BMWCar Magazine Thailand Issue 32 August 201

Page 1

AC Schnitzer ACS8 | All-New 530i M Sport | E34 M5 RACE CAR

อ.ศิรบิ ูรณ์ เนาว์ถิ่นสุข Independently written for real enthusiasts

Vol.3 Issue 32 | August 2017 | www.bmwcarmag.com

The ultimate BMW magazine Vol.3 Issue 32 August 2017 www.bmwcarmag.com 100 Baht

1FC_AUG_BMWCar 2017.indd 1

Get one day with

SHARK SQUAD AC Schnitzer ACL2S

E9 3.0 CSL 7/27/2560 BE 11:37


CONTENTS

บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา ปรินทร์ โลจนะโกสินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการ ธนันต์ ซึ่งเจริญยิ่ง ผูจ้ ดั การทัว่ ไป วนาพร เอกวัฒนกิจ บรรณาธิการบริหาร ต่อพันธุ์ คงพันธ์ุ บรรณาธิการ วิธวินท์ สนธิรักษ์ กองบรรณาธิการ ธนา เศรษฐพานิช กองบรรณาธิการ ชญานิน โชติชมภูพงษ์ ประสานงานกองฯ ชยุตม์ ธีระพงษ์รามกุล พิสจู น์อกั ษร เรวดี บุณยดิษฐ์ บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ วัชราพร ผลดี กราฟิกดีไซเนอร์ ธนพล ทิพยสิทธิ์ ฝ่ายภาพ นินาท เทียบเทียม ฝ่ายโฆษณาและบริหารงานลูกค้า จิรัฐติกุล อัครศิริภาวงศ์ โทร. 08-0447-8899 jiruthikul.ak@gmail.com ลภัสรดา กิมจีน โทร. 08-8893-9632 hameba_29@hotmail.com ฝ่ายการตลาดดิจติ อล กรกรณัฐ วิรัชศิลป์ โทร. 09-4480-4932 พิชชากร พุ่มพยุง โทร. 08-9215-8485 ฝ่ายสือ่ สารการตลาดและกิจกรรม วรธรรม ลิมประพฤทธิ์กุล โทร. 09-4480-4723 worratum.lim@2000pm.com ฝ่ายสมาชิก กรกรณัฐ วิรัชศิลป์ โทร. 09-4480-4932 Subscription@2000pm.com พิมพ์ที่ บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด โทร. 0-2966-1600-6 จัดจ�ำหน่าย บริษทั นานาสาส์น จัดจ�ำหน่าย จ�ำกัด โทร. 0-2459-5240-3 เจ้าของ

บริษัท 2000 พับลิชชิ่ง แอนด์ มีเดีย จ�ำกัด 59 ซอยปรียานุช ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0-2318-5159 Website: www.bmwcarmag.com Facebook: @BMWCarMagazineTH Instagram: @BMWCarMagazineTH Twitter: @BMWCarMagazineTH Youtube: @BMWCarMagazineTH Line@: @BMWCarMagazineTH Application: @BMWCarThailand

BMWCar magazine and BMWCar logo are registered trademarks of Kelsey Publishing Ltd, United Kingdom. Under the license by Kelsey Media, BMWCar Thailand edition is published by 2000 Publishing & Media Co., Ltd. The entire contents are copyrighted with ALL RIGHTS RESERVED, unless permission is granted in writing. 2 BMWcar

4 Contents_Aug.indd 2

ช่

ต่อพันธุ์ คงพันธุ์ บรรณาธิการบริหาร E-mail: torpan_k@yahoo.com

วงนี้มีข่าวคราวน่าสนใจเกี่ยวกับ BMW ให้พูดถึงไม่น้อยเลยทีเดียว แต่มีอยู่สองสิ่งที่รู้สึก สะดุดตาและอยากจะพูดถึงมากที่สุด สิ่งแรกก็คือเผยคอนเซ็ปต์ 8 Series ตัวใหม่ไปเมื่อ เดือนพฤษภาคมทีผ่ า่ นมา ซึง่ โดยส่วนตัวแล้ว ผมคิดว่า 8 Series เป็นส่วนหนึง่ ของความเพียรพยายาม อันยาวนานของ BMW ในการเดินไปสู่ปลายอีกข้างหนึ่งของสายผลิตภัณฑ์ด้วยซูเปอร์คาร์ โดยเริ่มตั้งแต่ M1 ในต�ำนานในปี 1978 จากนั้นอีก 11 ปีต่อมาเราก็ได้เห็น E31 8 Series คันแรก หากนับจากวันนั้นจนถึงวันนี้ก็ 28 ปีเต็มจนเราแทบจะลืมไปแล้วว่าได้มี Series นี้อยู่ใน BMW และเราก็จะได้เห็นมันอีกครั้งในปีหน้าตามที่ BMW ได้บอกเอาไว้ มันคงจะน่าสนใจไม่น้อยที่เราจะ ได้เห็นสายผลิตภัณฑ์ 8 Series ตัวใหม่มาร่วมผสมโรงกับสายผลิตภัณฑ์ย่อย ‘Project i’ ที่มี i8 ที่เป็นเหมือนลูกพี่ใหญ่ไฮเทคมายืนเรียกน�้ำย่อยเอาไว้ก่อนหน้านี้แล้ว ส่วนเรื่องที่สองก็คือการครบรอบ 30 ปีของ AC Schnitzer ในปีนี้ เปิดอกไว้ตรงนี้เลยว่า ผมคือแฟนตัวยงของ Schnitzer และ Schnitzer คือส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ผมรูจ้ กั BMW ถึงแม้ AC Schnitzer จะครบสามสิบปีในปีนี้ แค่ค�ำว่า ‘Schnitzer’ ในโลกแห่ง BMW และมอเตอร์สปอร์ตมีมาก่อนหน้านั้น แล้วตั้งแต่ปี 1967 โดยรู้จักกันในชื่อว่า ‘Schnitzer Motorsport’ ในแง่ของรูปแบบบริษัทแล้ว AC Schnitzer และ Schnitzer Motorsport เป็นคนละบริษัทกัน แต่ทั้งสองบริษัทนี้ก็ถูกเริ่มก่อตั้งขึ้นโดยคนคนเดียวกันที่ชื่อ Herbert Schnitzer โดยธุรกิจ ของ AC Schnitzer จะเป็นส�ำนักแต่ง BMW อยู่ที่เมือง Aachen ส่วน Schnitzer Motorsport จะเปรียบเสมือนเป็นร่างทรงของทีมแข่งโรงงานของ BMW Motorsport โดยมีฐานบัญชาการอยู่ที่ Freilassing ใกล้ ๆ มิวนิค หากคุณเอาภาพ 320i Turbo ที่ Harald Ertl ชนะใน DRM ปี 1978 มาวางไว้ทางซ้าย และ เอาภาพ M3 DTM ที่ Bruno Spengler ชนะใน DTM ปี 2012 มาวางไว้ด้านขวา แล้วลองจินตนาการ สิ่งทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างนัน้ ดู ผมว่ามันมีอะไรให้พดู ถึงมากมายเหมือนการเดินทางจากโลกไปดาวอังคาร เลยทีเดียว เอาแค่เรื่องมอเตอร์สปอร์ตอย่างเดียวนี่แหละ ยังไม่ต้องพูดถึงรถถนนรุ่นเจ๋ง ๆ ที่พวกเขา ท�ำออกมาในระหว่างนั้นหรอก !

@BMWCarMagazineTH

www.bmwcarmag.com 7/25/2560 BE 14:18


3 AD BMW 5 Series.indd 3

7/26/2560 BE 15:30


CONTENTS VOL.3 ISSUE 32 AUGUST 2017 T H E U LT I M AT E B M W M A G A Z I N E

012 NEWS ข่าวความเคลื่อนไหว

แวดวง BMW ทั้งในและต่างประเทศ 020 NEW PRODUCTS อุปกรณ์ชุดแต่ง และ Gadget เด็ด ๆ จากทั่วโลก 028 ALL-NEW 530i สตาร์ทรถ เดินคันเร่ง บนถนน และลงแทร็คให้รจู้ กั ตัวตนทีแ่ ท้จริง

038 GET ONE DAY WITH SHARK SQUAD

หนึ่งวันเต็มอรรถรสกับกลุ่มผู้พิสมัย BMW CLASSIC

056 SIRIBOON POWER SPORT

อ.ศิริบูรณ์ ต�ำนานบทส�ำคัญ แห่งวงการแข่งรถเมืองไทย

066 TECH TIPS Weber Carburators

จุดก�ำเนิดความแรงที่แสน ‘เก๋า’

072 AC SCHNITZER ACS8 ดุดนั หรูหรา ลงตัว i8 Completed Car

จากค่าย AC SCHNITZER 080 RESIDENT ALIEN เมือ่ ซาลูนสีป่ ระตู เขย่าขวัญรถสปอร์ตคูเป้ในแทร็ค

086 TWEAKING THE ICON อสูรกายจากยุค 70s E9 3.0 CSL 094 WHAT A TREAT ACL2S โมเดล

ฉลองครบรอบ 30 ปี AC SCHNITZER

@BMWCarMagazineTH

www.bmwcarmag.com 4 BMWcar

4 Contents_Aug.indd 4

7/25/2560 BE 14:18


5 AD BMW 4 Series.indd 5

7/24/2560 BE 11:49


M

BMW M4 DTM Champion Edition 2016

¤ÃÖ§ ‹Öè ȵÇÃÃÉ áË‹§¤ÇÒÁ

“áç”

¨Ò¡¨´ Ø àÃÔÁ ‹Ôè µ¹ Œ ¢Í§ãº¾´ Ñ ·Õ· ‹Õè ÐÂÒ¹º¹¿Ò¡¿‡ÒÊ¡ ‹Ù Òâº Ñ à¤Å×Í ‹×è ¹

Ẻ 2 ÅÍ Œ áÅÐ 4 ÅÍ Œ µÅÍ´ 100 »‚·Õ¼ ‹Õè Ò ‹ ¹ÁÒ BMW ÁàÕÃ×Í ‹×è §

ÃÒǤÇÒÁÊíÒàÃç¨áÅСÒâѺà¤Å׋×è͹âÅ¡´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕÂÒ¹

¹µá ˧ ‹ ͹ҤµÁÒ¡ÁÒ ÃÇÁ¶§ Ö Â¹µÃ¡ÃÃÁ·ÕÊ ‹Õè ÃÒ Œ §ª×Í ‹×è àÊÂ Õ §

´Ò Œ ¹ÊÁÃö¹ÐãË⌴§‹´§ÑÃдº Ñ µíÒ¹Ò¹ÁÒ¶§Ö 45 »‚ ÍÂÒ ‹ § BMW

M Sport ·ÕÕ ‹è Í ‹ ÁÒ¨Ò¡ BMW Motorsport ¹Ñѹ è àͧ

ÁÒ¡ÇÒ´ªÑª¹Ð㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ÃÒ¡ÒÃãËÞ‹æ ¨¹¡ÅÒÂ໚¹

áç¼Å¡ Ñ ´¹ Ñ ãËÁ Œ ¡ Õ ÒùíÒ¨µ Ô ÇÞ Ô ÞÒ³¢Í§Ê¹ÒÁᢧ‹ÍÍ¡ÁÒâÅ´

àŹ ‹ º¹·Í Œ §¶¹¹ áÅзíÒãËâŒÅ¡ä´ÃŒ¨ ŒÙ ¡ Ñ á¶ºÊÒÁÊÕ ¹íéÒ৹ Ô ÁÇ ‹ §

á´§ ·íÒãËŒ BMW 3.0 CSL ä´ÃŒº Ñ ¡ÒáÂÍ ‹ §Ç‹Ò໚¹µ¹ Œ ¡íÒ๴ Ô á˧‹ÁÍàµÍà ʻÍõ áÁ¨ Œ ÐäÁÁ ‹ ÕÊÞ Ñ Å¡ Ñ É³ M ¹íÒË¹Ò Œ ¡µ ç ÒÁ

â´Âã¹»‚ ¤.È. 1978 ໚¹»‚¢Í§¡ÒÃãËŒ¡íÒ๴ Ô µÇ Ñ áçù ‹Ø áá

·‹ÕèÁÒ¾ÃÍ Œ Á¡º Ñ ÊÞ Ñ Å¡ Ñ É³ “M” ¹Ñé¹¤Í × “BMW M1” ÃËÊ Ñ µÇ Ñ ¶§Ñ

BMW M1 “The Godfather of all BMW Models”

¡Ó๴ Ô “M1” ¹ÕÁ ‹Õè ¹ Ñ «àÙ»Íà ¤Òà ªÑ´æ àÁ×Í ‹×è »‚ ¤.È. 1972 BMW ä´ÃŒÇÁ¡Òè´ Ñ ¡ÒÃ´Ò Œ ¹ÁÍàµÍÃÊ »Íõ

äÇÀ Œ ÒÂ㵺 Œ ÃÉ Ô · Ñ Å¡ Ù ¤Í × BMW Motorsport GmbH ·Õä‹Õè ´Í Œ ´µ Õ ¹¡ Ñ

E26 öʻÍà µÊÑÞªÒµÔàÂÍÃÁѹ·Õ‹Õàè ÃçÇ·Õ‹ÕèÊØ´º¹·ŒÍ§¶¹¹ áÅÐ

Âѧ໚¹ÃØ‹¹áá·‹Õè¶Ù¡¼ÅÔµ¢ÖÖé¹ÁÒ¨Ò¡á¼¹¡ BMW Motorsport GmbH ·íÒ¤ÇÒÁàÃÇ ç ʧÙÊ´ Ø Ãдº Ñ 264 ¡âÔÅàÁµÃµÍ ‹ ªÑÇ Ñè âÁ§ ´Ç Œ Â

¢Á Ø ¾Å§Ñ¢¹Ò´ 3,456 «« Õ Õ 227 áçÁÒ Œ ¢º Ñ à¤Å‹×è͹ÅÍ Œ ËÅ§Ñ Ê§‹ ¾ÅСíÒÅ§Ñ¼Ò ‹ ¹à¡Â Õ Ã ¸ÃÃÁ´Ò 5 Ê»‚´ à¤Ã×Í ‹×è §Â¹µÇ Ò§ËŧÑહ ‹

à´Â Õ Ç¡º Ñ «àÙ»Íä Òà áÅÐÁâդçÊÃÒ Œ §µÇ Ñ ¶§Ñ·ÕÁ ‹Õè ¹í Õ éÒ˹¡ Ñ àºÒ à·Ò ‹

ᢧ‹½‚ ÁÍ × ´Õ “Jochen Neerpasch” ÁÒ·íÒ§Ò¹ºÃË Ô ÒÃãËŒ áÅÐµÍ ‹

¹Õé¡àç¾Â Õ §¾Í·Õè¨ ‹ ÐÊÃÒ Œ §µíÒ¹Ò¹¤ÇÒÁáçẺ·Õä‹Õè Áµ ‹ Í Œ §à¡Ã§ã¨ã¤Ã

ö¹µ BMW M, BMW Individual áÅÐ BMW Driver Training

¤ÇÒÁÊíÒàÃç¨ÍÕ¡¢ÑÑé¹ã¹»‚ ¤.È. 1981 ´ŒÇ¡ÒÃ໚¹¼ÙŒ¼ÅÔµ¨Ò¡

¾Ô¾Ô¸Àѳ± ã¹àÁ×ͧÁÔǹԤ »ÃÐà·ÈàÂÍÃÁ¹Õ «Öè§â´´à´‹¹´ŒÇÂ

12 ʺ Ù áçÃдº Ñ 300 áçÁÒ Œ ¨Ò¡¢Á Ø ¾Å§Ñ¢¹Ò´ 5 ŵ Ô Ã áÅÐ

ËÃ×Í “µÖ¡ÊÕ‹ÕÊ è Ùº” áÅзՋÕè¹Õ‹Õè໚¹¨Ø´ÊÌҧ½Ñ¹¢Í§ÊÑÞÅѡɳ “M”

໚¹à¤Ã׋èͧ¹µ¾ ÅСíÒŧѷÕÊ ‹Õè §ÙÁÒ¡ã¹Â¤ Ø ¹Ñé¹ «Ö§Öè ¶¡ Ù ¹íÒÁÒ´ Ñ ãÊ‹

ÁÒä´àŒ»ÅÕ ‹Õè ¹ª×Í ‹×è ໚¹ BMW M GmbH ·ÕËÕè º Ñ ¼´ Ô ªÍº¡Òþ² Ñ ¹Ò ã¹»‚ ¹ÑÑé¹àͧ BMW ÊÌҧÊíҹѡ§Ò¹ãËÞ‹áË‹§ãËÁ‹¾ÃŒÍÁ

ÍÒ¤ÒÃû Ù ·Ã§à¤Ã×Í ‹×è §Â¹µÊ Õè‹Êº Ù ·ÕËÕè ¨ ŒÙ ¡ Ñ ¡¹ Ñ ã¹ª×Í ‹×è “The 4 Cylinder” ãˌ໚¹¨ÃÔ§ àËÔèÁ¨Ò¡¡Òûŋ͵ÑÇᢋ§ BMW 3.0 CSL ÍÍ¡

6-7 Adver BMW 2p.indd 6

BMW M1 ÊÃÒ Œ §ª×Í ‹×è àÊÂ Õ §ã¹·¡ Ø Ê¹ÒÁᢧ‹áÅо§‹Ø·ÐÂҹʋÙ

àÂÍÃÁ¹ÃÕÒÂáṺ Ñ ¨Ò¡»‚ ¤.È. 1930 ·Õä‹Õè ´¾ Œ ² Ñ ¹Òà¤Ã×Í ‹×è §Â¹µ

µÍ ‹ ÁÒä´¾ Œ ² Ñ ¹ÒÁÒ໚¹à¤Ã×Í ‹×è §Â¹µ¢ ¹Ò´ 5.4 ŵ Ô Ã 326 áçÁÒ Œ

໚¹¢Á Ø ¾Å§Ñ¢Í§ “BMW 750i” áÅÐ “BMW 850i Sports Coupe”

7/26/2560 BE 16:47


“M3 áÅÐ M5” ʺ × ·Í´à¨µ¹ÒÃÁ³ ¢Í§¤ÇÒÁáç·ÕÕá ‹è ½§¤ÇÒÁËÃÙ »Ñ¨¨ØºÑ¹»¯ÔàʸäÁ‹ä´ŒÇ‹ÒÊ‹Ô觷ՋÕè¹Ö¡¶Ö§·Ñ¹·ÕàÁ׋×èÍ

¾´ Ù ¶§Ö BMW M ¹Ñè¹¤Í × Ã¶Â¹µ 2 ù ‹Ø ·ÕÊ ‹Õè ÃÒ Œ § ª‹×èÍãË¡ Œ º Ñ BMW ã¹·¡ Ø Â¤ Ø ÊÁÂ Ñ ÍÂÒ ‹ § “M3”

áÅÐ “M5” «Öè§ÊÃÒ Œ §ª×Í ‹×è àÊÂ Õ §áÅÐÊÃÒ Œ §¡ÃÐáÊ

¡ÒõͺÃѺÍ‹ҧÂÍ´àÂÕ‹ÕèÂÁãËŒ¡Ñº¼ÙŒ·Õ‹Õè¤ÅÑÑè§

ä¤ÅŒã¹Âҹ¹µ ÁÒáÅÇ Œ ·ÑÇ Ñè âÅ¡ ÊÔ‹Ô§è ·Õà‹Õè ¡´ Ô ¢Öé¹

BMW M3 E30 ö·ã‹ÕË¡ Œ ÒäǺ¤Á Ø ·‹ÕÊÁºÃÙ³ Ẻ·Ê ‹Õ ´ Ø

¹Õé໚¹¡ÒáÒù Ñ µ¶ Õ §Ö¤³ Ø ÊÁºµ Ñ á Ô ÅÐÊÁÃö¹Ð ã¹Ãдº Ñ Ê»Íõ ¤ÒÃã ¹ÃÒ ‹ §¢Í§Ã¶Â¹µ« ´ Õ Ò¹

äÁÇ ‹ Ò ‹ ¨Ð໚¹¡ÒÃÍ͡ẺµÇ Ñ ¶§Ñ ¡ÒÃÍ͡Ẻ

áÅмÅÔµà¤Ã׋×èͧ¹µ ·Õ‹Õè·Ã§¾Åѧ Ãкºª‹Ç§ ÅÒ ‹ §·Õá ‹Õè ¹¹ ‹ ˹º Ö à¡Òж¹¹ã¹·¡ Ø ÊÀÒÇÐ áÅÐ

à Рº º ¤ Ç Ò Á » Å Í ´ ÀÑ Â ·Õ‹Õè ¶Ù ¡ ¾Ñ ² ¹ Òã Ë Œ ÁÕ »ÃÐÊ· Ô ¸À Ô Ò¾Ê§ÙÊ´ Ø äÁà‹¾Â Õ §à·Ò ‹ ¹Ñé¹..¡Òõͺ

ú Ñ ã¹Ãдº Ñ ¼ãŒÙªÃŒ¶·ÑÇ Ñè ä»Â§ÑäÁ㋪¤ ‹ ÇÒÁÊíÒàè ç

ʧÙÊ´ Ø ¨¹¡ÇÒ ‹ ¨Ð¼Ò ‹ ¹¡ÒÃà¤Õ ‹Õè Ç¡ÃíÒã¹Ê¹ÒÁ

BMW M5 E28 «Õ´Ò¹·Õ´ ‹Õè ·Õ Õ Ê ‹Õè ´ Ø µÅÍ´¡ÒÅ

ᢧ‹¢¹ Ñ áÅÐ·Ò Œ ·ՋèÊ´ Ø ¡äçÁÁ ‹ ÕÍÐäÃÁÒË´ Ø ÂѧÑé

Black Metallic ½Ò¡ÃÐâ»Ã§¼ÅÔµ¨Ò¡

¤Òú ͹ä¿àºÍà ¤Ò´ÅÒÂÊÕ M º¹ËŧѤÒ

¾ÃŒÍÁ¸§ªÒµÔá¤¹Ò´Ò à¾×‹×èÍãËŒà¡ÕÂÃµÔ Bruno Spengler ·ÕÅ ‹Õè §á¢§‹ã¹¹ÒÁ BMW

Team Schnitzer ·‹Õè¤ÇŒÒáªÁ»Š»ÃÐàÀ· ¹¡ Ñ ¢º Ñ ´Ç Œ ¤Ðá¹¹ÃÇÁ 149 ¤Ðá¹¹

BMW ©Åͧ¤ÇÒÁÊíÒ àÃç¨Å‹ÒÊØ´ã¹

ʹÒÁ DTM «Ö§è ໚¹à¤Ã×Í ‹×è §¡Òù Ñ µÊ Õ ÁÃö¹Ð

¢Í§Ã¶Â¹µ ÊÒ¾ѹ¸Ø M ´ŒÇ¡ÒüÅÔµ

BMW M4 DTM Champion Edition 2016 ÃØ‹¹©ÅͧáªÁ»ŠãËŒ “Marco Wittmann”

áªÁ»ŠâÅ¡ DTM ¤¹ÅÒ ‹ Ê´ Ø «Ö§è ù ‹Ø ¹ÕàÕé »š¹ ÃØ ‹ ¹ ¾Ô à Èɵ‹ Í ¨Ò¡ BMW M3 DTM

BMW M3 DTM Champion Edition

Ê‹Ù¤ Ø ãËÁ‹¢Í§ M ʺ × ·Í´ DNA ¨Ò¡Ê¹ÒÁᢋ§

Champion Edition â´Âà¨Ò Œ ù ‹Ø áªÁ»Šà»‚ œ ¹

¹ÕÃÕé ´ Õ áçÁÒ Œ ä´¶ Œ §Ö 493 áçÁÒ Œ áÅÐÁá Õ Ã§

º´ Ô ÁËÒÈÒŶ§Ö 600 ¹Ç Ô µ¹ Ñ àÁµÃ ¨Ò¡¢Á Ø

¾Å§Ñ¢¹Ò´ 3,000 «« Õ Õ ·Ç¹ Ô à·Íà ⺠6 ʺ Ù

ã¹»Õ 2012 BMW ¡Åº Ñ Ê¡ ‹Ù ÒÃᢧ‹¢¹ Ñ Deutsche Tourenwag en Masters ËÃÍ × DTM

Ç´ Ñ à¢Á ç ¤ÇÒÁàÃÇ ç ¨¹Ê´ Ø ä´·Õ Œ ‹Õè 305 ¡âÔÅàÁµÃ

ù ‹Ø ¾àÔÈÉ M3 DTM Champion Edition µÇ Ñ ¶Ñ§ F80 ·ÕÁ ‹Õè Òã¹â·¹ÊÕ´íÒà¤Ã§‹¢ÃÁ Ö Frozen

àÍÒäÇÍ Œ ¡ Õ ´Ç Œ Â

«Öè§à»š¹¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹Ã¶Â¹µ ·Ò§àÃÕºÃÒ¡ÒÃÊíÒ¤ÑÞã¹·ÇÕ»ÂØâû ´ŒÇ¡ÒüÅÔµ M3

6-7 Adver BMW 2p.indd 7

µÍ ‹ ªÑÇ Ñè âÁ§ «Ö§è ¤ÇÒÁàÃÇ ç ʧÙÊ´ Ø ¹Õé§Ѷ¡ Ù ÅÍ ç ¡

7/26/2560 BE 16:47


BMW & Sleek Olympus Machines ศุภสิธ ศรีสวัjjsupasit.com สดิ์ศักดิ์

กล้องเล็ก คุณภาพใหญ่ พกพาสะดวก เหมือนเป็นนักท่องเที่ยวแต่ถ่ายภาพ ได้อย่างโปร ถ่ายอะไรก็รู้สึกสนุก ลุยไปกับเราได้ทุกที่ ทุกสถานการณ์

วามระห�่ำของ BMW X-Series และ ความน่าพิศวงของทะเลทรายใต้หมอก ขี้เถ้า รวมถึงความสวยงามในชั่วโมงต้องมนต์ ใกล้ปล่องภูเขาไฟโบรโม่ ภาพเหล่านีถ้ กู ถ่ายทอด โดยคุณโจ้ ศุภสิธ ศรีสวัสดิ์ศักดิ์ ช่างภาพระดับ แนวหน้าของประเทศไทย ผู้กดชัตเตอร์ถ่ายภาพ สุดเร้าใจโดยกล้อง OLYMPUS OM-D E-M1 Mark II ในทริป BMW Destination X Bromo Driving Experience 2017 “ทริปนี้เป็นทริปที่ท�ำให้ผมสามารถสัมผัส ศักยภาพของกล้องโอลิมปัส และรถ BMW แบบจริงจัง ผมชอบในดีไซน์การออกแบบ และ เทคโนโลยีของทั้ง 2 แบรนด์ รูปแบบการใช้งาน

ก็ถกู ออกแบบมาอย่างโฉบเฉีย่ ว Performance สูง ไม่ได้ดูดี แต่เทคโนโลยีที่ใส่มายังสามารถใช้งาน ได้จริง บ่งบอกบุคลิกและไลฟ์สไตล์ของผูใ้ ช้ได้ชดั ตัวกล้องแค่สะพายอย่างเดียวก็หล่อแล้ว “ส่วนมากงานที่ผมถ่ายจะเป็นงานที่ Setup ตามสตูดิโอหรือถ่ายตามโจทย์ที่ลูกค้าให้มา แต่ การถ่ายรูปในทริปนี้ให้ความรู้สึกเหมือนเวลา ผมไปถ่ายสารคดี คือ ไม่มีการจัดฉากไปลุ้นเอา หน้างานว่าจะได้ภาพทีต่ อ้ งการไหม ก่อนเดินทาง ผมลองวางภาพทีอ่ ยากได้ไว้ในหัว ภาพรถ BMW ที่วิ่งมาด้วยความเร็วสูง มีกลุ่มทรายที่ถูกสาด ลอยฟุง้ ในอากาศ มีภเู ขาเป็นฉากหลัง แล้วผมก็ได้ ช็อตนั้นจริง ๆ เป็นรอบที่คุณ Gerry ขับในฐาน

X-treme ที่ต้องขับท�ำความเร็วในทะเลทราย เพือ่ ให้ได้ชอ็ ตทีต่ อ้ งการ ผมต้องอาศัยการสังเกต และเดินหาต�ำแหน่งที่คิดว่าจะสามารถเก็บภาพ แบบนีไ้ ด้ กดชัตเตอร์รวั มาก ความท้าทายอีกอย่าง ก็คือความเร็วในแต่ละรอบไม่เท่ากัน ท�ำให้ฝุ่น และทรายที่ลอยฟุ้งขึ้นมาแต่ละครั้งก็สวยไม่ เหมือนกัน ความเร็วของชัตเตอร์และโฟกัสช่วย มากในการเก็บภาพได้งา่ ยขึน้ แถมได้ภาพทีค่ มชัด รูปนี้เลยเป็นรูปที่ประทับใจมาก “กล้องที่เร็ว มันสามารถตอบสนองในสิ่งที่ เราต้องการได้เร็ว มีหลายภาพที่ได้ในจังหวะที่ หยิบกล้องและกดชัตเตอร์เลยในจังหวะทีค่ ดิ เลย ซึ่งนอกจากความเร็วชัตเตอร์แล้ว สิ่งหนึ่งที่เห็น

8 BMWcar

8-9 Adver Olympus .indd 8

8/2/2560 BE 13:14


ได้ชัดและช่วยได้มากในครั้งนี้ คือช่วงเวลาที่ เปิดกล้อง ซึ่งเวลาเปิดสวิตช์แล้ว กล้องก็อยู่ใน สภาพที่พร้อมท�ำงาน และสามารถกดถ่ายได้เลย โดยไม่ตอ้ งรอ กดชัตเตอร์รวั ๆ มัน่ ใจได้วา่ ได้ชอ็ ต ที่ต้องการแน่นอน “ไลฟ์สไตล์ของผมจะออกผจญภัยหน่อย ๆ การถ่ายรูปก็เหมือนกัน ชอบถ่ายภาพคนที่มี เรื่องราว มีความเคลื่อนไหว แนวสตรีท ภาพ ธรรมชาติ และ กีฬาผาดโผน ซึง่ ตัวกล้องโอลิมปัส เหมาะกับทุกสถานการณ์ ตัวกล้องมีระบบกันสัน่ ทีใ่ ช้ได้จริง และเวิรก์ มาก ๆ ขาตัง้ กล้องนีไ้ ม่จำ� เป็น เลย ท� ำ ให้ รู ้ สึ ก วางใจที่ จ ะพกไปถ่ า ยทุ ก ที่ โดยเฉพาะเวลาถ่ายภาพทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวเยอะ ๆ สนุกเลย สปีดชัตเตอร์กส็ ามารถท�ำงานได้รวดเร็ว ไม่ต้องกังวลอะไรเลย มั่นใจว่าได้ภาพแน่นอน “สภาพแวดล้อมถือเป็นอีกเรื่องที่ท้าทายกับ ตัวกล้อง แต่สำ� หรับ E-M1 Mark ll นี่สบายมาก เขาเป็นกล้อง Weather Proof ที่กันหนาว กันน�้ำ กันฝุ่นได้ โดยเฉพาะในทริปนี้ประทับใจมาก ฝุ่นของทะเลทรายที่เล็กและเบาบาง มองไม่เห็น ด้วยตาเปล่าก็ไม่กังวลเลย ยิ่งช่วงเวลาที่เปลี่ยน เลนส์ สามารถท�ำได้สบาย ๆ กลางทะเลทราย ไม่ต้องกลัวฝุ่นละอองเข้า “ขนาดของตัวกล้องตัวนี้เปลี่ยนความเชื่อ ทีว่ า่ กล้องทีด่ ตี อ้ งมีขนาดใหญ่ ถ้าดูทกี่ ารใช้จริง ๆ ผมว่าขนาดกล้องที่เล็กท�ำให้ยิ่งได้เปรียบ พกพา ง่าย น�ำ้ หนักเบา เลนส์กเ็ ล็ก พกง่าย กระเป๋าใบเล็ก ๆ สามารถใส่กล้องได้ 1 ตัว บวกเลนส์อีก 2-3 ตัว สบาย ๆ ไปไหนไม่เป็นเป้าสายตา เล็ก ๆ เหมือน นักท่องเทีย่ วแต่ได้ภาพอย่างโปร เข้าถึงฟังก์ชนั่ เมนูง่าย ไม่ต้องกังวลเรื่อง setting โฟกัสไว ท�ำให้เราโฟกัสแค่งานทีอ่ ยูข่ า้ งหน้า มีเวลาในการ

คิดเรื่องถ่ายภาพมากขึ้น “ผมคิดว่าการถ่ายภาพเป็นการอธิบาย ต้อง ใช้จินตนาการ มองโลกให้สวยแล้วพยายาม เล่าเรื่องอย่างที่เราอยากเล่าให้ออกมาเป็นแบบ ภาพที่บันทึก การเลือกกล้องก็อยากให้เลือกที่

เหมาะสมกับเรา ต้องเป็นกล้องทีต่ อบสนองความ ต้องการได้ในทุกสถานการณ์ เป็นคู่หูที่ดี ท�ำให้ เรารู้สึกสนุก ลุยไปกับเราได้ทุกที่ ถ้ารูปร่างหล่อ ด้วยก็จะดีมากเหมือนที่ผมรู้สึกกับ OM-D E-M1 Mark II ตัวนี้” l

OLYMPUS OM-D E-M1 Mark II AUGUST 2017 9

8-9 Adver Olympus .indd 9

8/2/2560 BE 13:14


Michelin Pilot Sport 4 s ทุกรายละเอียดคือความสมบูรณ์แบบ เพื่อขีดสุดแห่งการควบคุม เพราะยางรถยนต์เป็นจุดแรกที่จะสัมผัสแรงสั่นสะเทือนจากพื้นถนนสู่ตัวรถ การเลือกยางที่มีคุณสมบัติที่ดี ตั้งแต่เริ่มต้น อาทิ ส่วนผสม (Compound) ของการผลิตเนื้อยางไปจนถึงการออกแบบลวดลายของดอกยาง ล้วนเป็นศาสตร์และศิลป์ที่มีแต่ผู้ผลิตที่มีความชำ�นาญสืบทอดมายาวนานจึงจะมีความเข้าใจ

ส�ำ

หรับ BMW Z4 สปอร์ตโรดสเตอร์ ที่มาพร้อมกับเครื่องยนต์ TwinPower Turbo 184 แรงม้า การได้มาจับคู่กับ ยาง Michelin Pilot Sport 4 S ยางสมรรถนะสูง ทีพ่ ฒ ั นาจากรถแข่งสูร่ ถยนต์นงั่ ระดับพรีเมียม จึงเป็นความลงตัวของการตอบสนองการขับขี่

แบบ Ultra-High Performance อย่างแท้จริง ด้วยดีไซน์ของยาง Michelin Pilot Sport 4 S จะช่วยให้รถยนต์ดูเท่ด้วยแก้มยางที่มีโลโก้ Michelin เป็นเฉดสีดำ � เด่นชัดด้วยเทคโนโลยี การผลิตขั้นสูงอย่าง Premium Touch Michelin Pilot Sport 4 S ได้รบั การออกแบบ

ให้ทงั้ ขับสนุกและปลอดภัย สามารถควบคุม รถได้แม่นย�ำ และตอบสนองต่อการขับขี่ได้ ดีเยี่ยม โดยเฉพาะถนนเปียก อีกทั้งยังช่วย ยืดอายุการใช้งานได้ยาวนานกว่ายางอัลตร้า ไฮเพอร์ฟอร์มานซ์ทั่วไป ดังจะเห็นได้จาก Treadwear ซึ่งเท่ากับ 300 แต่มันไม่ได้ท�ำให้

10 BMWcar

10-11 Adver Michellin.indd 10

8/2/2560 BE 13:19


สมรรถนะการยึดเกาะถนนลดลง ทั้งหมดนี้ เกิดจากการผสานเทคโนโลยีขนั้ สูงของมิชลิน ได้แก่ เข็มขัดรัดหน้ายางแบบ Hybrid Aramid and Nylon belt ซึง่ ช่วยป้องกันการโก่งตัวของ บล็อกดอกยาง และรักษาหน้าสัมผัสของ หน้ายางกับพืน้ ถนนแม้ขบั ด้วยความเร็วสูง ทัง้ ทางตรงและโค้ง เสริมด้วยลายดอกยางทีพ่ ฒ ั นา จากยางทีใ่ ช้ในการแข่งขันฟอร์มลู า่ อี สามารถ รองรับแรงม้าแรงบิดได้ดี จึงควบคุมได้แม่นย�ำ ตอบสนองดี อีกทัง้ ลายดอกยางยังช่วยให้สกึ เรียบ ยืดอายุการใช้งาน และสุดท้ายด้วยสูตร

เนื้อยางแบบ Bi-Compound ช่วยรองรับ แรงเหวีย่ งในขณะเข้าโค้งทีร่ นุ แรง ท�ำให้ไม่สญ ู เสีย การทรงตัวขณะขับขี่ พร้อมการยึดเกาะถนน เปียกที่ดีเยี่ยม ระยะเบรกสั้นบนถนนเปียก Michelin Pilot Sport 4 S มีขนาดของขอบ ให้เลือกระหว่าง 19 และ 20 นิว้ กับความกว้าง ตั้งแต่ 225 ถึง 325 ขนาดของยางจึงไม่เป็น ปัญหาส�ำหรับรถซูเปอร์คาร์ หลายรุน่ รวมไปถึง BMW Z4 สามารถหาข้อมูลเพิม่ เติม ได้ที่

“ผมเป็นคนชอบขับรถ Ultra-High Performance และมัน่ ใจเลือกใช้ยาง Michelin มาตั้งแต่ Michelin Pilot Super Sport และเมื่อได้ลองสัมผัส Michelin Pilot Sport 4 S รู้สึกว่าสามารถควบคุมรถได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ในทุก ๆ สภาวะของพื้นถนน ไม่ว่าจะพื้นแห้งหรือเปียก เพราะเทคโนโลยี Bi-Compound มากไปกว่านัน้ ยังสามารถเข้าโค้งได้เฉียบคมไม่มอี าการย้วย ให้เห็นแต่อย่างใด และยังยึดเกาะถนนแม้จะใช้ความเร็วก็ตาม นอกจากนี้ยังมี ความนุม่ นวลอยูบ่ นสมรรถนะทีย่ อดเยีย่ มของยาง ทำ�ให้ผมมัน่ ใจและสนุกกับ การขับขี่มากขึ้น ไม่ว่าจะในชีวิตประจำ�วันหรือในสนามแข่ง” คุณนิรุทธิ์ สุจริต (ทอม) BMW Z4 AUGUST 2017 11

10-11 Adver Michellin.indd 11

8/2/2560 BE 13:19


NEWS

M8 ลายพราง

สองวันหลังจากที่ BMW เปิดตัว 8 Series Concept ที่ Concorso d’Eleganza Villa d’Este ประเทศอิตาลี ล่าสุด BMW M8 สปอร์ตคูเป้ พลังแรงในต�ำนาน ก็ได้เผยโฉมรุ่นใหม่ ปี 2018 ในชุดลายพราง (ที่ใคร ๆ ก็เดาได้) ณ สนาม Nürburgring โดย M8 ใหม่นี้ จะมาแทนที่รุ่น M6 ที่ก�ำลังท�ำตลาดอยู่ แต่ที่ยังไม่แน่ชัดคือ ขุมพลังของรถทีอ่ าจจะมาจากรหัส S63 4.4 ลิตร ทวินเทอร์โบ V8 หรือเปล่า เพราะรุ่นนี้ก็วางอยู่ใน M5 ใหม่ มีพละก�ำลังกว่า 600 แรงม้า ขับเคลื่อน

สีล่ ้อผ่านเกียร์อัตโนมัติ 8 สปีด หรือจะเลือกใช้ เครื่องเบนซิน 6.6 ลิตร V12 เทอร์โบคู่ที่อยู่ใน BMW M760i มาเป็นขุมก�ำลัง Frank van Meel ประธานของ M Division กล่าวว่า “แนวคิดและ การพัฒนา BMW 8 Series และ M8 นั้นถูก ท�ำไปพร้อม ๆ กัน ซีรีส์ 8 ใหม่จะมีดีเอ็นเอที่มี ไดนามิกชัดเจนขึ้น และมีความปราดเปรียว ใน ขณะที่ Jens Marquardt ผู้อ�ำนวยการของ บีเอ็มดับเบิลยูมอเตอร์สปอร์ตอธิบายว่า BMW M8 จะมีรุ่นที่พร้อมลงรายการแข่งขัน Le Mans

24 Hours โดยใช้ชื่อรุ่นว่า BMW M8 GTE และ มีแผนจะน�ำไปแข่งในรายการเดบิวท์ใน Daytona 24 Hours ช่วงเดือนมกราคม 2018 ด้วย

ยุคเฟื่องฟูของ BMW

BMW ประกาศตัวเลขยอดขายรวม ในห้าเดือนแรกของปีนี้เพิ่มขึ้น 6.0 เปอร์เซ็นต์เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีก่อนคิดเป็นจ�ำนวนรถ 845,147 ยูนิต การเติบโตนีเ้ ป็นผลมาจากยอดขายที่ดี ของ X ซีรีส์ โดยเฉพาะ BMW X1 ที่ทำ� ยอดขายปลายเดือนพฤษภาคม 113,367 คันทั่วโลก เติบโตโดดเด่นกว่า 47.0 เปอร์เซ็นต์ ในช่วงเดียวกันของปีก่อน นอกจากนี้ยอดขายของ BMW X3 และ BMW X5 ก็ยงั เพิม่ ขึน้ ด้วย ส่วนยอดขาย ของ BMW i และ iPerformance เพิ่มขึ้น สูงกว่า 73.4 เปอร์เซ็นต์ในช่วงเดียวกัน ของปีก่อน 12 BMWcar

12-18_News_Aug.indd 12

7/25/2560 BE 15:07


13 AD Omazz.indd 13

7/24/2560 BE 11:47


NEWS

MINI ซิ่งทางฝุ่น Silk Way Rally 2017 ไปซีอาน

MINI รถเล็กหัวใจใหญ่ สร้างปรากฏการณ์ ไม่หยุดหย่อน ล่าสุดเข้าร่วมการแข่งขัน Silk Way Rally 2017 เส้นทาง จัตรุ สั แดง-ประเทศ รัสเซีย-ซีอาน-ประเทศจีน โดยใช้เวลาการ แข่งกว่า 15 วัน ซึ่งมีระยะทางรวมถึง 9,559 กิโลเมตร โดยทีมแข่งที่ใช้รถ MINI ทั้ง 3 ทีม ใช้รถ Mini John Cooper Works Rally ทีต่ กแต่งพิเศษส�ำหรับแรลลีโ่ ดยเฉพาะ และ ล่าสุดตามข่าว คู่หูนักแข่งชาวอเมริกัน Bryce Menzies และเนวิเกเตอร์ Peter Mortensen (MINI John Cooper Works Rally #105) ประสบความส�ำเร็จในเลกที่ 6 ในอันดับ 11 และรักษาอันดับที่ 3 Overall ไว้ได้ โดยทั้งคู่ก�ำลังผ่านข้ามที่ราบคาซัคสถานไปยังประเทศจีน

BMW เตรียมส่งรถไฟฟ้าลงแข่ง ePrix เป็นครั้งแรกที่นิวยอร์ก หลังจากที่ BMW ประกาศว่าจะเข้าร่วมแข่งขันในรายการ FIA Formula E Championship ในฐานะทีมผู้ผลิต โดยเลือก จะลงประเดิมในสนามที่ 9-10 ซึง่ ใช้เส้นทางรอบ ๆ Red Hook, Brooklyn ใกล้กบั แม่นำ�้ ฮัดสัน ของเมือง New York เป็นสนาม แข่งขันในวันที่ 15 และ 16 กรกฎาคมนี้

14 BMWcar

12-18_News_Aug.indd 14

7/25/2560 BE 15:07


19 AD Purra.indd 15

7/24/2560 BE 11:45


NEWS BMW i3 ส่งแบตเตอรี่ ความจุสงู ไปท�ำเครือ่ งเรือ

BMW i ยังคงผลักดันนวัตกรรมอย่างยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวล�้ำ ล่าสุด BMW Group ได้ ขยายความร่วมมือจัดหาแบตเตอรีล่ เิ ธียม-ไอออน จากโรงงาน Dingolfing ให้แก่ บริษัท Torqeedo ผู้ผลิตระบบขับเคลื่อนส�ำหรับเรือยอชต์และเรือ ข้ามฟาก โดยแบตเตอรีล่ เิ ธียม-ไอออนทีส่ ร้างขึน้ ส�ำหรับ BMW i3 ประกอบด้วยโมดูล 8 ชิ้นซึ่งมี 12 เซลล์ ถูกน�ำมาใช้กบั มอเตอร์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ สูงระบบไฮบริดทีม่ กี ำ� ลังถึง 160 แรงม้า ยิง่ ไปกว่า นั้นแบตเตอรี่ที่ใช้แรงดันไฟฟ้าสูงของ BMW i ยัง สามารถน�ำมาใช้ซำ�้ ได้อกี ด้วยหลังจากเสร็จสิน้ การ ใช้ประโยชน์ในรถยนต์ การน�ำกลับมาใช้ใหม่นมี้ ี บทบาทส�ำคัญในการเปลีย่ นไปใช้พลังงานสีเขียว

ลามิน่า คว้ารางวัลแบรนด์ยอดนิยมอันดับ 1

บริษัท เทคโนเซล (เฟรย์) จ�ำกัด ผู้น�ำเข้าและจัดจ�ำหน่ายฟิล์มกรองแสงรถยนต์ และอาคารลามิน่า โดย คุณจันทร์นภา สายสมร กรรมการผู้จัดการ รับรางวัล Marketeer No.1 Brand Thailand 2016-2017 หรือ รางวัลแบรนด์ยอดนิยมอันดับ 1 ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 2 จากผลการวิจัยแบรนด์ยอดนิยม ส�ำรวจโดย บริษัท วิดีโอ รีเสิร์ช อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ส�ำนักงานใหญ่ประเทศญี่ปุ่น ด้วย กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้จริงทั่วประเทศ จัดโดยนิตยสารมาร์เก็ตเทียร์ ผู้น�ำนิตยสารธุรกิจ การตลาด ณ ห้องฉัตราบอลรูม โรงแรมสยามเคมปินสกี้ โดยได้รับเกียรติจาก รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ คุณอุรวี เงารุ่งเรือง เป็นประธานในพิธี

16 BMWcar

12-18_News_Aug.indd 16

7/25/2560 BE 15:07


17 AD Seasons.indd 17

7/24/2560 BE 11:46


NEWS

บีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด เผยโฉม R nineT Urban G/S พร้อมประกาศการแข่งขัน GS Trophy Southeast Asia Qualifier 2017 บีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด ประเทศไทย เผย โฉมบีเอ็มดับเบิลยู R nineT Urban G/S มอเตอร์ไซค์โรดสเตอร์ทผี่ สมผสานดีไซน์ของมอเตอร์ไซค์ สุดคลาสสิกเข้ากับเทคโนโลยีล�้ำสมัยและความ เชีย่ วชาญอันซับซ้อน ในงานเปิดตัวสุดเอ็กซ์คลูซฟี ณ The House on Sathorn โรงแรม W กรุงเทพฯ พร้อมประกาศการแข่งขันรอบคัดเลือก GS Trophy Southeast Asia Qualifier 2017 ในการเฟ้นหาสุด ยอดนักบิดเอ็นดูโร่จากทัว่ ภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เพือ่ ร่วมชิงชัยในการแข่งขัน International

GS Trophy 2018 ที่ประเทศมองโกเลีย บีเอ็มดับเบิลยู R nineT Urban G/S มาพร้อม กับเครื่องยนต์บ๊อกเซอร์ ระบายความร้อนด้วย อากาศและน�ำ้ มัน ขนาดเครือ่ งยนต์ความจุ 1,170 ซีซี ให้กำ� ลังสูงสุด 81 กิโลวัตต์ หรือ 110 แรงม้า สัง่ งานด้วยเกียร์ 6 สปีด มาพร้อมกับล้อแบบซีล่ วด ล้อหน้าขนาดใหญ่กว่า 19 นิ้ว ล้อหลัง 17 นิ้ว เบรกคาลิเปอร์ 4 พอร์ต พร้อมระบบเบรก ABS ตัวรถคุมโทนสีย้อนยุคแบบเมื่อ 35 ปีกอ่ น ถัง น�้ำมันและบังโคลนด้านหน้าสีขาว Lightwhite non-metallic โทนสีนำ�้ เงินบนถังน�ำ้ มัน และเบาะ นั่งสีแดง พร อ้ มชุดแต่งออริจินัล อาทิ แครชบาร์ กระจังครอบไฟหน้า BMW R nineT Urban G/S พร้อมจ�ำหน่ายแล้ววันนี้ ในราคา 975,000 บาท ณ ผูจ้ ำ� หน่ายบีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราดทัว่ ประเทศ ส่วนกิจกรรม GS Trophy Qualifier 2017 รอบคัดเลือก จะจัดขึ้นในวันที่ 1-2 กันยายน พ.ศ. 2560 ณ คีรีมายา รีสอร์ท เขาใหญ่ โดยรับ สมัครสิงห์นักบิด GS เพียง 100 คน เพื่อคัดเลือก ตัวแทนจากประเทศไทยเพียง 1 คน ไปเข้าร่วม ทีมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการแข่งขัน International GS Trophy 2018 ที่ประเทศ มองโกเลีย ผู้สนใจสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม และสมัครผ่านทางออนไลน์ได้ที่ www.bmwmotorrad.co.th/gstrophy2017 หรือผ่านทาง Line ที่ @gstrophysea2017 หรือที่เบอร์โทรฯ 09-7202-7239 วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.0018.00 น. ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์

18 BMWcar

12-18_News_Aug.indd 18

7/25/2560 BE 15:07


15 AD ��������.indd 19

7/24/2560 BE 11:47


NEW PRODUCTS M Style Front Lip

ส�ำนักแต่ง M Style จากอังกฤษ น�ำเสนอสปอยเลอร์เสริมกันชนหน้า หรือ ลิ้นหน้า GTR Style เพื่อเพิ่มลุคสปอร์ต และช่ ว ยในเรื่ อ งแอโรไดนามิ ก ของ 2-Series ทั้ง F22 และ F23 ขอเพียง เป็นรถที่ติดตั้งกันชนหน้าแบบ M Sport ลิ้นหน้าตัวนี้ผลิตจากวัสดุชั้นดี ที่มี น�้ำหนักเบาและแข็งแรงอย่างคาร์บอน ไฟเบอร์ อีกทั้งยังมีรูปทรงที่สวยงาม กับ ราคาค่าตัวที่สมน�ำ้ สมเนื้อ ซึ่งจริง ๆ แล้ว M Style มีบริการติดตั้งให้ แต่ว่าเราสั่ง เข้ามาดีกว่า เพราะเขามีบริการส่งทัว่ โลก (คิดค่าบริการขนส่งอีกราว ๆ 20,000 บาท) น่าจะคุ้มกว่าการขับไปติดตั้งที่อังกฤษ ติดต่อ : www.mstyle.co.uk ราคา : ประมาณ 25,000 บาท

HOT WHEEL for X-series

Speedline ประกาศเปิดตัว SL7 Gladiatore ขนาด 20 นิว้ เพือ่ รองรับรถขนาดใหญ่ ตระกูลขับเคลือ่ น สี่ล้อ และ SUV ระดับพรีเมียม ด้วยการออกแบบที่ ถ่ายทอดความละเอียดอ่อนภายใต้ความแข็งแรงของ โล่นกั รบโรมัน ในขณะทีก่ ารแกะสลักด้วยเลเซอร์บง่ บอก ถึงความสปอร์ต ผิวหน้าแอนทราไซต์ด้านแบบใหม่ ก็ให้การปกป้องที่ดีขึ้นจากการขูดขีดและขี้เกลือที่นั่น หมายความว่าจะมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น Speedline พูดถึง Gladiatore ว่าถึงแม้จะมี ชื่อที่ฟังดูโบราณแต่มันก็ยังมีความทันสมัย ด้วย เทคโนโลยี Flow Forming ท�ำให้เป็นล้ออัลลอย น�้ำหนักเบา แต่ทนทานต่อแรงกระแทกได้ดี และมี การทดสอบระหว่างกระบวนการวิจัยอย่างทารุณ เช่นเดียวกับล้อ Speedline ทุกรุ่น ส�ำหรับ SL7 Gladiatore ขนาด 20 นิว้ ใหม่นี้ มี รองรับส�ำหรับ BMW X1, X3, X5 และ X6 ทีต่ อ้ งการ ความหรูหราและแข็งแกร่งแบบไม่เหมือนใคร ติดต่อ : www.speedlinecorse.net ราคา : ประมาณ 160,000 บาท 20 BMWcar

20-24_New Products_Aug.indd 20

7/25/2560 BE 15:09


21 AD Pirelli.indd 21

7/24/2560 BE 11:44


NEW PRODUCTS

CLEAR ADVANTAGE

ไม่ต้องกลัวการขับรถกลางสายฝนอีกต่อไป เมื่อ CHIPEX คิดค้นผลิตภัณฑ์น�้ำยาขจัด คราบฝนความเข้มข้นสูง AQUAPHOBIC SCREEN WASH ที่ช่วยท�ำความสะอาดกระจกหน้า ของคุณได้อย่างยอดเยี่ยม ด้วยเทคโนโลยีย่อยสลายทางชีวภาพ จะท�ำหน้าที่ให้หยดน�้ำ ไม่เกาะติดกระจกรถของคุณ พร้อมขจัดคราบไขมัน มอบทัศนวิสัยที่ชัดเจนทั้งกลางวันและ กลางคืน ซึ่งจะท�ำให้สามารถขับรถได้อย่างปลอดภัยในทุกสภาพอากาศ นอกจากนี้ยังช่วย ลดเสียงใบปัดน�้ำฝนที่เสียดสีกับกระจก และป้องกันน�้ำในถังพักน�้ำฉีดกระจกจับตัวน�้ำแข็ง ได้ถึง -5 องศาเซลเซียส (แต่คุณสมบัตินี้เมืองไทยคงไม่ได้ใช้) ส�ำหรับ CHIPEX SCREEN WASH มีปริมาตร 1 ลิตร เพียงพอส�ำหรับการเติมผสมลงใน ถังพักน�ำ้ ฉีดกระจกได้มากถึง 8 ครั้ง ติดต่อ : www.chipex.co.uk ราคา : ประมาณ 620 บาท

MONTBLANC DISPLAY KEY CASE

CT EYELINE E60

คิ้วคาร์บอนคุณภาพสูงผลิตในเอเชียของ CT motorsport ถูกผลิตด้วยมือส�ำหรับ 5 Series E60 ที่ต้องการความแตกต่างของ ไฟหน้า ด้วยการเพิ่มคิ้วดีไซน์โฉบเฉี่ยวที่โค้งเว้ารับกับไฟหน้า พร้อมโชว์ความสวยงามจากวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์แท้ ติดต่อ : www.ctmotorsport.com ราคา : ประมาณ 3,000 บาท

ส�ำหรับกุญแจอัจฉริยะ BMW Display Key ที่มีมาใน 5-Series และ 7 Series ใหม่นั้น ถึงแม้จะมีดไี ซน์ทสี่ วยงามพร้อมทีจ่ ะโชว์ รูปลักษณ์แล้ว แต่หากต้องการการ ปกป้องที่ดีก็สามารถพึ่งพา Display Key Case จาก MONTBLANC ที่ ผลิตจากหนังแท้เกรดพรีเมียมสีดำ� มันวาวแบบพอดี รักษาคุณค่า ของงานฝีมอื ด้วยการตัดเย็บอย่าง ประณีตแบบดัง้ เดิมโดยช่างฝีมอื ที่มีประสบการณ์ เข้ารูปในมุม โค้งตามสัดส่วน เนื้อหนานุ่ม ป้องกันความเสียหายจากการ กระแทกได้อย่างดี ติดต่อ : www.montblanc.com ราคา : ประมาณ 15,000 บาท

22 BMWcar

20-24_New Products_Aug.indd 22

7/25/2560 BE 15:09


23 AD Beer.indd 23

7/24/2560 BE 11:44


NEW PRODUCTS Baxter-Tactile

โซฟาหนังทีค่ วรค่าแห่งการครอบครองของ BAXTER ทีถ่ กู ออกแบบมาให้มลี กั ษณะสไตล์เฉพาะตัวถือเป็นอีก หนึง่ ผลงานเฟอร์นเิ จอร์ทหี่ รูหราทันสมัย ท�ำจากหนังวัว ชั้นนอกที่ดีท่ีสุด รวมไปถึงเบาะที่นั่งนุ่มสบายด้วยการ เย็บแบบลักษณะเฉพาะพิเศษของ BAXTER ติดต่อ : www.seasonsofliving.com www.facebook.com/seasonsfanpage

Koinor-Francis

ชุดโซฟา Francis ได้ถูกออกแบบมาให้เห็นถึงความรู้สึก แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ความแตกต่างที่เกิดจากความเร่งรีบ ในชีวิตประจ�ำวัน แต่รู้สึกเหมือนได้รับความผ่อนคลายจาก พื้นที่ส่วนตัวของคุณเอง โดยมีฟังก์ชั่นการท�ำงานที่สามารถ ปรับวางเท้าแขนได้ เบาะหลังและพนักพิงศีรษะได้ถูกแยก ออกมาต่างหากช่วยให้รู้สึกสบายผ่อนคลายได้ ติดต่อ : www.seasonsofliving.com www.facebook.com/seasonsfanpage

Barovier&Toso-Mazzodromo

สุนทรียภาพแห่งความงามกับความร่วมสมัยของไฟ ประดับเพดานของ Barovier&Toso การออกแบบสะท้อน ความแตกต่างกันในรูปแบบ ขนาด หรือแม้แต่ผิวสัมผัส ของแก้ว ในแต่ละดวงประกอบกันเป็นไฟประดับเพดาน อันเต็มไปด้วยเสน่ห์แปลกตา ติดต่อ : www.seasonsofliving.com www.facebook.com/seasonsfanpage 24 BMWcar

20-24_New Products_Aug.indd 24

7/25/2560 BE 15:09


25 AD Dunlopillo.indd 25

7/24/2560 BE 11:43


CTSPremium Crystal Plus Citrus Hybrid Shampoo

น�ำ้ ยาล้างรถขนาด 630 ml. สามารถท�ำความสะอาดขจัดคราบ สิง่ สกปรกทัง้ หลายหรือคราบแน่นฝังลึก ด้วยเทคโนโลยีไฮบริด Premium Citrus Hybrid Shampoo คือแชมพูลา้ งรถสูตร ORGANIC CITRUS สกัดจากเปลือกส้ม CALIFORNIA ซึง่ ทาง CTS ได้รว่ มคิดค้นและพัฒนาสูตรร่วมกับต้นต�ำรับ ประเทศญีป่ นุ่ ผ่านการรับรองแล้ว ใบขออนุญาตเลขที่ ปท 76/2558 อ่อนโยนต่อผิว พร้อมกระตุน้ ความเงางามของเม็ดสี

วิธีใช้

1. ฉีดน�้ำให้ทั่วรถทั้งคัน 2. เทแชมพูประมาณ 1 ฝา ต่อน�้ำ 3 ลิตร 3. ใช้ฟองน�้ำชโลมให้ทั่วคันรถยนต์ 4. เช็ดรถให้แห้งด้วยผ้าชามัวร์ หรือผ้าไมโครไฟเบอร์

สามารถสั่งซื้อออนไลน์ได้ที่ Facebook: Prodetailingstor หรือ เบอร์ติดต่อ 063-152-5251 จัดส่งฟรีทั่วประเทศ 26_Adver_CTS_Aug.indd 26

7/25/2560 BE 15:49


5

Tips to Drive Safely in the Rain

การขับขีร่ ถยนต์ในสภาพฝนตก ถนนลืน่ อาจดูเหมือนจะเป็นปัญหาด้านความปลอดภัย แต่มี 5 ข้อทีค่ ณ ุ สามารถท�ำได้เพือ่ ท�ำให้การขับขีใ่ นยามฝนตกปลอดภัยยิง่ ขึน้

1. เพิม่ ความระมัดระวังทันทีทฝี่ นตก. “หลายคนขับรถโดยความเคยชิน และยังคงใช้พฤติกรรมเดิม ในการขับเมือ่ ฝนตก ถนนลืน่ ” ผูข้ บั ขีต่ อ้ งตืน่ ตัวและมีสมาธิกบั สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ รอบตัวให้มากขึน้ 2. เปิดไฟหน้าเมือ่ ทัศนวิสยั ต�ำ ่ ใช้ทปี่ ดั น�ำ้ ฝนเมือ่ รูส้ กึ ว่ารบกวนการมองเห็น ถ้าฝนตกหนักจนรูส้ กึ ว่าต้องเพ่งสายตา ให้หาทีจ่ อดพัก 3. ลดความเร็วลงหน่อย โอกาสเกิดอุบตั เิ หตุเมือ่ ถนนเปียกนัน้ สูงกว่าถนนแห้ง รถคุณอาจจะพร้อม แต่รถคันอืน่ อาจอยูใ่ นสภาพไม่พร้อม เมือ่ ฝนตกเว้นระยะห่างจากคันหน้าให้มากขึน้ กว่าเดิม 4. ระวังอาการเหินน�ำ ้ Hydroplaning คือ การทีย่ างไม่สามารถไล่นำ�้ ออกจากหน้าสัมผัสได้มากพอ หรือทันท่วงที กลายเป็นอาการยางหมุนอยูบ่ นฟิลม์ น�ำ้ ท�ำให้รถเสียการควบคุม หลีกเลีย่ งการวิง่ ุ จะถูกกดดันให้ขบั ด้วยความเร็วสูง ควรเลือก เลนขวาเพราะอาจมีแอ่งน�ำ้ ขัง และเป็นเลนทีค่ ณ เลนกลางจะดีทสี่ ดุ 5. เตรียมยางให้พร้อมหน้าฝน ยางรถยนต์ไม่ควรมีอายุเกิน 4 ปี หรือประมาณ 50,000 กิโลเมตรขึน้ ดอกยางต้องมีรอ่ งในการรีดน�ำ้ ทีส่ มบูรณ์ โดยเฉพาะยาง Dunlop SP SPORT MAXX 050+ ยางสมรรถนะสูงทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการยึดเกาะทัง้ ถนนแห้งและถนนเปียกอย่างดีเยีย่ ม เพราะมี ดอกยางแบบ high stiffness บริเวณด้านข้างตามแนวยางช่วยให้การยึดเกาะถนนขณะเข้าโค้ง ได้เต็มประสิทธิภาพ รวมไปถึง 4D Nano-design ลวดลายดอกยางใหม่ทกี่ ระจายร่องดอกยาง เพือ่ ความสมดุล เพิม่ การรีดน�ำ้ และลดโอกาสทีร่ ถจะเหินน�ำ้ เมือ่ แล่นผ่านแอ่งน�ำ้ บนถนนที่ ความเร็วสูง ขับขีไ่ ด้อย่างมัน่ คงบนถนนแห้งทัง้ ความเร็วสูงและขณะเข้าโค้ง

ยางรถยนต์ดันลอปรุ่น SP SPORT MAXX 050+ เป็นยางสมรรถนะสูงจากประเทศญี่ปุ่น ผลิตออกมาทั้งสิ้น 66 ขนาด ในซีรีส์ 30-65 ตั้งแต่ขอบ 16 นิ้ว จนถึงขอบ 22 นิ้ว จึงใช้ได้ทั้งรถยนต์นั่งซีดานทั้งขนาดกลางไปจนถึงรถยนต์น่ังระดับหรูขนาดใหญ่ (Luxury Sedan) รถยนต์นั่งอเนกประสงค์สุดหรู (Luxury SUV) รวมไปถึงรถยนต์น�ำเข้า (Import car) หาซื้อได้ตามร้านค้าตัวแทนจ�ำหน่ายยางรถยนต์ดันลอปทั่วประเทศ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท ดันลอป ไทร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด โทร. 0-2744-0199 www.dunloptire.co.th  : Dunlop Tire Thailand 27 Adver_Dunlop_Aug.indd 27

7/26/2560 BE 17:36


All-New 5 Series

530i M Sport Road & Track Test เรื่อง: ชญานิน โชติชมภูพงษ์ ภาพ: ธัญญนนท์ แสงภู่

อาจจะดูขัดความรู้สึกของผมไปสักนิด เมื่อรู้ว่าเราจะเอา BMW 530i M Sport มาวิ่งทดสอบในสนามแข่ง

28 BMWcar

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 28

7/25/2560 BE 16:58


BMW 530i M SPORT G30

พราะภาพในหัวบอกมาตลอดว่า 5-Series เป็นรถซีดานขนาดใหญ่ เพียบพร้อมด้วย ความหรูหราสะดวกสบาย ทีค่ วรจะเหมาะกับการ รับใช้ผู้บริหารเสียมากกว่า แต่ก็ยังสะกิดใจกับ ค�ำว่า M Sport ที่พ่วงท้ายต่อมาจากชื่อรุ่น ซึ่ง ท�ำให้พอจะเดาได้ไม่ยากว่า 5 Series รุ่นนี้ถูก ส่งออกมาเพือ่ รองรับผูบ้ ริหารเท้าหนักทีอ่ ะดรีนาลีน ยังคงพลุ่งพล่าน

530i M Sport ความหรูหราที่ผสาน กับสมรรถนะอย่างลงตัว

หลังจาก BMW 530i M Sport เปิดตัวใน ประเทศไทยไม่กเี่ ดือนทีผ่ า่ นมา ก็ได้เวลาอันสมควร ที่ซีดานหรูน�ำเข้าทั้งคันรุ่นนี้ ถูกส่งถึงมือเราเพื่อ ทดสอบสมรรถนะอันเหนือชัน้ ก่อนอืน่ ต้องยอมรับ ว่าแม้จะมีสดั ส่วนทีค่ ล้ายกันกับ 5-Series รุน่ ก่อน แต่ 530i M Sport นั้นมีหน้าตาที่ดีกว่าเยอะ และ

ตัวถังมีการเอาวัสดุอะลูมเิ นียมมาใช้แทนเหล็กมาก ขึ้น ท�ำให้สามารถลดน�้ำหนักให้เบากว่ารุ่นก่อน ร่วม 100 กิโลกรัม หน้าตาตามเทรนด์ BMW สมัย ใหม่ ด้วยไฟหน้า Adaptive LED ดีไซน์สปอร์ต ที่มีเส้นสายยาวถึงกระจังคู่ขนาดใหญ่ พร้อม ระบบปรับทิศทางตามการเลี้ยวของพวงมาลัย และ Day Time Light ทรงสวยแปลกตา ระบบ ไฟเป็น LED รอบคัน โดดเด่นด้วยชุดแต่งสปอร์ต

AUGUST 2017 29

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 29

7/25/2560 BE 16:59


อันเป็นเอกลักษณ์ของรุ่น M Sport เส้นขอบ หน้าต่างสีดำ� เงา เด่นชัดในเรือ่ งของความสปอร์ต มากกว่าการใส่โครเมียมให้ดูหรูอย่างรุ่นอื่น ทีซ่ มุ้ ล้อคูห่ น้ามีการประดับประดาโลโก้ M สง่างาม คู่กับล้อแม็ก M Double Spoke ขนาด 19 นิ้ว กับยาง RUN FLAT ขนาด 245/40 R19 ในด้าน หน้า และ 275/35 R19 ในด้านหลัง โดยรวม ของหน้าตาเน้นจับกลุ่มลูกค้าที่มีใจรักในความ สปอร์ตโดยเฉพาะ ในวันแรกเรายังคงวุ่นวายทั้งวันอยู่ในเมือง ที่มีการจราจรหนาแน่น ระหว่างที่รถติดอยู่เรามี เวลามากพอที่จะศึกษาว่ามีอะไรใหม่ใน 530i M Sport คันนี้ นอกจากภายในที่ถูกออกแบบ มาอย่างกว้างขวาง ดีไซน์หรูหราสมฐานะด้วย

วัสดุระดับไฮเอ็นด์ ตกแต่งด้วยอะลูมเี นียมกัดลาย Rhombicle พร้อมไทเทเนียมในจุดต่าง ๆ โดดเด่น ด้วยหน้าจอ Head-up Display ระบบสัมผัส ให้ใช้งานแผนที่และป้อนตัวอักษรง่ายขึ้นด้วย หน้าจอใหม่ที่ใหญ่ขึ้นถึง 10.25 นิ้ว ท�ำงานคู่กับ ระบบ iDrive ใหม่ทใี่ ช้งานง่ายขึน้ ด้วยระบบสัมผัส มาตรวัดจอ TFT สีสันสวยงามสไตล์สปอร์ตที่ สามารถเปลี่ยนธีมได้ตามโหมดการใช้งาน วงพวงมาลัย M Sport ขนาดกระชับมือ พร้อม Paddle Shift ในต�ำแหน่งใช้งานง่าย ไม่ห่างจาก พวงมาลัยจนเกินไป ระบบอ�ำนวยความสะดวก ถูกอัดแน่นตามสไตล์ของรถซีดานหรู เบาะตอน หน้ามีระบบหนุนหลังไฟฟ้า (Lumbar Support) ช่วยผ่อนคลายเมื่อใช้เดินทางไกล

จุดเด่นของ 530i M Sport คือหลังคาซันรูฟ ที่ 520d ไม่มี ใช้งานง่ายเพียงแค่กดปุ่มครั้งเดียว ก็จะเปิด-ปิดอัตโนมัติ รวมถึงม่านบังแสงก็ควบคุม ด้วยไฟฟ้าเช่นกัน ระบบประตูแบบผ่อนแรงกระแทก เพียงแค่ปิดประตูมาแนบตัวถังเบา ๆ เดี๋ยวกลไก จะดูดลงไปให้สนิทเอง ระบบเซ็นเซอร์เปิด ฝากระโปรงท้ายอัตโนมัติ เพียงแค่สอดปลายเท้า เข้าไปใต้กันชนหลัง ภายใต้แนวคิด Comfort Access ที่ไม่ต้องปล่อยมือจากสัมภาระเมื่อ ต้องการเก็บของในด้านท้าย แต่ต้องสอดปลาย เท้าควานหาจังหวะอยูน่ านพอสมควรกว่าเซ็นเซอร์ จะตรวจพบปลายเท้าอันเรียวงามของเรา เทคโนโลยีชาร์จโทรศัพท์ไร้สายถูกน�ำมาใช้ ใน 530i M Sport เช่นกัน เพียงแค่วางลงบนแท่น

30 BMWcar

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 30

7/25/2560 BE 16:59


BMW 530i M SPORT G30

ส�ำหรับชาร์จในกล่องเก็บของที่คอนโซลกลาง มาพร้อมระบบเตือนป้องกันลืมโทรศัพท์ แท่น ชาร์จไร้สายนี้ยังใช้ส�ำหรับชาร์จกุญแจ Display Key ทีต่ ดิ มากับ 5 Series ใหม่ทกุ รุน่ ซึง่ เจ้ากุญแจ

อัจฉริยะนี้ สามารถตรวจสอบสถานะของรถ เช่นการล็อกรถ การลืมปิดไฟ การตั้งเวลาเปิด พัดลมระบายอากาศภายในห้องโดยสาร โดย Display Key นี้สั่งการได้ในระยะประมาณ

AUGUST 2017 31

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 31

7/25/2560 BE 17:00


30 เมตร แต่สามารถแสดงสถานะได้ถงึ 300 เมตร ด้วยหน้าจอสัมผัสสุดล�ำ้ ยุค แต่...พยายามอย่าท�ำ หลุดมือเชียวนะ ! และส�ำหรับคนหูทอง ต้องชอบ แน่นอนกับเสียงใส ๆ เสียงเบสที่กังวานรอบคัน จากระบบเครื่องเสียงชั้นเลิศ Harman Kardon เร่งและลดเสียงอัตโนมัติ แปรผันตามความเร็ว เพิ่มขึ้นเพื่อตามกลบเสียงต่าง ๆ ที่ปะทะเข้ามา ไฮไลท์อกี อย่างใน 530i M Sport อยูท่ ี่ ‘ระบบ Parking Assist’ ระบบช่วยจอดอัจฉริยะ ที่เรียก ว่าเป็นระบบช่วยจอดแบบอัตโนมัติเลยดีกว่า เพราะเพียงแค่เราเปิดระบบด้วยการกดปุ่ม Parking Assist ที่ข้าง ๆ คันเกียร์หนึ่งครั้ง (ที่ ความเร็วไม่เกิน 35 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง) ทีห่ น้าจอ Display ก็จะเปลี่ยนไปแสดงผล ให้เราเห็นทุก อย่างรอบตัวรถแบบ Bird Eye View พร้อมกัน ที่ระบบจะท�ำการค้นหาช่องจอดส�ำหรับเรา ซึ่ง สามารถเลือกได้ทั้งจอดเข้าซอง หรือจอดแบบ ขนานขอบทาง โดยเมื่อระบบพบช่องจอดที่ เหมาะสม (รถจะเลยช่องจอดไปก่อน) ก็มีเสียง ติ๊ง ! พร้อมกับค�ำแนะน�ำต่าง ๆ ที่เราจะต้องท�ำ หลังจากนี้บนหน้าจอ Display เริ่มตั้งแต่การ หยุดรถ แล้วกดปุ่ม Parking Assist ที่ข้าง ๆ คัน เกียร์อกี ครัง้ แต่คราวนีเ้ ป็นการกดค้าง แล้วละเท้า ออกจากแป้นเบรก หลังจากนี้ความตื่นเต้นก็จะ เกิดขึ้นกับคุณ เพราะทุกอย่างจะเกิดขึ้นโดย อัตโนมัติ ไม่วา่ จะเป็นพวงมาลัยทีห่ มุนควงไปมา เอง ระบบเบรกที่ท�ำงานเอง คุณมีหน้าที่แค่นั่ง เท่ ๆ แล้วเอานิ้วกดปุ่มไว้เฉย ๆ จนกระทั่งหน้าจอ ขึ้น Parking Complete ถึงตอนนั้นรถจะถูกน�ำ เข้าช่องจอดอย่างสวยงาม ระยะห่างช่องไฟต่าง ๆ สามารถท�ำได้ดเี หมือนมีมอื โปรมาขับให้ โดยการ จอดขนานขอบทาง ระบบต้องการระยะห่างของ ช่องมากกว่าตัวรถอย่างน้อย 80 เซนติเมตรเท่านัน้ ซึง่ เราได้ทำ� การทดสอบการจอดทัง้ สองแบบไม่ตำ�่ กว่า 20 รอบจากสถานการณ์จริง ระบบสามารถ ท�ำงานได้เสถียรและแม่นย�ำมากทีเดียว และถึงแม้หลายคนดูตัวเลขในสเปคที่ใช้ เครื่อง 4 สูบ 2.0 ลิตร แล้วคิดไปว่าเครื่องบล็อก เล็กกับบอดี้ใหญ่ ๆ แบบนี้จะอืดเป็นเรือเกลือ อยากให้ลบภาพนั้นออกเสีย เพราะเมื่อมีระบบ Twin Power Turbo มาเพิม่ ก็ไม่ตอ้ งพึง่ เครือ่ งใหญ่ น�้ำหนักมากอีกต่อไป เท่านี้ก็มีแรงม้ามาให้ใช้ถึง 252 HP @ 5,200-6,500 รอบต่อนาที กับแรงบิด 350 Nm @ 1,450-4,800 รอบต่อนาที ทันทีที่กด คันเร่ง เข็มวัดรอบฟาดไปยังไม่ถึงเลข 2 ดี รถก็ ทะยานออกไปแบบนุ่ม ๆ เป็นรถมีแรงบิดตั้งแต่ รอบต�ำ่ ๆ จนลืมไปเลยว่าเราขับรถซีดานขนาดใหญ่ น�ำ้ หนักตันครึง่ อยู่ ส่วนหนึง่ ก็ตอ้ งยกความดีความ ชอบให้เกียร์ 8 speed steptronic sport พร้อม

“ความรู้สึกยังคงสบายเหมือนขับด้วยความเร็วไม่มาก จนต้องรีบผ่อนเท้าจากคันเร่งทุกครั้งเมื่อเหลือบไปเห็นเข็มไมล์ชี้ ไป เกินกว่าที่กฎหมายกำ�หนดไปแบบไม่รู้สึกตัว”

32 BMWcar

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 32

7/26/2560 BE 17:18


BMW 530i M SPORT G30

โหมดการขับขี่อัจฉริยะที่สามารถปรับเปลี่ยนให้ ตอบสนองความต้องการผูข้ บั ขีท่ งั้ แบบ SPORT, COMFORT, ECO SPORT หลังจากเราคลุกคลีอยู่กับ 530i M Sport มา ตลอดหนึง่ วัน จนคุน้ เคยกับฟีเจอร์อจั ฉริยะต่าง ๆ และรู้สึกคุ้นชินกับรถแล้ว วันที่สองเรามีแผน มุ่งหน้าสู่สนามแข่งมาตรฐานระดับโลก Chang

International Circuit จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อพิสูจน์ กันว่าความจัดจ้านของ M Sport ในสนามนั้น จะเผ็ดร้อนแค่ไหน และก็อยากทราบว่าการเดิน ทางไกลด้วย 530i M Sport นั้นจะสะดวกสบาย เพียงใด เราวางแผนเส้นทางส�ำหรับหาค�ำตอบไว้ แล้ว ด้วยทางหลวงจากกรุงเทพฯ ถึงบุรีรัมย์ ซึ่ง ระหว่างทางจะผ่านแนวเขาทีม่ โี ค้งหลายรูปแบบ

ไว้ส�ำหรับทดสอบการขับขี่ขั้นสุดยอด สลับกับ ช่วงทางตรงยาว ๆ ที่ซ่อมถนนกันทั้งปีทั้งชาติ แบบผักชีโรยหน้า เรื่องความเรียบของถนน หลายช่วงจึงไม่ต้องถามหา แต่ตัวรถก็ยังเก็บ อาการได้อย่างน่าประทับใจ 530i M Sport รับมือ กับอัตราเร่งที่เพิ่มขึ้นอย่างพรวดพราดได้ดี คุม การทรงตัวได้อย่างดีเลิศ บนช่วงล่างที่เป็นมิตร

AUGUST 2017 33

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 33

7/25/2560 BE 17:02


“ถึงคุณไม่ ใช่มือโปร คุณก็สามารถควบคุมเจ้า G30 ทำ�เวลาในสนามแข่งได้เร็วแบบไม่น่าเชื่อ” กับทุกสภาพถนน ระหว่างรอยต่อถนน ฝาท่อ สะพาน ให้ความนุ่มนวลดี แต่ก็ไม่นุ่มจนเกินไป ในช่วงโดดคอสะพานสูง ๆ ด้วยความเร็ว ไม่มี อาการกระดอนต่อเนื่อง อันเป็นผลพวงมาจาก การลดน�้ำหนักของชิ้นส่วนช่วงล่างไปกว่า 9 กิโลกรัม พร้อมลดความสูงลง 10 มิลลิเมตร เพื่อ ลดจุดศูนย์ถว่ งให้เกาะถนนได้มากขึน้ และไม่ลมื ที่จะอัพเกรดคาลิเปอร์เบรก M สีน�้ำเงิน แบบ 4 POT ในด้านหน้า และ 2 POT ในด้านหลัง ที่มี การตอบสนองของน�้ำหนักเบรกที่ต้องบอกว่า ชอบเลย การเบรกหนัก ๆ รถยุบตัวแบบนุ่มนวล ท�ำให้ควบคุมได้ง่าย พวงมาลัยไฟฟ้าแปรผันตามโหมดและความเร็ว ซึ่งมีน�้ำหนักที่ตึงมือดีไม่วอกแวก ทั้งความเร็วต�ำ่ และความเร็วสูงตอบสนองได้เฉียบคมและว่องไว เกินคาดกับรถไซส์ใหญ่ขนาดนี้ การเก็บเสียง ภายในห้องโดยสารเรียกว่าท�ำได้ดีเลิศ ท�ำให้ การเดินทางไกลนั้นไม่รู้สึกเหนื่อย เพราะความ รู้สึกยังคงสบายเหมือนขับด้วยความเร็วไม่มาก จนเราต้องรีบผ่อนเท้าจากคันเร่งทุกครัง้ เมือ่ เหลือบ ไปเห็นเข็มไมล์ชี้ไปเกินกว่าที่กฎหมายก�ำหนด ไปแบบไม่รสู้ กึ ตัว ทัง้ ๆ ทีใ่ นความรูส้ กึ เราดูเหมือน

ไม่เร็ว และไม่ใช่ว่าไมล์อ่อนแน่นอน เพราะเรา จับเทียบกับ GPS ด้วย อัตราเร่งท�ำได้เฉียบขาด สามารถเร่งแซงได้ แบบไม่ตอ้ งรอลุน้ ทีโ่ หมด SPORT ออกตัวได้แรง จนล้อฟรีนิด ๆ แต่ระบบควบคุมเสถียรภาพก็มา ตัดก�ำลังไว้ แล้วลากรอบต่อไปได้จนถึง 6,500 รอบต่อนาที ท�ำให้สามารถเร่ง 0-100 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง เพียง 7.5 วินาที (ซึ่งจริง ๆ ทางโรงงาน เคลมไว้ที่ 6.2 วินาที แต่ครั้งนี้การแปรผันจาก ผู้โดยสารที่มีชายร่างใหญ่ถึง 3 คน) ส่วนใน โหมด COMFORT ก็ทำ� ได้ดไี ม่แพ้กนั ยังสามารถ ท�ำอัตราเร่ง 0-100 ได้ใน 8.1 วินาที ทีค่ วามเร็ว 100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง รอบเครือ่ ง ต�่ำแค่ 1,450 รอบต่อนาที และเมื่อเดินคันเร่งไป ที่ 120 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง รอบเครือ่ งเพียง 1,750 รอบต่อนาที มีผลโดยตรงกับอัตราการกินเชือ้ เพลิง แบบจิบ ๆ โดยหลังจากเราเดินทางไป 417 กิโลเมตร ก็แวะเติมน�้ำมันเต็มถังอีกครั้ง ใช้น�้ำมันไป 34.6 ลิตร กับความเร็วเฉลี่ย 130 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยพฤติกรรมการขับแบบใช้งานจริง ไม่ตอ้ งเกร็ง เวลาเหยียบคันเร่ง ไปแบบสบาย ๆ อยากจะเร่ง แซงก็กดคันเร่ง 100 เปอร์เซ็นต์ ฝ่ารถติดในเมือง

บ้างบางช่วง จนได้อัตราการบริโภคจากการใช้ งานจริงอยู่ที่ราว 12 กิโลเมตรต่อลิตร หลังจากเสพความสะดวกสบายมาถึงสนาม ช้าง ก็ได้เวลาสวมหมวกกันน็อกแล้วย้ายไปนั่ง เป็นผู้โดยสาร ก่อนส่งมอบต�ำแหน่งนักขับให้ เป็นหน้าที่ของ บ.ก. เป็นผู้ทดสอบสมรรถนะใน สนามระดับโลกแห่งนี้ เพื่อที่มาถ่ายทอดความ รู้สึกด้านเพอร์ฟอร์แมนซ์ต่อไป

530i M Sport กับแสนยานุภาพ บนสนามแข่งระดับโลก

หลังจากทีมงานมีไอเดียว่าจะเอารถ All New 5 Series โมเดลล่าสุดที่เพิ่งเปิดตัวไปเมื่อไม่กี่ เดือนก่อน เราก็ประชุมสรุปกันว่า จะครีเอทคอลัมน์ ทดสอบในแบบที่อาจจะเคยเห็นผ่านตาโดย นักทดสอบจากสือ่ เล่มอืน่ แต่ทแี่ น่ ๆ เราไม่เคยท�ำ ใน BMWCar Magazine ฉบับภาษาไทยมาก่อน และที่ส�ำคัญคือเราอยากสร้างสรรค์คอลัมน์นี้ โดยทีมงานของไทยเองไม่พึ่งวัตถุดิบใดจาก ทางอังกฤษเลย หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของผมคือการทดสอบ ภาคสนาม ในแทร็คแข่งระดับ FIA GRADE 1

34 BMWcar

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 34

7/25/2560 BE 17:02


BMW 530i M SPORT G30

AUGUST 2017 35

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 35

7/25/2560 BE 17:02


แห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย อย่าง Chang International Circuit และครั้งแรกที่ ผมได้เห็นรถระดับ E-segment ที่จอดอยู่ในพิต ซึ่งต้องยอมรับตรง ๆ ว่ารู้สึกประหม่าเล็กน้อย เพราะเป็นครัง้ แรกทีผ่ มได้ขบั รถซีดานขนาดใหญ่ ขนาดนี้ ในรูปแบบ Racing แต่โชคดีทผี่ มค่อนข้าง คุ้นชินกับสนามแห่งนี้อยู่บ้าง ด้วยประสบการณ์ ในสนาม ทัง้ ในรูปแบบสปรินท์เรซและเอ็นดูรานซ์ แน่นอนว่า ในสนามแข่งมาตรฐานนี้จะต้อง มีขั้นตอนอยู่บ้าง อันได้แก่การลงทะเบียน เซ็น ใบยินยอม สวมชุดแข่งและหมวกกันน็อกทีร่ ดั กุม เมื่อถึงเวลาตามตารางที่ก�ำหนดไว้ สิ่งที่ผมคิด

มาตัง้ แต่กอ่ นออกจากบ้านคือ โหมดการใช้งาน, ต้องโหมด Sport เท่านั้น (สถานที่แห่งนี้จะใช้ ECO หรือ Comfort มันใช่เหรอครับ ?) หน้าจอ Display เปลี่ยนเป็นพื้นหลังสีแดง ปรากฏตัว อักษรที่ทรงพลังที่สุดในความคิดผม ‘///M’ เด่น ออกมาเร้าอารมณ์ได้อย่างดี หลังจากเจ้าหน้าที่ สนามให้สญ ั ญาณว่าถึงเวลาทีร่ อคอย ผมก็เคลือ่ น ตัวรถออกจากพิตไปอย่างไม่รบี ร้อน เพราะต้องขอ ท�ำความรู้จักกับรถเล็กน้อย ซึ่งเป็นการวอร์มอัพ ไปในตัว บนเบาะทีน่ งั่ กับทัศนวิสยั รอบข้างของรถ ทีว่ งิ่ อยูบ่ นพิตเลน จ�ำกัดความเร็วที่ 60 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง มันช่างงดงามจริง ๆ ไฟเขียวขึ้นที่ปาก

ทางออก ผมก็ยงั คงต้องพูดคุยกับรถก่อนสักหน่อย ผมกดคันเร่งสัก 60 เปอร์เซ็นต์ ไป 1 รอบสนาม ระยะทาง 4.554 กิโลเมตร ซึ่งผมคิดว่า ผมได้ ท�ำความรูจ้ กั กับเขาเป็นทีเ่ รียบร้อย ได้เก็บอาการ เก็บฟิลลิง่ ของรถได้พอสมควร หลังจากผ่านหอคอย เส้นสตาร์ทก็ถึงเวลาที่ผมต้องเปิดคันเร่ง 100 เปอร์เซ็นต์ ใช้เบรกอย่างเต็มประสิทธิภาพ และ ที่ส�ำคัญต้องเลี้ยวในโมเมนตั้มที่สูงกว่าบนถนน สาธารณะจะพึงกระท�ำได้ ผมขับเจ้า 530i M Sport ในรหัส G30 คันนี้ อยู่ประมาณ 10 รอบสนาม โดยที่ผมได้ติดตั้ง เครือ่ งมือ RACELOGIC PERFORMANCE BOX

36 BMWcar

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 36

7/25/2560 BE 17:02


BMW 530i M SPORT G30 ไปด้วยเพือ่ ยืนยันว่าการทดสอบครัง้ นีผ้ มไม่ได้ใช้ อารมณ์และความรู้สึกไปมากกว่าเครื่องมือที่ วัดผลได้จริง ๆ โดยผมขอแยกประเด็นต่าง ๆ เป็น ดังนี้ อันดับแรกเครื่องยนต์และเกียร์ เครื่องยนต์ 2000 ซีซี พร้อมกับระบบอัดอากาศแบบ Twin Power Turbo ให้อัตราเร่งที่ไม่เหมือนเครื่อง เทอร์โบรุน่ เก่า ๆ เรียกได้วา่ ลืมเรือ่ งอดีตไปได้เลย ไม่มีการรอรอบอีกต่อไป กดเมื่อไหร่ก็มาเมื่อนั้น แต่กไ็ ม่ถงึ กับว่ากระชากรุนแรงหลังจมไปในเบาะ เกียร์ชฟิ ท์อพั ได้เร้าใจมาก ยิง่ ถ้าใช้แพดเดิลชิฟท์ เปลี่ยนเกียร์จะมีเสียงของการเปลี่ยนเกียร์เพิ่ม อรรถรสการขับขี่แบบสปอร์ตมากยิ่งขึ้น การเข้า โค้ง ซึ่งเป็นการผสานการท�ำงานของ ระบบเบรก ระบบช่วงล่าง และระบบบังคับเลี้ยวท�ำงานได้ สอดประสานกันมาก สามารถท�ำวงเลี้ยวได้ใน ความเร็วสูงโดยทีผ่ ขู้ บั สามารถบังคับรถได้ตลอด เวลา จะมีโอเวอร์สเตียร์นิด ๆ ผมลืมบอกว่าผมปิดระบบการทรงตัวตลอด การทดสอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบเบรกถ้า เต็มสิบผมก็ให้สิบดาวเลย เบรกดี รถยุบตัวที่ พอเหมาะพอที่จะให้ยางหน้าท�ำกริพเพื่อเลี้ยว เข้าโค้ง ระบบบังคับเลีย้ วทีใ่ ห้นำ�้ หนักทีเ่ หมาะเจาะ ช่วยให้การขับเข้าโค้งให้รถอยูใ่ นต�ำแหน่งทีค่ วรอยู่ พูดง่าย ๆ สรุปแบบง่าย ๆ คือ ถึงคุณไม่ใช่มอื โปร คุณก็สามารถควบคุมเจ้า G30 ท�ำเวลาในสนาม แข่งได้เร็วแบบไม่น่าเชื่อ ด้วยเหตุผลนี้ ข้อมูล จากเครื่องบันทึก เครื่องมือ RACELOGIC

PERFORMANCE BOX ในวันนั้น ผมท�ำความ เร็วสูงสุดในสนามที่ 205 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ท�ำเวลาดีท่ีสุดต่อรอบสนาม 2.10.595 นาที ซึ่งบางท่านอาจจะเห็นว่าความเร็วนี้รถแข่งรุ่น เล็ก ๆ ก็สามารถท�ำได้ แต่อย่าลืมนะครับว่ารถ ทดสอบคันนี้ คนไทยเข้าใจง่าย ๆ คือรถผู้บริหาร ซึ่งผมคิดเล่น ๆ ว่า มันอาจจะเป็นรถหรูที่มีประตู ดูดซึง่ ท�ำความเร็วได้ดที สี่ ดุ เลยทีเดียว ถ้าผูบ้ ริหาร ท่านใดไม่ชอบที่จะมีพนักงานขับรถชอบที่จะ สนุกกับการรขับขี่ ลองดู G30 เป็นทางเลือก อันดับต้น ๆ และถ้าคุณได้ครอบครองแล้วอย่า ลืมแวะเวียนมาออกแอ็คชั่นในสนามดูนะครับ เพราะคุณจะ ‘ทึ่ง’ แบบที่ผมประสบมา สรุป 530i M Sport นอกจากหน้าตาทีด่ ทู นั สมัย พร้อมเทคโนโลยีและระบบอ�ำนวยความสะดวก ต่าง ๆ แล้ว ยังมีจุดเด่นของอากัปกิริยาการ ตอบสนองแบบ ‘แรงสัง่ ได้’ ความกระชับจากระบบ ช่วงล่างและพวงมาลัย ทุกครัง้ ทีท่ ำ� การเลีย้ วหรือ เปลีย่ นเลนแบบรวดเร็ว ยังมีความคล่องตัวเหมือน รถแฮทช์แบ็คทีม่ กี ำ� ลังเครือ่ งดี ๆ แม้กระทัง่ การขับ แบบเรซซิง่ ในสนามยังแสดงสมรรถนะออกมาได้ ดีเหลือเฟือ จนไม่รจู้ ะติอะไร เป็นรถทีน่ า่ หลงใหล ในการขับขี่ เหมาะสมกับผูม้ รี สนิยม ชอบในดีไซน์ ที่สวยงาม ชอบสนุกกับการขับขี่ ใช้งานสะดวก สบายแต่แฝงไว้ด้วยความสปอร์ต ถ้าทั้งหมดคือ ค�ำตอบ ก็เตรียมควักกระเป๋า 4,399,000 บาท เพือ่ เป็นเจ้าของ BMW 530i M Sport รุน่ นีไ้ ด้เลย l

ขอขอบคุณ บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) จ�ำกัด AUGUST 2017 37

28-37_BMW 530i M Sport_Aug.indd 37

7/25/2560 BE 17:02


SHARK SQUAD Do You Know? เรื่อง: ชญานิน โชติชมภูพงษ์ ภาพ: Street Matal

38 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 38

7/26/2560 BE 17:46


SHARK SQUAD

‘หน้าฉลาม กระจังฟันหนู’ รสนิยมอันเลอค่าของ BMW ในช่วงยุค 70-80’s เป็นมรดกตกทอดที่เชื่อมโยงมาถึง BMW ยุคปัจจุบัน แต่เป็นที่น่าเสียดายที่เหล่าบีมเมอร์ยุคใหม่หลายคนยังไม่รู้จักและเข้าถึง

AUGUST 2017 39

38-55_Shark Squad_Aug.indd 39

7/26/2560 BE 17:46


40 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 40

7/25/2560 BE 16:46


SHARK SQUAD

ดยยุคนั้นมีดาวเด่นอีกรุ่นที่ไม่พูดถึงไม่ได้ อย่าง 6-Series E24 ด้วยความโดดเด่น ของดีไซน์ที่มีหน้าตาเหมือนฉลามจนคนเล่นทั่ว โลกต่างขนานนามว่า ‘SHARK’ ทีแ่ ม้เวลาจะล่วง เลยกว่า 40 ปี เจ้าฉลามจากบาวาเรีย ยังคงความ

สวยงามอยู่เหนือกาลเวลา และเป็นที่หมายปอง ของกลุม่ นักสะสมทัว่ โลก ในต่างประเทศก็มหี ลาย กลุม่ ทีก่ ำ� ลังรวบรวม E24 นีอ้ ยู่ และในประเทศไทย เองก็มกี ลุม่ คนทีร่ กั และหลงใหลในดีไซน์ทโี่ ฉบเฉีย่ ว จากอดีตกาลอย่างเหนียวแน่นจ�ำนวนไม่น้อย

ที่เรียกตัวเองว่า ‘SHARK SQUAD’ และเป็นที่น่าภาคภูมิใจว่าในกลุ่ม SHARK SQUAD ของประเทศไทยเรามีการรวบรวม E24 ไว้ได้จ�ำนวนหนึ่ง อีกทั้งรถในกลุ่มไม่ได้ขี้เหร่ไป กว่าเมืองนอกเลย

AUGUST 2017 41

38-55_Shark Squad_Aug.indd 41

7/25/2560 BE 16:48


• คุณเชษฐ์ ผู้ก่อตั้ง Shark Squad กับ 635 คู่ใจ

Shark Squad History

ถึงตรงนี้เราก็อยากรู้ประวัติความเป็นมา ของกลุม่ Shark Squad ว่ามีจดุ เริม่ ต้นมาอย่างไร ก็ได้ ‘พี่เชษฐ์’ หัวเรือใหญ่ในกลุ่ม มาบอกเล่า เรื่องราวให้กับทีมเราได้ทราบไปพร้อม ๆ กับ สมาชิกใหม่ที่เพิ่มมาในวันนี้ด้วย “ย้อนกลับไป เมื่อ 13-14 ปีก่อน ตอนนั้นผมใช้ BMW 6-Series E24 อยู่ และได้กอ่ ตัง้ กลุม่ Shark Pack Bangkok เพื่อหวังรวบรวมกลุ่มคนที่ใช้ E24 ไว้ด้วยกัน ในสมัยนั้นการสื่อสารมันไม่ได้สะดวกสบาย เหมือนสมัยนี้ ผมต้องอาศัยเว็บไซต์ของกลุ่ม BMW ต่าง ๆ เพื่อส�ำรวจประชากรชาว E24 ว่ามี อยู่มากน้อยแค่ไหน โดยในช่วงแรกผมรวบรวม ลิสต์รายชื่อที่ผมพอหาได้มาประมาณ 20 กว่า ท่าน ก็อาศัยการโทรศัพท์และส่งอีเมลไปชักชวน มาเป็นส่วนหนึ่งกับเรา ซึ่งบางท่านก็ติดต่อไม่ได้ บ้าง บางท่านก็ไม่มีการตอบรับบ้าง สมาชิก บางท่านเรารู้จักกันบนท้องถนนจากการโบกให้

จอดเพื่อท�ำความรู้จักเลยก็มี ตอนนั้นสามารถ รวบรวม BMW E24 ล้วน ๆ มาได้ 10 กว่าคัน ซึ่งก็นัดพบปะพูดคุยกันอยู่หลายครั้ง” “ตอนหลั ง ผมมี ภ ารกิ จ ที่ ต ้ อ งบิ น ไปต่ า ง ประเทศบ่อยขึน้ กิจกรรมทางกลุม่ นีก้ เ็ ริม่ ห่างหาย ไป จนกระทั่งได้คุณกีกี้มาช่วยดูแลกลุ่ม พร้อม เสนอแนวคิดในการติดต่อกันผ่านแอพพลิเคชั่น LINE ท�ำให้สมาชิกเก่า ๆ สามารถติดต่อพูดคุย กันได้สะดวกขึ้น คราวนี้เทคโนโลยีก็พาให้เรามี เพื่อน ๆ ที่มีใจรักใน BMW Classic เยอะมากขึ้น และกลุ่มเพื่อน ๆ เราก็มีรถหลากหลายรุ่นขึ้น ไม่ ได้จ�ำกัดแค่ E24 แล้ว แต่ก็ยังคงเป็น BMW Classic ตั้งแต่ปี 1990 ลึกลงไป ที่มีเอกลักษณ์ ของหน้าฉลามเหมือนกัน และมีการตั้งชื่อกลุ่ม ใหม่ โดยยังคงใช้ชื่อเล่นของ 6-Series ตั้งแต่ ยุคแรกมาปรับให้กระชับและเป็นสากลมากขึ้น จนสรุปมาเป็น Shark Squad ในปัจจุบัน”

42 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 42

7/26/2560 BE 17:09


SHARK SQUAD

AUGUST 2017 43

38-55_Shark Squad_Aug.indd 43

7/26/2560 BE 17:09


44 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 44

7/25/2560 BE 16:50


SHARK SQUAD

Get together

วัตถุประสงค์แรกเริ่มของกลุ่มที่รวมตัวกัน เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการ อนุรักษ์ 6-Series เอาไว้ สมาชิกทุกคนจะได้มี รถดี ๆ สวย ๆ ขับ แล้วจะสนุกกับรถที่เรารัก สนุกที่ได้ช่วยทุกคนท�ำรถให้ดีกว่าเก่า จนตอน หลัง Shark Squad ไม่ได้จ�ำกัดแค่ E24 แต่ เป็นบ้านที่อบอุ่นของคนที่หลงใหลใน BMW

Classic บางคนที่มีรถอยู่ในสภาพทรุดโทรม ไม่รู้จะไปหาข้อมูลหาแหล่งอะไหล่ที่ไหน ทุกคน ยินดีที่จะช่วยเหลือ แบ่งปันสิ่งของ แชร์ความรู้ แชร์อะไหล่ เป็นก�ำลังใจให้รถเพื่อน ๆ ได้ออก มาโลดแล่นอีกครั้ง เป้าหมายของเราคืออยาก ท�ำให้รถของพวกเราทุกคันวิ่งได้ แล้วเราขับรถ ออกมาเจอกัน • กี่โมงแล้วครับ ? คุณจ่า

• คุณกีกี้ สมาชิกคนส�ำคัญอีกท่าน ที่ช่วยให้สมาชิกติดต่อกันได้ง่ายขึ้น

AUGUST 2017 45

38-55_Shark Squad_Aug.indd 45

7/25/2560 BE 16:50


3rd Shark Squad MEETING

ปัจจุบัน Shark Squad มีสมาชิกรวมกว่า 40 ท่าน รถก็มีหลากหลายมากขึ้น โดยนอกจาก Shark E24 แล้วก็ยังมีทั้ง Shark น้อยอย่าง E21 และ Shark รุ่นเก๋าอย่าง E9 ที่หาชมไม่ได้ ง่าย ๆ ก็มีอยู่หลายคัน ซึ่งความสวยงามของ แต่ละคันเข้าขั้นระดับประกวดทั้งนั้น

46 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 46

7/26/2560 BE 17:14


SHARK SQUAD

AUGUST 2017 47

38-55_Shark Squad_Aug.indd 47

7/26/2560 BE 17:16


และเป็นเรื่องปกติที่สมาชิกจะมีการนัดเจอ กันแบบเฉพาะกิจอยู่หลายครั้ง แต่เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา ทางกลุ่ม Shark Squad ได้มีการนัดรวมตัวกันครั้งใหญ่ ซึ่งนับ เป็นครั้งที่ 3 เพื่อให้คลายความคิดถึง ส�ำหรับ การรวมตัวครั้งนี้ก็เหมือนบทเพลงคลาสสิกที่ถูก น�ำมาปัดฝุ่นใหม่อีกครั้ง นั่นหมายถึงรถ Shark และ BMW Classic สวย ๆ หลายคันจะถูก รวบรวมกันในวันนั้น และแน่นอนว่าโอกาส แบบนี้ไม่ได้มีบ่อยๆ ทางทีมงาน BMWCar Magazine Thailand จึงไม่พลาดที่จะตามเก็บ ภาพบรรยากาศมาให้ได้ชมกัน

48 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 48

7/25/2560 BE 16:51


SHARK SQUAD บรรยากาศในวันนัน้ อยากให้ลองนึกถึงภาพ งานเลีย้ งรุน่ ของกลุม่ เพือ่ นรูใ้ จ ทีเ่ ต็มไปด้วยความ อบอุ่นเป็นกันเอง ทุกคนต่างหยิบเรื่องราวความ หลังกับรถคู่ใจขึ้นมาเล่าสู่กันฟัง รายละเอียดเชิง เทคนิคต่าง ๆ ถูกขุดขึน้ มาเพือ่ ค้นหาสาเหตุความ เป็นไปของปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ พือ่ นร่วมรุน่ เคยประสบ พบเจอกันมา เพื่อเพิ่มสีสันในวงสนทนา ฝูง Shark ร่วม 20 คัน ถูกขับไปตามสถานที่ ต่าง ๆ ของเมืองหลวงทีม่ สี ถาปัตยกรรมอันสวยงาม

และเป็นเอกลักษณ์ของไทย มีความคลาสสิกเข้า กันได้ดกี บั ต�ำนานจากแคว้นบาวาเรียอย่างไม่ขดั เขิน ความสวยงามเหนือกาลเวลานี้มีมนต์ขลังที่ ดึงดูดสายตาของผูพ้ บเห็นได้อย่างดี ภาพทีเ่ ราได้ เห็นจึงเป็นภาพที่น่าภาคภูมิใจ จนผมและ ช่างภาพสนุกไปกับการถ่ายท�ำกิจกรรมตลอด ทั้งวัน ที่ชัตเตอร์ถูกลั่นออกไปรัว ๆ เพื่อบันทึก บรรยากาศที่น่าจดจ�ำนี้ไว้หลายร้อยรูป

AUGUST 2017 49

38-55_Shark Squad_Aug.indd 49

7/25/2560 BE 16:51


• 6 ลิ้นดูดสด ภายใต้ฝากระโปรงของ E9 BATMOBILE

• BMW E9 3.0 CSL 50 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 50

7/25/2560 BE 16:51


SHARK SQUAD

• จุดรวมตัวแรกของวัน เริ่มจากสภากาแฟเจ้าดัง ที่เปิดให้บริการมากว่า 80 ปี บนถนนเจริญกรุง ตั้งแต่สมัย ย่านนี้ยังเป็นศูนย์รวมขาโจ๋

• คุณก้อง (ซ้ายสุด) โต้โผใหญ่ในการจัดมีตติ้งในครั้งนี้ กับสองช่างใหญ่ที่มาดูแล E9 อย่างใกล้ชิด

• บอยแบนด์ Shark Squad

AUGUST 2017 51

38-55_Shark Squad_Aug.indd 51

7/25/2560 BE 16:51


• ขุมพลังของ 1602 กับความสะอาดที่ รถใหม่บางคันยังต้องอาย

• เครื่องยนต์ 635 แท้ๆ ถูกรักษาสภาพไว้อย่างสมบูรณ์ 52 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 52

7/25/2560 BE 16:51


SHARK SQUAD

“เสน่ห์ของจมูกที่แหลม ดูโฉบเฉี่ยว แต่ยังมีความโค้งมน ทำ�ให้ Shark เป็นรถคลาสสิกที่มีความน่าหลงใหลในตัวเอง”

AUGUST 2017 53

38-55_Shark Squad_Aug.indd 53

7/25/2560 BE 16:52


ช่วงเย็นของวัน รถทุกคันมุ่งหน้าสู่สนาม ฟุตบอล SCG เมืองทอง เพื่อท�ำการสังสรรค์ พร้อมท�ำกิจกรรมเล่นเกม แจกของรางวัลต่าง ๆ ตามประสาคนคอเดียวกัน เพื่อกระชับความ สัมพันธ์ภายใน ในวันนี้เราเห็นความสวยงามของฝูง Shark ที่ถ่ายทอดมาในแบบส�ำเร็จรูปแล้ว จากการดูแล รักษา และฟื้นฟูสภาพจากเจ้าของรถทุกคัน แต่ กว่าจะออกมาสวยสดงดงามอย่างที่เราเห็น เชื่อ ได้เลยว่าต้องผ่านการลงมือ ลงแรง ลงเงิน และ ลงใจ ไปกับการอนุรกั ษ์รถคันโปรดทีม่ รี ายละเอียด มากเกินกว่าจะบรรยาย แต่สงิ่ ทีส่ มั ผัสได้เหนือสิง่ อืน่ ใดคือ ‘มิตรภาพ’ และ ‘ความผูกพัน’ ทีม่ รี ถยนต์ BMW Classic เป็นตัวเชื่อมระหว่างกลุ่มคนที่มี ความชอบเหมือน ๆ กันใน Shark Squad l

• คุณเชษฐ์มอบของรางวัล ติดไม้ติดมือกลับบ้าน

• คุณเป้แห่งสนาม SCG เมืองทอง ต้อนรับสมาชิกที่สนาม

• บรรยากาศพูดคุยสบาย ๆ ยามเย็น ณ สนามฟุตบอล SCG เมืองทอง

• ส�ำหรับ Shark Squad ไม่มีตัวส�ำรอง เพราะทุกคนคือ ‘ตัวจริง’ 54 BMWcar

38-55_Shark Squad_Aug.indd 54

7/26/2560 BE 17:10


55 AD Auto Smart.indd 55

7/25/2560 BE 13:56


The

Engineering Scholars

อ.ศิริบูรณ์ เนาว์ถิ่นสุข

เรื่อง: ธนา เศรษฐพานิช ภาพ: นินาท เทียบเทียม

‘วิศวกรเถื่อน’ เป็นคำ�ที่ อ.ศิริบูรณ์ เนาว์ถิ่นสุข ใช้แทนตัวเองในวันที่เปิดบ้านย่านคลองลำ�เจียกให้ BMWCar Thailand ได้เข้าเยี่ยมคารวะ แต่สำ�หรับเราผู้อาวุโสท่านนี้คือพหูสูตรของ วงการยานยนต์ ในเมืองไทย ที่รู้จริง ทำ�จริง และได้รับความสำ�เร็จจริง ๆ

อ.

ศิรบิ รู ณ์ นัน้ ศึกษาหาความรูเ้ รือ่ งรถยนต์ เองด้วยใจรัก ลงมือสร้างรถแข่งเอง และคลุกคลีกบั วงการมอเตอร์สปอร์ตของไทยมา ตั้งแต่ยุคเริ่มต้น และหนึ่งในรถแข่งที่สร้างชื่อ ในยุคนัน้ คงไม่มใี ครไม่รจู้ กั BMW Space Frame E30 เบอร์ 11 คันนั้น “ผมเริ่มต้นมาจากการเขียนคอลัมน์เทคนิค แต่งรถในหนังสือยานยนต์ ที่สมัยนั้นมีคุณวิสุทธิ์ โลหิตนาวี เป็นบรรณาธิการ วิสุทธิ์เขาเป็นหนุ่ม นักเรียนนอกขับ BMW ก็เลยคุยกันถึงเรือ่ งแต่งรถ เขามีความเอียงไปทางด้านรถแข่งแรลลีข่ องยุโรป ส่วนผมไปพวกรถแข่งอเมริกัน พอผมพูดถึงเรื่อง

Drag Racing เรื่องรถ Can-Am ในสนามแข่ง เขาก็ถามผมว่ามันคืออะไร ? ผมก็เลยอธิบายว่า มันคือ Canadian-American Challenge Cup เป็นรายการแข่งรถทีไ่ ม่มกี ติกามากมาย อนุญาต ให้มขี นาดเครือ่ งยนต์ไม่จำ� กัด จะใช้ระบบเทอร์โบ ชาร์จเจอร์และซูเปอร์ชาร์จก็ได้ ระบบอากาศ พลศาสตร์ที่ปรับแต่งได้เต็มที่ สามารถไปแข่งกัน อยูบ่ นนัน้ เขาเลยสนใจและให้ผมเขียนเรือ่ ง CanAm ในหนังสือยานยนต์ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2516 เขียน ได้สกั พักเขาเลยปรับให้ผมเป็นคอลัมนิสต์ประจ�ำ เลย” อ.ศิริบูรณ์ ค่อย ๆ ล�ำดับความหลังเมื่อ 40 ปีกอ่ นย้อนให้คอลัมนิสต์รนุ่ ลูกอย่างพวกเราฟัง

อ.ศิริบูรณ์บอกว่าเขาเป็นนักเขียนคนแรก ๆ ที่เขียนเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้วิทยาศาสตร์กับ คณิตศาสตร์เข้ามาไขปัญหาความต้องการของ วงการแข่งขันรถยนต์ทางเรียบ เพราะสมัยนั้น คนยังไม่เข้าใจว่ารถยนต์ไม่ได้เกิดมาเพราะ ศิลปศาสตร์ แต่ฟังก์ชั่นต่าง ๆ นั้นล้วนมาจาก ฐานวิทยาศาสตร์คือฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ทั้งสิ้น “เช่นถ้าจะอธิบายว่ารถจะวิง่ อย่างไรต้องตอบ ด้วยวิทยาศาสตร์ คนเก่งต้องตอบเป็นตัวเลขได้ เพราะมันมีสตู รการค�ำนวณทีแ่ ทนค่าออกมาเป็น ตัวเลขได้ทั้งสิ้น อย่างตอนนั้นในประเทศไทย มี คนเล่นรถไปหิว้ ท่อไอเสียทีท่ งั้ ยวงมาจากอังกฤษ

56 BMWcar

56-60_Grand Dialogue_Aug.indd 56

7/26/2560 BE 17:23


GRAND DIALOUGE

AUGUST 2017 57

56-60_Grand Dialogue_Aug.indd 57

7/26/2560 BE 17:02


ซึ่ีงเรียกกันว่า ‘ท่อสูตร’ ที่มาจากค�ำว่า ‘tunedpipe’ แต่ผมอยูอ่ เมริกา ทีน่ นั่ เขาเรียกว่า ‘Header’ ผมจึงเขียนคอลัมน์ ‘โมดิฟาย’ โดยมีเรื่องของ ‘เฮดเดอร์’ เป็นเรื่องแรกในคอลัมน์ นั่นคือ จุดก�ำเนิดของค�ำว่าท่อเฮดเดอร์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยเป็นครัง้ แรก และท�ำให้คำ� ว่าโมดิฟาย เกิดขึ้นในวงการแข่งรถเมืองไทย “ซึง่ การท�ำเฮดเดอร์ของผมเป็นวิทยาศาสตร์ ล้วน ๆ ตัวท่อต้องมีความยาวทีเ่ หมาะกับความเร็ว รอบของเครือ่ งยนต์มนั มีสตู รค�ำนวณโดยใช้หลัก Acoustic Principle ต้องค�ำนวณจากคลืน่ ทีว่ งิ่ ไป กระทบแล้วสะท้อนกลับมาทีว่ าล์วไอดี ในช่วงของ โอเวอร์แลป ต้องค�ำนวณความเร็วเสียงที่วิ่งไป แต่คนไทยไม่เข้าใจผมเลยต้องท�ำตารางง่าย ๆ ขึน้ มา ซึง่ ต่อมาสูตรนีก้ ถ็ กู พิมพ์ไปแปะไว้ตามร้าน ท่อไอเสียต่าง ๆ เต็มไปหมด ถึงขนาดที่มีช่าง ท่อไอเสียชือ่ ‘เฮา’ ซึง่ เป็นช่างเชือ่ มอยูท่ บี่ ญ ุ อนันต์ มาตามหาผมขอสูตรท�ำเฮดเดอร์ไปใช้งาน เขาบอก อยากได้แผ่นใหญ่ ๆ ติดข้างฝา แล้วก็ขอให้ผมตัง้ ชือ่ ร้านให้ดว้ ย ผมก็เลยตัง้ ชือ่ ว่า Header shop ให้

เลยง่ายจะตายไป” อ.ศิรบิ รู ณ์เล่าเคล้าเสียงหัวเราะ เป็นคอลัมนิสต์อยู่ที่ยานยนต์ได้สักพัก อ.ศิริบูรณ์ก็ได้รู้จักกับคุณเถลิง พลวรรณาภา ซึ่ง เป็นผู้ช่วยบรรณาธิการในตอนนั้น ซึ่งมาชวนเขา ย้ายไปท�ำหนังสือกรังด์ปรีซ์ ของคุณปราจิน เอี่ยมล�ำเนา จึงมีการนัดท�ำความรู้จักกันก่อน ซึ่ง คุณปราจินเองก็มีความชอบในคอลัมน์โมดิฟาย ทีอ่ ยูใ่ นหนังสือยานยนต์อยูแ่ ล้ว จึงขอให้ อ.ศิรบิ รู ณ์ มาเขียนให้กับกรังด์ปรีซ์โดยใช้ชื่อว่าคอลัมน์ โมดิฟาย เช่นเดิม และคอลัมน์นั้นก็อยู่บนหน้า กระดาษของนิตยสารกรังด์ปรีซ์นานถึง 7 ปีเต็ม หลายคนทีเ่ คยเห็น รูจ้ กั อ.ศิรบิ รู ณ์อาจจะเข้าใจ ว่าท่านจบด้านวิศวกรรมมาจากต่างประเทศ แต่ ถ้าเป็นคนทีส่ นิทสนมกันจริง ๆ จะรูว้ า่ อ.ศิรบิ รู ณ์ คือหนึง่ ในนักเรียนทุนของ ดร.ป๋วย อึง๊ ภากรณ์ ทีถ่ กู ส่งไปเรียนปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง ที่ Johns Hopkins University สหรัฐอเมริกา และ เมื่อเรียนจบกลับมาแล้วก็ยังมารับราชการเป็น อ.ประจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยที่ใช้เวลาว่างส่วนตัวโมดิฟายรถแข่งให้กับ

นักแข่งชือ่ ดังในยุคนัน้ หลายต่อหลายคน “ผมชอบเครื่องยนต์กลไกเหมือนคุณพ่อ ของผม ชอบมาตัง้ แต่เด็ก ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ ผมได้มาจากหนังสือพวก Popular Mechanics Popular Science ที่คุณพ่อซื้อมาให้อ่าน ยิ่งพอ ไปอยู่อเมริกาความชอบด้านรถแข่งก็ยิ่งมากขึ้น ไปอีกมีเวลาว่างผมก็ไปดูเขาแข่งรถตามสนาม ต่าง ๆ ต�ำราทีโ่ น่นก็เพียบ แล้วก็มเี วิรก์ ช็อปทีบ่ า้ น ท�ำรถแข่งของเราเอง “หลังกลับจากอเมริกา ผมได้หิ้วเครื่องยนต์ เทอร์โบชาร์จเจอร์กลับมาด้วย ถือได้วา่ เป็นเทอร์โบ ตัวแรกของเมืองไทย ยีห่ อ้ RAJAY ผลิตโดย TRW เป็นเทอร์โบที่ดูดคาร์บูเรเตอร์ SU อัดเข้าท่อไอดี ได้เพราะว่าซีลของมันแน่นมาก ซือ้ มาจากเซียงกง ราคา 2,600 บาท เอามาวางใส่ในรถ Subaru EA62 ของผมใช้เทอร์โบ RAJAY รุน่ B40 ให้ กมล จันทร์เพ็ญประสาน เป็นคนขับ เอาไปแข่งแดร็กฯ ทีส่ นามวัชรภูมิ ท�ำเวลาได้ 12.7 วินาที ส�ำหรับรถ เมื่อ 40 ปีที่แล้วแข่งสนามไหนก็ชนะเขาเรียบ “สมัยวงการ Drag Racing เริ่มต้นขึ้นนั้น

58 BMWcar

56-60_Grand Dialogue_Aug.indd 58

7/26/2560 BE 17:02


GRAND DIALOUGE สนุกมาก สนามแข่งทีห่ มูบ่ า้ นวัชรภูมิ คลองสาม เป็น หมู่บ้านใหม่มีถนนยาวเกือบกิโลฯ เราแข่งกันอยู่ ที่นั่น 4-5 ปี และมีการแข่งขันแทบทุกเดือน บาง ครัง้ แข่งแบบ Winner-takes-all ลงขันค่าเช่าสนาม 8,000 บาท ขอยืมเครือ่ งจับเวลาของ bob archer มาใช้ ไฟออกสตาร์ท Christmas tree ของ Drag Racing ผมก็เป็นคนท�ำขึน้ ใช้ครัง้ แรกในเมืองไทย พอถึงเวลานัดนักแข่งก็ทยอยมากันประมาณ 15-16 คัน ทุกคนจะหยอดเงินใส่ขวดโหลคนละ 500 บาท แข่งแบบพบกันหมด พอถึงรอบท้าย ๆ ปรากฏว่ารถพังกันเป็นแถบ ก็รถแดร็กใครมันจะ วิ่งได้สิบกว่าเที่ยว แต่วันนั้นกมลชนะได้เงินกลับ บ้าน 85,000 บาทก็ถือว่าเยอะมากในสมัยนั้น กมลเป็นคนทีเ่ ปลีย่ นเกียร์แม่นมากขับสนามไหน ก็ชนะ วันไหนมีแข่ง มีเดิมพัน เขาก็แวะเข้ามาขอ ยืมเครื่อง RAJAY เขาเก่งถึงขนาดไปขับแข่งกับ Plymouth Barracuda ซึง่ ใช้เครือ่ ง Chrysler Hemi 426 วี 8 425 แรงม้า ซึ่งถือว่าแรงมาก แข่งที่ ถนนพัฒนาการ กมลก็ยังเฉือนชนะมาแล้ว”

BMW Space Frame

ต�ำนานความแรงและฝีมอื การโมดิฟายเครือ่ ง ของ อ.ศิรบิ รู ณ์ เนาว์ถนิ่ สุข เป็นทีก่ ล่าวขวัญกัน มากในสมัยนั้น จนไปเข้าหูนักแข่งคนหนึ่งที่ ยอมลงทุนมาเฝ้าถึงหน้าบ้าน เพื่อให้อาจารย์ ท�ำรถแข่งลงสนามให้ “ช่วงนั้นผมสอนหนังสืออยู่ธรรมศาสตร์ จ�ำ ได้วา่ วันหนึง่ พอกลับมาถึงหน้าบ้านเจอรถคันหนึง่ จอดขวางประตูบ้านอยู่ ผมบอกให้เขาขยับรถให้ หน่อย ผมจะเอารถเข้าบ้าน เขาก็เขยือ้ นรถไปจอด ด้านหน้า แล้วพอผมเข้าบ้านเขาก็เลือ่ นรถมาจอด ทีเ่ ดิม พร้อมกับลงมาสวัสดีแนะน�ำตัวว่าชือ่ ‘มงคล เสถียรถิระกุล’ จะมาพบกับ อ.ศิริบูรณ์ “ผมก็บอกว่าผมนีแ่ หละ อ.ศิรบิ รู ณ์ คุณจะมา พบเรือ่ งอะไร มงคลก็บอกว่าเขาอยากเป็นแชมป์ ประเทศไทย เพราะเขาเป็นแชมป์โกคาร์ทมา หลายปีแล้ว อยากขยับมาเป็นแชมป์รถยนต์บา้ ง ผมจึงบอกเขาไปว่าถ้าจะให้ผมท�ำรถให้เราต้อง มาจูนคลืน่ สมองกันก่อนว่าไปกันได้ไหม เราต้อง คุยกันให้รู้เรื่องก่อน ผมพูดภาษาอะไร เขาพูด ภาษาอะไร มันก็ภาษาไทยด้วยกันนี่แหละ แต่ คลืน่ มันอาจจะไม่ตรงกัน เขาจะเข้าใจสิง่ ทีผ่ มก�ำลัง จะท�ำหรือเปล่า” ตั้งแต่วันนั้นมงคล เสถียรถิระกุล ก็พิสูจน์ ความตั้งใจของตัวเอง ด้วยการแวะมานั่งคุยกับ อ.ศิริบูรณ์ที่บ้านทุกวัน วันละ 2-3 ชั่วโมง และ ทุก 4 โมงเย็น เขาจะขับรถมารับ อ.ศิริบูรณ์ไป พัทยาเพื่อท�ำรถและกลับมาส่งตอนตีหนึ่ง ตีสอง ที่เซ็นทรัลลาดพร้าวทุกวัน

“รถของมงคลเป็นสเปซเฟรมคันแรกใน ประเทศไทย ทีอ่ อกแบบโดยคนไทย เราไปท�ำกัน ทีโ่ รงงานของเขาทีห่ นองใหญ่ เป็นดีไซน์ของผมเอง Materials ต่าง ๆ ผมเป็นคนก�ำหนด จนกระทัง่ เดือน พฤศจิกายนทีค่ ณ ุ ฐิตกิ รมาเจอกับผมและบอกว่า ต้องการจะแข่งด้วย ผมก็เลยให้เงือ่ นไขว่าผมท�ำ รถให้ได้ แต่ทงั้ สองคนต้องลงแข่งกันคนละรุน่ อย่า ลงรุน่ เดียวกัน เราตกลงได้ขอ้ สรุปว่ามงคลจะลง รุน่ 1,600 ซีซี รถสีดำ� ส่วนรุน่ 2,000 ซีซี คันสีขาว ฐิตกิ รจะเป็นคนขับให้กบั ทีมบีเอ็มดับเบิลยู “ระหว่างนัน้ ผมเลยต้องวิง่ ลองท�ำรถทัง้ สองคัน ไปพร้อมกัน ผมมีช่างเชื่อมเฟรมชื่อช่างอ�ำนาจ คอยดูแลรถของมงคล ส่วนของฐิติกรช่างเล็ก เออาร์มเป็นคนดูแล ในส่วนของเฟืองท้ายผมได้ ดัดแปลงสร้าง Independent Suspension โดย ไปเอาเฟืองท้ายของปิกอัพโตโยต้าซึ่งมี Limited Slip Differential มาใช้ ซึ่งซื้อมาในราคา 7,500 บาท ระบบกันสะเทือนไม่เหมือนที่ไหนในโลก เป็นเทรลลิ่งอาร์ม 4 link กับ Panhard ด้านหน้า เป็นปีกนก 2 ชั้น แต่มุมองศาผมคิดเอง สร้างขึ้น มาเองจากอะลูมเิ นียมบล็อก ความพิเศษคือมีมมุ แคสเตอร์เท่ากับศูนย์ แต่มีมุมอยู่ 12 มิลลิเมตร เวลาตั้งศูนย์ง่ายมากใช้ระดับน�้ำวัด” ในส่วนของเครื่องยนต์ที่ อ.ศิริบูรณ์เล็งไว้ ตอนนั้นคือเครื่องยนต์บีเอ็มดับเบิลยูบล็อก M12/7 4 สูบ 2.0 ลิตร ที่บีเอ็มดับเบิลยูใช้วาง ในตัวแข่ง Formula 2 ซึ่งเหลืออยู่เยอะมาก “ผมติดต่อไปที่ BMW Motorsport แต่เขาไม่ ขาย ตอนนัน้ เขาเพิง่ ตัง้ แผนกขึน้ มาใหม่ ๆ เขาท�ำ ทีมแข่งของตัวเองอย่างเดียว ไม่อยากจะขาย เทคโนโลยีให้ใคร แต่เครื่องรถทั่วไปของบีเอ็ม ดับเบิลยูวิ่งไปถึง 8,200 รอบต่อนาที ก็กระเดื่อง วาล์วหักตลอด ผมบอกไปที่เยอรมันว่าต้องการ

สั่งกระเดื่องวาล์วอีก 80 ตัว ที่ไม่ใช่ของ OEM แต่ทางโน้นบอกว่าไม่มี ซึ่งผมไม่เชื่อเพราะ BMW Motorsport เขาท�ำเครื่อง M10 ในรถ 318i วิ่งได้ถึง 8,800 รอบต่อนาที ยังไม่พัง ผมว่าเขา มีกระเดื่องวาล์วส�ำหรับตัวแข่งแต่เขาไม่ยอม ขายผม ผมก็เลยเลิกเลย “แต่ครัน้ จะใช้เครือ่ ง M20 ดูแล้วก็นา่ จะอัดได้ ราว 8,600 รอบต่อนาที แต่เราต้องการไปไกลกว่า นัน้ ผมเห็นเครือ่ งทีค่ รองโลกเวลานัน้ คือเครือ่ งยนต์ บีเอ็มดับเบิลยูบล็อก M12/7C 4 สูบ 2.0 ลิตร ของ Heini Mader เจ้าของทีมแข่งชาวสวิส ไฮนี่ นีเ่ ขาไฮโซมาก ทุกวันเขาจะขับเรือยอชต์วางเครือ่ ง ลัมบอร์กนิ ลี อ่ งจากบ้านข้ามทะเลสาบมาท�ำงาน ที่โรงงานอีกฝั่ง ซึ่งเขาก็ดีมาก ๆ พอทราบว่าเรา ต้องการเครื่องยนต์ เขาก็บินมาเมืองไทยด้วยตัว เองมาดูรถสเปซเฟรมของเราแล้วก็วัดขนาดท่อ ไอเสีย จุดต่อเชือ่ มต่าง ๆ ก่อนจะบินกลับไปท�ำให้ “ผมบอกไฮนี่ว่าต้องการให้รถหนึ่งคันมี เครื่องยนต์ 2 ชุด เวลาที่เครื่องหนึ่งใช้จนหมด อายุ เราก็จะส่งไปรีบิวด์ที่โน่น ระหว่างนั้นก็เอา เครื่องอีกตัววางแทน ท�ำให้ตลอดทัวร์นาเมนต์ เราต้องมีเครื่องทั้งหมด 4 ตัว สนนราคาเครื่อง M12/7C ก็ตกราว 8 แสนกว่าบาท และพอใช้ ได้ 6 ชั่วโมงเราก็ต้องส่งกลับไปที่โรงงานพร้อม กับเงินอีกสีแ่ สนห้าหมืน่ บาท คิดแล้วตกวินาทีละ พันกว่าบาทในการขับรถคันนี้” ด้วยความที่ อ.ศิรบิ รู ณ์ตอ้ งการให้เป็นรถเครือ่ ง วางกลาง แต่กติกายุคนัน้ ใกล้เคียงกับรถแข่ง FIA รุน่ Group-5 รถจึงเป็นเครือ่ งวางหน้าทีถ่ อย Step Back เข้ามาเยอะเรียกว่าหัวเทียนสูบหนึง่ นัน้ ตัง้ อยู่ ในต�ำแหน่งของปลายกระจกหน้าเลยทีเดียว BMW Space Frame ทั้งสองคันหลังจาก สร้างเสร็จก็ได้นำ� ลงแข่งในช่วงทีส่ นามพีระฯเปิด

AUGUST 2017 59

56-60_Grand Dialogue_Aug.indd 59

7/25/2560 BE 15:14


ด�ำเนินงานใหม่ ๆ และได้สร้างประวัติศาสตร์ได้ แชมป์ประเทศไทยกับสถิติตลอดกาลของสนาม พีระฯมาครอบครอง ด้วยการลงแข่งทัง้ หมด 44 ครัง้ ชนะ 31 ครั้ง ในระหว่างปี 2530-2532

Just Win Baby

ส�ำหรับสไตล์การท�ำรถของ อ.ศิริบูรณ์ เนาว์ถิ่นสุข ท่านไม่ใช่คนที่ชอบการท�ำรถแรงมาก ๆ แบบทิ้งขาดคู่แข่งแบบน็อกรอบ แต่ชอบชนะ แบบพอดี ๆ คือท�ำเท่านีก้ เ็ พียงพอต่อชัยชนะแล้ว นั่นแหละเพอร์เฟ็กต์ “BMW สเปซเฟรมคันนั้น หลังจากมงคล เลิกแข่ง ก็มีนักแข่งชาวสวิสมาขอซื้อต่อ ซึ่งเรามี เครื่อง 12/7 310 แรงม้าที่การันตีว่าวิ่งได้ 1.07 นาที ที่สนามพีระฯ เราบอกให้เขาก�ำเงินมา 5 แสนบาท พอถึงวันนัดก็ลงไปวิ่ง 1.07 นาที ให้เขาดูสามรอบ เขาเอาไปแข่งต่อ แต่พอเอาไป สักพักก็มีคอมเพลนมาว่ารถมันวิ่งไม่ได้เวลานั้น อีกเลย ผมเลยถามว่าเขาไปท�ำอะไรกับรถบ้าง เขาบอกว่าเอาไปอัพเกรดระบบกันสะเทือน เพราะเห็นว่าผมใส่บูชยูรีเทนไว้ที่โช้กตัวหนึ่งเขา ก็เลยไปเปลี่ยนมันออก ผมเลยถึงบางอ้อเพราะ ว่าเดิมเราดีไซน์เป็นแบบนัน้ เขาบอกว่าจะไปแข่ง ให้ผมไปเซตอัพให้ได้ไหม เขาเหลืออีก 3 สนาม ผมบอกว่าได้ ให้ผมดูแลให้แต่วา่ ต้องจ่ายผมอีก 5 แสน ส�ำหรับค่าตัวผม 6 วัน เพราะนั่นคือราคา ของสมอง ปรากฏว่าเขาปฏิเสธไป หลังจากนั้น เลยไม่รู้ว่ารถคันนั้นไปอยู่ไหนต่อแล้ว “เวลาท�ำรถเราก็ดูวา่ รถชาวบ้านเขาวิ่งกันได้ เท่าไหร่ เราต้องท�ำอีกเท่าไหร่ถงึ จะชนะเขา เท่านัน้ พอแล้ว ชนะวินาทีเดียวก็คือชนะ ที่แน่ ๆ คือเงิน เราเหลือไม่ตอ้ งไปถมมากเกินไป ผมเคยท�ำ BMW M3 ให้ฐติ กิ รเอาไปแข่งทีม่ าเก๊า เรามีเวลาเตรียมรถ แค่ 45 วัน เราใช้เครือ่ งจาก Schnitzer Motorsport มี 282 แรงม้า เกียร์ 5 สปีด เวลาเอาไปลองวิ่งที่ สนามพีระฯ เวลาออกจากโค้งฮอนด้า มันจะใช้ เกียร์ 2 รอบอยู่ 5,500 รอบต่อนาที แต่เครื่องมัน จะเขกต้องเร่งให้เกิน 6,000 รอบแรงบิดมันถึงจะ มา ท�ำเวลาได้ราว 1.10 นาทีต่อรอบไม่เกินนี้ ผม เลยยกมาท�ำเครื่องใหม่ให้มี Power Bandwidth มากขึ้น เลือกแคมใหม่ เอาฝาสูบใหม่ เริ่มต้น ท�ำใหม่ตั้งแต่ต้น เปลี่ยนไซส์วาล์วจากเดิม 38.5 เป็น 32 เอาขึ้นไดโนมิเตอร์ได้ 270 แรงม้า แต่ ปรากฏว่ามันขับดีในสนามนั้น เพราะแรงบิดมา ตัง้ แต่ 5,000 รอบ ยัน 7,000 รอบต่อนาที วันแรก เวลาลงไปได้ 1.09 นาที และดีขึ้นเรื่อย ๆ “เวลาท�ำรถเราท�ำแค่ชนะก็พอ ชนะทีด่ ที สี่ ดุ คือ ชนะทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ ใช้จนคุม้ ค่าทีส่ ดุ แล้วเงินเราเหลือ เชือ่ มัย้ ครับสมัยนัน้ เวลาแข่งรถเราใช้ยางน้อยมาก

ทัง้ ทัวร์นาเมนต์ใช้ยางแค่ 20 เส้น แถมใน 20 เส้น มี Compound 4 แบบ ก่อนจะปล่อยรถผมต้อง ออกไปแหงนมองฟ้าว่าจะใช้ยางอะไรดี ทุกครั้ง ที่เราออกไปวิ่งพอวิ่งไปได้ 3-4 รอบ เวลาเราจะ บวกคันอื่น 20 วินาที ผมจะเขียนค�ำว่า Easy ให้ มงคลเขาเห็น เป็นอันว่ารูก้ นั ว่าวิง่ แค่ 8,000 รอบ ต่อนาทีก็พอแล้วถนอมเครื่องยังไงก็ชนะ” และด้วยความรูค้ วามสามารถในด้านยานยนต์ มอเตอร์สปอร์ต ชื่อของ อ.ศิริบูรณ์ เนาว์ถิ่นสุข จึงยังอยู่ในลิสต์อันดับต้น ๆ เวลาที่มีคนต้องการ ความรูห้ รือความช่วยเหลือด้านวิศวกรรมยานยนต์ อาทิ ที่ปรึกษาฝ่ายกีฬายานยนต์ราชยานยนต์ สมาคมแห่งประเทศไทย (รยสท.) ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประธานไกล่เกลี่ยฯข้อขัดแย้งกรณี

ของยานยนต์ (Chief Mediator: Motor Vehicles Conflict) ของส�ำนักงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภค (สคบ.) นอกเหนือจากงานที่เข้าไปให้ความรู้ช่วยเหลือ องค์กรต่าง ๆ อ.ศิรบิ รู ณ์ เนาว์ถน่ิ สุข ก็ยงั คงมีความ สุขกับการท�ำรถแข่งที่รัก โดยได้ถ่ายทอดความรู้ ให้กบั ลูกชายซึง่ เรียนมาทางด้านวิศวกรรมโดยตรง นอกจากนี้ยังสร้างหลักสูตร How to make your car handle สอนคนที่ก�ำลังจะสร้างรถแข่ง และ How to handle your car ส�ำหรับสอนนักแข่ง หน้าใหม่ที่ต้องการก�ำลังจะลงชิงชัยในสนาม โดยเป็นหลักสูตร์ที่เน้นด้านวิทยศาสตร์ ฟิสิกส์ ที่เกี่ยวข้องกับความเร็วและยนตรกรรม สมกับ เป็นวิศวกรเถือ่ นที่วศิ วกรหลายคนต้องมาคารวะ ขอความรู้กันอยู่เนือง ๆ l

60 BMWcar

56-60_Grand Dialogue_Aug.indd 60

7/26/2560 BE 17:03


61 AD Get.indd 61

7/24/2560 BE 11:42


30th Anniversary

“beyond the standard” เรือ่ ง: ฐาปนวัฒน์ วัฒนพฤกษ์

สำ�นักแต่งที่บรรดาบีมเมอร์ทั้งรุ่นเล็กรุ่นใหญ่ต่างก็รู้จักกันดี เป็นอีกหนึ่งทางเลือกหลัก ของผู้พิสมัยในการแต่งรถ ใช่ครับ !!! ถ้านับนิ้วไล่เรียงบริษัทโมดิฟายรถจากค่ายใบพัดสีฟ้าแบบเฉพาะทาง โดยที่ชื่อของ ‘AC Schnitzer’ (เอซี ชนิทเซอร์) ต้องเข้ามาอยู่ ในมโนภาพลำ�ดับต้น ๆ แน่นอน

ดยฉบับนีถ้ อื เป็นโอกาสส�ำคัญในการฉลอง ครบรอบ 30 ปีพอดิบพอดี ผู้อ่านบางท่าน จะรู้สึกสงสัยอยูล่ กึ ๆ ว่า “เอ๊ะ !!! เกิดมาแค่ 30 ปี เองหรอ มีความรู้สึกมันนานกว่านั้นนะ” จริงครับ เพราะท่านอาจจะเคยได้ยินชื่อ Schnitzer

Motorsports (ชื่อเดียวกันแต่ไม่มี เอซี น�ำหน้า) ในฐานะทีมแข่งบิก๊ เนมทีก่ อ่ ตัง้ มานานครึง่ ศตวรรษ และเรียกได้ว่าเป็นทีมคู่บุญของโรงงาน BMW เห็นได้ว่างานแข่งไหนมี BMW ลงแข่งในรายการ ใหญ่ ๆ ลองหาดูต้องมีรถ BMW คันใดคันหนึ่งมี

สติ๊กเกอร์ Schnitzer Motorsports ติดที่รถ แน่นอน หลังจากสู้รบเคียงบ่าเคียงไหล่กับทีม โรงงานมาตลอด จนกระทัง่ ในปี 1987 ได้แยก ไลน์การผลิตออกมาเพื่อตอบสนองลูกค้าในกลุ่ม ของผู้ใช้รถบนท้องถนน แต่ขอขยับการโมดิฟาย

62 BMWcar

62-65_RIMS_30th AC Schnitzer.indd 62

7/26/2560 BE 15:35


30th ACS 1987-2017

ก่อนจุดก�ำเนิด AC Schnitzer กับรถแข่งทีม Schnitzer ในปี 1972

ให้มากกว่ารถยนต์ทอี่ อกจากโชว์รมู โดยใช้แนวคิด from motorsport to the road ในการสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ ชื่อของ AC Schnitzer (ตัวอักษร AC เป็น หมวดอักษรในป้ายทะเบียนรถยนต์ที่เมือง Aachen ‘อาเคิน’ ที่ตั้งของโรงงานนั่นเอง)

ปัจจุบันด�ำเนินกิจการภายใต้บริษัท The Kohl Company มีพนักงานอยู่ 600 คน เงินทุนหมุน เวียนอยู่เกือบหมื่นล้านบาท ผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ มากกว่า 2,500 รายการ ซึ่งแน่นอนว่าหลัก ๆ ออกมาเพื่อ BMW แต่ไม่ใช่ทั้งหมดเพราะ AC Schnitzer ยังมีไลน์การผลิตไปยัง MINI และ

LAND ROVER ชิ้นส่วนอัพเกรดหลัก ๆ ที่ทาง ค่ายผลิตออกมาคือ ล้อ (31 เปอร์เซ็นต์), บอดี้ พาร์ท (18 เปอร์เซ็นต์), ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ (24 เปอร์เซ็นต์) ระบบท่อไอเสีย (17 เปอร์เซ็นต์), ช่วงล่าง (7 เปอร์เซ็นต์), อุปกรณ์ตกแต่งภายใน (3 เปอร์เซ็นต์) l

เรามาดูกันว่าผลงานที่ AC Schnitzer ตลอด 3 ทศวรรษที่ผ่านมาฝากผลงานแบบคอมพรีทคาร์อะไนเด็ดเอาไว้บ้าง 1987 ACS7 E32

1987 635CSi E24 DTM

1988 E30 Gr. N 1991 ACS3 E36 Limousine

1989 ACS3 Sport M3 E30

1993 CLS AUGUST 2017 63

62-65_RIMS_30th AC Schnitzer.indd 63

7/25/2560 BE 16:54


1997 ACS3 3.2 10 Years Edition

1995 CLS II

1997 V8 Roadster 2001 xRoad

1999 ACS3 Art

2003 V8 Topster 2005 M6 Tension Nardo

2005 M6 Tension

2006 Profile 2009 ACS3 3.5d Nardo

2009 Tune It Safe 123d

2007 GP3.10

2010 Tune It Safe Electro Mini

2012 ACS5 Sport

2011 Z4 99d

64 BMWcar

62-65_RIMS_30th AC Schnitzer.indd 64

7/25/2560 BE 16:54


30th ACS 1987-2017 2012 Raptor

2012 ACS5 Sport

2014 ACS6 Gran Coupe

2013 ACS4 Tune It Safe

2014 X4 20 Tune It Safe

2015 ACS4 2016 150d

2015 X6 F16

2016 ACL2

2015 i8

2016 M2

2017 ACL2 Anniversary Models

2017 ACS M3

AUGUST 2017 65

62-65_RIMS_30th AC Schnitzer.indd 65

7/25/2560 BE 16:54


TECH TIPS

สาระน่ารู้เชิงสร้างสรรค์ รวมถึงสารพันปัญหาเชิงเทคนิคเกี่ยวกับรถยนต์บีเอ็มดับเบิลยู โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์มายาวนาน

Weber Carburetors เรือ่ งและภาพ: ศิรพงศ์ ตงพิพฒ ั น์

สวัสดีครับท่านผู้อ่าน เล่มนี้ผมมีเรื่องที่ ไม่ ใช่ DIY มานำ�เสนอ แต่เป็นเรื่องราวเก่า ๆ เก๋า ๆ ของรถยุค Retro กันครับ

ถ้

าพูดถึงระบบจ่ายน�้ำมันเชื้อเพลิงด้วย หัวฉีดสมัยนีค้ งไม่ใช่เรือ่ งแปลกประหลาด อะไร มีใช้ตงั้ แต่มอเตอร์ไซค์จา่ ยกับข้าวยันรถยนต์ กันเลยทีเดียว แต่ก่อนหน้าที่จะมีระบบหัวฉีดนั้น เรามีสงิ่ ทีเ่ รียกว่า ‘คาร์บวิ ’ คนรุน่ ตัง้ แต่ 80’s ลงไป

คงน่าจะรูจ้ กั หรืออย่างน้อยน่าจะยังเคยนัง่ รถทีต่ ดิ คาร์บวิ กันมาแล้ว เคยสงสัยกันบ้างมัย้ ครับว่าค�ำว่า Carburetor นัน้ หมายความว่าอะไร Carburetor จ�ำกัดความว่า การผสมระหว่างอากาศกับน�ำ้ มัน สั้น ๆ ง่าย ๆ ตรงตัวเลยครับ

รถยุคก่อนหน้านีล้ ว้ นใช้คาร์บวิ กันทัง้ นัน้ เหมือน รถสมัยนีค้ งไม่มยี หี่ อ้ ไหนไม่ใช้ระบบหัวฉีดกันแล้ว สมัยที่ระบบหัวฉีดเริ่มออกมาอย่างแพร่หลาย ผมยังคงเรียนชั้นมัธยมอยู่เลย จ�ำได้ว่าเคยอ่าน ในหนังสือรถต่าง ๆ ผู้คนต่างกลัวการใช้ระบบ

66 BMWcar

66-69_Tech Tips_Aug.indd 66

7/25/2560 BE 15:18


TECH TIPS

หัวฉีดกันอย่างมาก แต่พอออกมาเยอะ ๆ มีการ พัฒนาเรื่อย ๆ ปัญหาต่าง ๆ ก็ค่อย ๆ หมดไป ถ้าจ�ำไม่ผดิ รถยุคแรก ๆ ทีเ่ อาระบบหัวฉีดมาขาย ทั่วไปคือ Toyota Corona GTI 128 แรงม้า เกียร์ ธรรมดา สมัยก่อนถือว่าจี๊ดจ๊าดมาก ซึ่งรถยนต์ สมัยนัน้ จะมีขายทัง้ ระบบหัวฉีดและคาร์บวิ ควบคู่ ไปด้วยกัน โดยถ้าเป็นหัวฉีดมักจะมากับอักษร ‘i’ ต่อท้ายเสมอ ๆ เช่น 316i 320i 520i 730i เป็นต้น แต่ถา้ เป็นคาร์บวิ มักจะมีแต่เลขก�ำกับอย่างเดียว ในเล่มนีอ้ ยากจะกล่าวถึงเฉพาะคาร์บวิ ‘Weber’ เมื่อกล่าวถึงยี่ห้อนี้แล้วแทบทุกคนจะต้องรู้จัก

เพราะถูกติดตั้งกับรถยนต์บ้าน ๆ ยันพวกซูเปอร์ คาร์ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะค่ายจากอิตาลีไม่วา่ จะเป็น Ferrari Maserati Lamborghini หรือค่ายผู้ดี อังกฤษอย่าง Jaguar D-Type ก็ให้คาร์บวิ ยีห่ อ้ นี้ มาถึงสามลูก แม้กระทั่งพวกรถ F1 ก็ใช้คาร์บิว ยี่ห้อนี้ทั้งนั้น จะกล่าวได้ว่าใครมองหาความแรง ในยุคนั้น คงหนีไม่พ้น Weber ทั้งสิ้น จะมีค่าย อเมริกันที่นิยมชมชอบพวกยี่ห้อ Holley แทน คนก่อตัง้ บริษทั Weber นัน้ มีชอื่ ว่า Edoardo Weber ในเมือง Bologna ประเทศอิตาลี คาร์บิว Weber ยังคงโด่งดังมาตั้งแต่ประมาณยุค 1950

จนถึงปลายยุค 1990 ตอนที่ระบบหัวฉีดเริ่มเป็น ที่นิยมมาก Weber จึงเริ่มลดบทบาทลง แต่ถึง แม้จะไม่เป็นทีน่ ยิ มมากในตอนนี้ ก็ยงั มีคอ Retro ทีย่ งั คงนิยมชมชอบไม่เสือ่ มคลาย บางส�ำนักถอด ระบบหัวฉีดออกแล้วจับยัดเอา Weber ใส่ลงไป แทนด้วยซ�้ำ Weber นั้นผู้คนต่างชื่นชอบเพราะเสียงที่ เร้าใจเวลาเร่งรอบสูง ๆ เสียงมันจะดุดันยิ่งลาก ยิ่งเพราะ เสียงเวลาที่อากาศถูกดูดเข้าเครื่อง ยิง่ ปากแตรสัน้ ๆ ขนาดใหญ่ยง่ิ ลากรอบยิง่ เพราะ แล้วนอกจากความเพราะของมันเนี่ย มันยังดู หล่อเหลามากในห้องเครื่องอีกด้วย พวกห้อง เครือ่ งรถสมัยนีส้ ว่ นมากจะเจอแต่พลาสติกปิดไว้ แต่เครือ่ งยุคก่อน ๆ มันมีเสน่หเ์ พราะมีพวกท่อไอดี อะลูมิเนียม ท่ออากาศ ท่อน�้ำมันสายถัก พวก ข้อต่อต่าง ๆ สีเหลืองทองอร่าม ผมว่ามันดูแล้ว ขลังกว่าเยอะ ถึงจะล้างยากกว่าก็ตาม ผมงี้ล้าง ห้องเครือ่ งทีได้แผลตลอดเลย เพราะแง่งเงีย่ งต่าง ๆ นั้นแหละ แต่พอเราล้างเสร็จเท่านั้นหายเหนื่อย เลย นัง่ ดูหอ้ งเครือ่ งสะอาด ๆ ก็สขุ ใจไปอีกแบบ Weber จริง ๆ แล้วมีหลายรุ่นหลายแบบ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะรุ่นที่เป็นที่นิยมมาก ที่สุดคือ DCO-Doppio Corpo Orizzontale หรือแปลเป็นไทยคือ ‘ท่อคู่แนวนอน’ Weber ตัวนี้มันดังมากเพราะมันสามารถเอาไปติดตั้ง กับพวกสี่หรือหกสูบเรียงได้ง่าย ต้องอย่าลืมว่า รถส่วนใหญ่จะเป็น 4-6 สูบเป็นหลัก จะมีพวก V6 V8 ที่ใช้คาร์บิว IDF ที่เป็นแนวตั้งกันแทน อย่างเช่นใน Ferrari Lamborghini หรือแม้กระทัง่ รถทีค่ นทัว่ โลกนิยมชมชอบอย่างโฟล์คเต่าตัวแรง ก็ใช้เช่นเดียวกัน คาร์บวิ ไม่วา่ ยีห่ อ้ ไหน รุน่ อะไรล้วนมีหน้าทีส่ าม อย่างหลัก ๆ คือ 1) วัดปริมาณอากาศทีเ่ ข้าเครือ่ ง ยนต์ 2) จ่ายน�ำ้ มันเพื่อให้อัตราส่วนผสมถูกต้อง ตามความต้องการของเครือ่ งยนต์ 3) ผสมอากาศ AUGUST 2017 67

66-69_Tech Tips_Aug.indd 67

7/25/2560 BE 15:18


และน�ำ้ มันาให้ เข้ากันเพื อ่ เผาไหม้ อย่าแงสมบู ณ์ อ+ ฉีดสุนํญ ขึา้นนัแปรผั นตามกัน ว่าง่าย ๆ คือ ว่าง่ายๆคือยิง+ อากาศผ่ นเยอะผ่ านเร็ วคาบิวได้จะมี รงดูดรเพื >ามัญากาศเพิ นมากขึน > ่ม เท่ น > โดยใช ้ลิน ) ทีค - วบคุขอกล่ มด ้วยคั นเร่ งเป็กนตั วกํำางานคาร์ หนดปริมบาณการไหลของอากาศที $ ข ้าเครือ $ างนเร็วคาร์บิวจะมีแรงดูด าวถึ งหลั การท� ิวคร่าว ๆ ยิ่งอากาศผ่าเนเยอะผ่ คาร์บิวทุกยี่ห้อใช้หลักการ Ventury Effect

เพื่อฉีดน�้ำมันมากขึ้นเท่านั้น โดยใช้ลิ้นที่ควบคุม

คือใช้หลัากนเยอะผ่ การที่ว่าเมื ่ออากาศไหลผ่ วนที ่ อ+ ฉีด้ดวนํยคั>ามันนเร่มากขึ งเป็นตัน> วเท่ ก�ำาหนดปริ มาณการไหลของ ว่าง่ายๆคือยิง+ อากาศผ่ านเร็ วคาบิวจะมีาแนส่ รงดู ดเพื นัน > โดยใช ้ลิน ) ทีค - วบคุ ม ด ้วยคั น เร่ ง เป็ นตั ว กํ า หนดปริ ม าณการไหลของอากาศที เ $ ข ้าเครื อ $ ง แคบที่สุดจะมีความเร็วสูงสุด จะยิ่งเกิดแรง อากาศที่เข้าเครื่อง

จากรูปด ้านล่างคือหลักการง่ายๆขอคาบิวครับ อากาศทีผ ; า่ นเข ้ามาจะถูกควบคุมปริมาณด ้วยลิน C คันเร่ง เมือ ; อากาศผ่าน ่ งต่อเข ้าไปทีห Venturi ทอี# ยูต ่ รงกลางคาบิวจะมามีความเร็วอากาศสูงสุด โดยตรงนีจ = ะมีชอ # ้องลูกลอยทีม # น ี ํ= ามันอยู่ เมือ $ อากาศเข ้ามากจะเกิดสุญญากาศเยอะซึง- ก็จะดูดเอานํ5 ามันเข ้าไปผสมกับอากาศ ปริมาณนํ) ามันจะถูกคุมด ้วยระดับทีล ( ก ู ลอยเลือ ( นขึน 3 ลง ลูกลอยทีว( า่ นีจ 3 ะต่อกับวาล์วทีเ( รียกว่า “นมหนู” จากรู ปด ้านล่ างคื อหลักการง่า้เลื ยๆขอคาบิ วม ครั บ อากาศทีเ# ข ผ ; า่ ้าเครื นเขอ กควบคุมปริมาณด ้วยลิน C คันเร่ง เมือ ; อากาศผ่าน ซึง# นมหนู ก็จะมี หลายขนาดให อกตามปริ าณอากาศที # ้ามาจะถู ง ่ งต่อเข ้าไปทีห Venturi ท อ # ี ยู ต ่ รงกลางคาบิ ว จะมามี ค วามเร็ ว อากาศสู ง สุ ด โดยตรงนี จ = ะมี ช อ # ้องลู ก ลอยที ม # น ี ํ= ามันอยู่ จากรูปด้านล่างคือหลักการง่าย ๆ ของคาร์บวิ เมือ $ อากาศเข ้ามากจะเกิดสุญญากาศเยอะซึง- ก็จะดูดเอานํ5 ามันเข ้าไปผสมกับอากาศ ครับ อากาศที่ผ่านเข้ามาจะถูกควบคุ มปริมาณ ปริมาณนํ) ามันจะถูกคุมด ้วยระดับทีล ( ก ู ลอยเลือ ( นขึน 3 ลง ลูกลอยทีว( า่ นีจ 3 ะต่อกับวาล์วทีเ( รียกว่า “นมหนู” ด้วยลิ้นคันเร่ง เมื่ออากาศผ่าน Venturi ที อ ่ ยู ต ่ รง # ซึงนมหนูกจ ็ ะมีหลายขนาดให ้เลือกตามปริมาณอากาศทีเ# ข ้าเครือ # ง

กลางคาร์บวิ จะมีความเร็วอากาศสูงสุด โดยตรง นี้จะมีช่องต่อเข้าไปที่ห้องลูกลอยที่มีน�้ำมันอยู่ เมื่ออากาศเข้ามากจะเกิดสุญญากาศเยอะซึ่งก็ จะดูดเอาน�้ำมันเข้าไปผสมกับอากาศ ปริมาณ น�้ำมันจะถูกคุมด้วยระดับที่ลูกลอยเลื่อนขึ้น-ลง ลูกลอยทีว่ า่ นีจ้ ะต่อกับวาล์วทีเ่ รียกว่า ‘นมหนู’ ซึง่ นมหนูก็จะมีหลายขนาดให้เลือกตามปริมาณ อากาศที่เข้าเครื่อง

คาร์บวิ มีสว่ นประกอบหลักสามส่วนคือ

วงจรเดินเบา ท�ำหน้าที่ตามชื่อเลย คือตั้ง รอบเดินเบา แต่ครับแต่ ส�ำหรับ Weber แล้ว มันไม่ได้ท�ำหน้าที่เดินเบาอย่างเดียวมันจะท�ำ หน้าที่จ่ายน�้ำมันในรอบต�่ำด้วย ตั้งแต่เดินเบา จนถึงประมาณ 2,500 รอบต่อนาที หลังจากนั้น ถึงจะส่งไม้ผลัดไปให้วงจรน�้ำมันปกติ วงจรปกติ คือท�ำการจ่ายน�้ำมันช่วงตั้งแต่ ประมาณ 2,500 รอบต่อนาที ถึงรอบปลาย ๆ เลย มันคือวงจรน�ำ้ มันหลักเป็นวงจรทีส่ ำ� คัญเวลาไล่รอบ ไต่ขึ้นไปรอบสูง ๆ โดยต้องเล่นกับนมหนูอากาศ และน�ำ้ มันให้เหมาะสม ซึง่ แต่ละขนาดจะมี เบอร์ ก�ำกับทั้งปริมาณอากาศและน�้ำมันที่ให้ผ่าน คาบิ สว่ งนประกอบหลักสามส่วนคือ วงจรเร่ง ส่วนนี้ท�ำหน้าที่เวลาเราเปิ ดคัวนมีเร่ แบบกะทันหัน เมือ่ เราเปิดลิน้ เร่งกะทันหัน ปริมาณ อากาศจะเพิ่มขึ้นอย่างทันทีแต่ปริม าณน�้ำมันที่ จะฉีดเข้าไปจากวงจรน�ำ้ มันปกติไม่สามารถตอบ คาบิวมีสว่ นประกอบหลักสามส่วนคือ สนองได้ทัน ซึ่งเป็นที่มาของวงจรเร่ง มันจะมี Diaphragm Pump ฉีดน�้ำมันจากห้องลูกลอย เข้าสู่ลิ้นโดยตรง โดยปกติแล้วชุดนี้ก็จะมีนมหนู หลายขนาดเพือ่ เลือกเอาว่าจะให้ฉดี น�ำ้ มันปริมาณ

68 BMWcar

66-69_Tech Tips_Aug.indd 68

7/25/2560 BE 15:18


TECH TIPS และระยะเวลาแค่ไหน การจูนคาร์บวิ นัน้ มีสว่ นส�ำคัญทีส่ ดุ เลยก็วา่ ได้ ไม่ใช่แค่เฉพาะการเลือกนมหนู แต่รวมถึงการ ปรับตั้ง Vacuum ในแต่ละท่อให้เท่ากัน หรือ แม้กระทั่งการปรับตั้งลิ้นเร่งในแต่ละท่อ ทั้งสอง อย่างรวม ๆ เรียกกันว่า Throttle Synchronization ซึ่งเป็นพื้นฐานของการจูนเลยก็ว่าได้ ถามว่า ท�ำไมต้องท�ำการ Synchronization ท่อไอดี แต่ล่ะท่อ เพราะคาร์บิว Weber นั้นแต่ละท่อ หมายถึงอากาศและน�้ำมันที่เข้าแต่ละกระบอก สูบ ถ้าต่างสูบต่างไม่มีค่าเริ่มต้นที่เท่ากัน มันก็ คงจะท�ำงานไม่ได้ดีจริงมั้ยครับ จริง ๆ คาร์บิว Weber นั้นแทบจะไม่มีอะไรซับซ้อนมากเลย ถ้าสามารถจูนได้ลงตัวแล้วมันจะสามารถอยู่ รับใช้เราไปได้อีกนาน แต่มันก็มีข้อด้อยคือมัน

ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิหรือความ ชื้นมากนัก เพราะสองสิ่งนี้ล้วนมีส่วนเกี่ยวข้อง กับมวลของอากาศที่ไหลเข้าไปในเครื่อง คาร์บิว ยังไม่ฉลาดเท่ากับพวกระบบหัวฉีดที่จะสามารถ เปลี่ยนอัตราส่วนผสมตามสภาวะอากาศที่ เปลี่ยนแปลงได้ การจูน Weber นัน้ ต้องใช้ทกั ษะเรือ่ งเครือ่ งยนต์ พอควร แต่มันก็ไม่ใช่เรื่องลี้ลับมากมาย คนส่วน ใหญ่หรือแม้กระทัง่ ช่างเอง บางคนก็ยงั ไม่สามารถ จูนได้ลงตัว คนทั่วไปส่วนใหญ่จึงเปรียบคาร์บิว Weber เหมือนกับม้าพยศที่รอวันปราบลงได้ เมื่อนั้นแหละมันจะพาคุณทะยานไปข้างหน้า อย่างบ้าคลั่ง ด้วยอารมณ์ที่ยากจะบรรยาย เหมือนบรรลุถึงสวรรค์ชั้น 7 กันเลยทีเดียว สิง่ ทีไ่ ด้รบั จากคาร์บวิ Weber นัน้ อาจจะเป็น

นามธรรมที่ไม่สามารถจับต้องได้ เปรียบได้กับ เวลาทีค่ ณ ุ ได้สมั ผัสทุกสิง่ ทุกอย่างเกีย่ วกับ Weber นั้นคุณจะได้รู้จักกับเครื่องยนต์ของคุณ เหมือน ได้คุยกับเพื่อนสนิทได้ฟังเครื่องยนต์พูดบอกเล่า อาการออกมา ได้สัมผัสถึงการมีชีวิตชีวาของ เครื่องยนต์ บางทีการที่เราจูนระบบหัวฉีดผ่าน

คอมฯมันไม่ได้สมั ผัสถึงจิตวิญญาณของเครือ่ งยนต์ เลยก็วา่ ได้ ตัง้ แต่การไล่ขนั สกรูปรับแต่ละตัว การ ให้มอื ได้สมั ผัสน�ำ้ มันและสิง่ สกปรกบนเครือ่ งยนต์ บ้าง การฟังเสียงอากาศทีไ่ หลผ่านลิน้ เร่งทีละลิน้ บางทีแค่สิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ เหล่านี้มันก็มีค่าเกิน พอที่จะหันกลับมาสู่ยุค ‘คาร์บิว’ อีกครั้ง l AUGUST 2017 69

66-69_Tech Tips_Aug.indd 69

7/25/2560 BE 15:18


The

FirstBMW Kidneys 303

BMW M78 OHV I6

ถ้าพูดถึงเอกลักษณ์ของแบรนด์ BMW ที่ทุกคนสามารถจดจำ�ได้ นั่นคือกระจังหน้าคู่ ที่หลายคนเรียกมันว่า ‘ไตคู่’ ซึ่งจดจำ�ได้ง่ายไม่แพ้กับโลโก้ ใบพัดสีฟ้าเลยทีเดียว โดยจุดเริ่มต้นของเอกลักษณ์นี้มีมาตั้งแต่ BMW 303 ที่ถือกำ�เนิดมาเมื่อเกือบ ๆ 90 ปีก่อน

70 BMWcar

70-71_History_Aug.indd 70

7/25/2560 BE 15:19


BMW HISTORY

ดยหลังจาก BMW ได้ผลิตเครื่องบินและ จักรยานยนต์ จนประสบความส�ำเร็จแล้ว ในช่วงปี 1928 ทีร่ ถยนต์ในสมัยนัน้ มีไว้เพือ่ ความ สง่างามและมีหน้ามีตาทางสังคม BMW ก็มอง เห็นช่องทางในการขยายตลาด พวกเขาจึงตั้งใจ ที่จะท�ำการผลิตรถยนต์ออกมาตอบสนองกลุ่ม ลูกค้ามีระดับกลุม่ นี้ แต่ดว้ ยปัญหาทางเศรษฐกิจ ในช่วงนั้นถือเป็นเรื่องยากที่จะสร้างตลาดใหม่ เกี่ยวกับรถยนต์ เพราะสภาพเศรษฐกิจที่ตกต�่ำ มากในยุคนั้น รถหรูขนาดใหญ่แทบไม่เป็นที่ ต้องการของคนในสมัยนั้น เพียงแค่มีรถยนต์

คันเล็กก็ถือว่ามีหน้ามีตาในสังคมชั้นสูงแล้ว ต่อมาในปี 1930 BMW จึงได้ตดั สินใจว่าจะ เริม่ ท�ำอะไรใหม่ ๆ ทีแ่ ตกต่าง ซึง่ ไม่ใช่เพียงแค่รถ ขนาดเล็ก แต่จะใส่เทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าไป ซึง่ มี รูปแบบทีซ่ บั ซ้อนกว่ารุน่ ก่อน ๆ หัวหน้านักออกแบบ อย่าง Fritz Fiedler กับเหล่าผู้ช่วยของเขา ได้ ออกแบบโครงสร้างทีม่ นี ำ�้ หนักเบา ด้วยวัสดุทมี่ ี คุณภาพ และร่วมมือกันสร้างเครือ่ งยนต์ 6 สูบ มา ใส่ลงไปในรถต้นแบบ ทีพ่ วกเขาสร้างขึน้ จนกลาย เป็นรถทีท่ ำ� ความเร็วได้มากทีส่ ดุ อีกรุน่ หนึง่ ในยุค นัน้ หลังจากนัน้ ไม่นาน BMW ก็ได้เปิดตัวรถยนต์

ประเภทใหม่ของพวกเขานัน่ คือ ‘BMW 303’ ที่ Berlin Motor Show ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1933 BMW 303 ถือเป็นรถยุคแรกที่ใช้เครื่องยนต์ 6 สูบ และจัดได้ว่าเป็นรถที่มีน�้ำหนักเบามาก เพราะใช้โครงสร้างที่เหมือนท่อทรงกลม นั่นเป็น จุดเริ่มต้นของการสร้างรถน�้ำหนักเบา ที่เหล่า นักออกแบบก็ได้นำ� หลักการนีม้ าใช้ถงึ ในปัจจุบนั รวมถึงช่องตะแกรงระบายความร้อนด้านหน้า ขนาดใหญ่ซงึ่ มีรปู ร่างคล้ายกับ ‘ไตคู’่ ทีเ่ ป็นเหมือน เอกลักษณ์ของ BMW ทุกรุ่น ก็มีจุดเริ่มต้นมา จาก BMW 303 นี้เช่นกัน l

AUGUST 2017 71

70-71_History_Aug.indd 71

7/25/2560 BE 15:19


อู่

เวิรก์ ช็อปของ AC Schnitzer ทีส่ ำ� นักงาน ใหญ่ใน Aachen มักจะเป็นแหล่งพักพิง ของเหล่าเครื่องจักรที่ท�ำให้น�้ำลายสอ อยู่เสมอ ขณะที่ประตูม้วนไฟฟ้าก�ำลังเลื่อน ด้วยเสียงอันแผ่วเบาเพือ่ เปิดทางให้เราเข้าไป ด้านใน เราสังเกตเห็น ACL2S รุน่ ฉลอง 30 ปี ของบริษัททั้งคันสีด�ำที่เคยออกงานและคัน สีเขียวที่ปรากฏอยู่ในภาพตามสื่อจอดคู่

กันอยู่ จากนั้นก็มี M2 ที่โดนฉีดอะดรีนาลีน เข้าเส้น และรถถนนรุน่ อืน่ ๆ ทีใ่ ส่ลอ้ อัลลอย กับชุดแต่งคาร์บอนอยู่อีกจ�ำนวนหนึ่ง แต่ พวกมันทัง้ หมดก็เป็นเพียงการโหมโรงเท่านัน้ เป้าหมายหลักของเราในวันนีก้ ำ� ลังจอดปล่อย ฟีโรโมนพลุ่งพล่านกับเปล่งประกายออร่า น่าเย้ายวนอยูก่ ลางอู่ ราวกับมันดูดแสงทัง้ หมด ในเวิรก์ ช็อปมาเติมประกายแบบเข้มข้นพิเศษ

ลงไปแล้วสะท้อนมันกลับออกมาอีกที ใครก็ตาม ที่เป็นคนเลือกสีแดงเมทัลลิกให้กับ i8 คัน ล่าสุดของ Schnitzer ย่อมรู้ตัวดีว่าเขาก�ำลัง ท�ำอะไรอยู่ เพราะนี่มันน่าหลงใหลได้อย่าง กับโดนมนตร์สะกด สิ่ ง ที่ ต ามมาหลั ง จากนั้ น คื อ ช่ ว งเวลา น่าประสาทเสียทีส่ ดุ ของวัน เพราะว่าผมจะต้อง ค่อย ๆ หาทางพารถคันนีอ้ อกมาจากเวิรก์ ช็อป

72 BMWcar

72-78 AC S8.indd 72

7/25/2560 BE 14:12


AC SCHNITZER ACS8

ACS8 ของ AC Schnizter ที่สร้างบนพื้นฐานของ i8 เป็นดาวดวงเด่น ที่งานเ จนีวาโชว์ และ Wrap สีเตะตากับชุดแต่งคาร์บอน ก็ทำ�ให้มันเป็นผู้ชนะบนถนนด้วยเช่นกัน อย่างระมัดระวัง ผมเพิ่งจะกระโดดลงจาก VW Passat พวงมาลัยขวาของผมเพื่อมาขึ้น i8 พวงมาลัยซ้าย ซึ่งเป็นรถที่ไม่ได้มีชื่อเสียง โดดเด่นด้านการมีทศั นวิสยั ยอดเยีย่ ม แถมยัง ต้องพาเจ้าเครือ่ งจักรน่าทึง่ คันนีห้ ลบหลีกไม่ให้ ขอบล้อไปเบียดเข้ากับแรมพ์ยกรถภายในอู่ หรือไม่ให้ตัวรถไปกระแทกเข้ากับรถราคา แพงระยับคันอื่น ๆ ในที่นี้อีกด้วย และสิ่งที่

เกิดขึน้ เหมือนเดิมเกือบทุกครัง้ ก็คอื รถไม่ยอม สตาร์ทกับตัวผมทีก่ ำ� ลังสงสัยว่าผมท�ำมันพัง ตัง้ แต่ขนึ้ ไปนัง่ ในรถได้ยงั ไงกัน...แหม รถไฮบริด กับความสามารถในการเคลือ่ นตัวอย่างเงียบกริบ พวกนี้ มันหลอกผมได้สำ� เร็จทุกที ! หลังจากเดินหน้าถอยหลังกันอยูห่ ลายรอบ เราก็ออกมาสู่ที่โล่งและสี Wrap ของ ACS8 ก็ยงิ่ ดูเตะตามากขึน้ ไปอีกเมือ่ มาอยูก่ ลางแดด

ดูเหมือนว่ารถคันอื่น ๆ บนท้องถนนก็จะคิด เหมือนกับเรา ผูช้ ายใน Merc SL เกือบจะเสย ท้ายรถคันหน้าเพราะเขามัวแต่จดจ้องมาที่ Schnitzer ในขณะที่คนขับ Golf คว้าโทรศัพท์ ขึน้ มาถ่ายคลิป ขณะทีเ่ ราก�ำลังแซงผ่านเขาไป อย่างเงียบเชียบ เด็กหนุ่มบนจักรยานหลบ เสาไฟได้หวุดหวิดหลังจากที่เขาดูเหมือนจะ ไม่สามารถดึงสายตาออกจากสิ่งประดิษฐ์ AUGUST 2017 73

72-78 AC S8.indd 73

7/25/2560 BE 14:14


ชิน้ ล่าสุดของ Schnitzer ได้ ส่วนผมก็อยากจะรีบ ออกจากตัวเมือง Aachen ไปให้พ้น ๆ ก่อนที่ รถคันนีจ้ ะเป็นต้นเหตุของอุบัติเหตุบนท้องถนน สักอย่างขึ้นมา มันต้องใช้เวลาสักระยะกว่าทีค่ ณ ุ จะเริม่ คุน้ เคย กับ i8 อีกครัง้ เพราะมันพิเศษกว่า BMW รุน่ ทัว่ ไป ของคุณอยู่เล็กน้อย แต่ผมก็เข้าขากับมันได้ ในระดับหนึ่งก่อนที่จะเลี้ยวขึ้น Autobahn พอดี ถึงแม้จะต้องหงุดหงิดกับการจราจรที่คับคั่งบน นั้นและโอกาสที่จะได้กดคันเร่งมิดติดพื้นที่ริบหรี่ เต็มที แต่ก็ช่างมัน ACS8 พกอาวุธมามากกว่า ความเร็วบนทางตรงเพียงอย่างเดียว และผมก็ หวังว่าถนนทีเ่ ราก�ำลังมุง่ หน้าไปจะเปิดโอกาสให้ ผมได้สัมผัสกับสมรรถนะของมันแบบเจาะลึก การคลานอยู่ท่ามกลางการจราจรหนาแน่น ช่วงสั้น ๆ บน Autobahn ต่อด้วยถนนสาย A ที่ เต็มไปด้วยกล้องจับความเร็วอีกหลายไมล์ ท�ำให้ ผมได้ค้นพบว่า Schnitzer i8 สามารถดูดซับแรง กระแทกได้ดี แม้ว่ามันจะใช้ช่วงล่างแต่งและล้อ ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดใหญ่ขึ้น ภายใต้ผิว ตัวถังสีแดง Inferno Red Chrome Wrap (ชื่อ อย่างเป็นทางการ) คุณจะพบกับชุดสปริง AC Schnitzer ทีล่ ดความสูงด้านหน้าลง 25 มิลลิเมตร

74 BMWcar

72-78 AC S8.indd 74

7/25/2560 BE 14:14


AC SCHNITZER ACS8 และด้านหลัง 20 มิลลิเมตร ซึ่งเมื่อรวมกับล้อ ฟอร์จน�้ำหนักเบาลาย AC1 แล้ว ท�ำให้ i8 คันนี้มี บุคลิกหน้าตาทีด่ ดุ นั ขึน้ กว่ารุน่ มาตรฐาน ล้อขนาด 8.5x21 นิ้ว ในด้านหน้า และ 9.5x21 นิ้ว ใน ด้านหลังนั้น รัดไว้ด้วยยางขนาด 245/35 และ 285/30 ที่ด้านหน้าและหลังตามล�ำดับ ซึ่งเป็น ขนาดล้อและยางที่ใหญ่ที่สุดที่สามารถใส่ลงไป ในซุ้มล้อของ i8 ได้ ต้องขอบอกว่ามันดูดีทีเดียวเมื่อมาอยู่ในรถ ที่ฐานล้อกว้างกว่ารถปกติมาก ๆ เพราะมันท�ำให้ รูปลักษณ์ของรถดูสอดคล้องและลงตัวมากขึ้น i8 รุ่นมาตรฐานจะดูเหมือนกับมันก�ำลังใส่ล้อ อะไหล่แบบบางอยู่เมื่อมองจากบางมุม เพราะ ขนาดความกว้างล้อเดิมที่แคบมาก ล้อฟอร์จ Schnitzer สามารถลดน�ำ้ หนักลงจากล้อมาตรฐาน 20 นิว้ ลายใบพัดได้ถงึ 4.4 กิโลกรัม ซึง่ น่าทึง่ มาก เมื่อคิดถึงขนาดที่เพิ่มขึ้น แต่เมื่อสวมยางเข้าไป น�้ำหนักรวมก็จะกลับมาเท่า ๆ กับล้อมาตรฐาน ของ BMW สิ่งที่ได้กลับมาคือขนาดพื้นที่สัมผัส ของยางกับถนนที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลโดยที่ ไม่เพิ่มน�้ำหนักตัวรถ ช่วงล่างยังคงดูดซับแรง กระแทกได้ดีเหมือนเดิม ส่วนเสียงยางบดถนน ก็ถูกกรองออกไปอย่างน่าพอใจ มีเพียงแค่หลุม

ใหญ่จริง ๆ เท่านั้นที่จะส่งแรงกระแทกขึ้นมาถึง ห้องโดยสาร Carbon tub ของรถ เราหาทางหลบออกมาจากถนนที่มีกล้อง จับความเร็วคอยรังควาญอยูเ่ ต็มไปหมดได้สำ� เร็จ และในขณะที่ผมก�ำลังคิดว่านี่คงจะถึงเวลา เล่นสนุกกับ i8 บนถนนที่ท้าทายฝีมือกันแล้ว เราก็พบกับป้ายภาษาเยอรมันที่วางเรียงยาว เป็นหางว่าว มันเขียนไว้ว่า ‘ถนนข้างหน้าปิด’ เยี่ยมไปเลยใช่ไหม ? สถานที่เล่นสนุกของเรา ในวันนี้เต็มไปด้วยรถแบ็คโฮและรถขนดิน แต่แม้ จะเป็นเช่นนี้ เราก็ยงั หวังว่าเราจะสามารถหาทีอ่ นื่ ใกล้ ๆ กับ Eifel เพื่อให้รถยืดเส้นยืดสายได้อยู่ ในจังหวะทีเ่ ราก�ำลังจะถอดใจแล้วนัน่ เอง เราก็ขบั ผ่านจุดที่ Smithy คิดว่าน่าจะเหมาะกับการถ่าย ภาพนิ่งพอดี และถัดออกไปจากตรงนั้นเพียงไม่ กี่ร้อยเมตร เราก็มาพบกับถนนลาดยางที่ขดตัว เป็นริบบิ้นลงไปตามไหล่เขา เพอร์เฟ็กต์เลย Smithy ชอบทีจ่ ะเก็บภาพให้ได้จนเป็นทีพ่ อใจ ก่อนท�ำอย่างอืน่ แต่บางทีอาจเป็นเพราะเขาเหลือบ มาเห็นแววตาของผมทีก่ ำ� ลังลุกวาวเมือ่ นึกถึงการ ซิ่ง ACS8 ไปบนถนนพวกนี้ ซึ่งถ้าเกิดผมดวงตก ขึ้นมา เขาอาจจะคิดว่าอย่างน้อยเขาก็ได้ภาพ สักเซตเก็บเอาไว้ไปท�ำงานต่อแล้ว แน่นอนว่านีค่ อื

โอกาสที่ผมจะได้ยืนชม i8 แบบครบทั้งคันจาก ทุกมุมมองเพื่อที่จะดูว่าพวกเขาท�ำอะไรกับรถ ไปบ้าง เราเคยขับ Schnitzer ACS8 มาแล้วก่อน หน้านี้ (คันสีเงินเมื่อสักสองปีก่อน) แต่รถคันนี้ใส่ ชุดแต่งแอโรไดนามิกคาร์บอนไฟเบอร์มาเยอะกว่า และก็ท�ำให้มันดูดีขึ้นอีกเป็นกอง ด้านหน้าของมันมีสปอยเลอร์ตรงกลางทีเ่ ตีย้ และดูก้าวร้าวกว่าเดิม เมื่อมาเจอกับส่วนปลาย ที่งุ้มขึ้นทั้งสองด้านและคาร์นาร์ดที่หน้าซุ้มล้อ ซึ่งขึ้นรูปมาอย่างประณีต i8 จึงดูมีบุคลิกที่จริงจัง และมุ่งมั่นขึ้นมาก ส่วนบนของฝากระโปรงหน้า จะพบกับช่องระบายอากาศทีก่ รอบเป็นคาร์บอนไฟเบอร์ ในขณะที่ชายล่างด้านข้างของรถจะมี สเกิร์ตข้างคาร์บอนซึ่งช่วยเน้นให้รถดูเตี้ยติดพื้น ตามธรรมชาติของตัวรถ และดูกว้างขึ้นด้วย ด้านหลังมีดิฟฟิวเซอร์ใต้กันชนแบบสามชิ้น และ สปอยเลอร์คาร์บอนไฟเบอร์ที่คงไม่สามารถหลุด รอดสายตาคุณไปได้แน่ ถัดจากซุม้ ล้อหน้าจะเป็น ช่องอากาศคาร์บอนเพิ่มขึ้นมาอีกคู่ ซึ่งในรถ รุ่นมาตรฐานจะไม่ได้เจาะรูไว้ให้ เช่นเดียวกับ ช่องบนคาร์บอนไฟเบอร์บนซุ้มล้อหลังที่สวยงาม มากและไม่มีใน i8 รุ่นธรรมดา คนของ Schnitzer ยืนยันกับเราว่ามันต้องใช้คนที่มีความกล้าสูงมาก

มันร้องโหยหวนตามที่คุณลากรอบ และส่งเสียงปุงปังออกมาตอนที่คุณเปลี่ยนเกียร์ เป็นเสียงที่ดูแข็งกร้าว

AUGUST 2017 75

72-78 AC S8.indd 75

7/25/2560 BE 14:16


โดยรวมแล้วมันคืออาหารตา ผมชอบช่องคาร์บอนบนซุ้มล้อหน้ามาก พวกมันหน้าตาดูดีเลย

• ชิ้นส่วนคาร์บอนไฟเบอร์ ของ AC Schnitzer บน i8 เป็นแบบคุณภาพสูงสุด และดูสวยมาก โดยเฉพาะ ชิ้นที่อยู่รอบมือจับประตู และหลังล้อหน้าที่ดูหล่อสุดๆ

76 BMWcar

72-78 AC S8.indd 76

7/25/2560 BE 14:16


AC SCHNITZER ACS8

ในการเจาะรูบนแก้มท้ายที่บรรจงสร้างมาอย่าง พิถีพิถันของ i8 ซึ่งถ้าท�ำพลาดขึ้นมา เขาก็น่าจะ ถูกเขีย่ ทิง้ แน่นอน นอกจากนัน้ ก็มฝี าครอบกระจก มองข้างคาร์บอน และชุดประดับตกแต่งภายในที่ เป็นสีเงินผสมคาร์บอนทีใ่ ช้กบั มือจับประตูเช่นกัน โดยรวมแล้วมันคืออาหารตา ผมชอบช่อง คาร์บอนบนซุม้ ล้อหน้ามากอยูเ่ หมือนกัน พวกมัน ดูดแี ละหน้าตาก็ดเู กือบจะเหมือนว่าถูกท�ำออกมา จากโรงงาน แต่ผมไม่แน่ใจเท่าไหร่กบั รูทแี่ ก้มท้าย

และส�ำหรับคนที่อ่านนิตยสารเล่มนี้มาได้สักพัก ใหญ่ คุณก็คงจะพอทราบว่าผมเป็นคนไม่ชอบ สปอยเลอร์หลังเป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว แต่นนั่ ส่วนหนึง่ ของความสนุกในการอัพเกรดรถของคุณเอง คุณ แค่เลือกซื้อเฉพาะสิ่งที่คุณอยากได้และจ่ายเงิน ไปก็พอ ถ้ากระเป๋าผมหนักพอผมก็จะสัง่ ทุกอย่าง ทีเ่ ห็นไปหมดนีเ่ ลย ยกเว้นช่องอากาศบนซุม้ ล้อหลัง และซุม้ ล้อหน้า แต่ผมคงขอหยุดฝันเรือ่ งการมีเงิน มากพอที่จะมาซื้อรถพวกนี้ไว้แค่นี้ เพราะสิ่งที่เรา

อยากรู้ตอนนี้คือตอนซิ่งมันจะเป็นอย่างไร ? Smithy บัญชาว่าโค้งแฮร์พินที่ยอดเนิน สุ ด ปลายทางคื อ ต� ำ แหน่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ส� ำ หรั บ การถ่ายภาพ เพราะมันเป็นโค้งเดียวที่มีแสงแดด สาดลงมา และนัน่ หมายความว่าผมจะต้องขับรถ ขึ้น ๆ ลง ๆ เขาอยู่หลายรอบให้กล้องจับภาพ งานหนักชัด ๆ สองรอบแรกผ่านไปแบบหวานเย็น เพื่อที่ผมจะได้เช็กว่าไลน์ถนนวิ่งไปทางไหน และ ตรวจดูหลุมบ่อหรือสันเนินบนพื้นผิวลาดยาง AUGUST 2017 77

72-78 AC S8.indd 77

7/25/2560 BE 14:16


ที่สามารถจะท�ำให้รถเสียอาการได้ก่อน แต่หลัง จากนัน้ ก็เป็นโหมดออกรบเต็มอัตราศึก คันเร่งจม มิดติดเหล็กพื้นรถ และมันฟินมาก i8 อาจจะมีแค่เครื่องสามสูบ 1.5 ลิตร วางอยู่ กึ่งกลางตัวรถ แต่สุ้มเสียงของมันดีกว่าเครื่อง ที่มีขนาดและความจุแบบเดียวกันนี้ตัวอื่น ๆ อยู่ หลายขุม และถึงแม้ผมจะรู้ว่าเสียงของมันถูก สังเคราะห์ขึ้นมาและขยายให้ดังขึ้น แต่ผมก็ไม่ แคร์หรอกครับ เพราะมันงดงามมาก มันร้อง โหยหวนตามทีค่ ณ ุ ลากรอบและส่งเสียงปุงปังออก มาทางปลายท่อในตอนที่คุณเปลี่ยนเกียร์ เป็น เสียงทีฟ่ งั ดูแข็งกร้าว เลือกเปลีย่ นไปใช้โหมด Sport กับแพดเดิลชิฟท์บนพวงมาลัยเปลีย่ นเกียร์เองจะ สามารถดึงศักยภาพของมันออกมาได้โดดเด่น ที่สุด และนั่นเป็นช่วงที่ยางหน้ากว้างกับความสูง ที่ถูกกดต�่ำแสดงผลงานให้เห็นว่าหน้ารถจิก

โค้งขึ้นกว่าเดิมมาก ในขณะที่ i8 รุ่นปกติอาจจะ รูส้ กึ ว่ามีอาการอันเดอร์สเตียร์สง่ ขึน้ มาถึงแชสซีส์ มากเกินไป แต่รถของ Schnitzer หักเลี้ยวและ เกาะแนบกับโค้งไปได้อย่างนิง่ สนิท คุณจะรูส้ กึ ได้ ว่าพละก�ำลังถูกผันจากมอเตอร์ไฟฟ้าคู่หน้าไปที่ เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในทีด่ า้ นหลังไปตามจังหวะ ในโค้ง และเมื่อความมั่นใจเริ่มเพิ่มขึ้นกับแต่ละ โค้งเริม่ ทีเ่ ริม่ ถูกยิงเข้ามาด้วยความเร็วสูงขึน้ เรือ่ ยๆ รถกลับมีแต่จะเกาะมากขึน้ จนบางจังหวะสัญญาณ ไฟ DSC จะกะพริบขึ้นมาบนหน้าปัด ผมเชื่อว่า คนที่มีฝีมือมากกว่าผมจะต้องสามารถดริฟต์ มันออกจากโค้งมาได้แน่ ๆ แต่ตลอดหลายปีมานี้ ผมเรียนรู้ว่าการพารถกลับไปถึงที่หมายใน ชิ้นเดียวนั้น ย่อมดีกว่าการได้ช็อตดริฟต์อลังการ สักแป๊บก่อนที่คุณจะใช้ความสามารถของตัวเอง หมด แล้วฝังรถซูเปอร์คาร์ราคาแพงระยับเอาไว้

ในดินที่ Armco เมื่อเก็บภาพเรียบร้อยแล้ว เวลาแห่งความ สนุกก็หมดลง เราค่อย ๆ คลานกลับไปยังส�ำนักงาน ใหญ่ของ Schnitzer ที่ Aachen พร้อมดื่มด�่ำ กับความเงียบสงบอันเป็นบุคลิกอีกด้านหนึ่ง ของรถ ใช่ครับ ชุดเพิ่มสมรรถนะของ Schnitzer อาจจะแพง แต่คณ ุ จะไม่มโี อกาสได้จบั ผิดคุณภาพ ของชิ้นส่วนหรือการประกอบเลยแม้แต่นิดเดียว และในเมื่อคุณก�ำลังควักกระเป๋าจ่ายเงินเกิน 100,000 ปอนด์ อยู่แล้ว จ่ายเพิ่มอีกนิดหน่อย เพื่อได้รถที่ไม่เหมือนใครจะไม่ดีกว่าหรือ ? i8 เป็น BMW ยุคใหม่ที่ผมชื่นชอบที่สุดคันหนึ่ง ผม ชอบหน้าตาและเทคโนโลยีของมัน และด้วย ชุดอัพเกรดของ Schnitzer มันก็ดูน่าตื่นเต้นและ ยิ่งท�ำให้รู้สึกพิเศษมากขึ้นไปอีก l

78 BMWcar

72-78 AC S8.indd 78

7/25/2560 BE 14:16


79 AD Bangkok Airway.indd 79

7/24/2560 BE 11:33


ON THE TRACK

80 BMWcar

80-84 Resident Alien.indd 80

7/25/2560 BE 14:08


ON THE TRACK

การเอารถซาลูนสี่ประตูคันเป้งมาลงแข่งในรายการ รถสปอร์ตคูเป้เป็นอะไรที่ดูเหมือนจะเสียเวลาเปล่า แต่ Ben Bevis จะมาเล่าให้เราฟังว่า M5 มีศักยภาพ ที่สามารถทำ�แบบนั้นได้อย่างน่าประหลาดใจ

สิ่

งหนึ่งที่แฟนมอเตอร์สปอร์ตอเมริกันหัวดื้อ ไม่ชอบเอาเสียจริง ๆ ก็คือการที่มีผู้ผลิต รถยนต์ต่างชาติบุกเข้ามาถึงถิ่นและมาคว้าเอา ถ้วยรางวัลไปครอง ลองนึกถึงอารมณ์โกรธแค้น ตอนที่ Toyota กระโดดเข้าสู่ NASCAR แน่นอน ว่าตอนนีม้ นั ได้กลายเป็นส่วนหนึง่ ของ Talladega ไปแล้ว แต่ในช่วงแรกพวกเขาก็มีแอบหงุดหงิด บ้างเหมือนกัน BMW ก็เคยสร้างความหงุดหงิดท�ำนองนัน้ ด้วย เช่นกันตอนที่กระโดดลงไปร่วมในรายการ IMSA ในช่วงกลางยุค 1970s ด้วยเจ้า CSL Batmobile ที่อวบอ้วนดุดันที่สามารถพ่นลูกไฟอ�ำมหิตออก มาจากท่อได้ยาวเป็นวา ELBOWS OUT! เท่านัน้ ยังไม่พอ จากนัน้ ค่ายบาวาเรียนก็ได้ทำ � แบบนัน้ อีกครัง้ ใน IMSA Bridgestone Supercar Championship ที่เคยสร้างความตื่นตาตื่นใจ ให้กับเหล่าบรรดาแฟน ๆ ชาวอเมริกันระดับ สามัญชนมาแล้วก่อนหน้านัน้ ต้องขอบคุณค�ำพูด เหน็บแนมจากคู่แข่งอย่าง Porsche 911 และ Lotus Esprit ที่มีต่อ Corvette สุดรักของพวกเขา และเมือ่ M5 ตัวแรงกระโดดเข้ามาร่วมวงท่ามกลาง ความขุ่นเคืองใจ เซียนก็ยากที่จะฟันธง ที่พิลึกก็คือตัวแข่ง M5 ที่ว่านั่นมีหน้าตาแทบ จะเหมือนกับรถบ้าน จะผิดกันก็แค่มีสติ๊กเกอร์ ลายพร้อยติดลงไปเท่านัน้ เอง ให้ตายเถอะ มันถึง ขนาดใส่ยางถนนลงไปวิ่งแทนที่จะเป็นยางสลิค เสียด้วยซ�้ำ มันเหมือนเป็นกลยุทธ์ที่ตั้งใจท�ำเพื่อ อ�ำพรางคู่แข่ง แต่ความจริงแล้วมันสามารถส่ง ความเร่าร้อนลงไปบนพื้นที่อยู่ข้างใต้นั่นได้อย่าง กราดเกรี้ยว เพียงแต่ขึ้นอยู่กับเวลาเท่านั้นเอง

ว่าเจ้าบีมเมอร์คันนี้อยากจะเผยตัวตนที่แท้จริง ของมันออกมาตอนไหน บางทีคอมเมนต์ของผมในเรื่องยางนี้อาจจะ เป็นการเสียมรรยาทไปหน่อย เพราะรายการ Bridgestone Supercar Championship ที่ได้รับ การรับรองโดย IMSA นีถ้ กู จัดขึน้ เพือ่ โชว์ประสิทธิภาพ ของยางถนนรุน่ ใหม่ของผูผ้ ลิตเจ้านี้ ดังนัน้ รถแข่ง ทั้งหมดจึงใช้ยางยี่ห้อนี้ แต่ก็ไม่ต้องสงสัยเลยว่า เมือ่ เจ้ารถซาลูนสีป่ ระตูทรงเหลีย่ มคันนีม้ าปรากฏ ตัวที่กริดสตาร์ทท่ามกลางรถแข่งแบบสปอร์ต แท้ ๆ มันดูขัดตามากเลยทีเดียว TIMELY FINANCE ผู้ที่อยู่เบื้องหลังและเป็นผู้สนับสนุนทางการ เงินในการมาปรากฏตัวของ M5 ครั้งนี้ก็คือ Ed Arnold นักธุรกิจจาก Philadelphia และเป็นผู้ที่ หลงใหลในการแข่งรถ ซึ่งเขาได้ไปดึงตัว Frank Brown และ Chris Hodgetts นักแข่งชาวอังกฤษ มานัง่ คุมบังเหียนมันด้วย เส้นสายของ Hodgetts ในวงการมอเตอร์สปอร์ตท�ำให้เขาสามารถไปเอา ตัวถัง M5 ออกมาจากหลังบ้านของ BMW Motorsport ได้สองคัน จากนัน้ มันถูกส่งตรงไปยัง Spec Fab ในอังกฤษเพื่อตระเตรียมส�ำหรับการ แข่งขัน ซึง่ ก็เป็นอีกหนึ่งคอนเน็คชั่นของเขาตั้งแต่ สมัยที่เขาแข่งรถอยู่ใน British Touring Car Championship ด้วยเช่นกัน รถในสภาพพร้อมแข่งที่น�้ำหนักเบาลงไป คันละ 400 กิโลกรัม เสร็จพร้อมส่งไปยังอเมริกา เพื่อลงสนามแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 1993 เครื่องยนต์ 3.6 ลิตร S38 ถูกโมดิฟายใหม่โดย Zytec Engineering จนได้กำ� ลังสูงสุดอยูท่ ปี่ ระมาณ 450bhp (และตอนหลังขึ้นไปถึง 500bhp) AUGUST 2017 81

80-84 Resident Alien.indd 81

7/25/2560 BE 14:10


ON THE TRACK

ด้วยการใช้แคมของ Schrick และ ลูกสูบของ Cosworth ที่น่าทึ่งก็คือส่วนที่เหลือของท่อนล่าง ส่วนใหญ่ยังเป็นของเดิมเหมือนกับที่แผนก M ได้เคยออกแบบเอาไว้ เมือ่ รถแข่ง M5 มาถึงส�ำนัก Ed Arnold Racing มันก็อยู่ในสภาพที่พร้อมเอา ออกไปเผายางเล่น PROMISING START? มันเปิดฉากสนามแรกที่ Miami โดยมีรถที่ขับ โดย Hodgetts ลงไปวิ่งเพียงแค่คันเดียวและจบ การแข่งขันได้เป็นที่เก้า แล้วอีกคันหนึ่งล่ะ ? โชคร้ายทีม่ นั เกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ ในระหว่างควอลิฟาย โดยนักแข่งหน้าใหม่ชาวอเมริกันที่ชื่อ David Donohue มันเป็นการเริม่ ต้นทีด่ เู หมือนเป็นลางร้าย

แต่มนั ก็ได้แสดงถึงความทนทานของรถทีส่ ามารถ วิง่ จนจบการแข่งขันได้ ก่อนทีจ่ ะเริม่ สร้างเรือ่ งเล่าขาน ที่ไม่ธรรมดาให้ประจักษ์ในเวลาต่อมา Dononue วัย 26 ปีคือตัวหลักที่อยู่ในเรื่อง เล่าขานนี้ เขาเรียนมาทางไฟแนนซ์และพยายาม เข้าสูว่ ชิ าชีพนีใ้ นช่วงเศรษฐกิจตกต�ำ่ ในต้นยุค 90s Arnold จึงให้โอกาสเขาได้มาขับ และก็ประสบความส�ำเร็จถึงแม้ว่าจะเริ่มต้นไม่ค่อยสวยนัก David คือลูกชายของ Mark Donohue นักแข่งที่มีชื่อเสียง อดีตผู้ชนะ 1972 Indy 500 และเคยลงแข่งใน F1 ด้วย ดังนั้นเขาจึงมีความ หลงใหลในความเร็วอยูใ่ น DNA ของเขาด้วย และ อีกเรื่องหนึ่งที่น่าจะบันทึกเอาไว้ด้วยก็คือ David ไม่ได้เป็นนักแข่งไฟแรงที่ตามหาความฝันโดย

เริ่มจากโกคาร์ทตั้งแต่ห้าขวบ เขายอมรับว่าเขา เริ่มเข้าสู่ club racing ก็หลังจากที่เขาจบจาก มหาวิทยาลัยแล้ว จากนัน้ ก็ได้แรงเชียร์จากภรรยา ให้เข้าสู่วงการหลังจากหางานจริง ๆ ท�ำไม่ได้ M5 โชว์ผลงานได้ดีขึ้นอีกเล็กน้อยในสนาม ถัดไปที่ Lime Rock ด้วยอันดับที่แปดจากฝีมือ การขับของ Donohue ส่วน Hodgetts เข้าเป็นที่ สิบเอ็ด เมื่อเริ่มเข้าขากันได้ดี ทีมก็ส่งรถลงแข่ง ได้อย่างต่อเนื่อง คันเดียวบ้างสองคันบ้างแล้ว แต่สถานการณ์ จนกระทั่งครึ่งหลังของฤดูกาล มันก็เริ่มแสดงความเจิดจรัสออกมา ซึ่งในตอนนี้ Arnold ได้สั่ง M5 เข้ามาเสริมทีมอีกหนึ่งคัน และถูกใช้ลงแข่งพร้อมกันทั้งสามคันตลอดช่วง ที่เหลือของฤดูกาล

82 BMWcar

80-84 Resident Alien.indd 82

7/25/2560 BE 14:10


ON THE TRACK

DRIVER CHANGES รถคันใหม่ถกู ขับโดย Rob Wilson ชาวนิวซีแลนด์ ส่วน Hodgetts เปลี่ยนมือให้ Dieter Quester มือขับทีมโรงงานลงไปขับแทนใน Sebring ในขณะที่ Donohue สามารถจบได้เป็นทีส่ อง ซึง่ เป็นต�ำแหน่ง โพเดียมครั้งแรกของ M5 และเหมือนเป็นการ เริ่มต้นที่ดีส�ำหรับฤดูกาล 1994 ที่ก�ำลังจะมาถึง ในขณะที่การแข่งขันสร้างความสนุกให้กับ ผู้ชมในสนาม และกลายเป็นข่าวที่ได้รับความ สนใจอย่างกว้างขวาง ทีมของ Arnold ก็ได้รบั การ สนับสนุนอย่างเป็นทางการจาก BMW ในฤดูกาล 1994 ทีมโรงงานได้เข้ามาศึกษาดูวา่ มีตรงไหนบ้าง ทีจ่ ะสามารถท�ำให้ทมี ของ Arnold เดินไปสูเ่ ป้าหมาย ชัยชนะอันยิ่งใหญ่ได้

การท�ำงานได้ถูกวางแผนขึ้น โดยงานการ พัฒนาด้านเทคนิคอยู่ในความรับผิดชอบของ ทั้ง BMW Motorsport และ BMW of North America โดยในตอนนี้ Hodgetts ได้ไปรับงาน โปรเจ็กต์ใหม่และ Donohue ก็ได้ขยับขึ้นมา เป็นตัวยืนแทน ช่างจากทีมโรงงานได้ท�ำการเพิ่มพลังให้เจ้า S38 โดยท�ำการปรับแต่งระบบจุดระเบิดและ อัตราส่วนผสมของน�้ำมัน/อากาศใหม่ ซึ่งรวม ไปถึงปรับเปลี่ยนระบบกล่องและท่อไอดีด้วย แต่การปรับแต่งในส่วนของแชสซีส์คือจุดหลัก ที่ท�ำให้มันสามารถแสดงศักยภาพออกมาได้ อย่างเต็มที่ ด้วยความที่มันเป็นรถที่หนักกว่าใคร เพื่อนในกริด แถมพละก�ำลังมหาศาลของมันจะ

ต้องลงพืน้ ผ่านยางธรรมดาด้วย จึงท�ำให้ทมี วิศวกร ต้องท�ำงานหามรุง่ หามค�ำ่ อยูห่ ลายวันเพือ่ หาอัตรา ความแข็งของสปริงและระดับการเซตอัพโช้กอัพ ที่เหมาะสม รถถูกเอาออกไปลองวิ่งหลายครั้ง หลายคน จนพวกเขามั่นใจมันมีความเหนือกว่า คู่แข่งอย่างแท้จริง CONFIDENCE-BOOSTER ในสนามแรกของฤดูกาล 1994 Donohue ควอลิฟายได้ที่สี่ และจบเป็นที่สองซึ่งเหมือนเป็น การสร้างขวัญและก�ำลังใจให้กบั ทีม นอกจากนี้ บรรดาบอสใหญ่จาก BMW ก็พึงพอใจหลังจากที่ ทุม่ เทเงินทองลงไปเป็นจ�ำนวนมาก จากนัน้ ไม่นาน ที่ Long Beach David ก็สามารถคว้าชัยชนะแรก AUGUST 2017 83

80-84 Resident Alien.indd 83

7/25/2560 BE 14:11


ON THE TRACK มาได้ซงึ่ สร้างความปลืม้ ปีตใิ ห้กบั ทีมของ Arnold เป็นอย่างมาก จากนั้นก็ขึ้นแท่นอันดับดี ๆ ได้ ทุกครั้งตลอดฤดูกาลนั้น แต่หายนะมาเยือนเมื่อ Arnold ประกาศ ออกมาว่าเขาจะยกเลิกโครงการนี้ทั้ง ๆ ที่ใน ขณะนั้นมีคะแนนสะสมแชมเปี้ยนชิพน�ำอยู่ ด้วยความที่ Mercury Holding Groups ที่ Ed Arnold ไปกู้เงินมาซื้อ M5 ส่วนหนึ่งและอีก ส่วนหนึ่งจาก Westinghouse ได้เกิดเปลี่ยน ข้อตกลงในนาทีสุดท้าย ถึงแม้จะเสียขวัญ แต่ Donohue ก็ยงั สามารถ ขึ้นโพเดียมได้ครั้งแล้วครั้งเล่าและพยายาม สุดชีวิตเพื่อให้ M5 ยังคงอยู่ในสายตาของผู้ สนับสนุน และเขาก็ทำ� ได้สำ� เร็จด้วยต�ำแหน่งแชมป์ ประเภทนักขับ (ครั้งแรกในอาชีพของเขา) ส่วน BMW ได้แชมป์ประเภทผู้ผลิตไปครอง หาก 1993 คือฤดูกาลซ้อมมือ 1994 คือฤดูกาล ที่ Donohue อยู่เหนือการควบคุมของ M5 โดย เขาสามารถรีดเอาประสิทธิภาพของรถแข่งซาลูน ที่ดูขัดหูขัดตาคันนี้ออกมาใช้งานได้ทุกเม็ด แถม มันยังพิสูจน์ถึงความทนทานโดยไม่เคย DNF แม้แต่ครัง้ เดียว ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยส่งเสริมการ ขายรถบ้านได้ไปในตัวด้วย E34 SWANSONG แต่กระนัน้ งานเลีย้ งก็ยอ่ มมีวนั เลิกรา สายการ ผลิตของ E34 M5 มีก�ำหนดที่จะปิดตัวลงใน เดือนกันยายน 1995 ซึ่งเป็นเหตุท�ำให้ BMW ต้องถอนตัวออกจากการแข่งขันอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ดังนั้นในปี 1995 นี้ทีมของ Arnold จึงหยุด พักก่อนโดยหารูไ้ ม่วา่ มันเป็นปีสดุ ท้ายของรายการ

IMSA Bridgestone Supercar Championship ดังนั้น Donohue จึงย้ายไปอยู่กับ Team PTG โดยลงแข่งด้วย E36 M3 ตัวใหม่ ส่วนรถเดิมถูกเช่า ไปโดย Shawn Hendricks โดยเอา Randy Pobst มาขับให้ และมันยังคงสามารถแสดงศักยภาพ ที่เหนือชั้นด้วยต�ำแหน่งโพเดียมตั้งแต่สนามแรก ในฤดูกาล 1995 นี้ผู้จัดได้ท�ำเรื่องพิลึกด้วย การเอารายการไต่เขา Pikes Peak มารวมเป็นหนึง่ ในสนามของซีรสี น์ ดี้ ว้ ย (และนัน่ อาจเป็นเหตุทำ� ให้ ซีรสี น์ ถี้ กู ยกเลิกไป) ลองนึกภาพรถขับหลังคันเป้ง วิ่งไต่เขาขึ้นไปบนทางดินบนยางถนนดู แต่สนาม นอกเหนือจากนั้นอย่างน้อย M5 ก็ขึ้นโพเดียม ได้หนึ่งครั้ง รถเหล่านี้เรียกเสียงเชียร์จากผู้ชมได้ใน Sebring, Lime Rock, Sears Point, Mid-Ohio, Laguna Seca, Long Beach, New Orleans และ Phoenix มันคือการเดินสายแสดงความยิ่งใหญ่ แบบเยอรมันดี ๆ นีเ่ อง Hendricks ได้แชมป์ประเภท นักแข่งและ BMW ก็ได้ฉลองแชมป์ประเภทผูผ้ ลิต

เป็นปีที่สองติดต่อกัน แต่เมือ่ รายการแข่งขันนีป้ ดิ ฉากไป M5 ตัวแรง ทัง้ หมดนีก้ ไ็ ม่เหลือสนามให้ลงแข่ง มันจึงถูกเอาไป จอดทิง้ เอาไว้ในสถานทีของ Arnold ใน Pennsylvania อยู่เกือบสิบปีจนกระทั่ง BMW North America เอามันมาชุบชีวิตใหม่ ต้องขอบคุณที่ตอนนี้รถ ระดับแชมป์คันนี้ได้ถูกเอามาเก็บรักษาเอาไว้ใน heritage collection ของอเมริกาถึงแม้ว่ามันจะ ดูผิดที่ผิดทางไปหน่อยเมื่อจอดรวมอยู่กับรถแข่ง ที่มีรูปทรงแอโร่คันอื่น ๆ แต่มันก็เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ถึงความส�ำเร็จที่เริ่มต้นจากสิ่งที่ดูเหมือนจะ เป็นไปไม่ได้แต่สดุ ท้ายแล้วมันเป็นไปได้ ในสนาม แข่งที่เต็มไปด้วยรถแข่งสายพันธุ์แท้ ได้ถูกรถ ซีดานสีป่ ระตูคนั ใหญ่แถมสูงโย่งและมีนำ�้ หนักตัว มากคันนี้สอบบทเรียนให้ต้องกลับเอาไปคิดใหม่ สักรอบสองรอบ มันคือต�ำนานที่จะสืบทอดกัน ต่อไปอีกหลายเจเนอเรชั่น ซึ่งเป็นอะไรที่ BMW น่าจะต้องภาคภูมิใจเป็นอย่างมาก l

84 BMWcar

80-84 Resident Alien.indd 84

7/25/2560 BE 14:11


85 AD MMS.indd 85

7/24/2560 BE 11:28


ME AND MY CAR

John Wilkinson ไม่เคยหวั่นที่จะดัดแปลง CSL ของเขา Chris Graham ได้ ไปพบเขามาเพื่อให้รู้กันไปเลย ว่ามีอะไรอยู่ข้างในนั้น

งปฏิเสธไม่ได้ว่าในปัจจุบันมีเจ้าของ CSL น้อยคนนักทีย่ งั เอารถของเขาออกไปใช้งาน ตามวัตถุประสงค์เดิมที่ BMW ต้องการให้มนั เป็น ซึ่งมันสร้างความหงุดหงิดใจขึ้นเรื่อย ๆ ให้กับ John Wilkinson เขาเป็นเจ้าของรถคันนี้มาแล้ว กว่าสามสิบปี และในช่วงระหว่างนั้นเขาได้เห็น ความเปลีย่ นแปลงทีก่ า้ วเข้ามาในรถรุน่ นีท้ ที่ ำ� ให้ มันขยับสถานะเข้าสู่ความเป็นต�ำนานมากขึ้น เรือ่ ย ๆ จนท�ำให้เจ้าของรถจ�ำนวนมากไม่กล้าเอา มันออกไปขับทั้งบนถนนและในสนามแข่ง และก็แน่นอนว่าราคาค่าตัวที่ขยับสูงขึ้น อย่างรวดเร็วก็เป็นอีกหนึ่งตัวแปรที่ท�ำให้รถ เหล่านี้ต้องถูกยกเก็บไว้บนหิ้ง แต่ส�ำหรับ John แล้ว CSL ยังคงเป็นรถทีเ่ อาไว้สำ� หรับขับ และต้อง ขับอย่างจริง ๆ จัง ๆ เสียด้วยสิ

86 BMWcar

86-92 Tweaking The Icon.indd 86

7/25/2560 BE 14:02


ME AND MY CAR

NO FEAR!

นอกจากนี้เขาก็ไม่เคยหวั่นที่จะท�ำมันให้ เบีย่ งเบนไปจากสเปคมาตรฐาน ตราบใดทีท่ ำ� แล้ว มันดูดีขึ้น และก็ไม่เคยกลัวว่าถ้าท�ำแล้วจะท�ำให้ ค่าตัวของมันตกด้วย ด้วยเจตนารมณ์อย่างชัดเจน ที่ว่าเขาจะไม่มีวันขายเจ้า CSL ของเขาคันนี้ ดังนัน้ เรือ่ งราคาค่าตัวจึงกลายเป็นประเด็นรองไป ถึงแม้วา่ รถทีห่ ายากและขึน้ ท�ำเนียบรถสะสม คันนีจ้ ะถูกดัดแปลงให้ตา่ งไปจากสเปคมาตรฐาน จนท�ำให้เหล่าบรรดาผู้หลงใหลใน BMW ต้อง ขบกรามแน่น แต่ John ยืนยันว่ารถของเขาคันนี้ ขับดีขึ้นกว่าตอนที่มันเป็นรถเดิม ๆ ในทุกมุมมอง นอกจากนี้สิ่งที่เขาท�ำลงไปยังช่วยท�ำให้มันเป็น รถที่มีประสบการณ์ขับขี่ในแบบที่เขาต้องการ อีกด้วย ซึ่งเราก็ได้พิสูจน์แล้วว่าทุกสิ่งในเจ้า

CSL คันนี้ถูกท�ำเพื่อประสบการณ์ขับขี่ในโลก แห่งความจริงเป็นหลัก CSL คันที่คุณเห็นอยู่นี้ไม่ได้เป็นรถคันแรก ที่ John ใช้เปิดเข้าสู่โลกของ BMW แต่มันมีเรื่อง ราวย้อนหลังกลับไปในช่วงต้นยุค 1970s หลังจาก ที่เขาเริ่มเหนื่อยหน่ายกับเรื่องความทนทานและ ปัญหาเรื่องการรับประกัน ความจงรักภักดีใน แบรนด์ MG ของเขาก็ขาดสะบัน้ ลง หลังจากทีเ่ ขา เคยใช้ MG หลายรุ่นซึ่งรวมไปถึง TA, J2 และ MGB V8 เขาก็โบกมืออ�ำลาและหันหน้าไปซื้อ 2002Tii ปี 1971 มาคันหนึ่ง จากนั้นเขาก็ติดใจ และก็มี 320 และ 323i ตามมาติด ๆ ในเวลาไม่นาน

5 Series ออกมา แล้วก็มีเวอร์ชั่น 535i ด้วย ซึ่งเจ้าเวอร์ชั่นนี้นั่นเอง-โดยเฉพาะเครื่องยนต์ที่สร้างความสนใจให้กับ John เป็นอย่างมาก หลังจากที่ได้อ่านบทความจากการทดสอบใน ตอนนั้นที่บอกว่า “มันแรงเหลือเฟือถึงแม้จะเป็น คนเท้าหนักก็ตาม” และบอกตัวเองว่าเขาต้อง มีสักคัน จากนั้นเขาก็ได้เป็นเจ้าของ 535i Mk1 ปี 1981 คันหนึ่งอย่างภาคภูมิใจ “ผมหลงรักมันตั้งแต่วันแรก” เขาร�ำลึก ความหลังพลางยิ้มไป “ผมเริ่มเอามันไปขับเล่น ใน Trackday สองสามหน และทึง่ กับประสิทธิภาพ ของมัน มันเป็นรถทีส่ ดุ ยอดอย่างแท้จริงคันหนึง่ !” หลังจากนั้นอีกไม่นาน ในปี 1986 John ก็ POWER PLAY ได้ข่าวว่าเพื่อนคนหนึ่งของเขาก�ำลังจะขาย ในช่วงต้นยุค 1980s ทาง BMW ได้ท�ำ E12 E9 3.0 CSL ปี 1972 ของเขา ซึ่งมันเป็นรถที่ AUGUST 2017 87

86-92 Tweaking The Icon.indd 87

7/25/2560 BE 14:04


ME AND MY CAR

สร้างชื่อให้เขาทั้งในการแข่งขันเรซซิ่งและไต่เขา “ผมไม่อยากจะเชือ่ ว่าเขาจะขายมัน แต่ผมคิดว่า เขาคงจะติดขัดเรือ่ งการเงิน ตอนทีเ่ ขาบอกว่าผม ว่าจะปล่อยที่ £3,000 ผมรีบกระโดดคว้าทันที” ในตอนนั้น เจ้า CSL คันนี้อยู่ในสภาพ ค่อนข้างโทรม John เล่าให้เราฟังว่า “บันไดข้าง, พื้นรถ และซุ้มล้อด้านในผุเยอะมาก เพื่อนผม คนนี้ใช้งานมันแต่ในสนามแข่งอย่างเดียว ดังนั้น เขาจึงไม่ได้สนใจในเรือ่ งสภาพของมันเหมือนกับ รถถนนทั่วไป เมื่อมองย้อนกลับไปแล้ว มันอยู่ ในสภาพที่แย่กว่าที่ผมคิดมากเลยทีเดียว “ผมยังจ�ำวันที่ผมเอามันออกไปขับครั้งแรก

88 BMWcar

86-92 Tweaking The Icon.indd 88

7/25/2560 BE 14:04


ME AND MY CAR

ได้ ผมได้ยินเสียงแปลก ๆ เหมือนมีอะไรก�ำลัง วิ่งอยู่ใต้พื้นทุกครั้งที่เบรกหรือเหยียบคันเร่ง ออกไป ตอนหลังจึงมารู้ว่ามีน�้ำราวสองแกลลอน ขังอยู่ใต้พื้นด้านคนนั่ง ! แต่กระนั้นผมก็ยังรักมัน ตั้งแต่วินาทีแรกที่ซื้อจนกระทั่งวันนี้” DAILY DRIVER ในตอนแรก John ตั้งใจที่จะท�ำ CSL คันนี้ ให้เป็นรถบ้าน ๆ เอาไว้ขับใช้งานประจ�ำวัน แต่ ไม่นานหลังจากรถถูกแก้ไขปัญหาเรื่องผุและ จัดทรงให้กลับมาสวยเหมือนเดิมแล้วเขาก็เริ่ม อยากจะท�ำให้มันแรงขึ้น “ผมหวนกลับไปนึกถึง

535i สุดรักของผมและเริ่มสงสัยว่ามันเป็นไปได้ ไหมหากจะเอาเครื่องหกสูบ 3.0 ลิตร ตัวเดิม ของเจ้า CSL ออกแล้วแทนที่ด้วยเครื่อง 3.5 ลิตร ทีม่ หี น้าตาเหมือนกันเปีย๊ บ ผิดกันแค่วา่ มันแรงกว่า “บังเอิญทีเดียวที่ในตอนนั้นเพื่อนของผม คนหนึ่งที่เป็นช่างบอกว่าเขาไปเจอเครื่องที่ว่าใน สภาพเพอร์เฟ็กต์ตวั หนึง่ และเสนอทีจ่ ะวางให้ผม มันเป็นสิง่ ทีค่ วรจะต้องท�ำเลยล่ะในมุมมองของผม และด้วยความที่มันแรงขึ้นอีกแค่ 20hp ผมจึง ตัดสินใจทีจ่ ะโมดิฟายมันเพิม่ เติมขึน้ ไปอีกเล็กน้อย “สิง่ ทีว่ า่ นัน่ รวมไปถึงแคมชาฟท์ทเี่ ร่าร้อนขึน้ , ระบบท่อไอเสียทีอ่ อกแบบใหม่ และระบบควบคุม

เครือ่ งยนต์ ซึง่ ท�ำให้มนั มีกำ� ลังสูงสุดขึน้ ไปที่ 260hp นอกจากนีผ้ มยังได้อพั เกรดเบรกทัง้ หน้าและหลัง และช่วงล่างของมันใหม่ด้วย” ถึงแม้จะมีม้าให้ใช้ถึง 260 ตัวแต่ John ก็ ยอมรับว่ามันก็ไม่ได้ถือว่าแรงอะไรนักเมื่อเทียบ กับรถสมัยใหม่ โดยเฉพาะเมือ่ เทียบกับน�ำ้ หนักตัว ของมันด้วยแล้ว ในปัจจุบนั คุณสามารถซือ้ Renault Clio คันจิ๋วที่มากับม้า 276 ตัว บนตัวถังของหนัก แค่เสี้ยวเดียวของ CSL เท่านั้นเอง ! John ได้ให้ ข้อคิดอีกมุมหนึง่ ว่า “น�ำ้ หนักคือศัตรูตวั ร้ายทีอ่ ยูใ่ นตัว ของเจ้า CSL เอง และด้วยความทีม่ นั มีภาพลักษณ์ ในเรื่องสมรรถนะ คนจึงคาดหวังว่ามันน่าจะต้อง

AUGUST 2017 89

86-92 Tweaking The Icon.indd 89

7/25/2560 BE 14:04


ME AND MY CAR

เร็วกว่านี้ แต่ในโลกแห่งความจริงแล้วรถเดิม ๆ มันไม่ได้เร็วถึงขนาดนั้นหากเทียบกับรถในยุค ปัจจุบนั ตอนสมัยทีม่ นั ยังเป็นรถป้ายแดง ท็อปสปีด ของมันอยู่ที่ 137 ไมล์ต่อชั่วโมง (219 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง) และ 0-60mph อยู่ที่ราว 7.5 วินาที ซึ่งก็ถือว่ายังช้ากว่ารถแฮทช์แบ็คหลายยี่ห้อ ในปัจจุบัน” FLEXIBLE FRIEND John ใช้เจ้า CSL ที่เขาโมดิฟายขึ้นมาใหม่ คันนีเ้ ป็นรถใช้งานประจ�ำวันต่อเนือ่ งมาอีก 7-8 ปี และมีความสุขกับมันทุกวินาที จนกระทัง่ มีเหตุการณ์ หนึง่ เกิดขึน้ “วันหนึง่ ขณะทีผ่ มก�ำลังขับอยูบ่ นเนิน บนสะพาน ประตูบานหนึง่ ก็เปิดผลัวะออกมาเอง มันเป็นอะไรที่น่าตกใจมาก ! ซึ่งเห็นได้ชัดว่า จะต้องมีปัญหาอย่างร้ายแรงกับโครงสร้างของ รถเป็นแน่ ตัวถังของมันจึงบิดจนประตูหลุด ออกมาแบบนั้น” จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่าเหล็ก ใต้ท้องรถผุเอาเรื่องเลยทีเดียว และหนักหนา เสียจน John ต้องเอาไปให้เพื่อนของเพื่อนอีกคน หนึง่ สังคายนามันใหม่ทงั้ หมดเลย ในวันทีเ่ ขาแวะ เข้าไปดูครั้งแรก บันไดทั้งชิ้นของมันถูกเลาะเอา ออกมาเรียบร้อยแล้ว เขาเล่าให้เราฟังว่า “รถถูกหนุนเอาไว้บน ไม้หมอนรถไฟสองท่อน ช่างเอามือล้วงเข้าไป และดึงเอาเหล็กที่ผุจนกลายเป็นเหมือนซาก ก้อนสนิมอะไรสักอย่างออกมาให้ผมดู ผมนี่ถึง

กับขนลุกเลยทีเดียวเมื่อรู้ว่ามันคือเหล็กส่วนที่ เหลือของพื้นรถส่วนที่ยึดเข็มรัดนิรภัยเอาไว้ ! “ผมกลับมาเช็กความคืบหน้าในอีกสองสาม อาทิตย์ต่อมา และพบว่าชิ้นบันไดอันใหม่ถูกใส่ กลับเข้าไปแล้ว มันถูกเชื่อมเข้ากับขอบบนและ ขอบล่างของตัวถังอย่างประณีตสวยงาม ผมจึง ถามเขาว่าแล้วที่ปลายทั้งสองข้างของมันยึดเอา ไว้กับอะไรล่ะ ค�ำตอบของเขาก็คือสายตาที่เหม่อ ลอยที่มองมาที่ผม เรื่องของเรื่องก็คือมันไม่เหลือ เนือ้ เหล็กเดิมอะไรให้ยดึ เลย หลังจากทีป่ รึกษากัน อย่างเปิดอกเรียบร้อย เราตัดสินใจทีจ่ ะเดินหน้าต่อ จากนั้นชิ้นส่วนที่หายไปก็ถูกสร้างขึ้นมาใหม่และ ใส่กลับเข้าไป” OUT ON TOUR เมื่อรถกลับมาวิ่งได้ในปี 1990 John ก็พบว่า มีทัวร์รายการหนึ่งที่เรียกว่า Les Circuits ที่จัด พาไปเยี่ยมชมสนามแข่งในทวีปยุโรป แต่ละทริป จะใช้เวลา 10 วัน ซึง่ รวมไปถึงการลงไปวิง่ Trackday ใน 5-6 สนามทั่วทวีปยุโรปด้วย ซึ่งมันเป็นอะไรที่ John ก�ำลังมองหาอยู่พอดี แต่การเดินทางใน แต่ละทริปจะกินระยะทางหลายพันไมล์ ยังไม่ พูดถึงเรื่องที่รถจะต้องท�ำงานอย่างหนักหน่วง ใน Trackday ในระหว่างนั้นด้วย ดังนั้นสภาพ และความทนทานวางใจได้ของรถจึงเป็นหัวใจ ส�ำคัญของทริปนี้ โชคร้ายทีท่ กุ สิง่ ไม่ได้เป็นไปตามทีค่ าดหวังไว้ ปะเก็นฝาสูบรถของ John แตกตั้งแต่ช่วงต้น ๆ

90 BMWcar

86-92 Tweaking The Icon.indd 90

7/25/2560 BE 14:04


ME AND MY CAR

AUGUST 2017 91

86-92 Tweaking The Icon.indd 91

7/25/2560 BE 14:06


ME AND MY CAR

ของการเดินทางในทริปแรกในขณะอยูใ่ นฮอลแลนด์ เขาต้องคอยเติมน�้ำไปตลอดการเดินทาง และ ต้องขับแบบประคองเครื่องยนต์ไป โดยปลอบใจ ตัวเองว่าคงกลับไปได้ทันทริปต่อไป แทนทีจ่ ะซ่อมไปตามอาการ กลับกลายเป็นว่า ครัง้ นี้มันถูกยกเครือ่ งขนานใหญ่ ถึงขนาดเปลีย่ น เสื้อสูบ, ลูกสูบ และข้อเหวี่ยงใหม่ โดยทั้งหมด เบิกมาใหม่เอี่ยมจาก BMW เลย ต้องขอบคุณ ที่ตอนนี้เขาได้มารู้จัก Mark McLennan แห่ง MJF Engineering ที่ Dorking (01306713232) ผูท้ เี่ ป็นช่างเทคนิคทีผ่ า่ นประสบการณ์จาก BMW และเป็นผู้รอบรู้เรื่องเครื่องยนต์ตัวยง จึงท�ำให้ CSL คันนี้ได้รับการดูแลรักษาอย่างมีคุณภาพ ในแบบที่มันควรจะเป็นได้ในที่สุด อุปกรณ์รอบเครื่องก็ถูกสับเปลี่ยนใหม่และ ตามมาด้วยฝาสูบใหม่เอีย่ ม ซึง่ ตอนนีม้ นั ก็ได้กลาย มาเป็นเครื่องยนต์ 3.5 ลิตร ในแบบที่เขาต้องการ ทีผ่ า่ นการใช้งานมาแค่ 30,000 ไมล์ การโมดิฟาย ในส่วนอื่นก็อย่างเช่นเบาะคู่หน้าของ Recaro, พวงมาลัยของทีมแข่งโรงงาน BMW, สปอยเลอร์

หลัง Batmobile รวมไปถึงสปอยเลอร์หลังคาด้วย, ล้อขนาดใหญ่ขนึ้ (15 นิว้ ) และเครือ่ งยนต์สง่ ก�ำลัง ผ่านเกียร์หา้ สปีด close-ratio ทีเ่ อามาจาก E30 M3 GREAT PERFORMER ในมุมมองของ John เขาเชื่อว่าสภาพของ เจ้า CSL ของเขาในตอนนี้ดีที่สุดเท่าที่มันจะดีได้ แล้วส�ำหรับขับขี่ถนถนนปกติ และเมื่อดูจาก ประสบการณ์ของผมเอง สมรรถนะอัตราเร่งและ ประสิทธิภาพการเบรกของมันน่าประทับใจ แฮนด์ลงิ่ และความเกาะถนนก็ดขี นึ้ กว่าเดิมมากนัก แรงบิดจากเครื่องยนต์ขนาดใหญ่ตัวนี้ก็ใช้งาน ได้จริง ซึ่ง John คิดว่ามันเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำ� ให้มัน กลายเป็นรถร่วมสมัยเหมาะแก่การขับขี่บนถนน ในปัจจุบนั เขาสามารถออกตัวด้วยเกียร์สองได้เลย โดยเครื่องยนต์ก็ยังคงก�ำลังเพียงพอโดยไม่ ออกอาการลังเลอะไรทั้งสิ้น เบรกหน้าถูกเปลี่ยนมาใช้ของ 735i ปี 1991 ส่วนเบรกหลังเปลีย่ นเป็นของ 540i ปี 1991 ซึง่ รถ ทั้งสองคันหนักกว่ารถคันนี้พอสมควร ตอนแรก

John มีความกังวลเล็กน้อยว่าหากใส่เบรกใหญ่ เกินไปแล้วจะท�ำให้ล้อล็อก แต่ก็ไม่มีอาการนั้น เกิดขึ้น เขาคิดว่าอาจจะเป็นเพราะเขาเปลี่ยนล้อ ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นด้วย นอกจากนี้รถยังมีฮีตเตอร์ที่ท�ำงานในแบบ ที่ควรจะเป็นให้ใช้อีกด้วย ซึ่ง John บอกว่ามัน เป็นความหรูหราทีห่ าได้ยากกับ CSL ในยุคปัจจุบนั ชุ ด ควบคุ ม ของมั น ถู ก ยึ ด เอาไว้ กั บ ฮี ต เตอร์ Bakelite ที่อยู่ที่หลังคอนโซล ซึ่งเมื่อใช้ไปนาน ๆ เข้าประกอบกับความเก่าตามกาลเวลามัน ก็จะแตกร้าวอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ และท�ำให้มนั อยู่ ในต�ำแหน่ง ‘ร้อน’ ตลอดเวลา ผมโชคดีทสี่ ามารถ หาเจ้า Bakelite ตัวใหม่ที่เป็นรุ่นเดิมแบบนี้ได้ John เล่าให้เราฟัง “จากนั้นก็ใส่แผ่นเสริมเข้าไป ที่ด้านหลังของเจ้าตัวควบคุมนี่เพื่อท�ำให้มัน แข็งแรงขึ้น ซึ่งมันใช้งานได้ดีเลยทีเดียว ตอนนี้ ผมสามารถสั่งให้มันพ่นลมเย็นหรือลมร้อนออก มาได้ตามต้องการ” เห็นได้ชัดว่า John ยังคงมีความผูกพันกับ CSL ของเขาคันนี้ และเขายังคงมีความสุขกับ สุนทรียภาพในการขับขี่ของมันเป็นอย่างมาก เขาบอกว่ามันเป็นรถที่ขับแล้วให้ความพึงพอใจ มากที่สุดในบรรดารถ BMW สามคันที่เขามีอยู่ – 2000 E39 528i Sport และ 1994 E36 M3 แต่ความจริงก็คือเขายังคงหลงใหลในตัวตน ของเจ้ารถอายุ 45 คันนี้ที่มันประกาศตัวออกมา ทั้งในเรื่องรูปลักษณ์ที่สวยงามในสไตล์ของ E9 Coupe’ รวมไปถึงการโมดิฟายทัง้ หลายแหล่ทเี่ ขา เลือกใส่มันเข้าไปในแบบของเขาเองด้วย l

92 BMWcar

86-92 Tweaking The Icon.indd 92

7/25/2560 BE 14:06


93 AD Lotus.indd 93

7/24/2560 BE 11:12


NEW CAR TEST

ต หลังจากที่ ได้ตื่นตะลึงกับ Schnitzer ACL2 ไปเมื่อปีที่แล้ว วันนี้มืออันสั่นเทาของ Bob Harper ได้กุมพวงมาลัย ของ ACL2S รุ่นพิเศษตัวใหม่

อนที่ผมยังเด็ก ผมมักรู้สึกตื่นเต้นเสมอเมื่อ วันเกิดใกล้เข้ามาถึง ผมตั้งตารอว่าบุรุษ ไปรษณีย์จะเอาเซอร์ไพรส์อะไรมาส่ง มันจะเป็น เค้กหน้าช็อกโกแลตสามชั้นในต�ำนานของย่าผม หรือเปล่าหนอ ? แต่พออายุมากขึ้น ผมก็เริ่มให้ความส�ำคัญ กับมันน้อยลง เมือ่ วันเวลาผ่านไปของขวัญก็เริม่ มี ขนาดเล็กลง, บุรษุ ไปรษณียก์ เ็ ริม่ เดินผ่านหน้าบ้าน ไปเฉย ๆ และขนมเค้กก็กลายเป็นของต้องห้าม แต่บางปีผมก็แอบซื้อของขวัญให้ตัวเองอย่าง เงียบ ๆ เพื่อที่จะไม่ให้วันส�ำคัญในชีวิตแบบนี้มัน ดูเศร้าสร้อยมากเกินไปนัก เป็นไปได้ทคี่ นที่ AC Schnitzer ก็อาจจะรูส้ กึ แบบเดียวกับผม ตอนที่บริษัทถูกตั้งขึ้นมาใหม่ ๆ ก็มีการเฉลิมฉลองกันเป็นประจ�ำ แต่พอคืนวัน ผ่านไปนาน ๆ เข้าจนกลายเป็นบริษัทเก่าแก่ที่ เสมือนเป็นส่วนหนึ่งของวงการไปแล้ว คุณก็จะ ไม่รู้สึกตื่นเต้นอีกต่อไป

94 BMWcar

94-100 What at treat.indd 94

7/25/2560 BE 13:58


NEW CAR TEST HAPPY BIRTHDAY! ดังนั้นในโอกาสครบรอบ 30 ปี ส�ำนักแต่ง เชีย่ วชาญจากเยอรมันรายนีจ้ งึ ตัดสินใจว่าน่าจะท�ำ ของขวัญให้กบั ตนเองสักเล็กน้อย ซึง่ นัน่ คือ ACL2S ที่เห็นอยู่น่ี โดยตัดสินใจท�ำมันขึ้นมาเป็นจ�ำนวน จ�ำกัดเพียง 30 คัน เพื่อให้ลูกค้าที่อยากได้อะไรที่ แรงไปกว่า 2 Series ได้รว่ มเฉลิมฉลองไปกับพวกเขา เจ้าเครือ่ งจักรคันนีไ้ ด้ถกู น�ำมาเปิดตัวที่ 2017 Geneva Motor Show โดยตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่ บนแท่นเดียวกับที่ ACL2 เคยตัง้ โชว์อยูเ่ มือ่ ปีกอ่ น รถทีผ่ มก�ำลังขับอยูน่ ไี้ ม่ใช่รถโชว์ แต่เป็นรถ ACL2S ที่ Schnitzer ใส่ออพชั่นมาแบบจัดเต็มตามสเปค ของรุ่นเฉลิมฉลองพิเศษที่จะออกมาขายจริง แต่ ก่อนทีจ่ ะร่ายรายละเอียดทัง้ หมดของมันให้คณ ุ ฟัง ขอผมพูดถึงที่มาที่ไปของเจ้า ACL2S ก่อน มันถูกสร้างขึ้นมาจากพื้นฐานของ M240i ที่น่าตื่นตาตื่นใจเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว และก็เป็นไป ตามทีค่ ณ ุ เดาเอาไว้ สิง่ แรกที่ Schnitzer ได้ทำ� การ

ใส่เวทมนตร์ของพวกเขาลงไปก็คือเครื่องยนต์ จากเครื่องยนต์สแตนดาร์ดที่ให้ความแรงใน พิกัด 340hp/369lb ft ที่น่าประทับใจอยู่แล้ว Schnitzer ได้ใส่มา้ เพิม่ เข้าไปอีก 60 ตัว และแรงบิด อีก 74lb ft จนท�ำให้พละก�ำลังและแรงบิดสูงสุด ของมันขึ้นไปที่ 400hp และ 443lb ft ตามล�ำดับ ซึง่ ก็แรงกว่า M2 ทัง้ ม้าและบิด ดังนัน้ มันก็ประมาณ ว่าน่าจะเร็วกว่าด้วย MECHANICAL COLOUR ใต้ฝากระโปรงมีส่ิงที่ Schnitzer เรียกมันว่า Engine Optics Pack ซึ่งมันก็คือแผ่นพลาสติก ครอบเครื่องยนต์พ่นสีนั่นแหละ แต่มันท�ำให้ห้อง เครือ่ งยนต์ของ BMW คันนีด้ มู ชี วี ติ ชีวาขึน้ มาไม่นอ้ ย เลยทีเดียว เพื่อให้เครื่องยนต์ปล่อยไอเสียได้ไหล ลื่นเท่าทันกับประสิทธิภาพการดูดอากาศเข้าไป ก็ได้มีระบบท่อไอเสียของ Schnitzer ที่เป็นแบบ สี่ท่อและมีลิ้นปรับเสียงได้ตั้งแต่หวานไปจนถึง

ดุร้ายให้คุณเลือกตามอารมณ์ใส่เพิ่มเข้าไป สไตล์ของ ACL2 เมือ่ ปีทแี่ ล้วโดนใจคนจ�ำนวน มาก ดังนั้น Schnitzer จึงท�ำเจ้า S ออกมาใน อารมณ์นั้นอีกครั้ง แต่แทนที่จะใช้โป่งล้อในสไตล์ M2 ครั้งนี้ ACL2S ใช้ขอบซุ้มล้อต่อเพิ่มเข้าไปกับ แก้มเดิมของ M240i เพื่อให้มันดูมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวที่ยิ่งดูนานเท่าไรก็ยิ่งสวย นอกจากนี้ มันยังช่วยท�ำให้ ACL2S ไม่ดูสับสนกับ M2 ชุดขอบซุ้มล้อที่ใส่เพิ่มเข้าไปที่ทำ� ให้ตัวถังรถ กว้างขึ้นอีก 80 มิลลิเมตรนี้ ประกอบไปด้วย ชิน้ ส่วนทัง้ หมด 10 ชิน้ ทีเ่ ข้ากันได้อย่างแนบเนียน กับกันชนหน้าและหลัง แน่นอนว่ามีการน�ำเอา คาร์บอนไฟเบอร์มาใช้อย่างมากมาย ทัง้ สปอยเลอร์ หน้าแบบใหม่, สเกิร์ตข้าง, กรอบกระจกมองข้าง, แผ่นรีดอากาศหลัง และอืน่ ๆ อีกมากมาย รวมไปถึง สปอยเลอร์หลังทรงตูดเป็ดที่ท�ำออกมาอย่าง ประณีตด้วย แต่มันไม่ได้ติดตั้งมาให้ด้วยเพราะ ACL2S คันที่เราทดสอบมากับสปอยเลอร์บน

AUGUST 2017 95

94-100 What at treat.indd 95

7/25/2560 BE 13:59


NEW CAR TEST

ฝากระโปรงที่มีขนาดใหญ่กว่าที่เป็นออพชั่น ใต้ตัวรถมีช่วงล่าง RS ของ Schnitzer ที่ปรับ ระดับได้ ทีท่ ำ� ให้ตวั รถเตีย้ ลง 30-45 มิลลิเมตร ที่ด้านหน้าและ 40-50 มิลลิเมตร ที่ด้านหลัง โดยตัง้ อยูบ่ นล้ออัลลอยน�ำ้ หนักเบา Schnitzer AC1 ที่มีขนาด 8.5x19 และ 9.5x19 หน้า/หลัง ตามล�ำดับ โดยรัดเอาไว้ด้วยยางไซส์ 235/35 และ 265/30 INTERIOR GOODIES ภายในห้องโดยสารลูกค้าของแต่งสวย ๆ ของรุ่น ACL2S ยกตัวอย่างเช่นคิ้วคอนโซล พ่นสีห้าชิ้น, ด้ามเบรกมือ/แป้นเท้า/ที่พักเท้า อะลูมเิ นียม แต่รถคันทีเ่ ราทดสอบดูแพรวพราว

กว่าเพราะ Schnitzer ใส่อะไรลงไปมากกว่านัน้ ซึง่ เราจะพูดถึงมันภายหลัง ตอนนีเ้ รามาสัมผัส กับประสบการณ์ขับขี่ของมันก่อน รถคันที่เราขับนี้เป็นท็อปสเปคของรุ่น พิเศษรุ่นนี้ โดยเริ่มจากระบบ xDrive ที่ใน อังกฤษไม่มใี ห้เลือกใน M240i นอกจากนีม้ นั ยัง เป็นพวงมาลัยซ้าย แต่คุณก็สามารถสั่งท�ำ ACL2S ให้เป็นพวงมาลัยขวาและขับเคลื่อน ล้อหลังอย่างเดียวโดยมีทกุ อย่างในห้องโดยสาร เหมือนรถคันนี้ได้ เสียงเครือ่ งยนต์ของมันระเบิดดังกระหึม่ ก้องขึน้ มาในเวิรก์ ช็อปของ Schnitzer ในขณะที่ เจ้าหกสูบก�ำลังอุ่นเครื่องให้ได้อุณหภูมิ แต่ เมือ่ ขับออกไปข้างนอก มันให้เสียงแหลมสูง

กว่าเครื่องของรถปกติเล็กน้อย ผมพา ACL2S บ่ายหน้าออกไปยังไฮเวย์ของ Aachen ที่เปรียบเหมือนเป็นสนามเด็กเล่น ของมัน เกียร์อัตโนมัติแปดสปีดของมันสับ ท�ำความเร็วขึ้นไปอย่างนุ่มนวลไร้รอยต่อ สิง่ เดียวทีผ่ มต้องระวังก็คอื อย่าให้ลนิ้ สปอยเลอร์ หน้าของมันไปครูดกับพื้นถนนเท่านั้นเอง WELLIE TIME เมือ่ ผมไปถึงออโตบาห์นเครือ่ งยนต์กเ็ ข้า สูอ่ ณ ุ หภูมทิ ำ� งานพอดี และก็ได้เวลาแห่งความ สนุกสนาน ผมกระแทกคันเร่งลงไป เกียร์เชนจ์ ลงไปหลายเกียร์ จากนัน้ เจ้า ACL2S ก็ทะยาน ออกไปเหมือนแมวป่า Smithy ช่างภาพของเรา

96 BMWcar

94-100 What at treat.indd 96

7/25/2560 BE 13:59


ตัง้ โลเกชัน่ ของจุดนัดพบเอาไว้ในระบบน�ำทาง ในรถของเขาเรียบร้อยแล้ว ดังนั้นผมจึงไม่ จ�ำเป็นต้องขับรอ ผมทะยานหายไปข้างหน้า โดยทิง้ เสียงทีแ่ ผดจากปลายท่อสีท่ อ่ ของมัน เอาไว้เบื้องหลัง ผมอัดท�ำความเร็วได้ไม่นานก่อนจะเจอช่วง ท�ำถนนอยูข่ า้ งหน้าซึง่ ท�ำให้ตอ้ งลดความเร็วลง แต่ ACL2S ก็ยงั ขับได้อย่างนิม่ นวลทีค่ วามเร็วต�ำ่ ถึงแม้ว่าช่วงล่างจะกระเดียดไปในทางแข็ง แต่ชว่ งล่าง Clubsport RS ของรถคันนีส้ ามารถ ปรับได้เต็มรูปแบบซึง่ คุณสามารถปรับให้มนั เป็นแบบทีค่ ณ ุ ชอบได้ แต่กระนัน้ การเซตอัพ ที่ค่อนข้างดุเดือดในตอนนี้ก็ไม่ได้ท�ำให้ผม รู้สึกขับไม่สบายขึ้นมาเลย AUGUST 2017 97

94-100 What at treat.indd 97

7/25/2560 BE 14:00


94-100 What at treat.indd 98

7/25/2560 BE 14:00


NEW CAR TEST ต้องขอบคุณที่ช่วงก่อสร้างถนนไม่ได้ยาว มากนัก ด้วยไฟหน้าซีนอนที่สาดเป็นล�ำไกลไป ข้างหน้าและเลนนอกที่ว่างสนิทท�ำให้ผมพา มันทะยานหายไปทีข่ อบฟ้าได้อกี ครัง้ เกือบในทันที โดยทิง้ เอาเสียงอันไพเราะเพราะพริง้ เอาไว้เบือ้ งหลัง ผมไม่ได้ขบั ขึน้ ไปจนถึงความเร็วสูงสุดของมัน ที่ถูกจ�ำกัดเอาไว้ (ตอนนี้ขยับขึ้นไปเป็น 280 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แต่ก็ใกล้เคียงก่อนที่จะต้อง เบารถลงอีกครัง้ หนึง่ เบรกถึงแม้จะเป็นชุดมาตรฐาน แต่ก็สามารถเฉือนความเร็วลงได้อย่างรวดเร็ว ก่อนทีผ่ มจะเลีย้ วแยกออกไปจากไฮเวย์ หลังจาก ขับอัดช่วงสัน้ ๆ ได้อกี พักหนึง่ ผมก็มาถึงจุดนัดพบ ที่เราจะใช้ถ่ายรูปกัน WHAT’S IT GOT? ในระหว่างช่วยตากล้องถื อแฟลช, แผ่น สะท้อนแสง และกล้อง ผมก็ได้คุยกับคนของ Schnitzer ว่าจริง ๆ แล้ว มันมีอะไรเพิ่มเข้ามา ใน ACL2S คันนีบ้ า้ ง เมือ่ พูดถึงส่วนแอโรไดนามิก รถคันนี้ได้มีลิ้นสปอยเลอร์หน้าส่วนล่างเพิ่ม เข้ามา และอีกสิง่ หนึง่ ทีจ่ ะพลาดสายตาไปไม่ได้เลย ก็คอื สปอยเลอร์หลังขนาดมหึมาพร้อม Gurney flap

ส่วนสีเขียวเข้ม frozen green ก็ไม่ได้เป็น สีมาตรฐานด้วยเช่นกัน แต่มันดูเจ๋งและสะดุดตา ดีมาก แถมยังเข้ากันได้เป็นอย่างดีกับล้อด�ำ ตัดเส้นทอง AC1 (ที่รัดเอาไว้ด้วยยาง Michelin Cup2) อีกด้วย ภายในห้องโดยสารเป็นอะไรที่ท�ำให้ ACL2S แตกต่างออกไป ซึ่งตอนนี้ Schnitzer ท�ำให้มัน ดูเป็นอารยะมากขึน้ ทุกสิง่ ทีเ่ ห็นอยูใ่ นนีค้ ณ ุ สามารถ เลือกใส่เข้าไปเป็นออพชัน่ ให้กบั เจ้ารุน่ พิเศษฉลอง สามสิบปีคนั นีข้ องคุณได้ พวงมาลัยดูมคี วามเป็น Schnitzer เป็นอย่างมาก แต่ถึงมันจะดูดี แต่โดย ส่วนตัวแล้วผมชอบพวงมาลัยมาตรฐานมากกว่า สิ่งที่ผมชอบจริง ๆ ก็คือเบาะ Recaro Sportster CS ของมันที่ Schnitzer เอาไปหุ้มหนังใหม่ และ ผมคิดว่าหนังสีเขียวของมันเข้ากับอุปกรณ์ใน ห้องโดยสารนี้ได้เป็นอย่างดีเลยทีเดียว คิว้ คอนโซลสีเดียวกับรถก็เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน ส�ำหรับ ACL2S รวมไปถึงของแต่งสวย ๆ ของ Schnitzer อย่างชุดแป้นเท้าและด้ามเบรกมือ และเพลททีด่ สู ะดุดตาด้านล่าง iDrive ทีป่ ระกาศ ตัวตนของ ACL2S คันนี้ออกมาอย่างภาคภูมิใจ ว่า ‘One of Thirty’

CORNER TIME ก็เหมือนเช่นเคยที่ดูเหมือนว่าตากล้องจะใช้ เวลาเป็นชาติในการถ่ายภาพ ในขณะที่ผมรู้สึก คันอยากจะกลับขึน้ ไปนัง่ กุมพวงมาลัยมันอีกครัง้ การอัดบนมอเตอร์เวย์เป็นความสนุกอย่างหนึ่ง และด้วยม้าและบิดที่เพิ่มเข้ามาในครั้งนี้ท�ำให้ ไม่ต้องสงสัยเลยว่ามันให้ความรู้สึกที่เร็วขึ้นกว่า

AUGUST 2017 99

94-100 What at treat.indd 99

7/25/2560 BE 14:00


NEW CAR TEST เดิมมาก หลังจากการถ่ายภาพตอนรถวิ่งเสร็จ เรียบร้อย ก็ได้เวลาหาโค้งสาดเล่น ซึ่งดูเหมือน แถวนั้นจะมีอยู่แค่โค้งเดียว มีช่วงตรงก่อนถึงโค้งไม่เท่าไรจึงท�ำให้เจ้า ACL2S ต้องแสดงศักยภาพในการไต่ความเร็ว เข้าไปในโค้งออกมา ซึง่ มันสะใจมากโดยเฉพาะตอนที่ ทะยานออกจากหยุดนิ่ง ระบบ xDrive ถ่ายพลัง ลงสู่พื้นได้อย่างหมดจดในขณะที่เกียร์อัตโนมัติ แปดสปีด ZF ของมันสับเกียร์ขึ้นไปตามจังหวะ นิว้ มือข้างขวาของผมได้อย่างฉับไว ผมปรับโหมด ไปที่ Sport เพื่อให้ลิ้นที่ท่อไอเสียเปิดสุดและ ส่งเสียงค�ำรามหลายมิติอันไพเราะออกมา ในการขั บ สองรอบแรกผมใช้ ค วามเร็ ว ปานกลางด้วยความทีม่ นั เป็นโค้งแคบ และผมยัง ไม่แน่ใจว่ามีหลุมหรือเนินที่ซ่อนอยู่ที่จะท�ำให้รถ หลุดออกจากไลน์หรือเปล่า แต่เมื่อผมตรวจตรา อย่างถี่ถ้วนแล้ว เจ้า ACL2S ก็สร้างความมั่นใจ ให้ผมท�ำความเร็วยิ่ง ๆ ขึ้นไป

HIGH-ORDER HANDLING ความเกาะถนนขึ้นไปในระดับสูงสุดถึงแม้ว่า ระบบขับสี่ในเวอร์ชั่นของ M240i จะไม่ให้ระดับ การมีส่วนร่วมในการขับขี่ได้ดีเท่ากับรถขับหลัง แต่มันก็ให้ความรู้สึกหนึบแน่นและปลอดภัย บนถนนเปียกในอังกฤษ ผมพนันได้ว่ามีรถแค่ไม่ กี่คันเท่านั้นที่สามารถท�ำความเร็วได้เท่ากับมัน นอกจากนี้เบาะ Recaro ที่ติดตั้งมานี้ก็ยังรัดตัว คุณเอาไว้ได้อย่างแน่นกระชับสุดยอดโดยไม่ไถล

ไปมาตามแรงเหวี่ยงด้วย คงจะอดไม่ได้ที่จะไม่ชื่นชมสิ่งที่ถูกขัดเกลา ลงไปใน ACL2S คันนี้ มันขับได้อย่างไม่มีที่ติ แถมยังมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่แตกต่างไปจาก 2 Series ทีค่ ณ ุ เห็นตามท้องถนนทัว่ ไป ไม่วา่ จะเป็น 218d, M240iS หรือแม้แต่ M2 ก็ตามเถอะ ACL2 ที่ผลิตออกมาโชว์เพียงคันเดียวได้รับ การตอบรับเป็นอย่างดีจน Schnitzer มีความมัน่ ใจ ทีจ่ ะผลิตรุน่ ‘S’ ออกมาในจ�ำนวนจ�ำกัดโดยยังคงใช้

วิธีการเดียวกันกับรถโชว์ตัวก่อน โดยไม่เอา M4 และเครื่องยนต์ S55 มาท�ำเพื่อไม่ให้ราคาสูงโหด ร้ายเกินไปนัก แต่จากประสบการณ์ทไี่ ด้เคยขับรถ ทัง้ สองคัน ผมคิดว่ามันก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก วันเกิดของผมก�ำลังใกล้เข้ามา และผมยินดีที่ จะแลกเค้กหน้าช็อกโกแลตสามชั้นกับ ACL2S สักคัน แต่ขอเป็นสีเงินเบาะด�ำแทนละกัน l

100 BMWcar

94-100 What at treat.indd 100

7/25/2560 BE 14:00


101 AD Impact.indd 101

7/24/2560 BE 11:04


MINI

The All-New

MINI Countryman Press Drive

มินิ ประเทศไทย ชวนสื่อมวลชนร่วมทดสอบสมรรถนะของรถยนต์ MINI Countryman โฉมใหม่ ท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติ แบบสบาย ๆ ในสไตล์ ‘ADD STORIES’ ระหว่างวันที่ 19-20 มิถุนายน 2560 ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ดยในงานนีน้ อกจากจะได้ขบั กันแบบชิลล์ ๆ ในตัว เมืองหัวหินแล้ว มินิยังจัดเต็มพา Countryman ทั้ง 2 รุ่น MINI Countryman Cooper S และ MINI Countryman Cooper S Hightrim บุกตะลุยทางฝุ่น เข้าไปถึงอ่างเก็บน�้ำเหนือเขื่อนปราณบุรี ตลอดเส้นทางนอกจากจะได้สมั ผัสความเปลีย่ นแปลง ทัง้ ดีไซน์นภายนอกและการตกแต่งภายใน ความกว้างขวาง สะดวกสบายแล้ว ยังได้ลองพละก�ำลังของเครือ่ งยนต์เบนซิน เทอร์โบ 4 สูบ ขนาด 2.0 ลิตร ก�ำลังสูงสุด 192 แรงม้า ที่ พัฒนาให้มีช่วงแรงบิดสูงสุด 28.6 นิวตันเมตร ที่ 1,3504,600 รอบต่อนาที ท�ำงานร่วมกับระบบเกียร์อัตโนมัติ 8 จังหวะ ซึง่ ตอบสนองดีกว่าเจเนอเรชัน่ แรกอย่างสัมผัสได้ ท�ำให้อตั ราเร่ง 0-100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ได้ใน 7.4 วินาที และมีตนี ปลายไหลไปถึง 224 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ในขณะ ที่อัตราสิ้นเปลืองเพียง 16 กิโลเมตรต่อลิตร และรักษ์โลก ด้วยค่าการปล่อย CO2 อยู่ที่ 143 กรัมต่อกิโลเมตร

102 BMWcar

102-103_MINI_Aug.indd 102

7/25/2560 BE 15:22


MINI

ระบบช่วงล่างของ MINI Countryman โฉม ใหม่ ก็ถูกปรับปรุงให้มีความนุ่มนวลมากขึ้น ให้ ความรู้สึกถึงการเป็นคอมแพ็คท์พรีเมียม ใน รูปแบบ Sport Activity Vehicle แต่ก็ยังคงมี แฮนด์ลงิ่ ดิบ ๆ แบบ go-kart คงไว้เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มลูกค้าที่รักในการเดินทาง ชื่นชอบการท�ำกิจกรรมกลางแจ้ง และใช้งาน ส�ำหรับการขับขี่ในเมืองในชีวิตประจ�ำวัน MINI Countryman เจเนอเรชั่นที่ 2 มีขนาด รถยนต์ที่ใหญ่และกว้างขึ้นกว่าเดิม มาพร้อมกับ Daytime Running Light แบบวงแหวนเป็นครั้ง แรก ใน MINI Countryman Cooper S และ MINI Countryman Cooper S Hightrim มาพร้อมล้อ อัลลอยขนาด 18 นิ้ว ไฟ MINI Logo Projection และไฟ LED Welcome Light ส่องจากใต้กระจก

มองข้างฝัง่ คนขับ ฉายโลโก้ MINI บนพืน้ ทุกครัง้ ที่ เปิดประตู เพือ่ เริม่ ต้นการเดินทาง เมือ่ ปิดประตูลอ็ ก รถ ท�ำให้ทั้ง 2 รุ่นนี้เด่นกว่า MINI Countryman Cooper พืน้ ทีภ่ ายในห้องโดยสารกว้างมากมีชอ่ ง เก็บสัมภาระถึง 450 ลิตร และยังสามารถขยาย ขนาดเพิ่มขึ้นเป็น 1,309 ลิตร เมื่อท�ำการพับ เบาะที่นั่งหลังซึ่งแยกกันที่สัดส่วน 40:20:40 คอนโซล ใน MINI Countryman Cooper S Hightrim เป็นหน้าจอขนาด 8.8 นิว้ มาพร้อมระบบ สัมผัส แสดงผลทั้ง Navigation ข้อมูลของตัวรถ ความบันเทิง และโทรศัพท์ และยังมี MINI Connected ที่เป็นเสมือนผู้ช่วยในยามเดินทาง แสดงพิกัดของรถ และข้อมูลต่าง ๆ ผ่านการ เชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟน MINI Countryman โฉม ใหม่ มี MINI Picnic Bench ซึ่งสามารถกางออก

เป็นทีน่ งั่ ปิกนิกส�ำหรับ 2 คนได้ เพียงใช้เท้าไปจ่อ ทีบ่ ริเวณใต้กนั ชนท้ายสามารถควบคุมการเปิด/ปิด ฝากระโปรงท้ายอัตโนมัติด้วยระบบไฟฟ้า ท้ายสุด MINI ยังน�ำเต็นท์หลังคา Autohome ที่มีผ้าปูที่นอนผ้าฝ้าย พร้อมบันไดอะลูมิเนียม ส�ำหรับปีนขึ้นสู่หลังคาของ MINI Countryman มาติดตั้งโชว์กันริมทะเลสาบได้บรรยากาศชวน ให้อยากจะ ‘ADD STORIES’ แคมปิ้งกันที่นี่ เลยทีเดียว ส�ำหรับราคานัน้ เริม่ ต้นที่ MINI Countryman Cooper 2,339,000 บาท MINI Countryman Cooper S 2,699,000 บาท และ MINI Countryman Cooper S Hightrim 2,999,000 บาท ชอบรุ่นไหนไป ‘ADD STORIES’ ที่โชว์รูม MINI ใกล้บ้านได้เลยครับ l

AUGUST 2017 103

102-103_MINI_Aug.indd 103

7/25/2560 BE 15:22


อิตาเลียนต้นต�ำรับสไตล์โรมันกับ Franco’s Restaurant & Bar

‘อ

าหารอิตาเลียน’ ในเมืองกรุงฯ นัน้ มีให้ เลือกมากมาย แต่ถ้าอยากจะลิ้มลอง ความเป็นต้นต�ำรับนั้นอาจจะไม่ง่ายคงต้องใช้ เวลาค้นหากันสักพัก BMWCar เลยขอช่วยคุณ ตัดชอยส์ให้งา่ ยเข้าด้วยการแนะน�ำร้าน Franco’s Restaurant & Bar ร้านอิตาเลียนต้นต�ำรับแท้ ๆ ด้วยเอกลักษณ์ของการปรุงอาหารสไตล์โฮมเมด โรมันดั้งเดิม ผ่านฝีมือเชฟอิตาเลียนคนเก่งอย่าง ‘คุณแฟรง ฟรังโคว์’ ที่สืบทอดการท�ำอาหาร อิตาเลียนสูตรโฮมเมดจากครอบครัวหลายชั่ว อายุ บรรยากาศของร้าน Franco’s Restaurant & Bar นั้นให้ความอบอุ่นและเป็นกันเอง ด้วย ผนังอิฐสีน�้ำตาล ประดับผนังด้วยนาฬิกาตัวเลข โรมัน ที่มีเตาอบพิซซ่าเตาถ่านกับโอเพ่นคิทเช่น เป็นเสน่ห์ของร้าน พร้อมห้องส่วนตัวส�ำหรับการ มาเป็นหมู่คณะ เมนูซกิ เนเจอร์ของร้านเริม่ ที่ Pizza’s Franco ด้วยกรรมวิธีเตรียมแป้งพิซซ่าสูตรเฉพาะหมัก นานสองวัน อบด้วยความร้อนจากเตาพิซซ่าแบบ ดั้งเดิม เต็มอิ่มกับกูลาเทลโลแฮมโรยหน้าด้วย ชีสบุราต้า ต่อด้วย Caprese ชีสมอสซาเรลลาสด ชุ่มลิ้นกับมะเชือเทศเชอร์รี่และซอสใบโหระพา อิตาเลียน หรือ Tomino al Tartufo เมนูชสี สอดไส้ ปรุงรสด้วยเห็ดทรัฟเฟิล ห่อด้วยแฮม San Daniele

โรยหน้าด้วยส่วนผสมอย่าง Zucchini อีกหนึ่ง เมนูที่เป็นที่แนะน�ำคือ Eggplant Parmigiana เมนูมะเขือม่วงสอดไส้ด้วยชีสมอสซาเรลลา ซอสมะเขือเทศ ใบโหระพา จะขาดไม่ได้กับชีส Parmiagiano Reggiano หรือ Risotto Con stracciatella e’ Gamberi ข้าวอิตาเลียนทีป่ รุงแต่ง ด้วยรสชาติของชีส Stracciatella เสิร์ฟพร้อมกุ้ง ตัวโตเต็ม ๆ ค�ำ และ Branzino Del Mediterraneo ปลากะพงฝรั่งเศสที่ผ่านการทอดบนกระทะร้อน เคียงด้วยสลัดมะเขือเทศชุ่มด้วยซอสอาร์ติโชค หรือจะลอง Galetto Alla Diavola เนือ้ ไก่ไร้กระดูก

ชุ่มฉ�่ำด้วยซอสข้าวโพดรสชาติเข้ม Franco’s Restaurant & Bar ตั้งอยู่บน ชั้นล่างของอาคาร Mona Suite สุขุมวิท 31 (ซอยสวัสดี) เปิดให้บริการในช่วงกลางวัน ตั้งแต่ 11.30-14.30 น. และช่วงอาหารค�ำ่ ตัง้ แต่ 17.3023.00 น. โดยสามารถสอบถามข้อมูลและส�ำรอง ทีน่ งั่ ผ่าน โทร. 0-2020-0197 หรือ www.facebook. com/Francoitalianbkk l

104 BMWcar

104-105_Eatery_Aug.indd 104

7/25/2560 BE 15:23


EATERY

Happiness is

‘On the Table’

ถ้

าใครเคยไปโตเกียวแล้วยังคงถวิลหา บรรยากาศโคซี่ ของร้านอาหารและคาเฟ่ แสนอบอุ่นที่นั่น วันนี้ในเมืองไทยก็มีโตเกียว คาเฟ่ เปิดให้บริการแล้ว โดยเฉพาะ On The Table ร้านอาหารสไตล์โตเกียวคาเฟ่แสนอบอุน่ ทีพ่ ร้อม ทักทายและต้อนรับทุกคนด้วยความสดใสอันเต็ม ไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ ด้วยการจัดแต่งร้าน อุดมด้วยดีเทลสวยหวานน่ารักไปแทบทุกจุด ทั้ง ภาพเพนต์ แก้วเซรามิก บัวรดน�้ำ โคมไฟแสง อุ่น ๆ แบบวอร์มโทน และเฟอร์นิเจอร์งานไม้ สไตล์มูจิ อีเกีย ที่มองแล้วรู้สึกเชื้อเชิญเข้าไปนั่ง

ซุกกายให้สบายใจ แรงบันดาลใจเหล่านั้นยังส่งต่อมาถึงเมนู อาหารแบบฟิวชั่น ผสมผสานความอร่อยแนว โฮมเมดทั้งแบบญี่ปุ่นผสมตะวันตก และแบบ ที่ผสมความเป็นไทยให้รสชาติถูกปากคนไทย แบบไม่ต้องปีนบันไดทาน เมนูเด่นของ On the table อาทิ ‘อุด้งครีมไข่ปลาแซลมอนและไข่ ออนเซ็น’ เมนูพาสต้าที่มีส่วนผสมที่หลากหลาย กับเส้นอุด้งเหนียวนุ่มผัดกับครีมซอส ท็อปด้วย ไข่ปลาแซลมอน สาหร่ายและไข่ออนเซ็น อร่อย เข้ากัน หรือจะลอง ‘สลัดร็อกเก็ตพาร์มาแฮม’

ผักร็อกเก็ตสด ๆ สีเขียวเข้ม ไฟเบอร์สูงและทาน คูก่ บั พาร์มาแฮม โรยด้วยมาสคาโปเน่ชสี ให้รสชาติ อร่อยกลมกล่อมลงตัว นอกจากนี้ยังมี ‘ข้าวหน้า แฮมเบิร์กแกงกะหรี่อบชีส’ แฮมเบิร์กชิ้นใหญ่ ‘พิซซ่าสโมคแซลมอนครีมชีส’ ‘ปีกไก่โชยุวาซาบิ’ ปีกไก่ทอดกรอบ คลุกเคล้าซอสโชยุวาซาบิให้รส ที่เผ็ดหน่อย ๆ แต่เข้มข้นเข้าถึงรสชาติ On the Table เปิดบริการทุกวัน 11.00-22.00 น. สัมผัสความอร่อยของ 15 สาขาทั่วกรุงเทพฯ ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.facebook.com/Onthe TableTokyoCafe/ l

AUGUST 2017 105

104-105_Eatery_Aug.indd 105

7/25/2560 BE 15:23


LUXITE

The Salil Hotel A Living Space @Thonglor

องจินตนาการถึงคอนเซ็ปต์โรงแรมแนว ใหม่กลางใจเมืองที่แวดล้อมด้วยร้าน อาหารอร่อย ย่านช้อปไฮเอนด์ และแหล่งแฮงเอ้า สุดชิลล์ของย่านทองหล่อ The Salil Hotel คือ แหล่งสร้างสรรค์แนวคิด Concept Living Space ของห้องพักในแบบโมเดิร์นคลาสสิก ซึ่งได้รับ แรงบันดาลใจมาจากดีไซน์แบบจาโปเนอสเซอรี่ เป็นโรงแรมทีเ่ หมือนกับบ้านส่วนตัวทีห่ วั มุมถนน ในยุโรป ซึง่ แขกจะได้รบั การต้อนรับด้วยเครือ่ งดืม่ รสเลิศเพือ่ เรียกความสดชืน่ ราวกับว่าเป็นเพือ่ นสนิท ที่มาเยี่ยมหรือเป็นเพื่อนบ้านที่แวะเวียนมาหา ด้วยคอนเซ็ปต์ Stay | Eat | Work | Shop | Play |

Relax ที่พร้อมสรรพในการบริการ Stay | ที่มีห้องให้คุณเลือกพักถึง130 ห้อง ทั้งห้องพรีเมียร์ 24 ห้องที่ตกแต่งสุดหรูหรา ห้องดีลักซ์ 94 ห้อง ห้องสวีทหนึ่งห้องนอน 12 ห้อง ขนาด 28, 35 และ 45 ตารางเมตร แนวคิด Stay นี้ไม่จ�ำกัดการพักผ่อนของคุณเฉพาะ บริเวณห้องพักเท่านั้น แต่รวมถึงพื้นที่ส่วนกลาง ของโรงแรมด้วย Eat | สัมผัสความสุขกับการรับประทานอาหาร และเครือ่ งดืม่ ทัง้ ห้องอาหาร Bar Storia Del Caffè ซึง่ ได้แรงบันดาลใจมาจากแนวคิดคลาสสิก-ยุโรป ทีท่ ำ� ให้โรงแรมมีสสี นั Mariage Frères Tea Room ร้านส�ำหรับดื่มชายามบ่ายและของว่าง Work | โรงแรมเดอะสลิลเปิดพื้นที่ให้คุณ ท�ำงานอย่างมีสไตล์ ทั้งดิจิตอลเทคโนโลยี ชา

กาแฟ และของว่างส�ำหรับสร้างแรงบันดาลใจ Shop | ล็อบบี้ของโรงแรมยังมีมุมที่จัดไว้ ส�ำหรับจ�ำหน่ายสินค้า เช่น ชาชัน้ ดีของ Mariage Freres ดอกไม้แห้งหอมของ Everyday Karmakamet และชุดของขวัญหลากหลายแบบ Play | สนุกสนานกับห้องปิงปอง แกลเลอรี งานศิลปะ ห้องเธียเตอร์ และเพนต์บาร์ท่ีแขก สามารถสนุกกับศิลปะได้อย่างเต็มที่ Relax | ผ่อนคลายเหมือนอยู่บ้านของคุณ เองกับสระว่ายน�้ำกลางแจ้ง สวนที่เป็นส่วนตัว รวมทัง้ ทีบ่ าร์ลอยฟ้าสุดฮิป การดืม่ ด�ำ่ เอสเปรสโซ และเฝ้ามองผูค้ น อาบแดดบนระเบียงพร้อมอ่าน นวนิยายเล่มโปรด ชมงานศิลป์ในแกลเลอรีที่ น่าค้นหา ไม่ว่าจะเป็นความสุขแบบใด ทุกสิ่งที่ จัดสรรอย่างเหมาะสมท�ำให้ทุกเวลาที่โรงแรม เดอะสลิลเป็นความพิเศษที่น่าประทับใจ โรงแรมเดอะสลิลตั้งอยู่ในซอยสุขุมวิท 57 ส�ำรองห้องพัก โทร. 0-2072-2882 หรือ www. facebook.com/pg/TheSalilHotelSukhumvit 57Thonglor l

106 BMWcar

106_Luxite_Aug.indd 106

7/25/2560 BE 15:24


107 AD Maxi.indd 107

7/24/2560 BE 11:04


MISSED AN ISSUE OF YOUR FAVOURITE BMW MAGAZINE? Subscribe today

SAVE

30% สั่งซื้อเล่มย้อนหลัง ราคาเล่มละ 100 บาท ค่าจัดส่ง 20 บาทต่อเล่ม สั่งซื้อ 6 เล่ม (เฉพาะเล่มปี 2015) ราคา 420 บาท ค่าจัดส่ง 130 บาท

ISSUE 28 I Apr. 2017

ISSUE 29 I May 2017

ISSUE 30 I Jun. 2017

ISSUE 31 I Jul. 2017

โอนเงินเข้าบัญชีสะสมทรัพย์ในนาม บริษัท 2000 พับลิชชิ่ง แอนด์ มีเดีย จ�ำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนลาดพร้าว ซอย 99 เลขที่บัญชี 181-5-00114-2 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม • โทร. 09-4480-4932 E-mail: subcription@2000pm.com I Line ID: @BMWCarMagazineTH 108 H. AD Back issue.indd 108

7/24/2560 BE 11:03


Limited Edition for Passion

#BIMMERMEET

T-Shirt & Cap

Special price

500

( หมวกคุณภาพดี 3 สี ดำ�, กรม, ขาว ดีไซน์เท่และไม่เหมือนใคร ด้วยเทคนิคการปักนูน แบบ 3 มิติ คำ�ว่า #BIMMERTH ด้วยด้ายสีเดียวกับหมวก ราคา 500 บาท

กรุณาโอนเงินเข้าบัญชี ธนาคารกรุงเทพ ชือ่ บัญชี บริษัท 2000 พับลิชชิ่ง แอนด์ มีเดีย จำ�กัด เลขทีบ่ ญ ั ชี 181-5-00114-2 และส่งหลักฐานการชำ�ระเงินมาที่ LineID : @BMWCarMagazineTH (พิมพ์ @ ด้วย) ระบุ ชือ่ สกุล ทีอ่ ยู่ เบอร์โทรฯ อีเมล 109 H. AD ��������.indd 109

7/24/2560 BE 11:02


Free Download มิติใหม่แห่งการอ่านนิตยสาร กับประสบการณ์เหนือระดับ ที่คุณสัมผัสได้บนปลายนิ้ว ผ่าน Application BMWCar BACK ISSUE อ่านย้อนหลังได้ ตัง้ แต่เล่มแรก ทีน่ ่ี ทีเ่ ดียว ! GALLERY คลังภาพรถสุดเจ๋ง พร้อม Unseen ทีไ่ ม่ได้เห็นในเล่ม ! VIP ZONE อ่านเล่มล่าสุดก่อนใคร! และมอบของรางวัลพรีเมียมทุกเดือน CONTENT อัปเดทข่าวสารล่าสุด เสิรฟ์ ให้คณ ุ ทุกวัน l

l

l

l

ทีส่ ดุ แห่ง Application เพือ่ แฟนพันธุแ์ ท้ ระดับเอ็กซ์คลูซฟี เช่นคุณ BMWCarMagazineThailand

110 H. AD-app.indd 110

7/24/2560 BE 11:01


115 AD Dermaster.indd 111

7/24/2560 BE 10:59


112 AD Azimut.indd 112

7/24/2560 BE 11:01


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.