่งสําเนารายงานดังกล่าวให้แก่ บริษัทในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อ สํานักงาน ก.ล.ต. 3. ดําเนินการแจ้งให้ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทราบว่า ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทที่ได้รับ ทราบข้อมูลทางการเงินของบริษัทหรือข้อมูลภายในอื่น ๆ ที่เป็นสาระสําคัญ และมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต้องหลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบ การเงินหรือข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชน และห้ามมิให้เปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระสําคัญนั้น ต่อบุคคลอื่น

53


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

หากมีการกระทําที่ฝ่าฝืนระบียบปฏิบัติดังกล่าวข้างต้น บริษัทจะดําเนินการทางวินัยเพื่อพิจารณาลงโท ษตาม สมควรแก่กรณี ได้แก่ การตักเตือนด้วยวาจา ตักเตือนด้วยหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงาน เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย หรือ ดําเนินคดีตามกฎหมาย การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบของ บริษัทรวม 3 ท่าน เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินความพอเพียงของระบบการควบคุมภายในของ บริษัทโดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร และการตอบแบบประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทใน ด้านต่าง ๆ 5 ส่วน คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมก ารปฏิบัติงานของ ฝ่ายบริหารระบบ สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าปัจจุบัน บริษัทมีระบบควบคุมภายในในเรื่องการทําธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ดังกล่าว อย่างเพียงพอแ ล้ว สําหรับการควบคุมภายในในหัวข้ออื่นของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการและ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าบริษัทมีการควบคุมภายในที่เพียงพอแล้วเช่นกัน นอกจากนั้น บริษัทได้จัดให้มีระบบการจัดเก็บเอกสารสําคัญที่ทําให้กรรมการ ผู้สอบบัญชี และผู้มีอํานาจตาม กฎหมายสามารถตรวจสอบได้ภายในระยะเวลาอันควร ทั้งนี้จากผลการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีสําหรับรอบบัญชีปี 2550 - 2552 บริษัทได้รับทราบถึงข้อสังเกตบางประการของระบบการควบคุมภายในของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทได้ดําเนินการ ปรับปรุงให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นตามลําดับแล้ว ซึ่งทางคณะกรรมการบริษัท คณะก รรมการตรวจสอบได้ดําเนินการ ตรวจสอบและติดตามการปรับปรุงข้อสังเกตดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ตาม ข้อสังเกตดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือ ต่องบการเงินปี 2550 - 2552 แต่อย่างใด ข้อสังเกตที่สําคัญมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ประเด็นที่แก้ไขเรียบร้อย 1. ประเด็น: การคํานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือโดยวิธีต้นทุนมาตรฐาน ซึ่งมูลค่าวัตถุดิบที่ใช้ในการคํานวณสูงกว่า มูลค่าจริงมาก ทําให้มีผลต่างระหว่างต้นทุนจริงกับต้นทุนมาตรฐาน ซึ่งมีการปันผลส่วนต่างทุกงวดบัญชี ซึ่ง อาจจะมีความเสี่ยงเกี่ยวกับการแสดงมูลค่าที่ถูกต้องของสินค้าคงเหลือที่มีอยู่ได้ ความคืบหน้า และการแก้ไข: บริษัทได้ทําการเปลี่ยนวิธีการคํานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือจากวิธีต้นทุนมาตรฐาน มาเป็นวิธีต้นทุนจริงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีผลบังคับใช้ในเดือน เมษายน 2552 เป็นต้นมา 2. ประเด็น: ไม่มีการกําหนดวงเงินในการอนุมัติการขอซื้อวัตถุดิบ และอนุมัติโดยไม่จํากัดวงเงิน ความคืบหน้า และการแก้ไข : บริษัทได้ทําการแก้ไขเรื่องดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อย โดยการออกหนังสือกําหนด อํานาจในการอนุมัติขั้นตอนในการทํางานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และบริษัทได้นําเสนอเพื่อขออนุมัติต่อที่ ประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 3/2551 วาระที่ 4 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว 3. ประเด็น: การตรวจสอบสินค้าที่ได้รับจากการซื้อ ไม่มีการตรวจสอบกับใบขอซื้อ แต่ใช้การตรวจสอบกับใบแจ้ง หนี้แทน และไม่มีการออกเอกสารการรับรองคุณภาพภายหลังการตรวจสอบคุณภาพแล้ว

54


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ความคืบหน้า และการแก้ไข: บริษัทได้ทําการแก้ไขเรื่องดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อย โดยบริษัทได้กําหนดขั้นตอนการ ตรวจรับสินค้ากับเอกสารใบขอซื้อสินค้าพร้อมกับใบแจ้งหนี้รวมถึงกําหนดให้มีอํานาจการอนุมัติเป็นลายลักษณ์ อักษรเช่นเดียวกัน และสําหรับฝ่ายตรวจสอบคุณภาพสินค้านั้นต้องจัดทําเอกสารตรวจส อบคุณภาพสินค้าและ กําหนดให้ ผู้มีอํานาจหน้าที่ลงลายมือ และอนุมัติในเอกสารการตรวจสอบคุณภาพเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งอยู่ ในหนังสือคู่มืออํานาจการอนุมัติ ดําเนินการปรับปรุงครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 4. ประเด็น: บริษัทไม่มีการกําหนดนโยบายในการให้ยืมสินค้าที่ชัดเจนระหว่างลูกค้ากับบริษัท ซึ่งมีการยืมสินค้าใน สาขาที่ทํารายได้หลักให้แก่บริษัท โดยรายละเอียดที่ควรมี เช่น อํานาจการอนุมัติ ระยะเวลาการให้ยืม หรือวันที่ ส่งคืนสินค้า เป็นต้น ความคืบหน้า และการแก้ไข: บริษัทได้ทําการแก้ไขเรื่องดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อย โ ดยบริษัทไม่มีการอนุญาตให้ ลูกค้ายืมสินค้าไปดูก่อนตัดสินใจซื้อ 5. ประเด็น: ไม่มีการจัดทําเอกสารสําหรับทองคําและทะเบียนคุมเพชร ที่จัดส่งให้กับผู้รับจ้างผลิตสินค้า ความคืบหน้า และการแก้ไข: บริษัทได้ทําการแก้ไขเรื่องดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อย โดยนอกเหนือจากการที่ฝ่ายผลิ ต จะเป็นผู้ติดตามสินค้าที่อยู่ระหว่างการผลิต และตรวจสอบคุณภาพเครื่องประดับและคุณลักษณะของเพชรที่ได้รับ กลับมาจากช่างที่รับจ้างผลิต บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการควบคุมทองคําโดยให้ฝ่ายช่างเป็นผู้จัดหาทองคํา ด้วยตนเองและเรียกเก็บค่าตัวเรือนเป็นค่าทองคําและค่าแรงงานแทน และสําหรับเพชรบริษัทได้จัดทําทะเบียนคุม รายการเคลื่อนไหวในระบบส่วนกลางและเอกสารประกอบรายการ กําหนดผู้มีอํานาจหน้าที่ลงลายมือชื่ออนุมัติ รายการ ซึ่งบริษัทได้ทําการแก้ไขประเด็นดังกล่าวตั้งแต่ไตรมาส ที่ 3 ปี 2551 เป็นต้นมา 6. ประเด็น: การกําหนดราคาขายสินค้า ไม่มีการอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้มีอํานาจ ความคืบหน้า และการแก้ไข : บริษัทได้ทําการแก้ไขเรื่องดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อย โดยบริษัทได้มีการกําหนด นโยบายการขายไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยได้รับการเซ็นอนุมัติจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นที่เรียบร้อย (โปรดอ่านรายละเพิ่มเติมในข้อ 1.4 ความเสี่ยงจากการกําหนดราคาสินค้าและการให้ส่วนลด) 7. ประเด็น: การถือกุญแจตู้นิรภัยย่อยนั้น แผนกผลิตเป็นผู้ถือกุญแจตู้นิรภัยย่อยสําหรับการจัดเก็บเพชรเพียงผู้เดียว ความคืบหน้า และการแก้ไข: บริษัทได้ทําการแก้ไขเรื่องดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อย โดยกําหนด ให้แผนกผลิตเบิก วัตถุดิบที่ต้องการจากห้องมั่นคงไปในเวลาเริ่มงานตอนเช้า และให้คืนวัตถุดิบที่เหลือกลับห้องมั่นคงในตอนเย็น สําหรับตู้นิรภัยย่อยประจําแผนกนั้น ให้ใช้สําหรับเก็บวัตถุดิบระหว่างเวลาทํางานเท่านั้น 8. ประเด็น: จากการที่ผู้ตรวจสอบบัญชีได้ตรวจสอบระบบการควบคุมภายในของเอกสารในฝ่ายผลิตของบริษัทใน เดือนมีนาคม 2552 ได้พบข้อสังเกตคือ ลูกค้าที่ซื้อสินค้าจากสาขาสะพานเหล็ก 2 ครั้ง ช่างผลิตได้ส่งสินค้าไปที่ สาขาสะพานเหล็กโดยตรง ไม่ผ่านคลังสินค้าของบริษัท ความคืบหน้า และการแก้ไข: สําหรับกรณีดังกล่าว สินค้าทั้ง 2 ชิ้นเป็นแบบ “ตามคําสั่งลูกค้า ” ซึ่งผู้จัดการร้านจะ เป็นผู้ตกลงแบบกับลูกค้า ดังนั้นเมื่อช่างผลิตเสร็จ จึงต้องให้ผู้จัดการร้านเป็นผู้ตรวจสอบคุณภาพสินค้า ซึ่ง ผู้บริหารจะกําหนดให้ผู้จัดการร้าน จัดทําใบตรวจสอบคุณภาพมาจัดเก็บไว้ที่แผนกคลังสินค้า และแผนกผลิตเพื่อ เป็นหลักฐานต่อไป และในปัจจุบัน บริษัทยังไม่พบข้อผิดพลาดในกรณีดังกล่าวเกิดขึ้นอีกแต่อย่างใด 55


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

9. ประเด็น: จากการส่งยืนยันยอดคงเหลือบัญชีเงินฝากธนาคาร ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2552 พบว่ามีบัญชี ฝากธนาคาร เพิ่มเติมเป็นจํานวนเงิน 57,080.57 บาท จากรายการบัญชีเงินฝากธนาคาร

เงิน

ความคืบหน้า และการแก้ไข: สําหรับกรณีดังกล่าว บริษัทได้ตรวจหาสาเหตุที่เกิดขึ้น และพบว่าเป็นบัญชีที่เกิด ตอนที่บริษัทฯมีโครงการขายสินค้าโดยระบบ E-Commerce เมื่อ ปี 2543 ประกอบกับโครงการ E-Commerce ก็ ไม่ประสบความสําเร็จ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องก็ไม่ได้นําเอกสารดังกล่าวมาให้กับแผนกบัญชี/การเงิน ซึ่งบริษัท ฯ ก็ได้ปรับปรุงรายการทางบัญชีเพิ่มเติมแล้วตามงบการเงิน สําหรับงวดปี สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2552 และบริษัทฯ ได้ดําเนินการปิดบัญชีดังกล่าว และนําเงินฝากเข้าบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์ เมื่อ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 255 3 เรียบร้อยแล้ว ประเด็นที่แก้ไขในส่วนสาคัญ 1. ประเด็น: การไม่มีหนังสือกําหนดอํานาจในการอนุมัติขั้นตอนในการทํางานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และคู่มือ การปฏิบัติงานเกี่ยวกับผังทางเดินเอกสาร ความคืบหน้า และการแก้ไข: บริษัทได้กําหนดให้มีหนังสือกําหนดอํานาจในการอนุมัติขั้ นตอนการทํางาน และ คู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับผังทางเดินเอกสาร โดยหนังสือกําหนดอํานาจในการอนุมัติขั้นตอนการทํางานนั้น บริษัทได้นําเสนอการอนุมัติต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 3/2552 เมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม 2552 และสําหรับคู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับผังทางเดินเอกสารนั้นประกอบไปด้วยระบบงาน หลักของบริษัท ได้แก่ ระบบจัดซื้อวัตถุดิบ ระบบบริหารการผลิตซึ่งรวมถึงการจัดเก็บวัตถุดิบและสินค้าสําเร็จรูป ระบบการขนส่งสินค้า และระบบการบันทึกบัญชีขาย คู่มือดังกล่าว ได้ถูกนําเสนอเข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2552 และคณะกรรมการตรวจสอบมีมติ เห็นชอบต่อหนังสือกําหนดอํานาจในการอนุมัติ และคู่มือการปฏิบัติงานดังกล่าว อย่างไรก็ดี สําหรับระบบการ ทํางานอื่นนั้น เช่น ระบบฝ่ายบุคคล ระบบฝ่ายธุรการ เป็นต้น บริษัทกําลั งอยู่ในระหว่างการจัดทําอย่างเป็นลาย ลักษณ์อักษร และจะนําเสนอเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบต่อไป ทั้งนี้ เนื่องจากปัจจุบัน บริษัทกําลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาระบบการทํางานใหม่ด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทํางานให้มากขึ้น บริษัทอาจมีการเปลี่ยนแป ลงวิธีการทํางานบางส่วนต่อไปในอนาคต เพื่อให้สอดรับกับระบบการทํางานใหม่ที่ได้ถูกพัฒนาขึ้น และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวบริษัทจะจัดทําคู่มือ และระเบียบวิธีการดําเนินงานใหม่ และนําเสนอเข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบต่อไป 2. ประเด็น: การจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าแต่ละรายโดยละเอียดยังไม่เรียบร้อยดี เช่น ระบบไม่สามารถพิมพ์รายชื่อ ลูกหนี้ออกมาเป็นภาษาไทยได้ หรือ การไม่สามารถจัดทํารายงานลูกหนี้การค้าที่ค้างนานเกินกว่า 90 วันจากระบบ โดยตรง ความคืบหน้าและการแก้ไข : บริษัทกําลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาติดตั้งโปรแกรมสําเร็จรูปใหม่ ที่สามารถรองรับ การทํางานดังกล่าว ปัจจุบันอยู่ระหว่างการทดสอบระบบโปรแกรม โดยบันทึกข้อมูล ตั่งแต่ วันที่ 1 มก ราคา 2553 เป็นต้นมา และคาดว่าจะสามารถใช้ทดแทนโปรแกรมเดิมทั้งหมด ได้ในปี 2553 และในระหว่างนี้ บริษัทได้มีการปรับปรุงแก้ไขประเด็นดังกล่าวโดยใช้โปรแกรมพื้นฐานที่มีอยู่มาช่วยปรับปรุงการทํางานแล้ว 56


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

3. ประเด็น: บริษัทไม่มีการตรวจนับทรัพย์สิน และทะเบียนทรัพย์สินไม่ได้ระบุเลขทะเบียนทรัพย์สิน สถานที่ตั้งของ ทรัพย์สิน ผู้ดูและรับผิดชอบ และจํานวนชิ้นของสินทรัพย์ ความคืบหน้า และการแก้ไข: บริษัทได้ระบุเลขทะเบียนทรัพย์สินและปรับปรุงข้อมูลในทะเบียนทรัพย์สิน รวมทั้ง ผู้รับผิดชอบและสถานที่ตั้งทรัพย์สินเรียบร้อยแล้ว และกําหนดนโยบายการตรวจนับทรัพย์สินเป็นประจําอย่าง น้อยปีละครั้ง โดยจะเริ่มตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นไป ทั้งนี้ อาคารและอุปกรณ์ของบริษัทโดยส่วนใหญ่มีมูลค่าตาม บัญชีไม่เป็นสาระสําคัญต่องบการเงินตามลักษณะธุรกิจของบริษัท อีกทั้งมีอายุการใช้งานมานานกว่า 5 ปี 4. ประเด็น: ในการตรวจนับสินค้า สําหรับการตรวจสอบงบการเงินประจําปีของบริษัท ผู้สอบบัญชีพบว่ามีสินค้า บางรายการไม่พบในการตรวจนับ เนื่องจากเป็นสินค้าที่อยู่ระหว่างการโอนย้าย ระหว่างสาขา และมีรายการเบิก วัตถุดิบที่ยังไม่ได้ทําการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน โดยกรณีดังกล่าวอาจทําให้การบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง หรืออาจ สะท้อนสินค้าสูญหาย หรือ เกิดการทุจริตได้ ความคืบหน้า และการแก้ไข: ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่พบเกิดจากการที่พนักงานของบริษัทบันทึกบัญชีล่าช้า อย่างไรก็ดี กรณีดังกล่าวบริษัทสามารถกระทบยอด และหาเอกสารประกอบรายการ รวมถึงการปรับปรุงบัญชีให้เป็นปัจจุบัน เป็นที่เรียบร้อยทั้งหมด ทั้งนี้ เพื่อให้จํานวนความผิดพลาดอันเกิดจากบุคคล (Human error) ลดลง บริษัทได้อยู่ใน ระหว่างการติดตั้งและพัฒนาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ของบริษัท ซึ่งจะทําการบันทึกรับสินค้า ขายสินค้า อย่างอัตโนมัติและทันทีทันใด (Real-time) ทั้งนี้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ของบริษัทเริ่มใช้ในปี 2553 ทั้งนี้บริษัท ติดตั้งระบบ และซอฟท์แวร์ SAP ในระบบคอมพิวเตอร์ของบริษัทเมื่อเดือน ตุลาคม 2552 และได้มี การฝึกอบรบพนักงานแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างการทดสอบการใช้ระบบ SAP ไปควบคู่กับการใช้ระบบเดิมของบริษัท (Pararell Run) ทั้งนี้บริษัทคาดว่าขั้นตอนการทดสอบระบบ SAP จะสิ้นสุดและสามารถใช้ทดแทนระบบโปรแกรมเดิมได้ ในต้นปี 2554 ซึ่งระบบ SAP นี้จะสามารถแก้ไขข้อบกพร่องด้านการควบคุมภายใน ที่ยังอยู่ระหว่างการแก้ไขเช่น รายงาน วิเคราะห์อายุลูกหนี้ (Aging report) ไม่สามารถแยกลูกหนี้การค้าที่ค้างเกินกําหนด 90 วัน หรือ การไม่สามารถอ่านข้อมูล ลูกหนี้การค้าในรายละเอียดลูกหนี้การค้า เนื่องจากเป็นตัวหนังสือที่อ่านไม่ออกนั้นได้ และเพื่อความมั่นใจว่าบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพออย่างเหมาะสม บริษัทได้ทําการว่าจ้างบริษัท ผู้เชี่ยวชาญอิสระด้านการประเมินระบบควบคุมภายในมาทําการประเมินความพอเพียงของระบบควบคุมภายในของบริษัท และบริษัทดังกล่าวได้ให้ความเห็นว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และได้นําเสนอรายงานดังกล่าวเข้าสู่การ ประชุมของคณะกรรมการของบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1 /2551 เมื่อ วันที่ 13 สิงหาคม 2551 โดย มีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม และมติของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบว่า ใ น ปัจจุบันบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และไม่พบข้อบกพร่องที่มีนัยสําคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อผลการ ดําเนินงานของบริษัทแต่อย่างใด นอกจากนั้น ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทได้ดําเนินการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบงานของบริษัท (walkthrough) รวมถึงแสดงกระดาษทําการผลการตรวจสอบและเอกสารโดยมีการสุ่มตรวจระบบจัดซื้อวัตถุดิบ ระบบการผลิต ระบบการขนส่งสินค้า ต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2553 เมื่อ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 จากรายงานการตรวจสอบดังกล่าวไม่พบข้อบกพร่องที่มีนัยสําคัญต่องบการเงิน ทั้ งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทได้รับทราบรายงานดังกล่าวแล้ว

57


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัทมีการกําหนดมาตราการในการทํารายการระหว่างกันของบริษัท กับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง สําหรับกรณีที่เป็นการ ทํารายการระหว่างกันในลักษณะรายการค้าตามปรกติ เช่น การขายสินค้ าของ บริษัทซึ่งมีราคาที่อ้างอิงได้ตามรายการราคาที่กําหนด (Price List) ให้กับบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งในราคาและเงื่อนไขการค้าปรกติโดยไม่มีการให้ส่วนลดมากไปกว่าที่ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการมี อํานาจอนุมัติได้เช่นเดียวกับลูกค้ารายอื่น เป็นต้น สําหรับกรณีที่การทํารา ยการระหว่างกันดังกล่าวนอกเหนือจากรายการ ข้างต้นหรือไม่เป็นรายการการค้าตามปกติ ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียจะไม่สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณาอนุมัติ รายการดังกล่าว โดยบริษัทจะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นชอบ เกี่ยวกับความจําเป็น ความสมเหตุสมผล และความเหมาะสม ในการเข้าทํารายการดังกล่าวเป็นกรณี ๆ ไป ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญใน การพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น บริษัทจะจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญอิสระ ผู้สอบบัญชีอิสระ หรือผู้ประเมินราคา อิสระ เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบ ใช้ในการตัดสินใจและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท หรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี เพื่ออนุมัติรายการดังกล่าวก่อนเข้าทํา รายการ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานรายการที่เกิดขึ้นทุกไตรมาส และพิจารณานโยบายการทํารายการ ระหว่างกันในลักษณะรายการค้าปกติทุกปี

รายการระหว่างกัน

58


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

รายชื่อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง บริษัท 1. ห้างหุ้นส่วนจํากัด เพชรยูบิลลี่

ลักษณะธุรกิจ ค้าเครื่องประดับ 1) 2) 3) 4) 5) 6)

ชื่อผู้เกี่ยวข้องกรรมการ นายสุนทร พรประกฤต นางสาวชนาพร พรประกฤต นายบุญชัย พรประกฤต นายบุญฤทธิ์ พรประกฤต นายรัตน์ พรประกฤต นางมาลี พรประกฤต

2. บริษัท ยูบิลลี่ จิวเวลรี่ ค้าเครื่องประดับ 1) น.ส. อรรัตน์ พรประกฤต แมนนูแฟคเจอร์ จํากัด 2) นางสาวชนาพร พรประกฤต 3) นายรัตน์ พรประกฤต 4) นายบุญฤทธิ์ พรประกฤต 5) นายสุนทร พรประกฤต 6) บุคคลอื่น ๆ ที่ไม่มีความ ขัดแย้ง 3. บริษัท ยูบิลลี่ โกลด์ ค้าทองคําแท่ง 1) นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย

สัดส่วนการถือหุ้น ลักษณะความสัมพันธ์กับ รายการระหว่างกัน หมายเหตุ (ร้อยละ) บริษัท/กรรมการของบริท 30 บิดานายวิโรจน์ ซื้อขายสินค้าในปี ประกอบธุรกิจจําหน่ายเพชรและ 10 พี่สาวนายวิโรจน์ 2550 เครื่องประดับเพชร ที่ผ่านมาไม่ได้มี 10 พี่ชายนายวิโรจน์ การขายหรือฝากขายสินค้ากับบริษัท 10 น้องชายนายวิโรจน์ แต่อย่างใด โดยเมื่อวันที่ 11 10 น้องชายนายวิโรจน์ พฤศจิกายน2551 บริษัท ได้ทําการ 30 มารดานายวิโรจน์ ซื้อทรัพย์สินของ หจก . เพชรยูบิลลี่ เข้ามาและใช้ หจก . เพชรยูบิลลี่เป็น สาขาหนึ่งของบริษัท ซึ่ง ณ ปัจจุบัน ไม่ได้มีการดําเนินการใดๆ ในนาม หจก. เพชรยูบิลลี่อีก 14 บุตรสาวนายวิโรจน์ -ไม่มีได้หยุดการขายเครื่องประดับแล้ว 14 พี่สาวนายวิโรจน์ โดยปัจจุบันดําเนินธุรกิจให้เช่า 14 น้องชายนายวิโรจน์ อสังหาริมทรัพย์ 14 น้องชายนายวิโรจน์ 16 บิดานายวิโรจน์ 28 80

ภรรยานายวิโรจน์ และ

-ไม่มี-

มีการกู้ยืมเงินจากนายวิโรจน์ แต่ 59

สถานะ หยุดดําเนิน กิจการ

คงอยู่

หยุดดําเนิน


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บริษัท

ลักษณะธุรกิจ

[รายงานประจาปี 2552]

ชื่อผู้เกี่ยวข้องกรรมการ

สัดส่วนการถือหุ้น ลักษณะความสัมพันธ์กับ รายการระหว่างกัน หมายเหตุ (ร้อยละ) บริษัท/กรรมการของบริท กรรมการของ บริษัท ไม่ใช่จากยูบิลลี่ และบริษัท ยูบิลลี่ 10 กรรมการของ บริษัท โกลด์ จํากัด ไม่เคยจําหน่ายสินค้า 10 บุตรสาวนายวิโรจน์ และ ให้กับช่างรับจ้างผลิตของบริษัท กรรมการของ บริษัท

สถานะ

จํากัด

ประเภทความ บริสุทธิ์ 99.9% 2) นายวิโรจน์ พรประกฤต และ 96.5% 3) น.ส.อัญรัตน์ พรประกฤต

4. บริษัท บางกอกได มอนด์แอนด์พรีเชียส สโตนเอ็กซ์เชนจ์ จํากัด* 5. ห้างหุ้นส่วนจํากัด ห้างเพชรซุยฮั้ว

ค้าเครื่องประดับ 1) นายสุนทร พรประกฤต 2) บุคคลอืน่ ๆ ที่ไม่มีความ ขัดแย้ง

1 99

บิดานายวิโรจน์

-ไม่มี-

ไม่มีความร่วมมือทางธุรกิจ และเป็น คู่แข่งขันทางการค้า แต่ไม่มียอดขาย สินค้าตั้งแต่ปี 2549

คงอยู่

ค้าเครื่องประดับ 1) 2) 3) 4) 5) 6) ค้าเครื่องประดับ 1) 2) 3) 4) 5)

30 10 10 10 10 30 16 14 14 14 14

บิดานายวิโรจน์ พี่สาวนายวิโรจน์ พี่ชายนายวิโรจน์ น้องชายนายวิโรจน์ น้องชายนายวิโรจน์ มารดานายวิโรจน์ บิดานายวิโรจน์ พี่สาวนายวิโรจน์ พี่ชายนายวิโรจน์ น้องชายนายวิโรจน์ น้องชายนายวิโรจน์

-ไม่มี-

ไม่มีความร่วมมือทางธุรกิจ และเป็น คู่แข่งขันทางการค้า

คงอยู่

-ไม่มี-

ไม่มีความร่วมมือทางธุรกิจ และเป็น คู่แข่งขันทางการค้า

คงอยู่

6. บริษัท ซุยฮั้ว ซินดิ เคท จํากัด

นายสุนทร พรประกฤต นางสาวชนาพร พรประกฤต นายบุญชัย พรประกฤต นายบุญฤทธิ์ พรประกฤต นายรัตน์ พรประกฤต นางมาลี พรประกฤต นายสุนทร พรประกฤต นางสาวชนาพร พรประกฤต นายบุญชัย พรประกฤต นายบุญฤทธิ์ พรประกฤต นายรัตน์ พรประกฤต

60

กิจการ


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บริษัท

ลักษณะธุรกิจ

[รายงานประจาปี 2552]

ชื่อผู้เกี่ยวข้องกรรมการ 6) บุคคลที่ไม่มีความขัดแย้ง

7. บริษัท เจ.บี. แอสเสท ให้เช่าอาคาร จํากัด สํานักงาน

8. บริษัท เพชรอ่อนนุช แลนด์ จํากัด

ให้เช่าที่ดิน

สัดส่วนการถือหุ้น ลักษณะความสัมพันธ์กับ รายการระหว่างกัน (ร้อยละ) บริษัท/กรรมการของบริท 28

1) นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย

80

2) นายวิโรจน์ พรประกฤต 3) น.ส.อัญรัตน์ พรประกฤต

16 4

1) นายสุนทร พรประกฤต 2) บุคคลอืน่ ๆ ที่ไม่มีความ ขัดแย้ง 9. บริษัท ซี.เค ไดมอนด์ พัฒนา 1) นายชาญ ตุลยาพิศิษฐ์ชัย จํากัด อสังหาริมทรัพย์ 2) บุคคลอื่น ๆ ที่ไม่มีความ ขัดแย้ง 10. บริษัท เค แอนด์ ซี พัฒนา 1) นายชาญ ตุลยาพิศิษฐ์ชัย แลนด์ เรียลเอสเตท อสังหาริมทรัพย์ 2) บุคคลอื่น ๆ ที่ไม่มีความ จํากัด ขัดแย้ง

หมายเหตุ

สถานะ

ประกอบธุรกิจคนละประเภท และ ไม่มีความร่วมมือทางการค้าใด ๆ บจ . เจ บี แอสเสท นั้นเคยมี สํานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ ชั้น 6 อาคาร เตียวฮงซึ่งปัจจุบันเป็นสํานักงาน กรรมการและผู้บริหารของยูบิลลี่ และ ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 บจ. เจ บี แอสเสท มีสํานักงานตั้งอยู่ บริเวณถนนรามอินทรา ประกอบธุรกิจคนละประเภท และ ไม่มีความร่วมมือทางการค้าใด ๆ

คงอยู่

ภรรยานายวิโรจน์ และ กรรมการของ บริษัท กรรมการของ บริษัท บุตรสาวนายวิโรจน์ และ กรรมการของ บริษัท

-ไม่มี-

9 91

บิดานายวิโรจน์

-ไม่มี-

40 60

พี่ชายนางสุวัฒนา

-ไม่มี-

ประกอบธุรกิจคนล ะประเภท และ ไม่มีความร่วมมือทางการค้าใด ๆ

คงอยู่

40 60

พี่ชายนางสุวัฒนา

-ไม่มี-

ประกอบธุรกิจคนละประเภท และ ไม่มีความร่วมมือทางการค้าใด ๆ

คงอยู่

61

คงอยู่


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บริษัท

ลักษณะธุรกิจ

11. ห้างหุ้นส่วนจํากัด หั่งยู่เซ้ง

รับจ้างปั้มพระ และเหรียญจาก แผ่นทองเหลือง ทองแดง

12. บริษัท เอิร์ธสตาร์ ไดมอนด์ จํากัด

ขาย เครื่องประดับ เพชรในร้าน กาแฟ

[รายงานประจาปี 2552]

ชื่อผู้เกี่ยวข้องกรรมการ 1) นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย 2) นางสุกัญญา อร่ามสินชัย 3) นางคาจู แซ่โต้ว 4) บุคคลอื่น ๆ ที่ไม่มีความ ขัดแย้ง 1) นายวิโรจน์ พรประกฤต 2) บุคคลอื่น ๆ ที่ไม่มีความ ขัดแย้ง

สัดส่วนการถือหุ้น ลักษณะความสัมพันธ์กับ รายการระหว่างกัน หมายเหตุ (ร้อยละ) บริษัท/กรรมการของบริท 16 ภรรยานายวิโรจน์ และ -ไม่มีประกอบธุรกิจคนละประเภท และ กรรมการของ บริษั ท ไม่มีความร่วมมือทางการค้าใด ๆ 16 พี่สาวนางสุวัฒนา 16 มารดานางสุวัฒนา 52 50 50

กรรมการของ บริษัท

-ไม่มี-

ได้จดทะเบียนเลิกบริษัทไปแล้วเมื่อ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2552

* นายสุนทร พรประกฤตได้ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัท บางกอกไดมอนด์แอนด์พรีเชียสสโตนเอ็กซ์เชนจ์ จํากัด ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552

บริษัทที่ประกอบธุรกิจคล้ายคลึงกันที่มีกรรมก ารของยูบิลลี่ดํารงเป็นกรรมการและ /หรือเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ คือ ห้างหุ้นส่วนจํากัด เพชรยูบิลลี่ บริษัท ยูบิลลี่ จิวเวลรี่ แมนนู แฟคเจอร์ จํากัด บริษัท ยูบิลลี่ โกลด์ จํากัด ได้ทําบันทึกข้อตกลงกับยูบิลลี่ ว่า “จะไม่ดําเนินธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม หรือเข้ามามีส่วนร่วมทางอ้อม หรือการดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ผลิตและจําหน่ายเครื่องประดับเพชร และเพชรกะรัต หรือธุรกิจอื่นใดที่แข่งขันกับธุรกิจของบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) รวมถึงจะไม่จําหน่ายวัตถุดิบให้กับบุคคลหรือนิติบุคคล ที่มารับจ้างทําสินค้าให้กับบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน)” และห้างหุ้นส่วนจํากัด เพชรยูบิลลี่จะไม่นําตราสินค้า “ศูนย์เพชร ” และ “เพชรยูบิลลี่ ” มาใช้อีก ส่วนบริษัทเอิร์ธสตาร์ได มอนด์ จํากัด นั้นได้จดทะเบียนเลิกบริษัทไปแล้ว นอกจากนี้ บริษัทจะไม่ทํารายการระหว่างกันใด ๆ กับ ห้างหุ้นส่วนจํากัด ห้างเพชรซุยฮั้ว และบริษัท ซุยฮั้วซินดิเคท จํากัด

62

สถานะ คงอยู่

เลิกกิจการ


[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

ในส่วนของบริษัท เจ.บี. แอสเสท จํากัด บริษัท เพชรอ่อนนุชแลนด์ จํากัด บริษัท ซี.เค ไดมอนด์ จํากัด บริษัท เค แอนด์ ซี แลนด์ เรียล จํากัด และห้างหุ้นส่วนจํากัด หั่งยู่เซ้ง นั้นประกอบ ธุรกิจคนละประเภทกับยูบิลลี่จึงไม่ได้มีการทําบันทึกข้อตกลงไว้ ประกอบกับการที่บริษัท บางกอกไดมอนด์แอนด์พรีเชียสสโตนเอ็กซ์เชนจ์ จํากัด ห้างหุ้นส่วนจํา กัด ห้างเพชรซุยฮั้ว และบริษัท ซุยฮั้ว ซินดิเคท จํากัด นั้นเป็นคู่แข่งขัน ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 ทางคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของการทํารายการดังกล่าวว่า เป็นรายการที่เป็นไปตามธุรกิจปกติของบริษัท มีความ สมเหตุสมผล มีการกําหนดราคาและเงื่อนไขอื่น ๆ ตามราคาตลาด เช่นเดียวกับการกําหนดราคาให้กับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกัน แ ละไม่มีการถ่ายเทผลปร ะโยชน์ระหว่างบริษัทและ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รายการระหว่างกันกับบุคคล/นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รายการระหว่างกันกับบุคคล/นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปี 2551 และปี 2552 มีดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท) บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง นายวิโรจน์ พรประกฤต กับ บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน)

สาหรับปี สิ้นสุด ความสัมพันธ์

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

นายวิโรจน์ พร ป ระกฤต เป็น กรรมการของ บริษัทและอยู่ใน กลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ ซึ่งถือหุ้นอยู่ร้อย ละ 42.35

1. บริษัทมียอดเงินกู้ยืมจากนายวิโรจน์ พรประกฤต โดยมีรายละเอียดยอดเงินกู้ ดอกเบี้ยค้างจ่าย ณ วันสิ้น งวด และ ดอกเบี้ยจ่ายระหว่างงวดตามรายละเอียด ดังนี้ - เงินกู้ยืมต้นงวด - กู้ยืมจากกรรมการเพิ่มขึ้น - จ่ายชําระเงินกู้ยืมกรรมการ - เงินกู้ยืมคงค้าง

31 ธ.ค. 51

การกาหนดราคา 31 ธ.ค. 52 และเงื่อนไข ไม่มีการทํา สัญญากู้ยืมเงิน และไม่มีการคิด ดอกเบี้ย

46.55 0.61 47.16 -ไม่มี-

-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับ ความจาเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณา รายการดังกล่าวแล้วมีความเห็นว่า การกู้ยืมเงินจาก กรรมการดังกล่าวเกิดขึ้นเนื่องจากความจําเป็นใน การดําเนินธุรกิจของบริษัท เพื่อซื้อวัตถุดิบ เนื่องจาก มีการแข่งขันกันซื้อวัตถุดิบในตลาดมาก เนื่องจาก เพชรคุณภาพสูงมีจํานวนจํากัด จึงต้องกู้ยืมเงินจาก นายวิโรจ น์ ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทก่อน เพื่อ นําไปชําระค่าวัตถุดิบ ซึ่งการกู้ยืมเงินจากนายวิโรจน์ 63


[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

สาหรับปี สิ้นสุด ความสัมพันธ์

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ -

ดอกเบี้ยค้างจ่าย ดอกเบี้ยจ่าย

2. นายวิโรจน์ พรประกฤต ค้ํา ประกันวงเงินกู้ยืม ระยะสั้นจํานวน 110 ล้านบาท และ วงเงินกู้ยืมระยะ ยาวจากธนาคารพาณิชย์ โดยไม่มีการคิดค่าใช้จ่าย โดยมียอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ดังนี้ - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ระยะสั้น - เงินกู้ยืมระยะยาว - หนี้สินตามสัญญาปรับโครงสร้าง หนี้

31 ธ.ค. 51 -ไม่มี-ไม่มี-

การกาหนดราคา 31 ธ.ค. 52 และเงื่อนไข -ไม่มี-ไม่มี-

ไม่มีต้นทุนทางการเงินซึ่งดีกว่าการกู้ยืมเงินจาก ธนาคาร และ บริษัทไม่เสียประโยชน์ แต่อย่างไรก็ ตามการกู้ยืมเงินโดยไม่มีดอกเบี้ย ทําให้บริษัทต้อง พึ่งพาการช่วยเหลือจากกรรมการ และในอนาคตไม่ ควรมีการกู้ยืมเงินจากกรรมการของบริษัทอีก โดย บริษัทควรจะจัดให้มีวงเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก ธนาคารพาณิชย์อย่างเพียงพอ ทั้งนี้ในเดือนสิงหาคม 2551 บริษัทได้จ่ายชําระเงินกู้ยืมจากกรรมการ หมดแล้ว ไม่มีการคิด ค่าใช้จ่าย

48.60

10.32

13.70 -ไม่มี-

13..33 -ไม่มี-

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับ ความจาเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณา รายการดังกล่าวแล้ว เห็นว่าในส่วนของวงเงินกู้ยืม ระยะสั้น และระยะยาวก็เพื่อประโยชน์ในการดําเนิน ธุรกิจของบริษัท ซึ่งธนาคารต้องการให้กรรมการ บริษัทค้ําประกั นวงเงินกู้ดังกล่าว ตามธรรมเนียม ปฏิบัติตามปกติ และเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 ธนาคารมีหนังสือ ที่ สธก 4/1-5200156 แจ้งการ ยกเลิกภาระค้ําประกัน ตามหนังสือค้ําประกันฉบับ ลงวันที่ 11 เมษายน 2548 และ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ในวงเงิน 110 ล้านบาท 64


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย กับ บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สาหรับปี สิ้นสุด ความสัมพันธ์

นางสุวัฒนา ตุล ยาพิศิษฐ์ชัย เป็น ภรรยาของนาย วิโรจน์ พร ประกฤต กรรมการของ บริษัท และอยู่ใน กลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

3. นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัยใช้ที่ดินส่วนตัวค้ํา ประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม กับธนาคาร พาณิชย์แห่งหนึ่งรวมเป็นวงเงิน 100 ล้านบาท โดยไม่ มีการคิดค่าใช้จ่ายโดยมียอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ดังนี้ - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ระยะสั้น

31 ธ.ค. 51

การกาหนดราคา 31 ธ.ค. 52 และเงื่อนไข

ไม่มีการคิด ค่าใช้จ่าย

48.60

44.24

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับ ความจาเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ

สําหรับหนี้สินจากการปรับโค รงสร้างหนี้นั้นเกิด จากการที่บริษัทได้กู้เงินเมื่อปี 2538 แต่ต่อมาเกิดวิ ฤตเศรษฐกิจในปี 2540 บริษัทจึงไม่สามารถจ่าย ชําระหนี้ได้ จึงได้มีการเจรจาเรื่อยมาจนมีการตกลง ปรับโครงสร้างหนี้ได้ในปี 2544 ซึ่งธนาคารต้องการ ให้กรรมการบริษัทค้ําประกันวงเงินกู้ดังกล่าว ตาม ธรรมเนียมปฏิบัติตามปกติ และบริษัทก็มีสามารถ ผ่อนชําระหนี้หมดแล้ว และนายวิโรจน์ ไม่มีการค้ํา ประกันให้กับบริษัทในหนี้สินจากการปรับ โครงสร้างหนี้นี้แล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณา รายการดังกล่าวแล้วมีความเห็นว่า บริษัทได้ทําการ กู้ยืมเงินจากธนาคารพาณิชย์เพื่อซื้อสินทรัพย์ข อง บริษัท และ บริษัทควรมีวงเงินกู้ยืมระยะสั้นเพื่อลด ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ซึ่งการใช้ทรัพย์สินของ กรรมการค้ําประกันวงเงินกู้ เป็นการปฏิบัติตาม ธรรมเนียมธุรกิจทั่วไป นอกจากนี้ยังไม่มีการคิด ค่าใช้จ่าย จึงไม่ทําให้บริษัทเสียผลประโยชน์ 65


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

[รายงานประจาปี 2552]

สาหรับปี สิ้นสุด ความสัมพันธ์

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

31 ธ.ค. 51

การกาหนดราคา 31 ธ.ค. 52 และเงื่อนไข

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับ ความจาเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ

ซึ่งถือหุ้นอยู่ร้อย ละ 7.59 ห้างหุ้นส่วนจํากัด เพชรยูบิลลี่ กับ บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน)

นายสุนทร พรประกฤต กับ บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด

นายวิโรจน์ พร ประกฤต เป็น หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วนจํากัด เพชร ยูบิลลี่ และเป็น กรรมการของ บริษัทและอยู่ใน กลุ่ม ผู้ถือหุ้นใหญ่ซึ่ง ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 42.35

4. บริษัทได้ ซื้อสินค้าเครื่องประดับเพชรจากห้าง หุ้นส่ วนจํากัด เพชรยูบิลลี่ โดยมีมูลค่าการซื้อขาย ระหว่างปี 2550 จํานวน 3.73 ล้านบาท และมียอด เจ้าหนี้การค้าค้างชําระ ณ วันสิ้นงวด ตามรายละเอียด ดังนี้ - เจ้าหนี้การค้าต้นงวด - ซื้อสินค้า - เจ้าหนี้การค้าปลายงวด

นายสุนทร พร 5. บริษัทได้ จ่ายค่าที่ปรึกษาให้กับนายสุนทร พร ประกฤต เป็นบิดา ประกฤต ของนายวิโรจน์ - ค่าที่ปรึกษา พรประกฤต - ค่าที่ปรึกษาค้างจ่าย

3.27 -ไม่มี-ไม่มี-

1.39 0.15

-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-

-ไม่มี-ไม่มี-

เป็นไปตามราคา คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณา ตลาด รายการดังกล่าวแล้วมีความเห็นว่าการที่ผู้บริหาร ตัดสินใจดําเนินการดังกล่าวนั้น เนื่องจากห้าง หุ้นส่วนจํากัด เพชรยูบิลลี่ และบริษัท ยูบิลลี่ เอ็น เตอร์ไพรส์ จํากัด ทําธุรกิจจําหน่ายเครื่องประดับ เพชรเช่นเดียวกั น ซึ่งอาจจะมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ (Conflict of Interest) ในอนาคต ทาง นายวิโรจน์ จึงได้เจรจาให้เลิกห้างหุ้นส่วนจํากัด เพชรยูบิลลี่ โดยจําหน่ายสินค้าเครื่องประดับเพชร ทั้งหมดของห้างหุ้นส่วนเพชรยูบิลลี่ ให้กับบริษัท แล้วหยุดดําเนินธุรกิจในนามห้างหุ้นส่วน ซึ่งรา คาที่ ใช้ในการซื้อขายสินค้านั้นเป็นไปตามราคาที่ เปรียบเทียบได้กับราคาตลาดทั่วไป ค่าที่ปรึกษา เดือนละ 150,000 บาท พร้อมภาษี

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณา รายการดังกล่าวแล้ว โดยทางผู้บริหารอธิบายว่าเป็น การจ้างนายสุนทร พรประกฤต ในการคัดเลือกผู้ขาย วัตถุดิบรายใหม่ให้กั บบริษัท เนื่องจากการ 66


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

[รายงานประจาปี 2552]

สาหรับปี สิ้นสุด ความสัมพันธ์

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

31 ธ.ค. 51

การกาหนดราคา 31 ธ.ค. 52 และเงื่อนไข

(มหาชน)

นายศุภสิทธิ์ คล้ายเข็ม กับ บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด(มหาชน)

บริษัท วีโอเอฟ จํากัด กับบริษัท ยูบิลลี่ เอ็น เตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน)

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับ ความจาเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ ตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง และประสบการณ์ ซึ่งนายสุนทร มีความชํานาญและ ประสบการณ์มากว่า 30 ปี คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไข ปกติ และมีความสมเหตุสมผล โดยการจ้างวานนาย สุนทร สิ้นสุดในเดือนกันยายน 2551

นายศุภสิทธิ์ คล้าย เข็ม เป็นพนักงาน ประจําของบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ ไพรส์ จํากัด (มหาชน)

6. บริษัทได้ขาย สินค้าเครื่องประดับเพชรให้กับนาย ศุภสิทธิ์ คล้ายเข็ม โดยมีมูลค่าการซื้อขาย คิด ค่าบริการระหว่างงวด และมียอดลูกหนี้การค้าค้าง ชําระ ณ วันสิ้นงวด ตามรายละเอียดดังนี้ - ขายสินค้า - ค่าบริการ - ลูกหนี้การค้าคงเหลือ

นายวิโรจน์ พร ประกฤตเคย เป็น กรรมการและผู้ ถือหุ้นของบริษัท

7. บริษัท วีโอเอฟ จํากัด ได้ขอให้บริษัทส่งพนักงาน 1 คน ไปทํางานให้กับบริษัทโดยที่บริษัท วีโอเอฟ จํากัดจะชําระเงิน เดือนของพนักงานคนดังกล่าว และ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ คืนให้กับบริษัทในภายหลัง โดยมี

8.70 0.58 2.31

4.97 -ไม่มี0.62

เป็นไปตามราคา และเงื่อนไข เดียวกับผู้ ประกอบรายอื่น ที่ทําสัญญาใน ลักษณะคล้าย แฟรนไชส์กับ บริษัท

เนื่องจากภรรยาของนายศุภสิทธิ์ คล้ายเข็ม ต้องการ จะทําธุรกิจค้าเครื่องประดับในลักษณะเดียวกับ ผู้ประกอบการรายอื่น ๆ ที่ทําสัญญาในลักษณะ คล้ายแฟรนไชส์กับบริษัทจึงได้ติดต่อขอทําสัญญา กับบริษัทในนามของสามี คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็น ไปตามเงื่อนไขปกติ และมีความ สมเหตุสมผลทางธุรกิจ

เรียกเก็บชําระ เงินจากบริษัท วีโอเอฟ จํากัด ตามที่บริษัทจ่าย

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณา รายการดังกล่าวแล้วมีความเห็นว่า มีความ สมเหตุสมผลทางธุรกิจ และเป็นไปตามราคา ตลาด ทั่วไป ทั้งนี้พนักงานรายดังกล่าวได้ลาออกจาก 67


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

[รายงานประจาปี 2552]

สาหรับปี สิ้นสุด ความสัมพันธ์

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

วีโอเอฟ จํากัดใน รายละเอียดดังนี้ ตราส่วนร้อยละ - รายได้อื่น ๆ 54 และ เป็น - ลูกหนี้คงเหลือ กรรมการของ บริษัทและอยู่ใน กลุ่มผู้ถือหุ้นใ หญ่ ซึ่งถือหุ้นอยู่ร้อย ละ 42.35

31 ธ.ค. 51 0.73 -ไม่มี-

การกาหนดราคา 31 ธ.ค. 52 และเงื่อนไข -ไม่มี-ไม่มี-

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับ ความจาเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ

ไปจริง โดยบวก บริษัท ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2551 และบริษัทก็ไม่ได้ เพิ่มเงินอีกร้อย เรียกเก็บเงินจากบริษัท วีโอเอฟ เพิ่มอีก และใน ละ 10 ปัจจุบัน คุณวิโรจน์ก็ได้ลาออกจากการเป็น กรรมการและขายหุ้นทั้งหมดที่มีอยู่ในบริษัท วีโอ เอฟ จํากัด แล้ว ตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ ปี 2551

68


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

ภาพรวมของการดาเนินงาน

[รายงานประจาปี 2552]

คาอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและ ผลการดาเนินงาน

บริษัทประกอบธุรกิจค้าปลีกเพชรและเครื่องประดับเพชร ซึ่งเป็น ธุรกิจที่มีผู้ประกอบการรายเล็กแข่งขันกันเป็นจํานวนมาก แต่สินค้ายังคงมี อัตรากําไรขั้นต้นต่อหน่วยสูง นอกจากนี้อัตรากําไรขั้นต้นของสินค้า รูปแบบเดียวกันอาจจะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับมูลค่าของวัตถุดิบ ณ ช่วงเวลาที่ ผลิตสินค้า และส่วนลดจากราคาป้ายที่พนักงานขายเป็นผู้กําหนด ในส่วน ของการจัดหาผลิตภัณฑ์ของบริษัทแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนคือการจัดหาเพชรที่ เป็นทั้งสินค้าสําเร็จรูปและวัตถุดิบ และว่าจ้างให้ผู้ประกอบการโรงงานผลิต เครื่องประดับให้ ซึ่งการดําเนินธุรกิจดังกล่าวคล้ายกับการสั่งซื้อสินค้าจากผู้ผลิตมาเพื่อจัดจําหน่าย ทําให้บริษัทไม่จําเป็นต้อง ลงทุนในสินทรัพย์ถาวรมากนัก แต่การดําเนินธุรกิจดังกล่าวต้องอาศัยเงินทุนหมุนเวียนสูง เพื่อการสั่งซื้อและจัดเก็บสินค้าเพื่อขาย เนื่องจากต้องมีรูปแบบจํานวนมากสําหรับให้ผู้ที่สนใจเลือกซื้อ ปัจจัยความสําเร็จในธุ รกิจนี้ส่วนหนึ่งจึงขึ้นอยู่กับ การบริหาร จัดการสินค้าคงเหลือและการบริหารสภาพคล่องอย่างมีประสิทธิภาพ ธุรกิจค้าปลีกเพชรและเครื่องประดับเพชร นั้นมีการตั้งกําไรขั้นต้นต่อชิ้นอยู่ในเกณฑ์สูง แต่มูลค่าการจําหน่า ยสินค้า แต่ละครั้งจะไม่สูงมากนักเมื่อเทียบกับธุรกิจผลิตและส่งออกเครื่องประดับ ดังนั้นบริษัทจึงเน้นจับกลุ่มลูกค้าจํานวนมากและ ขยายฐานลูกค้าเพื่อสร้างกําไรสุทธิ อนึ่งในปัจจุบันบริษัทมุ่งเน้นที่จะขยายสาขาเพิ่มเพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่กระจายอยู่ตามจังหวั ด ต่าง ๆ ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังต้องมีการเตรียมสินค้าเครื่องประดับไว้ที่แต่ละสาขาในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อให้สินค้าที่มีอยู่ ในแต่ละสาขามีความหลากหลายพอที่จะให้ลูกค้าสามารถเลือกซื้อได้ ทําให้การดําเนินธุรกิจของบริษัทจะต้องเน้น ระบบการบริหารสินค้าคงเหลือที่มีประสิทธิภาพ เพื่อลดค่าเสียโอกาสในการที่จะต้องเก็บสต๊อคสินค้าในปริมาณมาก นอกจากนี้ ยังต้องมีการจัดการด้านความปลอดภัยและการประกันภัย เพื่อลดความเสี่ยงจากการโจรกรรม หรือทุจริตด้วย สําหรับสินค้าหลักของบริษัทมี 3 ประเภท คือ 1) เครื่องประดับ 2)เพชรกะรัต และ 3)เพชรร่วง ตาม ปกติสินค้า เครื่องประดับของบริษัทจะมีอัตรากําไรขั้นต้นสูงกว่าสินค้าประเภทเพชรกะรัตและเพชรร่วง นอกจากนี้สินค้าเครื่องประดับ บางรูปแบบจะมีอัตรากําไรขั้นต้นแตกต่างจากสินค้าเครื่องประดับรูปแบบอื่น ๆ สําหรับปี 2550 ยอดขายและการให้บริการของบริษัท มีอัตราการขยายตัวเพิ่ มขึ้นจากปี 2549 ร้อยละ 26.07 เนื่องจาก บริษัทได้จําหน่ายเพชรกะรัตอีกครั้งหลังจากที่สินค้าเพชรกะรัตที่มาจําหน่ายได้รับใบรับประกันคุณภาพจากสถาบันในต่างประเทศ โดยมียอดจําหน่ายเพชรกะรัต 91.63 ล้านบาท และในขณะที่ยอดจําหน่ายเครื่องประดับลดลงเล็กน้อยจาก 362.65 ล้านบาท เหลือ 361.43 ล้านบาท สําหรับในปี 2551 ยอดขายและให้บริการของบริษัทมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนเป็นร้อยละ 19.65 หรือ ประมาณ 89.97 ล้านบาท โดยยอดขายและให้บริการที่เพิ่มขึ้น ประมาณร้อยละ 83 เกิดจากร้านค้าที่เปิดใหม่ที่สะพานเหล็ก และอีก ร้อยละ 9 เกิดจากเคาน์เตอร์แบบเช่าที่เปิดเพิ่มในต่างจังหวัด 2 แห่ง และส่วนที่เหลือร้อยละ 8 เกิดจาก ยอดขายที่เพิ่มขึ้นจาก การร่วมมือกับบริษัทกรุงไทยลิสซิ่ง จํากัด สําหรับในปี 2552 ยอดขายและให้บริการของบริษัทมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนเป็นร้อยละ 0.09 หรือประมาณ 0.47 ล้านบาท

69


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ทั้งนี้ผลของปัจจัยทางฤดูกาลมีผลกระทบต่อยอดขายสินค้าของบริษัทเล็กน้อย โดยในช่วงเดือนธันวาคม เดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ บริษัทจะมียอดขายสินค้าสูงกว่าในช่วงอื่นของปี เนื่องจากเป็นช่วงเทศกาลวันคริสมาสต์ วันปีใหม่ วันตรุษจีน และวันวาเลนไทน์ตามลําดับ ซึ่งได้แสดงไว้ในยอดขายสินค้าแยกตามรายเดือนดังนี้

ที่มา: บมจ.ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

สําหรับในปี 2552 ยอดขายและการให้บริการของ บริษัทเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน โดยเท่ากับ ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.09 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน ยอดขายและการให้บริการที่เพิ่มขึ้น

0.47

สําหรับปี 2552 ถึงแม้ภาพรวมเศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอตัวเนื่องจากเกิดภาวะวิกฤตทางการเงิน ความไม่มั่นคงทางการ เมืองภายในประเทศ เศรษฐกิจหดตัว ภาวะคนว่างงาน ซึ่งมีผลกระทบทางด้านจิตวิทยาสะท้อนถึงกําลังซื้อข องผู้บริโภค แต่ ผู้บริหารก็มีความเชื่อมั่นว่าอุตสาหกรรมอัญมณีในประเทศยังมีแนวโน้มที่ดี จากข้อมูลการสํารวจตลาดเครื่องประดับของบริษัท ผู้บริหารประมาณการว่าส่วนแบ่งทางการตลาดของบริษัทมีประมาณร้อยละ 10 ของมูลค่าตลาด ในกลุ่มเคาน์เตอร์ หรือประมาณ ร้อยละ 2 ของมูลค่า ตลาดรวม ทําให้ยังมีโอกาสเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดได้อีก และการขยายตัวของห้างสรรพสินค้าจาก ส่วนกลางไปสู่ต่างจังหวัด อาทิ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลได้ขยายไปยังจังหวัดขอนแก่น ชลบุรี และเมืองพัทยา หรือห้างเทสโก้ โลตัสที่ขยายไปทั่วทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งบริษัทได้เป็นพันธมิตรที่ดีกับทั้งสองห้างและเป็นตัวเลือกอันดับต้น ๆ ในการเสนอ พื้นที่ขาย และพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภคในต่างจังหวัดที่มีรูปแบบการดําเนินชีวิตใกล้เคียงกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีกําลัง ซื้อสูงขึ้น โดยจากการที่อัตราส่วนรายได้จากการขายในเขตกรุงเทพมหานคร และ ต่างจัง หวัดของบริษัทเปลี่ยนไปจากเดิมที่ ในปี 2549 ยอดขายในกรุงเทพมหานครมีอัตราส่วนร้อยละ 65.06 และ ยอดขายในต่างจังหวัดมีอัตราส่วนร้อยละ 34.94 ของยอด รายได้จากการขาย ในขณะที่ ในปี 2552 รายได้จากการขายในเขตกรุงเทพมหานครมีอัตราส่วนร้อยละ 50.71 และ ต่างจังหวัดมี อัตราส่วนร้อยละ 49.29 ของยอดรายได้จากการขาย ซึ่งจะเห็นได้ว่าสัดส่วนระหว่างยอดขายในต่างหวัดและกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากบริษัทได้เน้นการขยายธุรกิจในต่างจังหวัดในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ซึ่งการขยายสาขาไปยังต่างจังหวัดทําให้ บริษัทมีฐานลูกค้าเพิ่มขึ้นและเป็นการป้องกันความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของลูกค้ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอีกด้วย

70


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ในปี 2550 บริษัทมีกําไรสุทธิเท่ากับ 49.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 ร้อยละ 193 .98 กําไรสุทธิของบริษัท ที่เพิ่มสูงขึ้น เป็นผลมาจากการแข็งค่าขึ้นของเงินบาททําให้วัตถุดิบที่นําเข้าจากต่างประเทศมี ราคาถูกลง การเน้นการจําหน่ายสินค้า รูปแบบที่มีกําไรขั้นต้นสูง และการที่บริษัทให้ความต่อเนื่องในการจํากัดการให้ส่วนลดของพนักงานขายทําให้อัตรากําไรขั้นต้น ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น เป็นผลทําให้กําไรสุทธิเพิ่มสูงขึ้น สําหรับปี 2551 บริษัทมีกําไรสุทธิเท่ากับ 52.30 ล้านบาท เพิ่ มจากในปี 2550 ร้อยละ 6.02 ในขณะที่ยอดขายและ ให้บริการของบริษัทที่เพิ่มขึ้นจาก 457.79 ล้านบาทเป็น 547.76 ล้านบาทหรือร้อยละ 29.63 และอัตรากําไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากร้อย ละ 37.84 เป็นร้อยละ 38.12 จากการที่สัดส่วนจําหน่ายเครื่องประดับที่เพิ่มสูงขึ้นจากร้อยละ 78.73 เป็นร้อยละ 82.78 ของยอด จําหน่ายสินค้าของบริษัท แต่อย่างไรก็ตามมูลค่าของกําไรสุทธิของบริษัท ที่เพิ่มขึ้นไม่มาก เมื่อเทียบกับยอดขายและอัตรากําไร ขั้นต้นที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากบริษัทมีค่าใช้จ่ายการขายและบริหารเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในส่วนของค่าใช้จ่ายในการโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์ รวมถึงมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน สําหรับ ปี 2552 บริษัทมีกําไรสุทธิเท่ากับ 60 .24 ล้านบาท ในขณะที่ช่วงเดียวกันของปีก่อน บริษัทมี กําไรสุทธิเท่ากับ 52.30 ล้านบาท หรือคิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.18 เนื่องจากอัตรากําไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 38.12 เป็ น ร้อยละ 40.91 ทําให้กําไรสุทธิเพิ่มขึ้นในอัตราส่วนที่สูงกว่ายอดขายและให้บริการในงวดเดียวกันของปีก่อน ในส่วนของสินทรัพย์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จํานวน 320.26 ล้านบาท ส่วนสําคัญประกอบด้วยเงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสด 55.03 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าและตั๋ วเงินรับจํานวน 49.54 ล้านบาท และสินค้าคงเหลือจํานวน 196.82 ล้านบาท ในขณะที่หนี้สินรวมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีมูลค่าเท่ากับ 206 .53 ล้านบาท ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่ายจํานวน 94.20 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลที่เกี่ย วข้องกันจํานวน 46.56 ล้านบาท และภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 26.94 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นมีมูลค่าเท่ากับ 113 .73 ล้านบาท ประกอบด้วยทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 40 ล้านบาท และกําไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร 73.73 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีสินทรัพย์รวมจํานวน 391.95 ล้านบาท ประกอบด้วยรายการที่มีนัยสําคัญคือเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด 25.29 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าจํานวน 44.99 ล้านบาท และสินค้าคงเหลือจํานวน 290.99 ล้านบาท โดย ที่สินค้าคงเหลือที่เพิ่มขึ้นมากนั้น เนื่องจากบริษัทมีสาขาเพิ่มขึ้นจึง มีการเก็บสินค้ าคงเหลือไว้มากขึ้น นอกจากนี้ยังเป็น การเตรียมการสําหรับการขยายสาขาในปี 2552 ของบริษัท ในส่วนของหนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีหนี้สินรวมจํานวน 166.33 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยรายการที่มีนัยสําคัญคือเงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร 48.60 ล้านบาท เจ้าหนี้การค้าและตั๋ วเงิน จ่ายจํานวน 56.29 ล้านบาท เงินกู้ยืมจากบุคคลอื่น 15.00 ล้านบาท และภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 7.52 ล้านบาท และตามมติ ที่ประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 ได้มีมติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 40.00 ล้านบาทเป็น 175.00 ล้านบาท และได้ไปจดทะเบียนที่กระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 โดยได้เสนอขายหุ้นให้กับกลุ่มผู้ถือหุ้นเดิม 80 ล้าน หุ้นเป็นมูลค่า 80.00 ล้านบาท และเสนอขายให้กับนักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจงจํานวน 15 ล้านหุ้น มูลค่ารวม 51.00 ล้านบาท โดยมี ค่าใช้จ่ายในการเสนอขาย 1.40 ล้านบาท ซึ่งนําไปหักออกจากส่วนเกินมูลค่าหุ้น ทําให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ส่วนของ ผู้ถือหุ้นประกอบด้วยทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 135.00 ล้านบาท และส่วนเกินมูลค่าหุ้น 34.60 ล้านบาท และตามมติที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้มี มติให้จ่ายเงินปันผลจํานวน 70.00 ล้านบาท และจัดสรรเป็นกําไร สะสมสํารองตามกฎหมาย 3.73 ล้านบาท และได้จัดสรรกําไรสะสมสํารองตามกฎหมายเพิ่มอีกร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิปี 2551 รวมเป็นกําไรสะสมสํารองตามกฎหมายทั้งสิ้น 6.34 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ส่วนของผู้ถื อหุ้นเท่ากับ 225.62 ล้านบาท 71


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ในส่วนของสินทรัพย์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 490.12 ล้านบาท ส่วนสําคัญ ประกอบด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 160.24 ล้านบาท และลูกหนี้การค้าจํานวน 52.79 ล้านบาท และสินค้าคงเหลือ จํานวน 225.58 ล้านบาท ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่มีสาระสําคัญคือ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 25.29 ล้าน บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็น 160.24 ล้านบาทเนื่องจากบริษัทมีนโยบายที่จะลดปริมาณสินค้าคงเหลือที่เก็บไว้เพื่อเพิ่ม สภาพคล่องให้กับบริษัทโดยสินค้าคงเหลือลดลงจาก 290.99 ล้านบาท ณ วันสิ้นงวดก่อน เหลือ 225.58 ล้านบาท และเงินทุนที่ ได้รับจากการขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 98 ล้านบาทในปี 2552 ในส่วนของหนี้สินรวมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีมูลค่าเท่ากับ 160.88 ล้านบาท ส่วนสําคัญประกอบด้วย เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร 10.32 ล้าน เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่ายจํานวน 90.83 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นมีมูลค่าเท่ากับ 329.24 ล้านบาทประกอบด้วยทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 170.00 ล้านบาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 92.27 ล้านบาท และกําไรสะสมที่ ยังไม่ได้จัดสรร 57.62 ล้านบาท ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่มีสาระสําคัญคือ เจ้าหนี้การค้าที่เพิ่มขึ้นจาก 56.29 ล้านบาท ณ วันสิ้นงวด ก่อนเป็น 90.83 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทซื้อวัตถุดิบในช่วงปลายปีไว้สําหรับสินค้าใหม่เพื่อไว้ขายในปี 2553 และรองรับในการ ขยายสาขาใหม่ และเงินกู้ยืมระยะสั้นอื่น ลดลง 15.00 ล้านบาท จากการชําระหนี้ของบริษัท ผลการดาเนินงาน 2550

2551

2552

ประเภทรายได้จากการจาหน่าย/ จานวนเงิน ลัดส่วน จานวนเงิน ลัดส่วน จานวนเงิน ลัดส่วน บริการ (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 1. เครื่องประดับ 1.1 เครื่องประดับตัวเรือนทอง อัญมณีเพชร 345.42 76.24 438.55 80.52 461.19 84.75 11.27 2.49 11.77 2.16 11.88 2.18 1.2 สร้อย 18เค 91.63 20.22 72.73 13.35 34.90 6.41 2. เพชรกะรัตมีใบรับประกัน 3. เพชรต่ํากว่ากะรัต 14.85 2.73 18.47 3.39 1.1 เพชรที่มีใบรับประกัน 4.74 1.05 6.73 1.24 17.73 3.26 1.2 เพชรที่ไม่มีใบรับประกัน 453.06 100.00 544.63 100.00 544.17 100.00 รวมรายได้ รายได้ บริษัทมียอดขายและให้บริการเท่ากับ 453.06 ล้านบาท 544.63 ล้านบาท และ 544.17 ล้านบาท ในปี 2550 ปี 2551 และ ปี 2552 ตามลําดับโดยมีรายได้แยกตามผลิตภัณฑ์ดังนี้ ที่มา: บมจ. ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

สําหรับปี 2551 ยอดขายและให้บริการของบริษัท มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกั นของปี 2550 ร้อยละ 19.65 โดยยอดขายที่เพิ่มขึ้นมาจากยอดจําหน่ายเครื่องประดับเพชรโดยเพิ่มขึ้นจาก 345.52 ล้านบาทในปี 2550 เป็น 438.55 ล้านบาท ในปี 72


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

2551 คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.96 เนื่องจากบริษัทมีการเปิดสาขา 1 แห่งที่สะพานเหล็ก ซึ่งมียอดขายประมาณร้อยละ 12 ของ ยอดขายและการให้บริการของบริษัท ในส่วนของเพชรกะรัตลดลงจากปี 2550 เนื่องจาก ลูกค้าส่วนหนึ่งไปซื้อสินค้าของบริษัทอีก ประเภทหนึ่งคือ เพชรร่วงที่มีน้ําหนักต่ํากว่า 1 กะรัต แต่มีใบรับประกันจากสถาบันในต่างประเทศแทน ซึ่งหากรวมยอดจําหน่าย สินค้าทั้ง 2 ชนิด จะเห็นว่ามีมูลค่ารวมไม่ต่างกันมากนัก โดยเท่ากับ 91.63 ล้านบาท และ 87.58 ล้านบาท ในปี 2550 และ 2551 ตามลําดับ สําหรับ ปี 2552 ยอดขายและให้บริการของบริษัทเท่ากับ 461.19 ล้านบาท โดยในส่วนของเครื่องประดับเพชรเพิ่มขึ้นจาก งวดเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.16 เนื่องจากบริษัทฯได้ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า และเพชรกะรัตมี ยอดจําหน่ายลดลงจากงวดเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 52.01เนื่องจากในช่วงที่เศรษฐกิจชะลอตัว บริษัทเน้นจําหน่ายเครื่องประดับ เนื่องจากมีราคาต่อชิ้นต่ํากว่า ทําให้ขายได้ง่ายกว่า นอกจากนี้อัตรากําไรขั้นต้นของเครื่ องประดับยังสูงกว่าเพชรกะรัตและเพชรร่วง ด้วย และหากแบ่งรายได้จากการขายของบริษัทตามช่องทางการจําหน่ายสามารถแยกได้ดังนี้ ช่องทางการจาหน่าย 1) สาขาของบริษัท 1.1 ร้านค้า 1.2 เคาน์เตอร์ระบบเช่า 1.3 เคาน์เตอร์ระบบแบ่งรายได้ 2) ผ่านผู้ประกอบการธุรกิจซึ่งทําสัญญา คล้ายแฟรนไชส์กับบริษัท 3) การร่วมมือกับบริษัทบัตรเครดิตหรือบริษัท เช่าซื้อ 4) การจัดงานเสนอขาย รวม หมายเหตุ : ไม่รวมรายได้ค่าบริการและรายได้อื่น

ปี 2550 จานวน

ปี 2551 ร้อยละ

จานวน

ปี 2552 ร้อยละ

จานวน

ร้อยละ

57.01 139.31 105.95 84.96

12.58 28.98 25.31 18.75

102.59 149.42 128.52 97.93

18.84 27.44 23.60 17.98

61.90 182.39 130.02 98.62

11.38 33.52 23.89 18.12

8.76

1.93

22.50

4.13

22.86

4.20

56.38 453.06

12.44 100.00

43.67 544.63

8.02 100.00

48.37 544.17

8.89 100.00

ที่มา: บมจ. ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าในปี 2551 ยอดขายตามช่องทางซึ่งเป็นร้านค้าของบริษัทเองเพิ่มขึ้นจาก 57.01 ล้านบาทในปี 2550 เป็น 102.59 ล้านบาท ในปี 2551 เนื่องจากบริษัทมีการเปิดร้านเพิ่มที่สะพานเหล็ก 1 แห่งซึ่งมียอดขายประมาณร้อยละ 12 ของยอด จําหน่ายทั้งปี 2551 ของบริษัท ในขณะที่ช่องทางการจําหน่ายประเภทเคาน์เตอร์ระบบเช่า และการขายผ่านเคาน์เตอร์ระบบแบ่ง รายได้ และการขายผ่านผู้ทําสัญญาคล้ายแฟรนไชส์กับบริษัท ในปี 2551 มีมูลค่าเพิ่มขึ้นจากปี 2550 เท่ากับร้อยละ 13.81 ร้อยละ 12.09 และร้อยละ 15.27 ตามลําดับ เกิดจากการที่บริษัทสามารถจําหน่ายสินค้าได้มากขึ้น และในส่วนการจําหน่ายสินค้าโดยการ ร่วมมือกับบริษัท กรุงไทย ลิสซิ่ง จํากัด นั้นยอดขายสินค้าในปี 2551 เท่ากับ 22.50 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 156.58 เนื่องจากการร่วมมือกับบริษัท กรุงไทยลิสซิ่ง จํากัด นั้น เริ่มดําเนินการในเดือนสิงหาคมปี 2550 ทําให้ยอดจําหน่ายผ่าน ช่องทางนี้ใป 2550 เท่ากับ 5 เดือนในขณะที่ปี 2551 มีการร่วมมือกับบริษัทกรุงไทย ลิสซิ่ง ตลอดปี และสําหรับยอดจําหน่ายตาม งานเสนอขายของบริษัทในปี 2551 ลดลงจากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 22.54 เนื่องจากในปี 2550 มีการจัดงานเสนอขายขนาดใหญ่ 73


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

3 ครั้ง ในขณะที่ในปี 2551 มีการจัดงานเสนอขายขนาดใหญ่ 2 ครั้ง ซึ่งการจัดงานเสนอขายนั้น ทางบริษัทจะงานขนาดใหญ่เป็น ประจํา 2 ครั้งต่อปี และอาจมีการจัดเพิ่มขึ้นหากได้รับการเชิญชวนจากห้างสรรพสินค้าที่เช่าพื้นที่อยู่ สําหรับ ปี 2552 ยอดขายตามช่องทางการจําหน่ายประเภทเคาน์เตอร์ระบบแบ่งรายได้และการขายผ่านผู้ทําสัญญา คล้ายแฟรนไชส์กับบริษัท มียอดขายเพิ่มขึ้น ในขณะที่ยอดขายผ่านเคาน์เตอร์ระบบเช่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากสาขาที่เปิดใหม่ของบริษัท เป็นเคาน์เตอร์ระบบเช่า ทําให้ยอดขายผ่านช่องทางนี้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ยอดขายตามช่องทางซึ่งเป็นร้านค้าของบริษัทเองลดลงจาก 102.59 ล้านบาทในงวดเดียวของปีก่อน เหลือ 61.90 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทลดการทําการตลาดสินค้าประเภทเพชรกะรัตลง ซึ่ง สินค้าประเภทนี้ประมาณร้อยละ 90 จะจําหน่ายที่ร้านค้า ทําให้ยอดจําหน่ายสินค้าของร้านค้าล ดลง และยอดขายตามการร่วมมือ กับบริษัทกรุงไทยลิสซิ่ง ก็เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.60 จากงวดเดียวกันของปีก่อน นอกจากนี้อัตราส่วนรายได้จากการขายของบริษัทในเขตกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมี นัยสําคัญ ซึ่งเป็นผลมาจากการที่บริษัทดําเนินการขยายไปยังต่างจั งหวัดมากขึ้น ซึ่งมูลค่าและอัตราส่วนของรายได้จากการขายของ บริษัทในช่วงตั้งแต่ปี 2550 ถึง ปี 2552 มีรายละเอียดดังนี้ ช่องทางการจาหน่าย กรุงเทพมหานคร ต่างจังหวัด รวม

ปี 2550 จานวน 273.78 179.28 453.06

ปี 2551

ร้อยละ 60.43 39.57 100.00

จานวน 323.13 221.50 544.63

หมายเหตุ : ไม่รวมรายได้ค่าบริการและรายได้อื่น

ปี 2552 ร้อยละ

จานวน

59.33 40.67 100.00

275.97 268.19 544.16

ร้อยละ 50.71 49.29 100.00

ที่มา: บมจ. ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

โดยจะเห็นได้ว่าในปี 2550 อัตราส่วนรายได้จากการขายในเขตกรุงเทพมหานคร และ ต่างจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 60.43 และ 39.57 ของยอดรายได้จากการขายตามลําดับ ในขณะที่ ปี 2552 รายได้จากการขายในเขตกรุงเทพมหานคร และ ต่างจังหวัด คิด เป็นร้อยละ 50 .71 และ 49 .29 ของยอดรายได้จากการขายตามลําดับซึ่งจะเห็นได้ว่าสัดส่วนยอดขายในต่างจังหวัดต่อ กรุงเทพมหานครเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากบริษัทมีสาขาในต่างจังหวัดมากขึ้น โดยเมื่อเปรียบเทียบกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสาขาในเขตกรุงเทพมหานคร 29 สาขา และ สาขาในต่างจังหวัด 44 สาขา ซึ่งการขยายสาขาไปยังต่างจังหวัดทําให้บริษัทมี ฐานลูกค้าเพิ่มขึ้นและเป็นการป้องกันความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของลูกค้ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอีกด้วย ในส่วนของรายได้ค่าบริการประกอบไปด้วยค่าเปลี่ยนขนาดแหวน และบริการทําความสะอาดเครื่องประดับ และ ใน ส่วนของรายได้อื่นของบริษัทประกอบไปด้วยกําไรจากอัตราแลกปลี่ยน และรายได้จากการบริหารบุคคลซึ่งก็คือเงินที่เรี ยกเก็บจาก ผู้ประกอบการธุรกิจซึ่งทําสัญญาในลักษณะคล้ายแฟรนไชส์โดยไม่ได้บวกกําไรเพิ่มขึ้นสําหรับจ่ายเงินเดือนพนักงานขาย ค่าเช่า และค่าเบี้ยประกันภัย ที่บริษัทชําระให้ก่อน นอกจากนี้ ยังประกอบไปด้วยการกลับรายการขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง และ การกลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ โดยสามารถจําแนกรายละเอียดได้ดังนี้ หน่วย: ล้านบาท

ประเภทรายได้ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รายได้จากการบริหารบุคคล

ปี 2550

ปี 2551 4.53 4.42

ปี 2552 4.16

0.70 0.26 74


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ประเภทรายได้ รายได้ดอกเบี้ยรับ การกลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ การกลับรายการขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง การกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ อื่น ๆ รวมรายได้อื่น

ปี 2550

ปี 2551 0.01 8.96

ปี 2552 0.26 2.22 0.92 1.04 8.60

0.38 0.03 0.33 0.19 0.06 1.96

ที่มา: บมจ. ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

ซึ่งจนถึงปี 2551 บริษัทมีการแสดง เงินที่ได้รับจากการบริหารบุคคลเป็นราย ได้ ในขณะเดียวกันก็แสดง เงินเดือน พนักงาน ค่าเช่าพื้นที่ และค่าเบี้ยประกันที่จ่ายให้ผู้ประกอบการธุรกิจซึ่งทําสัญญาในลักษณะคล้ายแฟรนไชส์ เป็นค่าใช้จ่าย เพื่อให้ การนําเสนองบการเงินให้เหมาะสมขึ้น ในปี 2552 บริษัทได้นํารายได้และค่าใช้จ่ายดังกล่าวหักกลบลบกันก่อนที่จะแสดงไว้ในงบ การเงินของบริษัท จึงทําให้การแสดงรายได้การบริหารบุคคลของบริษัทลดลง ต้นทุนขายและการให้บริการ และกําไรขั้นต้น บริษัทมีต้นทุนขายและการให้บริการรวมจํานวน 284.54 ล้านบาท ในปี 2550 โดยต้นทุนขายและการให้บริการในปี 2550 ต้นทุนขายและการให้บริการเพิ่มขึ้นจากปี 2549 คิดเป็นร้อยละ 8.63 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนขายและการให้บริการ ของบริษัทดังกล่าวสอดคล้องกับการการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของยอดขายและการให้บริการ และในปี 2551 บริษัทมีต้นทุนขายและ การให้บริการรวมเท่ากับ 338.95 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 19.12 เมื่อเทียบกับปี 2550 และ ปี 2552 บริษัทมีต้นทุน ขายและการให้บริการรวมเท่ากับ 323.92 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.43 แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีการ บริหารจัดการในต้นทุนขายและการให้บริการในสัดส่วนที่ลดลงมากกว่าสัดส่วนการเติบโตของยอดขายของปีก่อน สําหรับสินค้าหลักของบริษัทมี 3 ประเภท คือ 1) เครื่องประดับ 2) เพชรกะรัต และ 3) เพชรร่วง ตามปกติสินค้า เครื่องประดับของบริษัทจะมีอัตรากําไรขั้นต้นสูงกว่าสินค้าประเภทเพชร นอกจากนี้สินค้าเครื่องประดับบางรูปแบบจะมีอัตรา กําไรขั้นต้นแตกต่างจากสินค้าเครื่องประดับรูปแบบอื่น ๆ สําหรับอัตรากําไรขั้นต้นของบริษัท คิดเป็น ร้อยละ 27.86 และร้อยละ 37.84 ใน ปี 2549 และปี 2550 ทั้งนี้ เดิมการกําหนดอัตรากําไรขั้นต้นนั้นมีการกําหนดตายตัวตามนโยบายของบริษัท ต่อมาในปี 2549 และ 2550 บริษัทได้มีการกําหนดนโยบายการขายใหม่ โดยให้อัตราส่วนลดของสิน ค้าแปรผกผันกับค่าคอมมิชชั่นของ พนักงานขายทําให้อัตรากําไรขั้นต้นเพิ่มสูงขึ้นและบริษัทยังมีการเน้นการจําหน่ายสินค้าเครื่องประดับรูปแบบที่มีกําไรขั้นต้นสูง เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้การแข็งค่าของค่าเงินบาทในช่วง 1 - 2 ปี ที่ผ่านมา มีส่วนช่วยให้อัตรากําไรขั้นต้นเพิ่มสูงขึ้น และสําหรับใน ปี 2551 อัตรากําไรขั้นต้นของบริษัทเท่ากับร้อยละ 38.12 ซึ่งสูงกว่าของปีก่อน ซึ่งเท่ากับร้อยละ 37.84 เล็กน้อย โดยปัจจัยที่มีผลต่อ อัตรากําไรขั้นต้นของบริษัท คือ สาขาแห่งใหม่ของบริษัทจํานวน 1 แห่งที่มียอดขายสูงที่สุด คิดเป็นประมาณร้อยละ 12 ของ ยอดขายและการให้บริการ ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นแหล่งซื้อขายเพชรและมีการแข่งขันสูง ทําให้อัตรากําไรขั้นต้นของสินค้าที่ขาย ณ สาขานี้ต่ํากว่า สาขาอื่น ๆ จึงเป็นผลลบต่ออัตรากําไรขั้นต้น และในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2551 บริษัทได้เน้นขายสินค้า เครื่องประดับที่มีอัตรากําไรขั้นต้นสูงขึ้นทําให้อัตรากําไรขั้นต้นในไตรมาสนี้สูงขึ้น โดยรวมทําให้อัตรากําไรขั้นต้นของบริษัทสูง กว่าปีก่อนเล็กน้อย สําหรับอัตรากําไรขั้นต้นของบริษัทในปี 2552 เท่ากับร้อยละ 40.92 ซึ่งสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนเท่ากับร้อยละ 37.16 โดยอัตรากําไรขั้นต้นที่ปรับตัวสูงขึ้นเกิดจากการที่ปี 2552 อัตราส่วนยอดขายเครื่องประดับต่อยอดขายและการให้บริการของ 75


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัทสูงกว่า ในงวดเดียวกันของปี 2551 ซึ่งเครื่องประดับมีอัตรากําไรขั้นต้นสูงกว่าเพชรกะรัต ทําให้อัตรากําไรขั้นต้นของบริษัท สูงขึ้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ประกอบด้วยส่วนที่ผันแปรตามยอดขายและการให้บริการที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ค่าตอบแทน พนักงานขายในรูปของค่าคอมมิชชั่น ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ และค่าธรรมเนียมบัตรเครดิต ในส่วนของค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหารเพิ่มขึ้นที่ไม่ได้แปรผันตามยอดขายและการให้บริการ ได้แก่ ค่าขนส่งสินค้าที่มีการปรับตัวสูงขึ้นตามราคาตลาดของ น้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้นทั่วโลก ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนและค่าเงินเดือนของพนักงาน ทั้งนี้ในช่วงตั้งแต่ปี 2550 ถึงปี 2552 อัตราส่วนเฉลี่ยของค่าใช้จ่ายที่ผันแปรตามยอดขายคิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 9 - 10 ของยอดขายและการให้บริการ และค่าใช้จ่ายที่ ไม่ผันแปรตามยอดขายประมาณไตรมาสละ 19 ‟ 21 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของบริษัท ในปี 2550 เพิ่มขึ้นจากปี 2549 คิดเป็นร้อยละ 22.98 ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราการ เพิ่มขึ้นของยอดขายและการให้บริการ สําหรับในปี 2551 บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 141.56 ล้านบาท คิดเป็นการเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 33.27 เมื่อเทียบกับในปีก่อนหน้า ทั้งนี้อัตราค่าใช้จ่ายการขายและบริหารเมื่อเทียบกับยอดขายและการให้บริการมีสัดส่วนใกล้เคียง กันในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา โดยคิดเป็น ร้อยละ 23.79 และ ร้อยละ 23 .20 ของยอดขายและการให้บริการในปี 2549 และ ปี 2550 แต่สําหรับปี 2551 อัตราค่าใช้จ่ายการขายและบริหารเมื่อเทียบกับยอดขายและการให้บริการมีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 25.84 ซึ่งสูงกว่าปีที่ผ่าน ๆ มา โดยมีสาเหตุหลักคือค่าใช้จ่ายโฆษณาและประชาสัมพันธ์ที่สูงกว่า ปีก่อนประมาณ 6 ล้านบาท และมี ผลขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 5.7 ล้านบาท รวมเป็นประมาณร้อยละ 2.1 ของยอดขายและการให้บริการ ซึ่งหากหัก ค่าใช้จ่าย 2 รายการนี้ไป อัตราค่าใช้จ่ายการขายและบริหารเมื่อเทียบกับยอดขายและการให้บริการของบริษัท ก็จะใกล้เคียงกับปีที่ ผ่านมา สําหรับในปี 2552 บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 138.04 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 2.49 เมื่อเทียบกับในช่วง เดียวกันของปีก่อนหน้า ทั้งนี้อัตราค่าใช้จ่ายการขายและบริหารเมื่อเทียบกับยอดขายและการให้บริการมีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 25.18 ซึ่งสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนซึ่งเท่ากับร้อยละ 25.84 เนื่องจากยอดขายและบริการในปี 2552 เพิ่มขึ้น แต่ค่าใช้จ่ายในการ ขายและบริหารบางส่วนไม่แปรผันตามยอดขาย โดยเฉพาะ เงินเดือนพนักงาน ทําให้อัตราส่วนระหว่างค่าใช้จ่ายการขายและ บริหารเมื่อเทียบกับยอดขายและการให้บริการมีการปรับตัวลดลง แต่อย่างไรก็ตามบริษัทยังได้รับประโยชน์จากการทําสัญญาจอง อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า โดยปี 2552 บริษัทมีผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 0.70 ล้านบาท ลดลงจากงวดเดียวกันของปีก่อนซึ่งมี ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 7.31 ล้านบาท กําไรจากการดําเนินงานและกําไรสุทธิ กําไรจากการดําเนินงาน มีมูลค่าเท่ากับ 67.03 ล้านบาท ในปี 2550 หรือคิดเป็นอัตราร้อยละ 14.64 ใน ปี 2550 ซึ่งกําไร จากการดําเนินงาน สําหรับปี 2550 เพิ่มขึ้นจากปี 2549 คิดเป็นร้อยละ 352.91 อันเป็นผลมาจากอัตรากําไรขั้นต้นของบริษัทที่ ปรับตัวดีขึ้นเช่นเดียวกัน สําหรับปี 2551 บริษัท มีกําไรจากการดําเนินงานเท่ากับ 67.25 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 0.33 เทียบ กับช่วงเดียวกันในปีก่อน ซึ่งแม้ยอดขายและการให้บริการจะเพิ่มขึ้นมาก แต่กําไรจากการดําเนินงานค่อนข้างคงที่ และอัตรากําไร 76


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

จากการดําเนินงานต่ําลง โดยเท่ากับร้อยละ 12.28 ของยอดขายและการให้บริการ ซึ่งต่ํากว่าของปี 2550 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 14.64 ทั้งนี้ อัตรากําไรจากการดําเนินงานที่ลดลง เป็นผลมาจากผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 5.68 ล้านบาท และ ค่าใช้จ่าย โฆษณาประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มขึ้นจากปี 50 อีก 6.07 ล้านบาท ซึ่งรวมเป็นประมาณร้อยละ 2.15 ของยอดขายและการให้บริการ สําหรับปี 2552 บริษัท มีกําไรจากการดําเนินงานเท่ากับ 88.24 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนเท่ากับ ร้อยละ 16.33 แต่หากเทียบอัตรากําไรจากการดําเนินงานทั้งปี 2552 และ 2551 เท่ากับ ร้อยละ 16.09 และร้อยละ 13.85 ตามลําดับ กําไรสุทธิของบริษัท มีมูลค่าเท่ากับ 49.33 ล้านบาท ในปี 2550 หรือคิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 193.98 จากปี 2549 สําหรับปี 2551 บริษัท มีกําไรสุทธิเท่ากับ 52.30 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 6.02 เทียบกับปีก่อนหน้า และ สําหรับปี 2552 บริษัท มีกําไรสุทธิเท่ากับ 60.24 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.18 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน บริษัท มีอัตรากําไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 10.78 ใน ปี 2550 ซึ่งการเพิ่มของอัตรากําไรสุทธิดังกล่าวเป็นผลมาจากอัตรากําไร ขั้นต้นที่เพิ่มสูงขึ้น ตามเหตุผลที่กล่าวไปแล้วในข้างต้น และสําหรับอัตรากําไรสุทธิปี 2551 เท่ากับร้อยละ 9.85 ของยอดขายและ การให้บริการต่ํากว่าของปีก่อน ซึ่งเท่ากับร้อยละ 10.78 เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายการขายและบริหารที่อธิบายไว้แล้ว ในข้างต้น และสําหรับอัตรากําไรสุทธิในปี 2552 เท่ากับร้อยละ 12.99 สูงกว่าในงวดเดียวกันขอ งปีก่อนซึ่งเท่ากับร้อยละ 9.55 เนื่องจากอัตรากําไรขั้นต้นของบริษัทที่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 38.12ในปี 2551 เป็นร้อยละ 40.92 ในปี 2552 ฐานะการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีสินทรัพย์ประกอบด้วย สินทรัพย์หมุนเวียน จํานวน 304.55 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้ อย ละ 95.09 ของสินทรัพย์รวมของบริษัท ใน ปี 2550 และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 15.71 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.91 ของ สินทรัพย์รวมของบริษัท ในปี 2550 ณ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย์หมุนเวียนของบริษัท ประกอบด้วยรายการที่สําคัญคือเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 55.03 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.18 ของสินทรัพย์รวม และลูกหนี้การค้าจํานวน 49.54 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.47 ของสินทรัพย์รวม และสินค้าคงเหลือ 196.82 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 61.46 ของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์หมุนเวียน ที่มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด โดยเพิ่มขึ้น 16.79 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 43.91 จากการที่ กําไรสุทธิของบริษัทเพิ่มขึ้น และลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 24.28 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 96.12 ตามการเติบโตของรายได้จากการ ขายและให้บริการของบริษัท และสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 64.27 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 48.49 เนื่องจากบริษัทซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น สําหรับการเพิ่มแบบสินค้าและการขยายสาขาของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2550 ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่สําคัญคือ ส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์ มีมูลค่าเท่ากับ 7.50 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 2.34 จะเห็นได้ว่าเป็นสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวมของบริษัท เนื่องจากตามนโยบาย ของบริษัทจะไม่มีการซื้ออาคารสถานที่เพื่อใช้เป็นสาขาแต่จะใช้การเช่าแทนเพื่อลดการใช้เงินลงทุน ส่วนปรับปรุงอาคารและ อุปกรณ์ ก็เป็นส่วนของสํานักงานใหญ่เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ สําหรับ ณ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพย์หมุนเวียนของบริษัท ประกอบด้วยรายการที่สําคัญคือมีเงินสดและรายการ เทียบเท่า เงินสด 25.20 ล้านบาทคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.45 ของสินทรัพย์รวม ลูกหนี้การค้าสุทธิจํานวน 44.99 ล้านบาทคิดเป็น 77


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สัดส่วนร้อยละ 11.48 ของสินทรัพย์รวม และสินค้าคงเหลือสุทธิ 290.99 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 74.24 ของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์หมุนเวียนที่มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด โดยลดลง 29.74 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 54.04 จากการที่บริษัทจ่ายชําระเงินกู้ยืมกรรมการและจ่ายเงินปันผล และสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 94.17 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.85 เนื่องจากบริษัทซื้อสินค้าเพิ่มขึ้นสําหรับการเพิ่มแบบสินค้าและการขยายสาขาของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2551 ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่สําคัญคือ อุปกรณ์-สุทธิ มีมูลค่าเท่ากับ 13.28 ล้านบาท ซึ่งคิด เป็นร้อยละ 3.38 โดยบริษัทยังคงใช้นโยบายที่จะไม่มีการซื้ออาคารสถานที่เพื่อใช้เป็นสาขาแต่จะใช้การเช่าแทนเพื่อลดการใช้เงิน ลงทุน ส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์ที่เพิ่มขึ้น 5.76 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 76.80 นั้น เกิดจากการตกแต่งปรับปรุงพื้นที่เช่า ของสํานักงานใหญ่ และตกแต่งพื้นที่เช่าสาขาเซ็นทรัลพัทยา ที่จะเปิดดําเนินการในต้นปี 2552 สําหรับ ณ 31 ธันวาคม 2552 สินทรัพย์หมุนเวียนของบริษัท ประกอบด้วยรายการที่สําคัญคือมีเงินสดและรายการ เทียบเท่า เงินสด 160.24 ล้านบาทคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32.69 ของสินทรัพย์รวม ลูกหนี้การค้าสุทธิจํานวน 52.79 ล้านบาทคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 10.77 ของสินทรัพย์รวม และสินค้าคงเหลือสุทธิ 225.58 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 46.02 ของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์หมุนเวียนที่มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 25.29 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็น 134.95 ล้านบาทเนื่องจากบริษัทมีนโยบายที่จะลดปริมาณสินค้าคงเหลือที่เก็บไว้เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับ บริษัทโดยสินค้าคงเหลือลดลงจาก 290.99 ล้านบาท ณ วันสิ้นงวดก่อน เหลือ 225.58 ล้านบาท และเงินที่ได้รับจากเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุน จํานวน 98 ล้านบาท ในส่วนของลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจากวันสิ้นงวดก่อนซึ่งเท่ากับ 44.99 ล้านบาท เป็น 52.79 ล้าน บาท เนื่องจากยอดขายในไตรมาส4 ของปี 2552 สูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ณ 31 ธันวาคม 2552 ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่สําคัญคือ อุปกรณ์-สุทธิ มีมูลค่าเท่ากับ 36.30 ล้านบาท ซึ่งคิด เป็นร้อยละ 7.41 และเงินฝากสถาบันการเงินที่ติดภาระค้ําประกัน 12.78 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 2.61 ซึ่งเงินฝากสถาบันการเงิน ที่ติดภาระค้ําประกันที่เพิ่มขึ้นจาก 2.72 ล้านบาท ณ วันสิ้นงวดก่อนเป็น 12.78 ล้านบาทนั้น เนือ่ งจากบริษัทใช้ค้ําประกันวงเงินกู้ยืม ระยะสั้นของบริษัทที่ได้รับเพิ่มขึ้น คุณภาพของสินทรัพย์ (ก) ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับสามารถแยกตามอายุหนี้ที่ค้างชําระได้ดังนี้ หน่วย: ล้านบาท

ระยะเวลาคงค้าง อยู่ในกําหนดชําระ ไม่เกิน 3 เดือน เกินกําหนดชําระ 3 เดือน ถึง 6 เดือน เกินกําหนดชําระ 6 เดือน ถึง 9 เดือน เกินกําหนดชําระ 9 เดือน ถึง 12 เดือน เกินกําหนดชําระเกิน 12 เดือนขึ้นไป รวม

31 ธ.ค. ร้อยละ 2550 32.88 65.46 9.35 18.61 7.91 15.75 0.08 0.16 0.01 0.02 50.23 100.00

31 ธ.ค. ร้อยละ 2551 44.18 95.90 0.81 1.76 0.36 0.78 0.09 0.20 0.41 0.89 0.22 0.48 46.07 100.00

31 ธ.ค. ร้อยละ 2552 50.79 94.32 2.00 3.71 0.00 0.00 0.00 0.00 0.01 0.02 1.05 1.95 53.85 100 78


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม-สุทธิ

[รายงานประจาปี 2552]

(0.69) 49.54

(1.37) 98.63

(1.08) 44.99

(2.34) 97.66

(1.05) 52.16

(1.95) 98.05 ที่มา: บมจ. ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

ลูกหนี้การค้าของบริษัทประกอบด้วยลูกหนี้ห้างสรรพสินค้าจากการขายสินค้าผ่านห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ซึ่งบริษัท จะได้รับชําระเงินภายในประมาณ 45 ถึง 60 วัน ซึ่งลูกหนี้การค้าประเภทนี้ส่วนใหญ่จะจ่ายชําระเงินตามกําหนดชําระ และลูกหนี้ การค้าของบริษัทอีกส่วนหนึ่งคือลูกหนี้จากลูกค้าที่ทําสัญญาคล้ายแฟรนไชส์กับบริษัท ที่นําสินค้าของบริษัทไปจําหน่ายต่อนั้น บริษัทมีนโยบายการให้เครดิตลูกหนี้การค้าประเภทนี้ประมาณ 45 ถึง 60 วัน ซึ่งบริษัทจะได้รับชํา ระเงินค่าสินค้าจากลูกค้ากลุ่มนี้ ล่าช้าบ้าง ทําให้มียอดลูกหนี้ค้าเลยกําหนดชําระอยู่บางส่วน แต่อย่างไรก็ตามบริษัทยังสามารถเรียกเก็บเงินจากลูกค้าได้ตามกําหนด สําหรับในส่วนของการจําหน่ายสินค้าให้ผู้บริโภคโดยตรงนั้นไม่มีการให้เครดิตหรือการผ่อนชําระเป็นรายเดือน บริษัทมีนโยบายเกี่ยวกับการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยจะเริ่มตั้งสํารองบางส่วนตั้งแต่ลูกหนี้การค้าที่เกินกําหนดชําระ มากกว่า 180 วัน หรือโดยการคาดการณ์ซึ่งอ้างอิงจากประวัติการรับชําระหนี้ในอดีต หรือจากข้อมูลที่ผู้บริหารได้รับมา โดยจะตั้งสํารองครบทั้งจํานวนสําหรับลูกหนี้ที่มีปัญหา ณ 31 ธันวาคม 2550 และ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีการตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญเท่ากับ 0.69 ล้านบาท และ 1.08 ล้านบาท ตามลําดับ และ ณ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เท่ากับ 1.95 ล้านบาททั้งนี้การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังกล่าว เป็นไปตามนโยบายการตั้งสํารองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของบริษัท ทุกสิ้นงวด และบริษัทมีการตั้งสํารองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ครอบคลุมลูกหนี้ที่มีปัญหาทั้งหมดแล้ว (ข) สินค้าคงเหลือ หน่วย: ล้านบาท รายการ เครื่องประดับ เพชรกะรัต ‟ สินค้าสําเร็จรูป งานระหว่างทํา ตัวเรือนเปล่า ทอง เพชร ‟ วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง รวม หัก ค่าเผื่อสินค้ามูลค่าลดลง รวม-สุทธิ

31 ธ.ค. 2550 130.16 7.06 10.13 0.70 6.33 41.68 0.76 197.96 (1.14) 196.82

ร้อยละ 66.13 3.59 5.12 0.35 3.20 21.18 0.38 100.00 (0.58) 99.42

31 ธ.ค. 2551 197.02 24.75 4.99 0.64 0.74 62.52 0.66 291.32 (0.33) 290.99

ร้อยละ 67.63 8.50 1.71 0.22 0.25 21.46 0.23 100.00 (0.11) 99.89

31 ธ.ค. 2552 150.40 16.29 7.13 0.09 2.53 47.91 1.23 225.58 0 225.58

ร้อยละ 66.67 16.29 3.16 0.04 1.12 21.24 0.55 100.00 0 100.00 ที่มา: บมจ. ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์

บริษัท มีสินค้าคงเหลือจํานวน 196.82 ล้านบาท 291.32 ล้านบาท และ 225.58 ล้านบาท ณ 31 ธันวาคม 2550 และ 2551 และ 2552 ตามลําดับ ทั้งนี้ประเภทสินค้าคงเหลือที่มีการเปลี่ยนแปลงมากคือ สินค้าสําเร็จรูปเครื่องประดับและเพชร นอกจากนี้ วัตถุดิบเพชรยังมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น 79


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สําหรับสินค้าสําเร็จรูปเครื่องประดับนั้นในปี 2550 เพิ่มขึ้นจากปี 2549 คิดเป็นร้อยละ 69.57 และ ปี 2551 เพิ่มขึ้นจากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 51.37 เนื่องบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายในปี 2550 ที่จะให้สินค้าเครื่องประดับของบริษัทมีควา ม หลากหลายเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้สินค้าของบริษัทตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ทุกกลุ่ม ทําให้บริษัทจําเป็นต้องเก็บสินค้าแต่ ละรูปแบบเพิ่มมากขึ้น ทําให้มูลค่าสินค้าสําเร็จรูปเครื่องประดับของบริษัทเพิ่มมากขึ้น สําหรับเพชรกะรัตนั้น บริษัทได้นําสินค้า ชนิดนี้มาขายเพื่อเป็นการสร้างจุดเด่นให้กับร้านค้าของบริษัท ซึ่งสินค้าแต่ละชิ้นมีมูลค่าสูง ถึงแม้มีปริมาณชิ้นไม่มากแต่ก็ทําให้ มูลค่าสินค้าสําเร็จรูปของบริษัท ณ วันสิ้นงวดเพิ่มขึ้น สําหรับในส่วนของวัตถุดิบเพชรนั้นในปี 2550 เพิ่มขึ้นจากปี 2549 คิดเป็น ร้อยละ 29.64 และ ปี 2551 เพิ่มขึ้นจากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 50.00 เนื่องจากบริษัทต้องมีการเก็บวัตถุดิบเพิ่มมากขึ้นไว้สําหรับการ ผลิตสินค้าในรูปแบบที่มากขึ้นตามนโยบายของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2552 ปริมาณสินค้าคงเหลือของบริษัทลดลงเหลือ 225.58 ล้านบาทจาก 291.32 ล้านบาท ณ วันสิ้นงวด ก่อน ซึ่งลดลง 65.74 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 22.56 โดยส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือสินค้าสําเร็จรูปเครื่องประดับ ซึ่ง ลดลง 46.41 ล้านบาทจาก 196.81 ล้านบาท ณ วันสิ้นงวดก่อนเหลือ 150.40ล้านบาท เนื่องจากผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ บริษัทจึงมีนโยบายที่จะลดการสั่งผลิตสินค้าลง นอกจากนี้บริษัทได้เน้นวิธีการขายเครื่องประดับที่มีอยู่แล้วมาปรับรูปแบบตามที่ ลูกค้าต้องการ ทําให้ปริมาณเครื่องประดับลดลง สําหรับในส่วนสินค้าคงเหลือประเภทเพชรกะรัตที่ลดลงนั้น เนื่องจากบริษัทมีการ นําเข้าลดลง ตามนโยบายที่จะลดการจําหน่ายเพชรกะรัตลง โดยบริษัท ได้มีการตั้งค่าเผื่อสินค้ามูลค่าลดลงจํานวน 1.14 ล้านบาทในปี 2550 โดย เป็นส่วนของค่าเผื่อมูลค่าที่ลดลง ของวัสดุสิ้นเปลือง 0.70 ล้านบาท และเป็นส่วนของงานระหว่างทํา เท่ากับ 0.39 ล้านบาทเนื่องจาก สินค้ารูปแบบหนึ่งที่ผู้รับจ้าง ผลิต 1 ราย นํามาส่งให้กับบริษัทนั้นไม่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพของบริษัท จึงมีการส่งกลับคืนไปยังผู้รับจ้างผลิตปรับปรุงแก้ไข แต่หลังจากส่งกลับไปแก้ไขหลายครั้งและใช้เวลาเกินกว่า 90 วันสินค้านั้นยังคงไม่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพของบริษัท โดยปกติ สินค้าจะใช้เวลาผลิตประมาณ 45 วัน จึงมีความเสี่ยงที่บริษัทอาจจะไม่ ได้รับสินค้าดังกล่าว ดังนั้นทางบริษัทจึงตั้งค่าเผื่อสินค้า มูลค่าลดลงสําหรับสินค้าระหว่างทํานี้ไว้ทั้งจํานวน อย่างไรก็ตามฝ่ายผลิตของบริษัทก็ได้ติดตามการทํางานของช่างรับจ้างผลิตราย ดังกล่าวอย่างสม่ําเสมอ ทั้งนี้บริษัทยังไม่มีการตั้งค่าเผื่อมูลค่าลดลงของสินค้าคงเหลือประเภทสินค้าสําเร็จรูป และสําหรับปี 2551 บริษัทมีการ กลับรายการค่าเผื่อมูลค่าที่ลดลงของวัสดุสิ้นเปลืองที่ตั้งไว้ในงวดที่แล้ว และค่าเผื่อมูลค่าลดลงของงานระหว่างทําลดลงเหลือ 0.33 ล้านบาท และสําหรับ ปี 2552 บริษัทได้ยกเลิกการสั่งผลิตสินค้ารูปแบบดังกล่าวจากผู้ผลิตรายนี้แล้ว จึงยกเลิกการตั้งค่าเผื่อมูลค่า ลดลงของงานระหว่างทําแล้วทั้งจํานวน นโยบายการบริหารจัดการสินค้าคงเหลือในส่วนของเครื่องประดับเพชร บริษัทจะมีการเก็บข้อมูล ปริมาณของสินค้าแยก ตามรูปแบบ เพื่อนํามาจัดประเภทสินค้าที่เคลื่อนไหวช้า ทั้งนี้เมื่อสินค้ามีการเคลื่ อนไหวช้าบริษัทจะย้ายสินค้าชิ้นนั้นๆ ไปยังสาขาอื่น เพื่อให้มีโอกาสถูกเลือกซื้อมากขึ้น ทั้งนี้หากรูปแบบของสินค้าแบบใดที่ไม่สามารถจําหน่ายได้ บริษัทจะนําสินค้า ดังกล่าวมาจัดรายการส่งเสริมการขาย เช่น ให้ส่วนลดเพิ่มขึ้นมากว่าปกติ ทําให้มีอัตรากําไรต่ํากว่าเดิม หรื อหากยังไม่สามารถ จําหน่ายได้ บริษัทมีนโยบายจัดการสินค้าดังกล่าวโดยนํากลับมาผลิตใหม่ แต่ในส่วนของสินค้าสําเร็จรูปเพชรกะรัตและวัตถุดิบ เพชรนั้นจะไม่มีการนับอายุผลิตภัณฑ์ แต่จะมีการเปรียบเทียบราคาต้นทุนกับราคาตลาดโลกเพื่อประมาณการด้อยค่าของสินค้า

80


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สภาพคล่อง รายการ กําไรสุทธิ ปรับรายการที่กระทบกําไรสุทธิ กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินจากการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ การเปลี่ยนแปลงในหนี้สิน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วัน ต้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วัน ปลายงวด

หน่วย: ล้านบาท 31 ธ.ค. 2550 31 ธ.ค. 2551 31 ธ.ค. 2552 49.33 35.92 85.25

52.30 24.11 76.41

60.24 31.75 91.99

(81.58) (40.19) (36.52) 12.21 41.10 16.79 38.24 55.03

(93.69) (79.70) (96.98) (5.18) 72.42 (29.74) 55.03 25.29

51.14 20.21 163.34 (18.49) (9.90) 134.95 25.29 160.24

แม้ว่าบริษัทจะมีกําไรอย่างต่อเนื่องมาทุกปี แต่ในส่วนของกระแสเงินสดจากก ารดําเนินงานของบริษัทติดลบในบางปี เนื่องจากบริษัทมียอดขายเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี และมีการขยายกิจการเพิ่มสาขา ทําให้บริษัท ต้องมีการใช้เงินทุนหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้น เพื่อใช้ในการซื้อวัตถุดิบเพิ่มขึ้นและเก็บสินค้าคงเหลือให้ลูกค้าสามารถเลือกซื้อได้มากขึ้น ซึ่งบริษัท มีการจัดหาเงินทุนหมุนเวียน ดังกล่าวจากเจ้าหนี้การค้า ซึ่งบริษัทได้รับเครดิตอยู่ในช่วง 90 ‟ 180 วัน และอีกส่วนหนึ่งมาจากกําไรจากการดําเนินงาน ของบริษัท ทั้งนี้จากลักษณะการดําเนินธุรกิจของบริษัทซึ่งอยู่ในช่วงขยายกิจการดังกล่าว ทําให้กระแสเงินสดจากกิจกรรม ดําเนินงานติดลบ ซึ่งมาจากการที่บริษัทซื้อสินค้าจํานวนมาก ทั้งนี้ที่ผ่านมาบริษัทมีการกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์โดยผ่านวงเงิน เบิกเกินบัญชี และวงเงินกู้ยืมระยะสั้นเมื่อมีความจําเป็นต้องใช้เงินสด ซึ่งในปัจจุบันบริษัทมีวงเงินกู้จากธนาคารพาณิชย์ ซึ่งเพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัท ทําให้บริษัท ไม่มีปัญหาสภาพคล่อง ในปี 2550 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยของบริษัท อยู่ที่ประมาณ 34 วัน ใกล้เคียงกับปี 2549 ที่ประมาณเท่ากับ 37 วัน เนื่องจากการขายสินค้าของบริษัทส่วนใหญ่เป็นเงินสด และรายการที่มีการขายผ่านห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ก็ได้รับชําระ เงินในเงื่อนไขเวลาเดิมที่เท่ากับ 45 - 60วัน ส่วนระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยของบริษัท ในปี 2550 เท่ากับ 150 วัน ซึ่งใกล้เคียงกับปี 2549 ที่ประมาณ 173 วัน เนื่องจาก ในปี 2549 บริษัทได้รับเทอมการค้าที่ยาวขึ้นจากผู้ขายในต่างประเทศ เนื่องจากบริษัทเป็นลูกค้า ชั้นดีที่มีการซื้อขายกันมานาน ส่วนระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยของบริษัทในปี 2550ของบริษัท เท่ากับ 208 วัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2548 และ ปี 2549 ที่ประมาณ 91 วัน และ 180 วัน ตามลําดับ เนื่องจากบริษัทมีนโยบายขยายสาขาเพิ่มมากขึ้นและมีการเพิ่มรูปแบบของ เครื่องประดับเพื่อเพิ่มยอดขายตลอดจนมีการเก็บเพชรกะรัตไว้เพื่อเป็นสินค้า ทําให้ยอดสินค้าคงเหลือของบริษัทเพิ่มขึ้นมาก ดังนั้น วงจรเงินสดของบริษัทจึงมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 44 วัน เป็น 90 วัน ในปี2550 ตามลําดับ 81


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สําหรับปี 2551 บริษัท มีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 31 วัน ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 80 วัน และ ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 259 วัน ดังนั้น วงจรเงินสดของบริษัท อยู่ที่ประมาณ 210 วัน ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของวงจรเงินสด ในช่วงปี 2551 เกิดจากการที่ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยลดลงจาก 150 วันเหลือ 80 วันเนื่องจากในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 บริษัทซื้อ สินค้าเพชรขนาดเล็กส่วนใหญ่จากผู้ขายที่ให้เครดิตเทอมประมาณ 3 เดือน และระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 208 วัน เป็น 259 วัน บริษัทซื้อสินค้าคงเหลือมาเก็บไว้เพิ่มขึ้นสําหรับสาขาที่จะเพิ่มจํานวนขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารได้พยาย ามรักษาระดับระยะเวลา ขายสินค้าเฉลี่ยให้อยู่ประมาณ 270 วัน เพื่อรักษากระแสเงินสดจากการดําเนินงานของบริษัท สําหรับปี 2552 บริษัทมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยใกล้เคียงกับปีก่อน อยู่ที่ประมาณ 35 วัน ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยอยู่ที่ ประมาณ 100 วัน และมีระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 250 วัน ดังนั้น วงจรเงินสดของบริษัท อยู่ที่ประมาณ 184 วัน ลดลงจากปี 2551 เนื่องจากระยะเวาลาขายสินค้าเฉลี่ยลดลงจาก 259 วัน เป็น 250 วัน เนื่องจากยอดขายของบริษัทเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 0.09 และยอดสินค้าคงเหลือในปี2552 ลดลงจากปี 2551 เท่ากับ 65.41 ล้านบาท ณ 31 ธันวาคม 2550 บริษัท มีอัตราส่วนสภาพคล่องอยู่ที่ 1.57 เท่า สูงกว่า ณ 31 ธันวาคม 2549 ซึ่งเท่ากับ 1.10 เท่า เนื่องจาก บริษัทมีการเก็บเงินสดเพิ่มขึ้นจาก 38.24 ล้านบาทเป็น 55.03 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจาก 25.26 ล้านบาทเป็น 49.54 ล้านบาทและมีสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้นจาก 132.55 ล้านบาท เป็น 196.82 ล้านบาท สําหรับอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว ณ 31 ธันวาคม 2550 เท่ากับ 0.54 เท่า 2549 สูงกว่า ณ 31 ธันวาคม 2549 ซึ่งเท่ากับ 0.36 เท่า สําหรับ ณ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทยังคง รักษาอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 2.37 เท่า เนื่องจากมีสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้นเป็น 290.99 ล้านบาท แต่สําหรับอัตราส่วนสภาพ คล่องหมุนเร็วที่ลดลงเหลือ0.45 เท่า อันเนื่องมาจากบริษัทได้มีการจ่ายเงินปันผลออกไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัท มีอัตราส่วนสภาพคล่องอยู่ที่ 3.02 เท่า สูงกว่า ณ 31 ธันวาคม 2551 เล็กน้อยจากการ ที่บริษัทจ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสั้น สําหรับอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว เท่ากับ 1.42 เท่า สูงขึ้นเนื่องจากเงินสดที่มีอยู่ในมือ เพิ่มขึ้นจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน ประสิทธิภาพการดําเนินงาน เนื่องจากบริษัทไม่มีโรงงานสําหรับผลิตสินค้าของบริษัทเอง และใช้การเช่าพื้นที่ที่ใช้สําหรับจําหน่ายสินค้าแทนการซื้อ จึงมีสินทรัพย์ถาวรน้อย จึงไม่ควรใช้อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวรประเมินประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ของบริษัท ดังนั้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์จะแสดงประสิทธิภาพการดําเนินงานได้เหมาะสมกว่า ในปี 2549 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เท่ากับร้อยละ 7.32 ในขณะที่ เพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 17.49 ในปี 2550 การที่อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์เพิ่มสูงขึ้น เกิดขึ้นจาก สาเหตุหลัก 2 ประการคือ 1) อัตรากําไรสุทธิของบริษัทเพิ่มจากร้อยละ 4.62 ในปี 2549 ป็นร้อยละ 10.78 ในปี 2550 และ 2) ยอดขายบริษัทในปี 2550 เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.07 จากปี 2549 แต่ในปี 2551 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ได้ลดลงเหลือร้อยละ 14.69 โดยเป็นผลมาจากการลดลงของอัตรากําไรสุทธิ โดยอัตรากําไรสุทธิในปี 2551 ลดลงเหลือร้อยละ 9.55 และสําหรับปี 2552 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์เท่ากับร้อยละ 12.29 ซึ่งลดลงจากในปี 2550 และปี 2551 เนื่องจากปี 2552 มีมูลค่าสินทรัพย์รวม เพิ่มขึ้นจากปีก่อน เท่ากับ 98.17 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.05 แหล่งที่มาของเงินทุน หนี้สิน บริษัท มีหนี้สินรวมจํานวน 206.53.ล้านบาท ณ วันสิ้น ปี 2550 คิดเป็นอัตราการลดลงร้อยละ 1.40 จาก ณ สิ้นปี 2549 ใน ปี 2550 ยอดหนี้สินรวมประกอบด้วยเจ้าหนี้การค้าจํานวน 94.20 ล้านบาท และภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 26.94 ล้านบาท และ 82


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 46.56 ล้านบาท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เจ้าหนี้การค้าลดลง 45.65 ล้านบาท ห รือ ร้อยละ 32.64 นั้น เนื่องจากบริษัทในปี 2550 บริษัทได้เปลี่ยนมาซื้อสินค้าจากผู้ขายที่ให้เครดิตเทอมสั้นลง ทําให้ต้องจ่ายชําระเงิน เร็วขึ้น ทําให้ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันสิ้นงวดลดลง ณ 31 ธันวาคม 2551 บริษัท มีหนี้สินรวมจํานวน 166.33 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการลดลงร้อยละ 19.46 จาก ณ สิ้นปี 2550 ทั้งนี้การลดลงของหนี้สินเกิดจากการจ่ายชําระหนี้เงินกู้ยืมจากกรรมการ 46.56 ล้านบาท เจ้าหนี้การค้าลดลงจาก 94.20 ล้านบาท เหลือ 56.29 ล้านบาท และจ่ายชําระภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 26.94 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตามบริษัทมีหนี้สินเพิ่มขึ้ น คือ เงิน กู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร 48.60 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลอื่น 15 ล้านบาท ณ 31 ธันวาคม 2550 และ ณ 31 ธันวาคม 2551 ไม่มีการใช้วงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร บริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีกับ ธนาคารจากธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งวงเงิน 15 ล้าน ซึ่งมีอัต ราดอกเบี้ยลอยตัวอ้างอิงจากอัตราดอกเบี้ย MOR (Minimum Overdraft Rate) ต่อปีโดยอยู่ในช่วงร้อยละ 6.75 - 8.00 ต่อปี โดยมีที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างกรรมสิทธิ์ของกรรมการท่านหนึ่งเป็น หลักทรัพย์ค้ําประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีวงเงินกู้ยืมระยะสั้นจากจากสถา บันการเงิน 55 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินกู้ทรัสต์ รีซีท และเงินกู้ยืมจากธนาคารในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินอายุ 1-6 เดือน ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยตามท้องตลาด เช่น MLR เป็นต้น โดยบริษัท ได้มีการค้ําประกันวงเงินกู้โดยใช้ที่ดินกรรมสิทธิ์ของกรรมการท่านหนึ่ งเป็นหลักทรัพย์ค้ําประกัน ทั้งนี้ ณ วันสิ้นปี 2549 ปี 2550 บริษัทไม่มียอดเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน และ ณ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก ธนาคารจํานวน 48.60 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยอยู่ในช่วงร้อยละ 6.875 - 7.50 ต่อปี และเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคค ลอื่นที่ไม่ใช่ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งจํานวน 15 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 8 ต่อปี ในส่วนของเงินกู้ยืมจากกรรมการนั้นไม่มีการคิด ดอกเบี้ยและไม่มีกําหนดการจ่ายชําระคืน ทั้งนี้บริษัทได้จ่ายชําระหนี้เงินกู้ยืมจากกรรมการหมดแล้วในเดือนสิงหาคม 2551 ในส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวในปี 2551 บริษัทมีการกู้ยืมเงินระยะยาวเพิ่มขึ้น 15.66 ล้านบาทเพื่อใช้สําหรับ ตกแต่ง สํานักงานใหญ่ใหม่ และสําหรับตกแต่งสาขาเซ็นทรัลพัทยาที่จะเปิดในต้นปี 2552 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีวงเงินกู้ยืมระยะสั้นจากจากสถาบันการเงิน 70 ล้านบาท ประกอบด้ วย เงิน กู้ทรัสต์รีซีท และเงินกู้ยืมจากธนาคารในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินอายุ 1-6 เดือน ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยตาม ท้องตลาด โดยอยู่ในช่วงร้อยละ 5.85 ‟ 6.50 ต่อปี โดยบริษัท ได้มีการค้ําประกันวงเงินกู้โดยใช้เงินฝากประจํากรรมสิทธิ์ของบริษัท และที่ดินกรรมสิทธิ์ของกรรมการท่านหนึ่งเป็นหลักทรัพย์ค้ําประกัน และบริษัทได้จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสั้นอื่นจํานวน 15 ล้าน บาทแล้วทั้งจํานวน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ 31 ธันวาคม 2550 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท มีมูลค่าเท่ากับ 113.73 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 40 ล้านบาท และกําไรสะสมยังไม่ได้จัดสรร 73.73 ล้านบาท การเพิ่มขึ้นของกําไรสะสมดังกล่าวเกิดจากผลประกอบการที่ดีของ บริษัท หากดูย้อนหลังกลับไปจะเห็นได้ว่าบริษัท มีกําไรสะสมเพิ่มขึ้นโดยตลอด เนื่องจากผลการดําเนินงานที่ดีอย่างต่อเนื่องของ บริษัท และส่งผลให้ส่วนของผู้ถือหุ้นข องบริษัท เติบโตอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม จากมติการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้จ่ายเงินปันผลประจํางวดปี 2550 แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 175 บาท รวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 70.00 ล้านบาท โดยจ่ายเป็นจํานวนเงิน 33.33 ล้านบาท เมื่อวันที่ 19 เดือนมิถุนายน 2551 และส่วนที่เหลืออีก 36.67 ล้าน บาท เมื่อวันที่ 13 เดือนสิงหาคม 2551 83


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ณ 31 ธันวาคม 2551 และ 31 ธันวาคม 2552 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท มีมูลค่าเท่ากับ 225.62 ล้านบาท และ 329.24 ล้านบาท ตามลําดับและมีกําไรสะสมยังไม่ได้จัดสรรเท่ากับ 49.69 ล้านบาท และ 57.62 ตามลําดับ และในการประชุมกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 6/2552 ได้มีมติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล จากผลประกอบการดําเนินงานในปี 2551 ในอัตราหุ้นละ 0.29 บาท ปัจจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลต่อการดาเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ปัจจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลต่อการดําเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต นอกเหนือจากที่ได้กล่าวไว้ในเรื่องปัจจัย ความเสี่ยง มีดังนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วนทางการเงินเนื่องจากจานวนหุ้นที่เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัท มีทุนจดทะเบียนชําระแล้วจํานวน 170,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท จํานวนหุ้นสามัญทั้งหมด 175,000,000 หุ้น และมีกําไรสุทธิสําหรับ ปี 2552 จํานวน 60.24 ล้านบาท คิดเป็นอัตรากําไรต่อหุ้น เฉลี่ยถ่วงน้ําหนักเท่ากับ 0.43 บาทต่อหุ้น และมูลค่าหุ้นตามบัญชีเท่ากับ 2.33 บาทต่อหุ้น (คํานวณจากจํานวนหุ้ นสามัญทั้งหมด ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552) นอกจากนั้น ในกรณีที่มีการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกให้แก่กรรมการและพนักงาน ของบริษัท (ประเภทระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ ) ทั้งหมดจํานวน 5,000 ,000 หุ้น จะทําให้บริษั ท มีทุนชําระแล้วจํานวน 175,000,000 บาท จํานวนหุ้นสามัญทั้งหมด 175,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ซึ่งอาจส่งผลให้ กําไรต่อหุ้นของบริษัท ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตลดลงเพิ่มขึ้น โดยจากกําไรสุทธิสําหรับ ปี 2552 กําไรสุทธิต่อหุ้นปรับลดหลังจากใช้ สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ตามใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด (Fully Diluted) จะมีค่าเท่ากับ 0.02 บาทต่อหุ้นและการเพิ่มขึ้นของ จํานวนหุ้นสามัญของบริษัท ดังกล่าว จะส่งผลให้มูลค่าหุ้นตามบัญชีมีค่าเท่ากับ 2.25 บาทต่อหุ้น (คํานวณจากมูลค่าตามบัญชีของ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552) อย่างไรก็ดี ในจํานวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 5,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลง สภาพของใบสําคัญแสดงสิทธิดังกล่าวจะมีการใช้สิทธิแปลงสภาพได้ไม่เกินร้อยละ 25 ต่อปีของจํานวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าว ของแต่ละบุคคลที่ได้รับการจัดสรร ดังนั้นอัตรากําไรสุทธิต่อหุ้นปรับลดจะไม่ลดลงทั้งจํานวนในทันที อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนและการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ตามใบสําคัญแสดง สิทธิที่ออกให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัท ดังกล่าวข้างต้น บริษัท จะมีเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น ทําให้ภาระดอกเบี้ยจ่าย ของบริษัท ลดลง นอกจากนั้น ยอดขายของบริษัท ที่คาดว่าจะเติบโตตามอุตสาหกรรม และกลยุทธ์การเพิ่มจํานวนสาขาของบริษัท ขึ้นนั้นจะทําให้กําไรสุทธิของบริษัท เติบโตขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้สามารถช่วยลดผลกระทบของการลดลงของกําไรต่อหุ้นและมูลค่า หุ้นตามบัญชีที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนหุ้นได้

84


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2552 บริษัทได้ตกลงจ่ายค่าตอบแทนการ สอบบัญชีให้แก่นายประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4917 จากสํานักงานบริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด ผู้สอบบัญชีของบริษัทในงวดบัญชี ปี 2552 เป็น จํานวนเงิน รวม 450,000 บาท ค่าบริการอื่น ๆ -ไม่มี-

งบการเงิน ประจาปี และ รายงานของ ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต

85


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

86


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน ของผู้ถือหุ้น และงบกระแสเงินสด สําหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็น ผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกําหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญหรือไม่ การ ตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจํานวนเงินและก ารเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสําคัญ ซึ่ง ผู้บริหารเป็นผู้จัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของ บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไ พรส์ จํากัด (มหาชน ) โดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

(นายประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4917 บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด กรุงเทพฯ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553

87


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บาท หมายเหตุ

2552

2551

3, 4 รายได้จากการขาย

548,233,404.93

547,764,050.13

ต้นทุนขาย

(323,917,644.91)

(338,955,701.92)

กําไรขั้นต้น

224,315,760.02

208,808,348.21

รายได้อื่น

26

กําไรก่อนค่าใช้จ่าย

1,955,269.07

8,605,354.17

226,271,029.09

217,413,702.38

ค่าใช้จ่ายในการขาย

27, 31

(85,404,325.51)

(69,907,338.30)

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

27, 31

(37,966,702.28)

(57,896,827.70)

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

31

(14,664,746.92)

(13,756,630.21)

(138,035,774.71)

(141,560,796.21)

88,235,254.38

75,852,906.17

รวมค่าใช้จ่าย กําไรก่อนต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน

27

กําไรก่อนภาษีเงินได้

(2,624,656.33) 85,610,598.05

ภาษีเงินได้

72,899,871.53

(25,366,549.47)

กําไรสุทธิ

60,244,048.58

กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

3

จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วง น้ําหนัก (หุ้น)

3

(2,953,034.64)

(20,599,640.60) 52,300,230.93

0.43

0.52 141,136,986

100,684,932

88


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บาท หมายเหตุ

2552

2551

สินทรัพย์

3

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงิน สด

5

160,238,747.33

25,293,224.82

ลูกหนี้การค้า - สุทธิ

4, 6

52,788,728.27

44,994,066.14

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

7

225,578,223.83

290,988,370.97

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน

8

15,214,323.30

8,083,546.68

453,820,022.73

369,359,208.61

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระ ค้ําประกัน

9

12,782,046.48

2,717,197.11

อุปกรณ์ - สุทธิ

10

14,163,839.20

13,264,681.62

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ

11

5,350,790.60

2,878,130.60

เงินมัดจําและเงินประกัน - สุทธิ รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน

12

4,007,703.76

3,735,211.97

รวมสินทรัพย์

36,304,380.04 490,124,402.77

22,595,221.30 391,954,429.91

89


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บาท หมายเหตุ

2552

2551

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

3

หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน

13

10,317,056.29

48,599,999.97

เจ้าหนี้การค้า หนี้สินส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายใน หนึ่งปี

14

90,833,365.88

56,294,477.59

19

4,492,777.77

4,438,738.01

เงินกู้ยืมระยะสั้นอื่น

15

-

15,000,000.00

ภาษีเงินได้ค้างจ่าย

31

17,211,119.29

7,515,708.32

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

31

13,215,170.65

14,029,517.14

16, 31

14,311,545.20

9,870,806.06

150,381,035.08

155,749,247.09

17

9,572,454.91

9,258,918.65

18

930,839.33

1,319,912.10

10,503,294.24

10,578,830.75

160,884,329.32

166,328,077.84

หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน หมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงินระยะ ยาว รวมหนี้สินไม่ หมุนเวียน รวมหนี้สิน

90


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บาท หมาย เหตุ

2552

2551

175,000,000.0 0

175,000,000.0 0

170,000,000.0 0

135,000,000.0 0

92,267,172.80

34,597,500.00

9,355,835.12

6,343,632.69

57,617,065.53

49,685,219.38

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

329,240,073.4 5

225,626,352.0 7

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

490,124,402.7 7

391,954,429.9 1

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

3

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น

21, 23

ทุนจดทะเบียน

หุ้นสามัญ 175,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระแล้ว หุ้นสามัญ 170,000,000 หุ้น ในปี 2552 และ 135,000,000 หุ้น

ในปี 2551 ชําระเต็มมูลค่าแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กําไรสะสม

21, 24 20, 25

จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร

91


[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บริษัท ยูบลิ ลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผู้ถอื หุ้น สําหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บาท หมายเหตุ ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2551

ทุนเรือนหุ้นทีอ่ อก

ส่วนเกินมูลค่า

เงินรับล่วงหน้า

และชําระแล้ว

หุ้นสามัญ

ค่าหุ้น

40,000,000.00

เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

-

-

รวม

-

73,728,621.14

113,728,621.14

-

80,000,000.00

(80,000,000.00)

-

-

49,597,500.00

20

-

-

-

จัดสรรสํารองตามกฎหมาย

25

-

-

-

-

-

-

6,343,632.69 -

135,000,000.00

34,597,500.00

-

35,000,000.00

57,669,672.80

-

-

เพิ่มทุนหุ้นสามัญ

21

จ่ายเงินปันผล

20

-

-

-

จัดสรรสํารองตามกฎหมาย

25

-

-

-

-

-

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ยังไม่ได้จดั สรร

-

จ่ายเงินปันผล

กําไรสุทธิ

จัดสรรแล้ว

80,000,000.00

21

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

34,597,500.00

-

เพิ่มทุนหุ้นสามัญ

กําไรสุทธิ

95,000,000.00

-

กําไรสะสม

170,000,000.00

92,267,172.80

-

6,343,632.69

3,012,202.43 9,355,835.12

(70,000,000.00)

(70,000,000.00)

(6,343,632.69)

-

52,300,230.93

52,300,230.93

49,685,219.38

225,626,352.07

(49,300,000.00)

92,669,672.80 (49,300,000.00)

(3,012,202.43)

-

60,244,048.58

60,244,048.58

57,617,065.53

329,240,073.45

92


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บาท 2552

2551

60,244,048.58

52,300,230.93

4,501,746.34

3,442,553.94

สิทธิการเช่าตัดจําหน่าย

218,760.00

218,760.00

กลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ

(29,404.96)

(2,218,642.47)

กลับรายการค่าเผื่อจากการตีมูลค่าสินค้าลดลง

(332,991.71)

(806,061.59)

กลับรายการค่าเผื่อจากการด้อยค่าสินทรัพย์ลดลง

(186,059.86)

(912,311.01)

(38,728.79)

1,091,386.03

ดอกเบี้ยรับ

(382,441.25)

(260,479.13)

ดอกเบี้ยจ่าย

2,624,656.33

2,953,034.64

ภาษีเงินได้

25,366,549.47

20,599,640.60

91,986,134.15

76,408,111.94

ลูกหนี้การค้า

(7,757,529.41)

4,210,922.71

สินค้าคงเหลือ

65,743,138.85

(93,366,190.25)

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

(7,130,776.62)

(3,559,114.13)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

(86,431.93)

(1,231,940.36)

เงินสดรับดอกเบี้ย

382,441.25

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิ ปรับกระทบกําไรสุทธิเป็นเงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมดําเนินงาน ค่าเสื่อมราคา

ขาดทุน(กําไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง

กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ดําเนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง

260,479.13

การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้า

34,569,889.32

(39,046,320.64)

14,234.61

2,113,494.87

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

4,440,739.14

(321,887.86)

เงินสดจ่ายดอกเบี้ย

(3,152,625.29)

(2,417,993.55)

(15,671,138.50)

(40,027,448.35)

163,338,075.57

(96,977,886.49)

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

93


[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บาท 2552

2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระค้ําประกันเพิ่มขึ้น รับชําระเงินให้กู้ยืมแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

(10,064,849.37) -

ซื้ออุปกรณ์

(5,733,253.92)

ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

(2,691,420.00)

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(18,489,523.29)

(89,623.12) 2,138,285.21 (7,233,259.73) (5,184,597.64)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารเพิ่มขึ้น

2,962,845.18

-

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น

45,089,297.25

88,599,999.97

จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

(86,335,086.13)

(40,000,000.00)

รับเงินกู้ยืมระยะสั้นอื่น จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสั้นอื่น

-

15,000,000.00

(15,000,000.00)

-

รับเงินกู้ยืมจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

-

605,206.27

จ่ายชําระเงินกู้ยืมจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

-

(47,162,747.17)

รับเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น จ่ายชําระหนี้สินตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ จ่ายชําระหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

4,340,000.00

15,660,000.00

(3,995,758.88)

(14,488,206.14)

-

(5,099,811.21)

(365,737.85)

(287,442.20)

92,669,672.80

129,597,500.00

(49,268,262.14)

(70,000,000.00)

(9,903,029.77)

72,424,499.52

134,945,522.51

(29,737,984.61)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี

25,293,224.82

55,031,209.43

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี

160,238,747.33

25,293,224.82

เงินสดรับจากการเพิ่มทุนหุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ

94


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิม่ เติม 1 ) รายการที่ไม่ใช่เงินสด ในปี 2551 บริษัทได้ซื้อยานพาหนะราคาทุน จํานวนเงิน 2.63 ล้านบาท โดยชําระเป็นเงินสด จํานวนเงิน 0.65 ล้านบาท และส่วนที่เหลือทําสัญญาเช่าการเงิน จํานวนเงิน 1.98 ล้าน บาท

95


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2536 ทะเบียนเลขที่ 0105536125477 และได้แปรสภาพบริษัทเป็นบริษัท มหาชน เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 ทะเบียนเลขที่ 0107551000177 โดยประกอบธุรกิจขายปลีกและส่ง เครื่องประดับ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2552 บริษัทได้จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน “ตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (MAI)” บริษัทมีสํานักงานตั้งอยู่เลขที่ 721 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประกอบด้วย

บุคคล นายวิโรจน์ พรประกฤต บริษัทร่วมทุน เค-เอสเอ็มอี จํากัด นางสุวัฒนา ตุลยาพิศิษฐ์ชัย นางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต นายอัครพงค์ พรประกฤต

สัญชาติ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

อัตราร้อยละ ของการถือหุน้ 2552 42.35 8.82 7.06 3.53 3.53

2551 55.33 11.11 9.00 4.00 4.00

2. เกณฑ์ในการนําเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี ”) รวมถึ งการตีความและแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี ”) เพื่อให้เป็นไปตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไปของประเทศไทย งบการเงินของบริษัทได้จัดทําเป็นภาษาไทย และมีหน่วยเงินตราเป็นบาท ซึ่งการจัดทํางบการเงินดังกล่าวเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของการจัดทํารายงานในประเทศ ดังนั้นเพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับ ภาษาไทย บริษัทได้จัดทํางบการเงินฉบับภาษาอังกฤษขึ้นโดยแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทย ในการจัดทํางบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมี ผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย การประมาณ และข้อสมมติฐานมาจากประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยต่างๆที่ผู้บริหารมีความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลภายใต้ สภาวการณ์แวดล้อมนั้นซึ่งไม่อาจอาศัยข้อมูลจากแหล่งอื่นและนําไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวกับการกําหนดจํานวนสินทรัพย์ 96


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

และหนี้สินนั้นๆ ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริงจากการตั้งข้อสมมติฐานต่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินอาจ แตกต่างไปจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทํางบการเงินจะได้รับการทบทวน อย่างสม่ําเสมอ การปรับ ประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่การประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน หากการปรับ ประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับหรืองวดในอนาคต หากการปรับประมาณการ กระทบทั้งงวดปัจจุบันและอนาคต เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 สภาวิชาชี พบัญชีได้ออกประกาศฉบับที่ 12/2552 ระบุให้จัดเลขฉบับ มาตรฐานการบัญชีของไทยใหม่ให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 และ 16/2552 ให้ใช้มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีใหม่ดังต่อไปนี้ ก) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปี ปัจจุบัน แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550)

การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพือ่ ขาย และการดําเนินงานที่ยกเลิก (ฉบับ 54 เดิม)

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการบันทึกสิทธิการเช่า แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน

มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีข้างต้นถือปฏิบัติกับงบ การเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัท ได้ประเมินแล้วเห็นว่าการใช้มาตรฐานและแนวปฏิบัติข้างต้นไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่องบ การเงินสําหรับปีปัจจุบัน ข) มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20

เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล 24 (ปรับปรุง 2550) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ฉบับ 47 เดิม) 40 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน

วันที่มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2555 1 มกราคม 2554 1 มกราคม 2554

ฝ่ายบริหารของบริษัทอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบต่องบการเงินในปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีทั้ง สามฉบับดังกล่าว 97


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

3. สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ เกณฑ์ในการวัดค่าในการจัดทํางบการเงิน นอกจากที่เปิดเผยไว้ในหัวข้ออื่น ๆ ในสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุประก อบงบการเงินอื่น ๆ เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินใช้ราคาทุนเดิม รายได้ การขายสินค้าและให้บริการ รายได้จะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสําคัญของความเป็นเจ้าของ สินค้าที่มีนัยสําคัญไปให้กับผู้ซื้อแล้ว และจะไม่รับรู้รายได้ถ้าฝ่ายบริหาร ยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยสําคัญในการได้รับประโยชน์จากรายการบัญชีนั้นไม่อาจวัดมูลค่า ของจํานวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้องรับคืนสินค้า ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง ค่าใช้จ่าย สัญญาเช่าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ประโยชน์ที่ ได้รับตามสัญญาเช่าจะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญา ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นจะ บันทึกในงบกําไรขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการดังกล่าว ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทํานองเดียวกันบันทึกในงบกําไรขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น ยกเว้น ในกรณีที่มีการบันทึกเป็นต้นทุนส่วนหนึ่งของสิ นทรัพย์ อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ดังกล่าวก่อนที่จะนํามาใช้เองหรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของค่างวด ตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง

98


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ผลประโยชน์ของพนักงาน บริษัทดําเนินการจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่เป็นแผนจ่ายสมทบที่กําหนดการจ่ายสมทบไว้เป็นกองทุนโดย สินทรัพย์ของกองทุนแยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทและบริหารโดยผู้จัดการกองทุน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ดังกล่าวได้รับเงินสมทบเข้ากองทุนจากทั้งพนักงานและบริษัท เงินจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้นตามที่เกี่ยวกับตนเอง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย เงินสด เงินฝากธนาคารกระแสรายวั นและออมทรัพย์ เงินฝาก ธนาคารที่มีกําหนดระยะเวลาไม่เกินกว่า 3 เดือน และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูงสุทธิจากเงินฝาก ธนาคารติดภาระค้ําประกัน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้าแสดงตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณ ที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์ อายุลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ํากว่า วัตถุดิบ งานระหว่างทํา และสินค้าสําเร็จรูป เฉพาะเจาะจง

‟ เครื่องประดับ และเพชรกะรัต

แสดงในราคาทุนตามวิธี

สินค้าสําเร็จรูป ‟ เครื่องประดับทอง 18K และเพชรขนาดเล็ก แสดงในราคาทุนตามวิธีเข้าก่อน - ออกก่อน ต้นทุนของสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซื้อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และ สภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าสําเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการปันส่วนของค่า โสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดําเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จําเป็นในการ ขาย บริษัทตั้งค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงสําหรับสินค้าที่เสื่อมคุณภาพเสียหายล้าสมัยและค้างนาน อุปกรณ์ อุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อจากการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของอุปกรณ์คํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ 5 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน และไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้าง 99


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

การซ่อมแซมและบํารุงรักษาจะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนระหว่างปีบัญชีที่เกิดรายการขึ้น ต้นทุนของการปรับปรุง ให้ดีขึ้นที่สําคัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าการ ปรับปรุงนั้นจะทําให้บริษัทได้ประโยชน์กลับคืนมามากกว่าการใช้ประโยชน์โดยไม่มีการปรับปรุงสินทรัพย์ที่ ได้มา การปรับปรุงหลักจะตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้ประโยชน์ที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง รายการกําไรและรายการขาดทุนจากการจําหน่ายกําหนดโดยเปรียบเทียบสิ่งตอบแทนที่ได้รับกับราคาตามบัญชี และ รวมไว้อยู่ในกําไรจากการดําเนินงาน การด้อยค่าของสินทรัพย์ ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลว่า มีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะทําการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสด สูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกําไรขาดทุนเว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการ การประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้อยค่าใน เวลาต่อมาในกรณีนี้ให้รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความ ชัดเจนว่าสินทรัพย์ดังกล่าวมีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกําไร ขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุ นที่บันทึกในงบกําไรขาดทุนเป็นผลต่าง ระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์หักขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทาง การเงินนั้น ๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในงบกําไรขาดทุน การคํานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์หมายถึงราคาขายสุทธิของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่าในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับ ในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนคํานึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมิน ได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สําหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแส เงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่นให้พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสดที่สินทรัพย์นั้นมีความเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคํานวณมูลค่าที่คาดว่า จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเพื่อให้มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชี ภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจําหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไป ให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรร มของ 100


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สินทรัพย์ที่เช่า หรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ํากว่า โดย จํานวนเงินที่ต้องจ่ายจะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สิน คงค้างอยู่โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สิน ระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่า การเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า หรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใด จะต่ํากว่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์โดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้ให้ เช่าจะจัด เป็นสัญญาเช่าดําเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงาน (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดําเนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เบี้ยปรับที่ต้องจ่ายให้กับผู้ให้เช่า จะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ และ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น และสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่เกิดรายการ แปลงค่าเป็นเงิน บาทโดยใช้อัตราตามสัญญา ณ วันสิ้นปี กําไรหรือขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าที่ยังไม่ครบกําหนด คํานวณโดยปรับสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงค้าง ณ วันสิ้นปีจากอัตราตามสัญญา เป็นราคา ตลาดของสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ที่มีอายุคงเหลือเช่นเดียวกัน โดยแสดงรวมในลูกหนี้อื่นหรือเจ้าหนี้อื่นจาก สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าในงบดุล กําไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าดังกล่าวได้รวมอยู่ในงบกําไรขาดทุน ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ในงบดุลก็ต่อเมื่อบริษัทมีภาระหนี้สินเกิดขึ้นจากข้อพิพาททางกฎหมายหรือภาระ ผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์จากอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ จะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชําระภาระหนี้สินดังกล่าว โดยจํานวนภาระหนี้สินดังกล่าวสามารถประมาณจํานวนเงิ นได้ อย่างน่าเชื่อถือถ้าผลกระทบดังกล่าวเป็นนัยสําคัญ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตจะคิดลดเป็น มูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนคํานึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ใน ตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ปัจจุบันได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชําระโดยคํานวณจากกําไรประจําปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ ประกาศใช้ ณ วันที่ในงบดุล ซึ่งเกี่ยวกับรอบบัญชีที่คํานวณภาษีเงินได้ เงินปันผลจ่าย 101


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

เงินปันผลจ่ายและเงินปันผลจ่ายระหว่างกาลบันทึกในงบการเงินในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นและ คณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิสําหรับแต่ละปีด้วยจํานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนัก ของหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้วในระหว่างปี สรุปได้ดังนี้ สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 กําไรสุทธิสําหรับแต่ละปี (บาท) หุน้ สามัญตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนัก (หุน้ ) หุน้ สามัญที่ออก ณ วันต้นปี ผลกระทบจากหุน้ ที่ออกจําหน่ายระหว่างปี หุน้ สามัญตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนัก (หุน้ ) กําไรต่อหุน้ ขั้นพืน้ ฐาน (บาท)

2552 60,244,048.58

2551 52,300,230.93

135,000,000 6,136,986 141,136,986

40,000,000 60,684,932 100,684,932

0.43

0.52

4. รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทมีรายการบัญชีส่วนหนึ่งกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งบุคคลและกิจการเหล่านี้เกี่ยวข้อง กันโดย การถือหุ้นและ /หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการระหว่างกันกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่มี สาระสําคัญที่รวมไว้ในงบการเงินใช้ราคาตามปกติธุรกิจ โดยถือตามราคาตลาดทั่วไป หรือในราคาที่ตกลงกัน ตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ ยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สิน และรายก ารบัญชีและรายการค้าที่มีสาระสําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน มีดังนี้ รายการบัญชีและรายการค้าที่มีสาระสําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ ธันวาคม 2552 และ 2551

102

31


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บาท รายได้จากการขาย คุณศุภสิทธิ์ คล้ายเข็ม รายได้อื่น คุณศุภสิทธิ์ คล้ายเข็ม บริษัท วีโอเอฟ จํากัด ค่าที่ปรึกษา คุณสุนทร พรประกฤต หนีส้ งสัยจะสูญ บริษัท วีโอเอฟ จํากัด กลับรายการหนีส้ งสัยจะสูญ บริษัท วีโอเอฟ จํากัด

2552

2551

4,973,197.01

8,870,580.93

-

579,806.71 726,420.41

-

1,391,752.62

-

343,647.83

-

(2,951,478.13)

เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2550 บริษั ทได้มีการจัดทําบันทึกข้อตกลงกับคุณสุนทร พรประกฤต เพื่อใช้สถานที่ จําหน่ายสินค้าโดยไม่มีการคิดผลตอบแทน และว่าจ้างเป็นที่ปรึกษา รายเดือน ๆ ละ จํานวนเงิน 0.15 ล้านบาท ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป ต่อมาเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2551 บริษัทได้มีการยกเลิกข้อ ตกลงการ ว่าจ้างเป็นที่ปรึกษาดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้

บาท 2552 ลูกหนีก้ ารค้า คุณศุภสิทธิ์ คล้ายเข็ม ค่าที่ปรึกษาค้างจ่าย คุณสุนทร พรประกฤต

2551

624,752.50 -

2,310,874.75 154,639.18

103


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน การเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินให้กู้ ยืมระยะสั้นแก่กรรมการ ในงบการเงินของบริษัทสําหรับแต่ละปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้

บาท 2552 ยอดยกมา เพิม่ ขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ

2551 2,138,285.21 (2,138,285.21) -

-

ปี 2551 บริษัทมีเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กรรมการ ประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ไม่มีการทําสัญญาเงินกู้ยืม ไม่มี การคิดดอกเบี้ย และไม่มีหลักประกันเงินกู้ยืม เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน การเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกรรมการ ในงบการเงินของบริษัทสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้

บาท 2552 ยอดยกมา เพิม่ ขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ

-

2551 46,557,540.90 605,206.27 (47,162,747.17) -

ปี 2551 บริษัทมีเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกรรมการประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ไม่มีการทําสัญญาเงินกู้ยืม ไม่มีการ คิดดอกเบี้ยระหว่างกัน และไม่มีหลักประกันเงินกู้ยืม

104


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการเป็นผลประโยชน์ที่จ่ายให้แก่กรรมการของบริษัท ตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด โดยไม่รวมเงิน เดือนและประโยชน์ที่เกี่ยวข้องที่จ่ายให้กับกรรมการที่เป็นผู้บริหารของ บริษัท ค่าตอบแทนกรรมการ สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เป็นจํานวนเงิน 0.57 ล้านบาท และ 0.88 ล้านบาท ตามลําดับ ลักษณะความสัมพันธ์ของบริษัท ชื่อ คุณวิโรจน์ พรประกฤต คุณสุนทร พรประกฤต คุณศุภสิทธิ์ คล้ายเข็ม บริษัท วีโอเอฟ จํากัด

ประเทศ ไทย ไทย ไทย ไทย

ความสัมพันธ์ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน อดีตบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

ลักษณะความสัมพันธ์ ผู้ถือหุน ้ ทางตรงและกรรมการ บิดา คุณวิโรจน์ พรประกฤต ผู้บริหารของบริษัท ผู้บริหารร่วมกัน

5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย บาท เงินสด เงินฝากธนาคารกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารออมทรัพย์ รวม

2552 958,260.00 12,306,581.55 146,973,905.78 160,238,747.33

2551 1,905,218.27 9,869,540.74 13,518,465.81 25,293,224.82

105


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

6. ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมีลูกหนี้การค้าแยกตามอายุหนี้ที่ค้างชําระได้ดังนี้

บาท 2552 ลูกหนีก้ ารค้า - อื่นๆ ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 9 เดือน 9 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป รวม หัก ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารค้า - อื่น ๆ - สุทธิ ลูกหนีก้ ารค้า - บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ถึงกําหนดชําระ รวม ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ

2551

50,167,463.58

41,867,146.33

2,000,910.10 400.00 1,280.00 1,046,305.17 53,216,358.85 (1,052,383.08) 52,163,975.77

806,850.05 361,994.53 91,981.58 412,661.36 224,345.58 43,764,979.43 (1,081,788.04) 42,683,191.39

624,752.50 624,752.50

2,310,874.75 2,310,874.75

52,788,728.27

44,994,066.14

สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีรายการเคลื่อนไหวดังนี้ บาท ยอดยกมา บวก หนีส้ งสัยจะสูญ หัก กลับรายการหนีส้ งสัยจะสูญ ยอดคงเหลื รวมลูกหนีอก้ ารค้า - สุทธิ

2552 1,081,788.04 55,893.83 (85,298.79) 1,052,383.08

2551 692,591.21 716,789.83 (327,593.00) 1,081,788.04

106


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

7. สินค้าคงเหลือ - สุทธิ สินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบด้วย บาท วัตถุดิบ งานระหว่างทํา สินค้าสําเร็จรูป เพชรกะรัต วัสดุสิ้นเปลือง รวม หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

2552 50,532,456.33 7,127,482.44 150,396,093.51 16,290,795.43 1,231,396.12 225,578,223.83 225,578,223.83

2551 63,889,593.14 4,994,258.65 196,809,072.36 24,753,658.53 874,780.00 291,321,362.68 (332,991.71) 290,988,370.97

สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงมีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้

บาท ยอดยกมา บวก ขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง หัก กลับรายการขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง ยอดคงเหลือ

2552 332,991.71 185,765.51 (518,757.22) -

2551 1,139,053.30 85,236.20 (891,297.79) 332,991.71

107


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

8. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ‟ สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ประกอบด้วย บาท หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ เงินทดรองจ่ายค่าสินค้า เงินให้กู้ยืมแก่บุคคลภายนอก ภาษีมูลค่าเพิม่ รอใบกํากับภาษี ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน อื่น ๆ รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าและค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ สินทรัพย์หมุนเวียน - สุทธิ

21

2552

2551

12,617,510.52 674,370.02 949,913.19 997,402.82 27,972.00 15,267,168.55 (52,845.25) 15,214,323.30

1,812,897.24 4,601,076.33 333,200.00 408,364.01 695,604.61 282,242.74 3,007.00 8,136,391.93 (52,845.25) 8,083,546.68

ในระหว่างปี 2551 บริษัทมีเงินให้กู้ยืมแก่บุคคลภายนอก จํานวนเงิน 0.50 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อย ละ 12 ต่อปี ชําระดอกเบี้ยรายเดือน กําหนดชําระคืนจํานวน 12 งวด เดือนละ จํานวนเงิน 0.045 ล้านบาท ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2551 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 ไม่มีการทําสัญญาเงิ นกู้ยืมและ ไม่มีหลักประกัน ปัจจุบันบริษัทได้รับชําระคืนเงินกู้ยืมครบทั้งจํานวนแล้ว สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์หมุนเวียนอื่นมี รายการเคลื่อนไหว ดังนี้

บาท ยอดยกมา บวก ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ หัก กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ยอดคงเหลื รวมลูกหนีอก้ ารค้า - สุทธิ

2552 52,845.25 52,845.25

2551 947,237.77 62,561.03 (956,953.55) 52,845.25

108


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้ บาท 2552 ยอดยกมา บวก หนีส้ งสัยจะสูญ หัก กลับรายการหนีส้ งสัยจะสูญ ยอดคงเหลือ

-

2551 2,607,839.30 343,647.83 (2,951,487.13) -

ในระหว่างปี 2551 บริษัทได้รับชําระหนี้จากลูกหนี้อื่น ‟ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันทั้งจํานวน และเงินให้กู้ยืม แก่พนักงานบางส่วนที่ได้เคยตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไปแล้ว 9. เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระค้ําประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินฝากสถาบันการเงิน จํานวนเงิน 12.78 ล้านบาท (ปี 2551 : 2.72 ล้านบาท ) บริษัทได้นําไปใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ําประกันวงเงินสัญญาซื้อ - ขายล่วงหน้าเงินตราต่างประเทศจากสถาบัน การเงิน จํานวนเงิน 100 ล้านบาท วงเงินการออกหนังสือค้ําประกัน จํานวนเงิน 0.50 ล้านบาท โดยบริษัทได้มี การให้ธนาคารออกหนังสือค้ําประกันการใช้ไฟฟ้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวนเงิน 0.08 ล้านบาท (ปี 2551: 0.08 ล้านบาท) (ดูหมายเหตุ 29) และวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินของบริษัท (ดูหมายเหตุ 13 และ 17)

109


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

10. อุปกรณ์ ‟ สุทธิ การเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 แสดงไว้ดังนี้ บาท ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่อง ใช้สํานักงาน

อุปกรณ์

ยานพาหนะ

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิม่ ขึ้น/โอนเข้า จําหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิม่ ขึ้น/โอนเข้า จําหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

2,565,812.59 2,565,812.59 97,800.00 2,663,612.59

6,509,834.71 2,919,265.87 9,429,100.58 5,375,638.03 14,804,738.61

14,478,896.22 765,831.27 15,244,727.49 259,815.89 15,504,543.38

2,623,092.15 2,623,092.15 2,623,092.15

ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าเสื่อมราคา โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสื่อมราคา โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

150,339.64 150,339.64 524,909.81 675,249.45

6,108,799.41 1,005,870.96 7,114,670.37 1,538,662.23 8,653,332.60

7,379,047.84 1,837,694.24 9,216,742.08 1,913,555.87 11,130,297.95

448,649.10 448,649.10 524,618.43 973,267.53

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

2,415,472.95

2,314,430.21

6,027,985.41

2,174,443.05

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

1,988,363.14

6,151,406.01

4,374,245.43

1,649,824.62

สินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

2,898,162.59 (2,565,812.59) 332,350.00 (332,350.00) 332,350.00 -

ค่าเสื่อมราคาสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวนเงิน 4.50 ล้านบาท (ปี 2551 : 3.44 ล้านบาท ) ได้ แสดงไว้ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารทั้งจํานวน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอุปกรณ์ราคาทุน จํานวนเงิน ล้านบาท (ปี 2551 : 10.09 ล้านบาท) ได้ตัดค่าเสื่อมราคาแล้วทั้งจํานวนแต่ยังคงใช้งานอยู่

10.23

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมียานพาหนะมูลค่าตามบัญชี จํานวนเงิน 1.65 ล้านบาท (ปี 2551 : 2.17 ล้าน บาท) ติดภาระหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน (ดูหมายเหตุ 18)

110

รวม

20,988,730.93 11,772,164.47 (2,565,812.59) 30,195,082.81 5,733,253.92 (332,350.00) 35,595,986.73 13,487,847.25 3,442,553.94 16,930,401.19 4,501,746.34 21,432,147.53 13,264,681.62 14,163,839.20


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัททําสัญญาเช่าที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง กับบุคคลภายนอกเพื่อใช้เป็นสํานักงานใหญ่ กําหนดระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2553 อัตราค่าเช่าเดือนละ 0.06 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัท สามารถต่อสัญญาเช่าได้ทุก ๆ 3 ปี 11. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ‟ สุทธิ การเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์ไม่มีตัวตนสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 แสดงไว้ดังนี้ สิทธิการเช่า

บาท โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระหว่างติดตั้ง

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิม่ ขึ้น/โอนเข้า จําหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิม่ ขึ้น/โอนเข้า จําหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

5,255,395.47 5,255,395.47 5,255,395.47

ตัดจําหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ตัดจําหน่าย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ตัดจําหน่าย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

2,158,504.87 218,760.00 2,377,264.87 218,760.00 2,596,024.87

-

2,158,504.87 218,760.00 2,377,264.87 218,760.00 2,596,024.87

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

2,878,130.60

-

2,878,130.60

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

2,659,370.60

2,691,420.00 2,691,420.00

2,691,420.00

5,255,395.47 5,255,395.47 2,691,420.00 7,946,815.47

5,350,790.60

บริษัทได้ทําสัญญาเช่าและสัญญาบริการกับบริษัทแห่งหนึ่ง เพื่อเช่าพื้นที่สําหรับใช้เป็นศูนย์จําหน่ายสินค้า กําหนดระยะเวลา 25 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2540 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2565

111


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

12. เงินมัดจําและเงินประกัน - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เงินมัดจําและเงินประกัน ประกอบด้วย บาท เงินมัดจําค่าเช่าและค่าบริการพืน้ ที่ เงินประกันพนักงาน รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินมัดจําและเงินประกัน - สุทธิ

2552 4,675,886.76 24,000.00 4,699,886.76 (692,183.00) 4,007,703.76

2551 4,247,454.83 366,000.00 4,613,454.83 (878,242.86) 3,735,211.97

สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินมัดจํามีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้ บาท ยอดยกมา บวก ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ หัก กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ยอดคงเหลื รวมลูกหนีอก้ ารค้า - สุทธิ

2552 878,242.86 (186,059.86) 692,183.00

2551 896,161.35 293,690.00 (311,608.49) 878,242.86

13. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ประกอบด้วย บาท เงินเบิกเกินบัญชี ตั๋วสัญญาใช้เงิน ทรัสต์รีซที รวม

2552 2,962,845.18 7,354,211.11 10,317,056.29

2551 35,000,000.00 13,599,999.97 48,599,999.97

112


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

บริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีจากสถาบันการเงิน จํานวนเงิน 15 ล้านบาท อ้างอิง อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมสําหรับ ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดีประเภทเงินเบิกเกินบัญชี (Minimum Overdraft Rate: MOR) ต่อปี วงเงินกู้ยืมระยะสั้นโดย การออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวนเงิน 35 ล้านบาท อ้างอิงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมสําหรับลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ประเภทเบิกเกินบัญชี (Minimum Overdraft Rate: MOR) ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา และวงเงิน เลต เตอร์ ออฟ เครดิต/ทรัสต์รีซีท จํานวนเงิน 20 ล้านบาท อ้างอิงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมสําหรับ ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ประเภทเงินกู้แบบมีระยะเวลา (Minimum Loan Rate: MLR) ต่อปี บริษัทนําเงินฝากธนาคารประเภทเงินฝาก ประจําของบริษัท (ดูหมายเหตุ 9) และจดจํานอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของกรรมการบริษัทเพื่อใช้เป็น หลักประกันวงเงินสินเชื่อดังกล่าวจากสถาบันการเงิน กรรมการบริษัทได้ร่วมค้ําประกันเต็มวงเงิน ต่อมาเมื่อ วันที่ 15 ธันวาคม 2552 กรรมการบริษัทได้รับการยกเว้นการค้ําประกันจากสถาบันการเงิน 14. เจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เจ้าหนี้การค้า ประกอบด้วย บาท เจ้าหนีก้ ารค้าในประเทศ เจ้าหนีก้ ารค้าต่างประเทศ รวม

2552 14,677,098.89 76,156,266.99 90,833,365.88

2551 10,924,187.27 45,370,290.32 56,294,477.59

15. เงินกู้ยืมระยะสั้นอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีเงินกู้ยืมระยะสั้นอื่นโดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จํานวนเงิน 15 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 8 ต่อปี เงินกู้ยืมดังกล่าวครบกําห นดชําระคืนภายในระยะเวลา 3 เดือน ชําระดอกเบี้ย เป็นรายเดือน ไม่มีหลักทรัพย์ค้ําประกัน ต่อมาเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 บริษัทได้จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสั้น อื่นทั้งจํานวน 16. หนี้สินหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนี้สินหมุนเวียนอื่น ประกอบด้วย บาท เงินมัดจําค่าสินค้า เจ้าหนีอ้ ื่น ภาษีมลู ค่าเพิม่ รอนําส่ง ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย รวม

2552 4,011,965.92 6,907,491.34 3,242,530.85 149,557.09 14,311,545.20

2551 2,530,236.65 3,666,986.41 3,557,000.46 116,582.54 9,870,806.06

113


[รายงานประจาปี 2552]

บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

17. เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้

บาท 2552 13,676,159.93 (4,103,705.02) 9,572,454.91

เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หัก ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึง่ ปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน วงเงิน (ล้านบาท) ผู้ให้กู้ ธนาคาร

2552 20.00

2551 20.00

มูลหนี้ (ล้านบาท) 2552 13.68

2551 13.33

2551 13,331,918.81 (4,073,000.16) 9,258,918.65

อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลา ชําระคืนภายใน 5 ปี นับ

ต่อปี อ้างอิง MLR

การชําระหนี้ ผ่อนชําระเงินต้นเป็นราย

ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม

เดือน ไม่น้อยกว่าเดือนละ

2551

0.40 ล้านบาท

บริษัทได้นําเงินฝากธนาคารประเภทฝากประจํา (ดูหมายเหตุ 9) และจดจํานองที่ดินพร้อ มสิ่งปลูกสร้างของ กรรมการบริษัทเพื่อใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน รวมทั้งกรรมการบริษัทได้ร่วมค้ําประกัน เต็มวงเงิน ต่อมาเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 กรรมการบริษัทได้รับยกเว้นการค้ําประกันจากสถาบันการเงิน 18. หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบด้วย

บาท 2552

2551

หนีส้ นิ ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน

1,319,912.08

1,685,649.95

หัก หนีส้ นิ ส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึง่ ปี

(389,072.75) 930,839.33

(365,737.85) 1,319,912.10

หนีส้ นิ ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินระยะยาว

บริษัทได้ทําสัญญาเช่าการเงินเพื่อซื้อยานพาหนะ กําหนดการชําระค่าเช่าเป็นรายเดือน ๆ ละ 0.03 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี จํานวนเงิน 0.39 ล้านบาท (ปี 2551 : 0.37 ล้านบาท ) แสดงภายใต้หนี้สินหมุนเวียน นอกจากนี้บริษัทมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่ําตามสัญญาเช่าการเงินใน แต่ละปี ดังนี้

114


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ล้านบาท ค่าเช่าขั้นต่ํา มูลค่าปัจจุบัน 0.46 0.39 1.00 0.93 1.46 1.32

ปี 1 2-4 รวม

19. หนี้สินส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี หนี้สินส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบด้วย

บาท หมายเหตุ

2552

2551

เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

17

4,103,705.02

4,073,000.16

หนีส้ นิ ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน รวม

18

389,072.75 4,492,777.77

365,737.85 4,438,738.01

20. เงินปันผลจ่าย ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 มีมติให้บริษัทจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตรา หุ้นละ 0.29 บาท รวมเป็นจํานวนเงิน 49.30 ล้านบาท ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 175 บาท รวมเป็นจํานวน เงิน 70 ล้านบาท และจัดสรรสํารองตามกฎหมาย จํานวนเงิน 3.73 ล้านบาท 21. ทุนเรือนหุ้นและการแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน การเพิ่มทุน ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2551 และวันที่ 5 กันยายน 2551 ได้มีมติพิเศษให้เพิ่มทุนจด ทะเบียนจากจํานวนเงิน 40 ล้านบาท (400,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) เป็นจํานวนเงิน 120 ล้านบาท (1,200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) โดยการเพิ่มจํานวนหุ้นสามัญ จํานวน 800,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท และบริษัทได้จดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 และวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ได้มีมติพิเศษให้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้น จากเดิมมูลค่าหุ้นละ 100 บาท เป็นมูลค่าหุ้นละ 1 บาท และเพิ่มทุนจดทะเบียนจากจํานวนเงิ น 120 ล้านบาท (120,000,000 หุ้นมูลค่าหุ้นละ 1 บาท) เป็นจํานวนเงิน 175 ล้านบาท (175,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) นอกจากนี้ยังได้มีมติพิเศษให้แปรสภาพบริษัทจํากัดให้เป็นบริษัทมหาชนจํากัด และบริษัทได้จดทะเบียน เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นและเพิ่มทุน พร้อมทั้งแปรสภาพบริษัทจํากัดเป็นบริษัทมหาชนจํากัดดังกล่าวข้างต้นกับ กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2551

115


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

นอกจากนี้ยังมีมติให้นําหุ้นของบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (Market for Alternative Investment: MAI) รวมทั้งมอบอํานาจให้คณะกรรมการ และ/หรือ บุคคลที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ เป็นผู้มีอํานาจในการดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และมีมติให้เพิ่มทุนของบริษัทอีกจํานวนเงิน 55 ล้านบาท โดยออกหุ้นสามัญใหม่จํานวน 55 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตรา ไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อเสนอขายต่อกลุ่มผู้ถือหุ้นเดิม เสนอขายต่อนักลงทุนแบบเฉพาะเจ าะจง เสนอขายให้แก่ ประชาชนครั้งแรก (Initial Public Offering: IPO) และสําหรับใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นของพนักงานและ กรรมการ และมีมติให้จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 55 ล้านหุ้น ดังนี้ 1.

หุ้นจํานวน 15,000,000 หุ้น ให้เสนอขายแก่นักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง

2.

หุ้นจํานวน 35,000,000 หุ้น ให้เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป

3.

หุ้นจํานวน 5,000,000 หุ้น สําหรับใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นของพนักงานและกรรมการ

4.

มอบอํานาจให้คณะกรรมการ และ /หรือ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมายมีอํานาจในการกําหนด รายละเอียดและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่จําเป็นหรือเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นดังกล่าวได้ทุกประการ

เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2551 บริษัทได้จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์จากจํานวนเงิน 120 ล้านบาท เป็นจํานวนเงิน 135 ล้านบาท เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2551 บริษัทได้บันทึกค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจําหน่ายหุ้นเพิ่มทุน จํานวนเงิน 1.40 ล้านบาท เป็นรายการหักในบัญชีส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ จากการเสนอขายต่อนักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 15 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ในราคาหุ้นละ 3.40 บาท รวมเป็น จํานวนเงิน 51 ล้านบาท บริษัทได้นําหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท จํานวน 35 ล้านหุ้น เปิดให้ประชาชนจองซื้อหุ้ นในระหว่างวันที่ 26 28 ตุลาคม 2552 โดยเสนอขายในราคาหุ้นละ 2.80 บาท และบริษัทได้ดําเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุน ชําระแล้วจากการรับชําระค่าหุ้นสามัญดังกล่าวข้างต้นกับกระทรวงพาณิชย์ จากจํานวนเงิน 135 ล้านบาท เป็น จํานวนเงิน 170 ล้านบาท เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2552 และบริษัทได้บันทึกค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจําหน่ายหุ้นเพิ่ม ทุน จํานวนเงิน 5.33 ล้านบาท เป็นรายการหักในบัญชีส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 22. การแปรสภาพบริษัท ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 และวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ได้มีมติให้แปรสภาพบริษัทจํากัดเป็น บริษัทมหาชนจํากัด และบริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 23. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ที่ประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 และที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2551 ได้ มีมติให้ออก ใบสําคัญแสด งสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ “) (Employee Stock Option Plan: ESOP) จํานวน 5,000,000 หน่วยให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัท โดยรายละเอียดเบื้องต้นของใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญมีดังนี้

116


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน ) เพื่อจัดสรรให้แก่ กรรมการและพนักงานของบริษัท ชนิด : ระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ : 5 ปี นับตั้งแต่วันที่ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดง สิทธิ จํานวนที่ออกและเสนอขาย : 5,000,000 หน่วย ราคาเสนอขายต่อหน่วย : หน่วยละ 0 บาท อัตราการใช้สิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น สิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญต่อหน่วย : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิในการจองซื้อหุ้น สามัญใหม่ของบริษัทได้ 1 หุ้น ราคาการใช้สิทธิ : 1 บาท ระยะเวลาการใช้สิทธิ : ครั้งที่ 1 3 วันหลังจากวันที่บริษัท ออกใบสําคัญแสดง สิทธิให้แก่กรรมการและพนักงานครบ 1 ปี ใช้สิทธิได้ ร้อยละ 25 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการ จัดสรร ครั้งที่ 2 3 วันหลังจากวันที่บริษัท ออกใบสําคัญแสดง สิทธิให้แก่กรรมการและพนักงานครบ 2 ปี ใช้สิทธิได้ ร้อยละ 50 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการ จัดสรร ครั้งที่ 3 3 วันหลังจากวันที่บริษัท ออกใบสําคัญแสดง สิทธิให้แก่กรรมการและพนักงานครบ 3 ปี ใช้สิทธิได้ ร้อยละ 75 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการ จัดสรร ครั้งที่ 4 3 วันหลังจากวันที่บริษัท ออกใบสําคัญแสดง สิทธิให้แก่กรรมการและพนักงานครบ 4 ปี ใช้สิทธิได้ ทั้งหมดของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการ จัดสรร ครั้งที่ 5 7 วันหลังจากวันที่บริษัท ออกใบสําคัญแสดง สิทธิให้แก่กรรมการและพนักงานครบ 5 ปี ใช้สิทธิได้ ทั้งหมดของจํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิที่ได้รับการ จัดสรร

117


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

24. ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ .ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูง กว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทจะต้องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นนี้จะนําไปจ่ายเงินปันผลไม่ได้ 25. สํารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทจะต้องจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุน สํารองตามกฎหมายไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของกําไรสุทธิประจําปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี ) จนกว่า ทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนําไป จ่ายเป็นเงินปันผลได้ 26. รายได้อื่น รายได้อื่นสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบด้วย

บาท 2552

2551

กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

704,823.31

รายได้จากการบริหารบุคคล

260,436.29

4,160,155.08

ดอกเบี้ยรับ

382,441.25

260,479.13

29,404.96

2,218,642.47

กลับรายการขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง

332,991.71

806,061.59

กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์

186,059.86

912,311.01

59,111.69 1,955,269.07

247,704.89 8,605,354.17

กลับรายการหนีส้ งสัยจะสูญ

อื่น ๆ รวม

-

118


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

27. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่สําคัญสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบด้วย บาท 2552 การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสําเร็จรูปและงานระหว่างทํา

2551

44,279,755.06

(86,267,882.61)

7,794,870.51

8,016,541.94

280,867,978.41

270,927,754.71

42,349,369.08

42,804,786.22

ค่าเสื่อมราคา

4,501,746.34

3,442,553.94

ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์

5,328,991.72

15,596,249.82

ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ค่าเช่าและค่าบริการพืน้ ที่ ค่าที่ปรึกษา เบี้ยปรับ เงินเพิม่ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

9,790,650.53 15,535,301.90 156,572.77 -

1,468,370.84 13,082,107.86 1,391,752.62 3,004,507.40 5,676,541.16

2,624,656.33

2,953,034.64

ซื้อสินค้าสําเร็จรูป วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน

ดอกเบี้ยจ่าย

28. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2551 บริษัทและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริษัทจ่ายสมทบให้ ใน ปัจจุบันกองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จํากัด กองทุนสํารอง เลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสําหรับเลี้ยงชีพตามข้อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดย ผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต 29. ภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีภาระผูกพัน ดังต่อไปนี้ - จากการให้ธนาคารออกหนังสือค้ําประกันเพื่อใช้ในการค้ําประกันการไฟฟ้า จํานวนเงิน 0.08 ล้านบาท (ดู หมายเหตุ 9) - จ่ายชําระตามสัญญาเช่าให้กับบุคคลภายนอกเพื่อใช้เป็นสํานักงานขาย อัตราค่าเช่าและค่าบริการเดือนละ1.98 ล้านบาท - จ่ายชําระตามสัญญาว่าจ้างบุคคลภายนอกจัดทําระบบคอมพิวเตอร์มูลค่าตามสัญญา จํานวนเงิน 2.11 ล้าน บาท

119


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

30. การเปิดเผยเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน นโยบายการบัญชี รายละเอียดของนโยบายการบัญชีที่สําคัญและวิธีปฏิบัติ ทางบัญชี การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินและ หนี้สินทางการเงินรวมถึงการวัดมูลค่า การรับรู้รายได้ และค่าใช้จ่ายได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 3 นโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเ ทศในตลาด และจากการที่คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามสัญญา บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว ดังต่อไปนี้ ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยนี้เกิดขึ้นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบ ต่อผลดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัท บริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเนื่องจากมีเงินสดและเงิน ฝากธนาคารและเงินกู้ยืม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินดังกล่าวส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้น ลงตามอัตราตลาด ซึ่งบริษัทมิได้ทําสัญญาป้องกันความเสี่ยงไว้ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนของบริษัท ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมีสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ดังนี้

สินทรัพย์ที่เป็น เงินตราต่างประเทศ 2552 2551 ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยง ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา 0.15 ล้านดอลลาร์ฮ่องกง 0.01 ป้องกันความเสี่ยงโดยทําสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา -

หนีส้ นิ ที่เป็น เงินตราต่างประเทศ 2552 2551

0.03 0.01

2.26 -

1.28 -

-

0.02

-

ความเสี่ยงด้านสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า บริษัทมีนโยบายป้องกันความเสี่ยงด้านสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า โดยบริษัทมีนโยบายการให้สินเชื่อที่ ระมัดระวังและการกําหนดวิธีการชําระเงินจากการขายสินค้า โดยการขายบางส่วนให้ลูกค้าจ่ายเงินล่วงหน้าค่า สินค้า ดังนั้น บริษัทจึงคาดว่าจะไม่ได้รับความเสียหายจากการเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้เหล่านั้นเกินกว่าจํานวนที่ ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว 120


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

มูลค่ายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพย์ทางการเงินโดยส่วนใหญ่เป็นเงินฝากธนาคารและลูกหนี้การค้า ซึ่งมีการให้สินเชื่อระยะสั้น และหนี้สินทางการเงิน โดยส่วนใหญ่เป็นเจ้ าหนี้การค้าและเงินกู้ยืม ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราใน ตลาด จึงทําให้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินดังกล่าวไม่แตกต่างกับมูลค่ายุติธรรมอย่าง เป็นสาระสําคัญ 31. การจัดประเภทรายการใหม่ บริษัทได้จัดประเภทรายการใหม่บางรายการในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และงบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพื่อให้สอดคล้องกับการแสดงรายการในงบการเงินปีปัจจุบันดังนี้

ก่อนจัด ประเภทใหม่ งบดุล ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนีส ้ น ิ หมุนเวียนอื่น งบกําไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร

2551 หน่วย : บาท จัดประเภท ใหม่

หลังจัด ประเภทใหม่

31,416,031.52

7,515,708.32 14,029,517.14 (21,545,225.46)

7,515,708.32 14,029,517.14 9,870,806.06

60,375,740.18 81,185,056.03 -

9,531,598.12 (23,288,228.33) 13,756,630.21

69,907,338.30 57,896,827.70 13,756,630.21

32. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 มีมติให้เสนอที่ป ระชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.21 บาท รวมเป็นจํานวนเงิน 35.70 ล้านบาท 33. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553

121


บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)

[รายงานประจาปี 2552]

122


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.