เมืองใต้นิวส์เดือนธันวาคม 2560

Page 1

ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

สัมภาษณ์หน้า 5 ไสว จิตนฤมิต

แจกฟ

รี

www.issuu.com/meuangtainews

ผู้บริหารโรงแรม ซีบีดี & ซีบีดีทู

อ่านต่อหน้า 10

หอการค้าสุราษฎร์ธานีส่งมอบธงให้หอการค้าจังหวัดลำ�ปาง

ขอบคุณผู้สนับสนุนงานสัมมนา หอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 35

อ่านต่อหน้า 6

ทัศนศึกษาดูงานด้านการศึกษา

อ่านต่อหน้า 8

บริษัท มิตซูสุราษฎร์ จำ�กัด ผู้จำ�หน่ายรถยนต์มิตซูบิชิในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พร้อมศูนย์บริการมาตรฐาน อะไหล่แท้ ศูนย์เคาะพ่นสีและตัวถัง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

สำ�นักงานใหญ่ (บางกุ้ง) 077- 285038, สาขาเกาะสมุย 077- 418898 สาขาธราธิบดี (แยกวัดมะปริง) 077- 269268


2

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

เทยี่ วไป.. ..เชียร์ไป

ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

เทีย่ วอินโดนีเซีย เชียร์เอเซีย่ นเกมส์ 2018 โดยพงษ์ศักดิ์ โพธิครูประเสริฐ

ผมอยากไปบาหลีนานแล้วแต่ไม่ได้ไปสักที จูๆ่ ลูกสาว มาบอกว่าต้องไปออกบูธงานเทคอินเอเซียที่จาการ์ต้า 2 วัน จึงชวนผมไปเที่ยวด้วยกัน ให้ผมจัดโปรแกรมเที่ยวให้ด้วย ผมจึงจัดไปทั้งหมด 7 วัน ผมเดินทางจากสนามบินดอนเมืองไปจาการ์ตา้ ร่วมงาน 2 วัน แต่ 2 วัน มีช่วงว่างผมก็ได้ตะลอนชมเมืองหลวงของ ประเทศอินโดนีเซียทั้งเมืองเก่าเมืองใหม่ โดยเฉพาะสนาม เสนายัน ซึ่งขณะนี้ปิดปรับปรุงเเละสร้างสนามเพิ่มอีกหลาย ชนิดกีฬา เพื่อรองรับการเป็นเจ้าภาพเอเซี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 18 ที่จะเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 18-8-18 ที่จัดขึ้น 2 เมือง คือ จาการ์ต้า และปาเล็มบัง ครั้งนี้จึงได้แต่เพียงเดินรอบๆ สนามเสนายันเท่านั้น จึงตั้งใจว่าปีหน้าจะไปชมเอเซี่ยนเกมส์ให้ได้ เมืองจาการ์ต้า ดูแล้วสภาพคล้ายกรุงเทพมหานครของเรามาก รถติด ตึกสูง ห้างสรรพสินค้ามากมาย แต่คา่ ครองชีพถูกกว่าบ้านเรา เวลา ก็ตรงกัน สภาพอากาศใกล้เคียงกัน เสียอย่างเดียวภาษาคุย กันไม่รู้เรื่อง แต่คนที่นี่นิสัยดีชอบช่วยเหลือคน เสร็จงานแล้วผมบินจากจาการ์ต้าไปยอกยา เพื่อไป เที่ยวโบโรพุทโธ การไปเที่ยวครั้งนี้ผมเขียนโปรแกรมว่าจะ ไปไหน ส่วนรายละเอียดการจองเที่ยวบิน โรงแรม รถเช่า ลูกสาวกับเพื่อนลูกเป็นคนจัดการกันเอง เป็นการเที่ยวต่าง ประเทศครัง้ แรกของผมทีไ่ ปแบบแบกเป้เทีย่ ว ซึง่ เด็กรุน่ ใหม่ ชอบแบบนี้ผมจึงต้องทำ�ตัวให้กลมกลืนไปด้วย การเทีย่ วเองก็อสิ ระไม่ตอ้ งกังวลกับเพือ่ นร่วมคณะ และ ไม่ต้องเร่งรีบกับเวลา แต่ต้องมีอินเตอร์เน็ตเพื่อต่อจีพีเอส ในการนำ�ทางไปยังทีต่ า่ งๆ แล้วต้องทำ�การบ้านมากเพือ่ จะได้ เทีย่ วอย่างคุม้ ค่ากับเวลา และทีส่ �ำ คัญประหยัดกว่ากันมากคน รุ่นใหม่จึงเที่ยวกับทัวร์น้อยลง ยอกยาเป็นเมืองหลวงเก่าจึงมีสถานทีเ่ ทีย่ วเป็นโบราณ สถานมาก สิง่ ทีต่ อ้ งไม่พลาดคือ โบโรพุทโธ วัดในศาสนาพุทธ ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ เห็นแล้วยอมรับว่าใหญ่จริงๆ สถานทีก่ ก็ ว้างขวาง มาก แต่ค่าเข้าแพงมากเกือบพันบาทไทย แต่มาแล้วต้อง เข้าไปชมให้ได้ และได้เป็นมรดกโลกด้วย อีกที่ก็คือพรามบานัน โบราณสถานศาสนาฮินดูที่ใหญ่ มากๆ ค่าเข้าชมราคาแพงพอกันเลย แต่ถ้าซื้อควบกันจะได้

ลดไป 200 บาท แต่ถ้าเป็นนักศึกษามีบัตรลดครึ่งราคา ที่นี่ ก็ได้มรดกโลกเหมือนกัน บริเวณโดยรอบกว้างขวางมาก มี กิจกรรมเสริมให้บริการอีกหลายอย่าง เที่ยว 2 ที่ก็หมดวันแล้วครับ แต่ถ้ายังมีแรงช่วงเย็นๆ ให้เข้าไปในตัวเมืองยอกยาเที่ยววังเก่า บริเวณถนนโบริโอโร จะคึกคักมากมีรถม้าบริการนัง่ พาชมเมืองด้วย ไม่ตอ้ งกลัวหา ที่จอดรถ เพราะเค้าทำ�อาคารให้จอดรถด้วย ยอกยาเหมาะกับคนที่ชอบเที่ยวชมบ้านเมืองเก่าเป็น เมืองเล็กๆ ที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่คล้ายๆ เชียงใหม่ สนามบิน ที่นี่มีชั้นเดียวเล็กๆ เข้าอาคารหนึ่ง ออกอาคารหนึ่ง เรียกว่า ออกจากห้องพักก็เดินขึ้นเครื่องได้เลย เครื่องบินที่นี่ออกเร็ว มาก จนผมต้องถูกประกาศให้ไปขึน้ เครือ่ งก่อนตัง้ ครึง่ ชัว่ โมง ดีว่ารถไม่ติดทำ�ให้ถึงสนามบินก่อนกำ�หนดจึงไม่ตกเครื่อง จากยอกยาบิ นไปบาหลี ที่ นี่เวลาเร็ วกว่ า จาการ์ ต้า 1 ชั่วโมง พอถึงสนามบินก็รู้สึกคล้ายๆ ไปภูเก็ต แต่บาหลี ใหญ่กว่ามากที่เที่ยวก็ห่างกัน แต่ละแห่งสวยๆ และใหญ่ โตมากที่พักมีมากมายหลายแห่ง ลูกสาวเลือกนอนอูบุดคืน แรกนอนวิลล่าในนาข้าว ซึ่งผมได้ถีบจักรยานชมรอบๆ แล้ว มีวิลล่าสวยๆ มากมาย จนทำ�ให้ต้องขับรถขึ้นเขาไปทาน ข้าวกลางวันบริเวณนาข้าวขั้นบันไดที่มีร้านอาหารสวยๆ มากมายหลายร้าน คืนที่ 2 นอนโรงแรมสไตล์บาหลีใกล้ตลาดอูบุด โรงแรม สวยมากราคาไม่แพงด้วย กลางคืนเทีย่ วถนนหน้าตลาดอูบดุ คล้ายๆ เดินถนนข้าวสาร ส่วนกลางวันเดินเที่ยวจะเป็นอีก บรรยากาศคล้ายๆ เดินตลาดสำ�เพ็ง ที่นี่จึงเป็นที่พักยอด นิยมของคนมาเที่ยวบาหลี ที่ไม่ใช่มีแต่หาดทรายชายทะเล บาหลียงั มีทเี่ ทีย่ วเป็นวัดอีกมากมายผมเทีย่ วได้ไม่หมด แต่ได้ไปวัดทีส่ �ำ คัญ วัดทีต่ อ้ งไปให้ได้คอื วัดเบซากีห์ เพราะนี้ เป็นวัดที่สำ�คัญและใหญ่ที่สุดของบาหลีวัดตั้งอยู่บนเขา ขับ รถไกลมากจากอูบดุ แต่พอถึงแล้วหายเหนือ่ ยเลยครับ แต่พอ เดินไปเที่ยวชมกลับลงมายอมรับว่าใหญ่จริงๆ มีวัดที่สร้าง เสริมเข้าไปเกือบ 30 วัด ผมแนะนำ�ให้ใช้ไกด์ของวัดเป็นคน นำ�เที่ยวจะดีกว่า เพราะแต่ละวัดสร้างถวายเทพเจ้าต่างกัน ถ้าดูเองจะไม่เข้าใจ วัดอูรูวาตู เป็นวัดใหญ่ท่ีสร้างได้สวยงามริมหน้าผาวิว สวยสุดๆ แต่มีลิงที่มือไวสุดๆ เช่นกันเดินไม่ระวังจะถูกลิง

ขโมยของได้ ตัววัดไม่ใหญ่แต่กว่าจะเดินถึงเล่นเอาเหนื่อย เพราะต้องเดินขึ้นเนินผาริมทะเลขึ้นไป ตัววัด ข้างในวัดไม่ ให้เข้าชม เข้าได้เฉพาะคนที่มาร่วมพิธีเท่านั้น อี ก วั ด ที่ ต้ อ งห้ า มพลาดคื อ วั ด ทานาล็ อ ต เป็ น วั ด ที่ เหมือนตั้งอยู่เกาะกลางทะเลแต่ที่จริงแล้วเวลาน้ำ�ทะเลลง จะเห็นว่าเป็นพื้นดินที่เชื่อมต่อกันไม่ใช่เกาะ วัดนี้มีบ่อน้ำ� ศักดิส์ ทิ ธิท์ คี่ นมาต่อคิวล้างหน้าทำ�พิธกี นั มาก เช่นกันวัดนีไ้ ม่ สามารถเข้าชมข้างในได้ และทุกวัดที่เที่ยวต้องเสียค่าเข้าชม ทุกวัด บาหลีเป็นเกาะจึงมีหาดทรายหลายแห่ง แต่ทขี่ นึ้ ชือ่ ต้อง หาดคูต้า ที่นี่คล้ายๆ ป่าตอง หาดยาวหลายกิโลเมตรแต่คน นิยมมาเล่นเซิรฟ์ บอร์ดกันมาก ร้านค้าริมชายหาดก็มากทีพ่ กั เชนดังๆ มีหมดแถวนี้ ใครชอบทะเลต้องทีน่ เี่ ลยครับ ครัง้ หน้า ถ้ามีโอกาสผมว่าจะมานอนแถวนี้สักครั้ง ผมบินกลับเมืองไทยจากบาหลีขบั รถขึน้ ทางด่วนทีส่ ร้าง กลางทะเลสวยมาก มีเลนเฉพาะให้รถจักรยานยนต์ได้ใช้ดว้ ย สนามบินของบาหลีดูแล้วเหมือนเพิ่งสร้างใหม่สวยงามมาก ใหญ่โตจึงไม่แออัดมากนักของแบรนด์แนมราคาแพงกว่าคิง พาวเวอร์เล็กน้อย ผมมาอินโดนีเซียครัง้ แรกก็หลงรักประเทศนีแ้ ล้วด้วยว่า คนมีน�้ำ ใจ อาหารอร่อยถูกปากไม่วา่ จะเป็นข้าวหรือเส้นหมี่ ที่ สำ�คัญเวลา อากาศ คล้ายเมืองไทยจึงไม่ต้องปรับตัวมากนัก แต่คา่ ครองชีพถูกกว่าบ้านเราจึงเทีย่ วได้สบายกระเป๋า ไว้พบ กันใหม่ช่วงเอเซี่ยนเกมส์ปีหน้านะ


เมืองใต้นิวส์

ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

เที่ยวพม่า สักการะ

3

3 มหาบูชาสถานศักดิ์สิทธิ์ในพม่า (1) ประเทศพม่า ในปัจจุบันหลังจากเปิดประเทศแล้วสิ่งที่ เห็นได้อย่างหนึง่ ก็คอื การเติบโตทางเศรษฐกิจ มีเหล่าบรรดา นักธุรกิจจากหลายประเทศที่เริ่มเข้าไปลงทุน ทำ�ธุรกิจใน ประเทศพม่า ส่วนอีกธุรกิจอีกประเภททีข่ ณะนีก้ �ำ ลังทำ�รายได้ ให้กับประเทศพม่า และมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยู่ตลอด ในขณะนี้ก็คือ ธุรกิจภาคการท่องเที่ยว ที่กำ�ลังทำ�รายได้เข้า ประเทศพม่าด้วยอัตราการขยายตัวอยูต่ ลอด ซึง่ อยูใ่ นอันดับ ต้นๆ ในกลุม่ ประเทศอาเซียนด้วยกัน มีภาคธุรกิจด้านบริการ เช่น โรงแรม ภัตตาคาร ห้างร้านต่างๆ ไปลงทุนมากขึ้น สำ�หรับการเดินทางท่องเที่ยวประเทศพม่าในทริปนี้ คณะของสื่อเมืองใต้นิวส์ได้รับเชิญจาก S.C.S.PERFECT. STEP. ร่ ว มการท่ อ งเที่ ย วในทริ ป นี้ ระหว่ า งวั น ที่ 8-11 พฤศจิ ก ายน 2560 โดยคณะท่ อ งเที่ ย วได้ เ ดิ น ทางออก จากประเทศไทย โดยสายการบิน Myanmar National Airline บินลัดฟ้าสู่กรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยเวลาการ เดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง 20 นาที เวลาที่ประเทศพม่าช้า กว่าประเทศไทย 30 นาที หรือครึ่งชั่วโมง หลังจากเครื่อง บิน Myanmar Nation Airline ถึงสนามบิน มิงกาลาดง ของกรุงย่างกุ้ง จากนั้นได้นำ�คณะท่องเที่ยวฯ เดินทางไปยัง เจดีย์ไจ้ทีโย หรือพระธาตุอินทร์แขวน kyaikhtiyo Pagoda (Golden Rock) หรือก้อนหินทอง ซึ่งตั้งอยู่บนยอดเขา สูงกว่าระดับน้ำ�ทะเลถึง 1,200 เมตร คณะได้เดินทางถึงที่ พระธาตุอินทร์แขวน เป็นเวลา 18 : 30 นาฬิกา เป็นเวลาที่ เย็น อากาศลมเย็นพอสมควร ประมาณ 16-18 องศา ประกอบ ลมบนยอดเขามีความแรงด้วย การเดินทางขึ้นสู่พระธาตุ อินทร์แขวน ได้แวะลงที่ คิ้มปูนแค้มป์ เพื่อทำ�การเปลี่ยน รถท้องถิน่ ซึง่ ดูแล้วก็คอื รถบรรทุก 6 ล้อใหญ่ ของประเทศไทย

โดยเฉพาะถนนทีล่ ดั เลาะ เส้นทางทีช่ นั และถนนโค้งแบบหัก ศอกทำ�เอาหลายท่าน ทีน่ งั่ รถท้องถิน่ มีอาการหวาดเสียวหรือ ออกอาการเมารถให้เห็นทีเดียว แต่เท่าที่สังเกตุขณะนี้มีนัก ลงทุนชาวญีป่ นุ่ ได้ไปลงทุนสร้างกระเช้า เพือ่ ขึน้ ไปสูพ่ ระธาตุ อินทร์แขวน ซึ่งใกล้ที่จะเสร็จแล้ว ซึ่งเห็นแล้วคงอีกไม่นาน สำ�หรับ เจดีย์ไจ้ทีโยหรือพระธาตุอินทร์แขวน ลักษณะ เป็นเจดีย์องค์เล็กๆ มีความสูงประมาณ 5.50 เมตร ตั้งอยู่บน ก้อนหินกลมๆ ที่ตั้งอยู่บนยอดเขามีลักษณะอย่างหมิ่นเหม่ และใครก็ตามที่ได้เห็นน่าจะมีข้อสงสัยว่า ตั้งอยู่ได้อย่างไร แต่ชาวพม่าก็ยงั ยืนยันว่า ลักษณะของหินดังกล่าวไม่มโี อกาส ที่จะตกหล่น เพราะมีความเชื่อว่ามีพระเกศาธาตุที่ศักดิ์สิทธิ์

บรรจุอยู่พระเจดีย์องค์ย่อมๆ ทำ�ให้หินก้อนนี้ทรงตัวอยู่ได้ อย่างสมดุล ซึ่งตามความเชื่อในคติบูชา พระธาตุประจำ�ปี เกิดของชาวล้านนาพระธาตุอินทร์แขวนให้ถือเป็น พระธาตุ ปีเกิดของปีจอ สำ�หรับพระธาตุอินทร์แขวน ชาวพม่ามีความ ศรัทธามากจะขึ้นไปสวดมนต์นมัสการหรือนั่งสมาธิที่บริเวณ ขององค์พระธาตุฯ ส่วนบรรยากาศในยามเช้า ก็จะมีพระสงฆ์ สามเณร เดินบิณฑบาต ก็จะมีนักท่องเที่ยว และชาวพม่าทั้ง เด็ก ผู้ใหญ่ผู้สูงอายุที่นั่งเสลี่ยง ขึ้นไปนมัสการพระธาตุ อิ น ทร์ แขวน สำ � หรั บ ฉบั บ เดื อ นธั น วาคม คงเก็ บ ตกการ ท่องเทีย่ วทีพ่ ระธาตุอนิ ทร์แขวนเพียงเท่านีก้ อ่ น ฉบับหน้าจะ เป็นสถานที่ใดโปรดติดตามได้ในฉบับหน้านะครับ

เมืองใต้นิวส์

หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นรายเดือน สำ�นักงานเลขที่ 157 ถนนชนเกษม ตำ�บลตลาด อำ�เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000

บรรณาธิการบริหาร/ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : ชยุตม์ เชาวน์ณัฐเศวตกุล E-mail : chayutkok@gmail.com, Facebook : หนังสือพิมพ์เมืองใต้นิวส์

ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

www.issuu.com/meuangtainews

ติดต่อลงโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 081-9783401, 089-7258911


4

เมืองใต้นิวส์

ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

สังคม...เมืองคนดี อินทรีย์ บ้านดอน

แจ่มจิตร์ พูลสวัสดิ์

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 พระครูพิพัฒน์โพธิกิจ เจ้าอาวาส วัดโพธาวาส เจ้าคณะตำ�บลขุนทะเล มอบเงินจำ�นวน 300,000 บาท เพื่อใช้ในกิจการหอผู้ป่วยโรคเลือดและมะเร็ง โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ในการนี้ได้มอบวัตถุมงคล พ่อหลวงกล่อม แก่แพทย์และพยาบาล เจ้าหน้าที่ด้วย

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2560 นายธีระชัย ศรีโพธิ์ชัย ประธาน หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี พร้อมคณะกรรมการหอการค้า ร่วม อวยพรวันคล้ายวันเกิดคุณแม่ของนายเอกพจน์ ยอดพินิจ รองนายก เทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2560 นายธีระชัย ศรีโพธิ์ชัย ประธาน หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี พร้อมคณะกรรมการหอการค้าร่วม แสดงความยินดีกับนายชูศักดิ์ พุทธิพงษ์ รองประธานหอการค้า ในโอกาสขึ้นบ้านใหม่

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 นายอนุชา เลื่อนแก้ว ผู้จัดการ ธนาคารทหารไทย สาขาบิ๊กซี และคุณไพโรจน์ ช่วยเกิด ผู้ช่วย ผู้ จั ด การลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ เข้ า ทำ � ความรู้ จั ก และแนะนำ � ตั ว กั บ ทาง น.ส.วรณัฐ โพธิครูประเสริฐ ผู้บริหาร บริษัท เจพี เรียลเอสเตท

สมพล พรหมเจียม

เอกพจน์ ยอดพินิจ

นงเยาว์ จ่าแก้ว

เกษียร ประเสริฐสุข

สุริยา พุทธิพงษ์

หนังสือเมืองใต้นิวส์ฉบับประจำ�เดือนธันวาคมนี้ เป็นฉบับส่งท้ายปีเก่า ปี 2560 เพื่อต้อนรับปีใหม่ ปี 2561 เป็นปี นักษัตร ปีจอ ทีมข่าว “หนังสือพิมพ์เมืองใต้นิวส์” ขออวยพรให้ทุกท่าน เนื่องในวาระดิถีปีใหม่ ปีจอ 2561 ขออำ�นาจ คุณพระศรีรตั นตรัย สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลาย ศาลหลักเมืองสุราษฎร์ธานี พระธาตุศรีสรุ าษฎร์ จงบันดาลให้ทกุ ท่านและครอบครัว พบแต่ความสุข ความเจริญ คิดดี ทำ�ดี และพบเจอแต่สงิ่ ดีๆ ตลอดปีและตลอดไป และขอให้มพี ลังต่อสูอ้ ปุ สรรคต่างๆ สามารถ แก้ปัญหาได้อย่างราบรื่นเทอญ หลังจากเมื่อกลางเดือนพฤศจิกายน ที่ผ่านมา ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนครี เนติบริกร ยุค คสช.ออกมา เสวนาพาทีถึง การเตรียมการจัดการเลือกตั้งท้องถิ่น หลังจากที่ได้ตั้งโต๊ะปรึกษาหารือกับหน่ายงานต่างๆ ที่อันจะเกี่ยวข้อง แล้ว ซึ่งต้องทำ�การสังคายนากฎหมาย เกี่ยวกับการวางกรอบของการเลือกตั้งท้องถิ่น รวมหลงจ้งแล้วถึง 6 ฉบับ ด้วยกัน ไม่ว่า พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กฎหมายเกี่ยวกับองค์การบริหารส่วนตำ�บล องค์การ บริหารส่วนจังหวัด เทศบาล กรุงเทพมหานคร และเขตปกครองพิเศษเมืองพัทยา อันเกีย่ วกับ การแก้กฎหมายเรือ่ งคุณสมบัติ ลักษณะอันต้องห้าม และผู้บริหารต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ซึ่งมีการยกร่างไปแล้วและกำ�ลังอยู่ในขั้นตอนของการรับ ฟังในขณะนี้ ส่วนบรรยากาศความตื่นตัว ตื่นตา ตื่นใจ อย่างกระตือรือร้นแบบจังหวะร็อคเล็กๆ ก็มีหลายสนามการเมืองท้องถิ่น ที่กำ�ลังจับขั้ว รวมหัว รวมกลุ่มกันแบบหลวมๆ แบบยังไม่ถึงบรรยากาศแบบอึดอัด คับในอก เพราะยังพอมีเวลาให้เหล่า บรรดาทีป่ รารถนาอย่างตัง้ ใจ ทีม่ งุ่ มัน่ พร้อมทีจ่ ะเสนอตัวลงเป็นผูส้ มัครในแบบผูบ้ ริหาร หรือสมาชิกสภาท้องถิน่ อย่างสนาม การเมืองท้องถิ่น เทศบาลตำ�บลท่าทองใหม่ (ทำ�เนียบห่อหมกทะเลซีฟู้ด) ซึ่งเซียนคอการเมืองในสภากาแฟท่าทองใหม่ ต่างยกแก้วกาแฟดื่มแล้ววิเคราะห์กระแสของว่าที่ผู้สมัครในสนามการเมืองท้องถิ่นของตนในขณะนี้ อย่าง นงเยาว์ จ่าแก้ว สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สฎ. เขตอำ�เภอกาญจนดิษฐ์ ที่มีกระแสออกมาในสภากาแฟคอการเมืองท้องถิ่น ท่าทองใหม่ในขณะนี้ และคงต้องติดตามจับกระแสต่อไปว่า โค้งสุดท้าย หรือท้ายสุดยังจะมีผู้ที่สนใจที่จะมาสู้ศึกเลือกตั้ง ท้องถิ่นในทำ�เนียบห่อหมกทะเลซีฟู้ดหรือไม่ มาเก็บตกวันแซยิด คุณแม่ยพุ า ยอดพินจิ ของเอกพจน์ ยอดพินจิ (เสีย่ หนุม่ แห่งกุง้ สายฟ้า) โดยวันแซยิด ท่านลุง กำ�นันสุเทพ เทือกสุบรรณ มาอวยพรวันแซยิดแบบใจถึงใจต่อกัน โดยเฉพาะนับตัง้ แต่เมือ่ ครัง้ อดีตที่ เอกพจน์ ยอดพินจิ (เสี่ยหนุ่มแห่งกุ้งสายฟ้า) ที่มีใจถึงใจ กับเสี่ยแทน เทือกสุบรรณ เมื่อครั้งทำ�ทีมฟุตซอลกุ้งสายฟ้า จวบจนปัจจุบัน จน เอกพจน์ (เสี่ยหนุ่มแห่งกุ้งสายฟ้า) ก้าวเข้าสู่ถนนการบ้าน การเมือง แบบใจต่อใจ มาถึงวันนี้ การก้าวต่อไปในทาง การบ้าน การเมืองของ เอกพจน์ (เสี่ยหนุ่มแห่งกุ้งสายฟ้า) แบบมีนัยยะ ที่น่าติดตามกันต่อไป มาอีกวันแซยิดอีกท่านของ เกษียร (เสี่ยใช้แห่งทีมรักท่าข้าม) ประเสริฐสุข แห่งเมืองท่าข้าม (พุนพิน) ด้วย บุคลิกภาพแบบพูดน้อย แต่ใจกว้าง แม้วา่ จะเว้นวรรคทางการเมืองท้องถิน่ เทศบาลเมืองท่าข้ามในสมัยนีก้ ต็ าม แต่เสีย่ ใช้ ก็ ยังคงมีความกระชับพื้นที่ทั้งงานราษฎร์ งานหลวง แบบได้ใจต่อใจอยู่สม่ำ�เสมอ กลิ่นไอ หอมหวลของการเมืองท้องถิ่นอย่าง เทศบาลเมืองท่าข้าม จะยังยั่วยวนใจ เสี่ยใช้หรือไม่คงต้องติดตามกัน มาติดตามอีกท่าน สุริยา (เสี่ยเจมแห่งคุ้มเข็มทอง) พุนพิน พุทธิพงษ์ หลังจากว่างเว้นกับตำ�แหน่งทางการเมือง ในทำ�เนียบเมืองท่าข้าม ก็มเี วลามาลุยในธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีกแบบเต็มตัว ด้วยบุคลิกภาพของเสีย่ เจม ทีม่ มี นุษยสัมพันธ์แบบ เป็นกันเอง กากีน่ งั้ ยังคงกระชับพืน้ ที่ ไม่วา่ ทัง้ งานราษฎร หรืองานหลวง มิได้ขาด เกาะติดแบบสม่�ำ เสมอแบบสะสมคะแนน เมื่อถึงคราวจำ�เป็นต้องใช้คะแนน แบบไม่ต้องเหนื่อยอก เหนื่อยใจ มาแวดวงแขวงการทาง หลังจากที่ สมพล พรหมเจียม ไปดำ�รงตำ�แหน่งผูอ้ �ำ นวยการแขวงทางหลวงพังงา ระยะหนึง่ ล่าสุดได้มีโอกาสกลับมาที่สุราษฎร์ธานี อีกครั้ง ในตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการแขวงทางสุราษฎร์ธานี ทีมข่าวเมืองใต้นิวส์ ต้องขอ แสดงความยินดีไว้ ณ โอกาสนี้ โดยเฉพาะได้ผลักดันโครงการถนนหลายๆ สาย รวมถึงสะพานทางแยกต่างระดับ และแว่วๆ มาว่า อาจจะมีทางยกระดับ บริเวณแยกท่ากูบ และแยกบางกุ้ง หรือเส้นทางที่เป็นอุโมงค์แห่งแรกของสุราษฎร์ธานี มาเก็บตกบรรยากาศ การสัมมนาหอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 35 ระหว่างวันที่ 17-19 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดย หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นเจ้าภาพ ธีระชัย (เสี่ยจี๊ดแห่งบิ๊กโต) ศรีโพธิ์ชัย ฝากขอบคุณคณะกรรมการบริหารฯ ภาครัฐ ภาคเอกชนที่สนับสนุนงานสัมมนาในครั้งนี้สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอแสดงความยินดีกับคุณแจ่มจิตร์ พูลสวัสดิ์ ที่ได้รับตำ�แหน่งเป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี อีกข่าวสำ�หรับนักวิทยุสมัครเล่นสุราษฎร์ธานี จาก สุทิน ทองมาก ผอ. กสทช. เขต 13 (สุราษฎร์ธานี) ได้ฝากข่าว ถึงการเปิดสำ�นักงาน กสทช. เขต 13 เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นที่เรียบร้อยแล้ว พร้อมให้บริการแก่ประชาชนที่จะขอ ใบอนุญาตติดตั้งวิทยุสื่อสาร โดยตั้งอยู่ตึก ซีพี ข้างห้างแมคโคร สุราษฎร์ธานี


ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

ไสว จิตนฤมิต

5

ผู้บริหารโรงแรม ซีบีดี & ซีบีดีทู

สวั ส ดี ท่ า นผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า น ช่ ว งนี้ ถ้ า ไม่ พู ด ถึ ง พี่ ตู น บอดี้สแลม คงตกกระแสเพราะเพิ่งวิ่งผ่านสุราษฎร์ฯ ไปเมื่อ เดือนทีผ่ า่ นมา แต่ส�ำ หรับสุราษฎร์ธานีของเราก็มบี คุ คลทีม่ ใี จ กุศล รักสุขภาพ และเป็นผูบ้ ริหารโรงแรมชือ่ ดังด้วย สัมภาษณ์ ฉบับนี้จึงขอโอกาสไปพูดคุยกับ ไสว จิตนฤมิต ผู้บริหาร โรงแรม ซีบีดี & ซีบีดีทู หรือหลายคนรู้จักในนาม เฮียเคี้ยง มาติดตามกันเลยดีกว่า อย่างแรกคงต้องถามถึงประวัติส่วนตัวนะครับ ? ผมเองเป็นคนสุราษฎร์ธานีแต่กำ�เนิด ทำ�ธุรกิจหลาย อย่างอยู่ในหลายแวดวง มาจนถึงปัจจุบันนี้ก็มาดูแลและ บริหารโรงแรม ซีบีดี & ซีบีดีทู แล้วเป็นมาอย่างไรถึงสนใจเรือ่ งของการออกกำ�ลัง กายและทำ�การกุศลด้วย ? ต้องบอกก่อนว่าในฐานะบริหารโรงแรม ซีบีดี & ซีบีดีทู เราเองคอยสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี มาโดยตลอด อาทิ งานประเพณีชักพระ การประกวด Miss Grand Suratthani และเรายั ง เป็ น หนึ่ ง ในผู้ ส นั บ สนุ น

SURATTHANI FUTSAL หรือกุ้งสายฟ้า ทีมฟุตซอล ของชาวสุราษฎร์ธานีด้วย เมื่ออยู่ในแวดวงการกีฬาแล้วก็ เลยมีความตั้งใจว่าจะออกกำ�ลังกายและร่วมบริจาคเงิน โดย ทุก 1 แคลลอรี่ ผมจะบริจาคเงิน 1 บาท ให้กับโรงพยาบาล สุราษฎร์ธานี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 10 ตุลาคม ถึง 25 ธันวาคม 2560 ตอนนี้ก็อยู่ที่ประมาณ 50,000 กว่าบาทแล้ว แล้วในส่วนของการบริหารโรงแรม ซีบีดี & ซีบีดีทู เป็นอย่างไรบ้าง ? สำ�หรับโรงแรม ซีบดี ี ตัง้ อยูใ่ จกลางเมือง เริม่ เปิดกิจการ มาประมาณ 4 ปี มีห้องพักประมาณ 60 ห้อง ด้วยความที่ โรงแรมของเราตั้งอยู่ใจกลางเมือง การเดินทางสะดวก ลูกค้า จึงมีเข้ามาต่อเนื่องตลอด สำ�หรับซีบดี ที ู ก็เปิดบริการมาประมาณ 1 ปี เป็นโรงแรม ที่ตั้งอยู่ฝั่งบางใบไม้ ข้ามสะพานข้ามแม่น้ำ�ตาปีมาเลี้ยวขวา ประมาณ 300 เมตรก็จะถึงโรงแรม เรามีววิ ของริมแม่น�้ำ ตาปีที่ สวยงามเป็นจุดเด่น มีหอ้ งพักประมาณ 60 ห้อง มีหอ้ งสัมมนา ห้องจัดเลี้ยง และห้องอาหารบางเบย์ ไว้คอยบริการด้วย

ส่วนใหญ่ลูกค้าของเราจะมาแบบปากต่อปาก มาจาก ความประทับใจของกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาพักด้วยกันแล้วบอก กันต่อๆ ล่าสุดก็เป็นคณะของหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา 100 กว่าชีวิตที่มาพักที่โรงแรมของเรา เรียกได้ว่าเราบริการ อย่างเต็มความสามารถเพื่อให้ลูกค้าทุกคนประทับใจในห้อง พักและบริการของเรา ท้ายสุดนีอ้ ยากฝากอะไรถึงท่านผูอ้ า่ นเมืองใต้นวิ ส์ กันบ้าง ? ต้องขอขอบคุณเมืองใต้นิวส์ ที่ให้พื้นที่ในการพูดคุย กับท่านผู้อ่านและผมขอมอบสิทธิพิเศษให้ท่านผู้อ่านเมือง ใต้นิวส์ที่จะส่งมอบสิทธ์ินี้ให้กับเพื่อนพ้องน้องพี่มาแวะพักที่ สุราษฎร์ธานี หรือตัวท่านเองจำ�นวน 10 สายแรก ที่โทรมา จองห้องพัก 086-886-8888 บอกว่ามาจากหนังสือพิมพ์ เมืองใต้นิวส์ รับส่วนลด 10% ทันที ต้องขอขอบคุณ คุณไสว จิตนฤมิต หรือ เฮียเคี้ยง ผู้บริหารโรงแรม ซีบีดี & ซีบีดีทู ที่ให้โอกาสในการสัมภาษณ์ ครั้งนี้ด้วย


6

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

บอกเก้า

เล่าสิบ

โดย.....เลขาเก้า

สวัสดีครับเดือนนี้ก็เป็นเดือนสุดท้ายของปี 2560 ซึ่ง ในรอบปี นี้ ห อการค้ า จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ไ ด้ จั ด กิ จ กรรม มากมายไม่ว่าจะเป็นงานสุราษฎร์ฟู้ดแฟร์ และงานอื่นๆ ที่หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้ไปร่วมงาน แต่ที่สำ�คัญ งานใหญ่ของหอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้เป็นเจ้าภาพใน การจัดงานสัมมนาหอการค้าทัว่ ประเทศ ครัง้ ที่ 35 ในระหว่าง วันที่ 17 – 19 พฤศจิกายน 2560 ก็เสร็จเรียบร้อย การสั ม มนาหอการค้ า ในครั้ ง นี้ ต้ อ งยอมรั บ ว่ า นาย ธีระชัย ศรีโพธิ์ชัย ประธานหอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับคำ�ชมจากนายกลินท์ สารสิน ประธานกรรมการ หอการค้าไทย นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานอาวุโส หอการค้าไทย และประธานหอการค้าจังหวัด ว่าสามารถจัด งานเลี้ยงต้อนรับในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2560 ซึ่งหอการค้า จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นเจ้าภาพได้ประทับใจมาก และคณะ กรรมการหอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี นักประกอบการรุ่น ใหม่ (YEC) ช่วยกันในจัดงานครัง้ นีไ้ ด้จนประสบความสำ�เร็จ

นายกลินท์ สารสิน ประธานกรรมการหอการค้าไทย กล่าวใน Facebook ของท่านว่า ในนามของคณะกรรมการ หอการค้ า ไทย หอการค้ า จั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ และแขกผู้ มี เ กี ย รติ ทุ ก ๆ ท่ า น ผมยิ น ดี แ ละประทั บ ใจเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ.สุ ร าษฎร์ ธ านี หอการค้ า จ.สุ ร าษฎร์ ธ านี YEC จ.สุราษฎร์ธานี และผู้ที่เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วนได้ร่วมกัน จัดงานเลี้ยงต้อนรับด้วยบรรยากาศที่อบอุ่น ประทับใจเต็ม ไปด้วยมิตรภาพครับ เป็นที่ทราบดีว่า “ภาคใต้” มีความอุดมสมบูรณ์ มี ความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติทงั้ ทางบกและทาง ทะเลระดับโลก รวมทัง้ ศิลปวัฒนธรรมและปรัชญาดำ�รงชีวติ ที่ ผสมผสานหลากหลายเชือ้ ชาติ ทีน่ จี่ งึ ดึงดูดนักท่องเทีย่ วเป็น จำ�นวนมากทุกๆ ปี และการต้อนรับเมื่อคืนนี้ ก็เป็นไปอย่างยอดเยี่ยมมาก ครับ พวกเราได้ทานอาหารอร่อยๆ ที่เป็นอัตลักษณ์ของที่นี่ เช่น ไอศกรีมหอยนางรม ไอศกรีมไข่เค็ม รวมถึงการแสดงชุด “อารยธรรมลุม่ น้�ำ ตาปี เมืองคนดีศรีวชิ ยั ” ก็อลังการและ ประทับใจทุกท่านที่ได้ชมเป็นอย่างมาก สุดท้ายนี้ผมขอชื่นชมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกๆ ฝ่าย ที่ได้ มุ่งมั่น ตั้งใจในการเตรียมความพร้อมต่างๆ เพื่อรองรับคณะ ทีเ่ ดินทางมาจากทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ และขอให้ก�ำ ลังใจกับ ทุกท่านให้งานในครั้งนี้สำ�เร็จไปด้วยดีครับ และประธานหอไทยกล่าวชื่นชมประธานหอสุราษฎร์ ในการจัดงานเลี้ยงต้อนรับต่อหน้า รมต. และประธานหอทั่ว ประเทศ นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานอาวุโสหอการค้าไทย กล่าวใน Fackbook ของท่านว่า สุดสัปดาห์นี้ ผมมาร่วมงาน ประชุมหอการค้าทัว่ ประเทศ ครัง้ ที่ 35 ที่ จ. สุราษฎร์ธานีครับ แฟนเพจ หรือน้องๆ YEC ท่านใดที่มาร่วมงานก็แวะมา ทักทายพูดคุยกันได้นะครับ (ปล.ขอขอบคุณ คุณธีระชัย ศรีโพธิ์ชัย ประธาน หอการค้า จ.สุราษฎร์ธานี เป็นอย่างสูงสำ�หรับการต้อนรับ อย่างอบอุ่นเมื่อคืนนี้ครับ)

ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

ขอบคุณผู้สนับสนุนงานสัมมนา หอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 35 คุณประภาศรี วิรยิ พันธ์สฉุ นั ทบุตร หอการค้าจังหวัด ยโสธร ขอขอบคุณหอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นอย่าง มาก ทีจ่ ดั งานได้สมเกียรติชาวหอการค้าทัว่ ประเทศยินดีเป็น อย่างยิง่ และขอบคุณหอการค้าภาคใต้ทสี่ ามัคคีน�ำ อาหาร และ หลายสิ่งหลายอย่างมาช่วยงานนี้ โดยเฉพาะน้ำ � ใจไมตรี ที่ ง ดงามยิ่ ง และยิ่ ง กว่ า นั้ น หอการค้าภาคใต้ด้วยไมตรีจิต มิตรภาพ ได้เดินมาขอบคุณ ทักทายทุกหอการค้าทุกโต๊ะในงานเลี้ยงคืนนี้ สำ � หรั บ คื น แรก วั น เปิ ด งานการแสดงต่ า งๆ จั ด ได้ อลังการยิ่งระบบแสงเสียง เทคโนโลยี่ เสียงบรรยายประกอบ ภาพประกอบการแสดง สง่างาม ประทับใจ ทำ�ให้เรียนรู้อาณาจักรศรีวิชัย ที่ยิ่งใหญ่ของประวัติศาสตร์ชาติไทย ชอบที่สุด คือ ประโยคย้ำ�คำ�ที่บอกว่า สุราษฎร์ธานี เมืองคนดี เมืองคนดี เมืองคนดี ศรีวิชัย เป็นอะไรที่ ทำ�ให้เห็นว่า คนสุราษฎร์ธานี เป็นคนดี จริงๆ จบงานพรุ่งนี้ ขออนุญาตเรียนเรื่องราวที่ประทับใจให้ ยาวกว่านี้หากมีเวลา จะเขียนคำ�นิยมเพิ่มเติม นะคะ งานนี้ ต้ อ งขอชื่ น ชมนายวั ช รพล ถาวรพงศ์ ส ถิ ต ผู้ จั ด การหอการค้ า จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี แ ละเจ้ า หน้ า ที่ หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี อีก 2 คนที่ช่วยกันทำ�งาน อย่างหนักเพื่อให้งานได้ออกมาแบบสมบูรณ์ ซึ่งทีมงานบอก เก้าเล่าสิบเห็นแล้วยังเหนื่อยแทน แต่งานนี้ต้องบอกเลยว่าย อดเยี่ยมจริงๆ ครับ นายธีระชัย ศรีโพธิ์ชัย ประธานหอการค้าจังหวัด สุราษฎร์ธานี ขอขอบคุณคณะกรรมการหอการค้าจังหวัด สุราษฎร์ธานี นักประกอบการรุ่นใหม่ (YEC) สุราษฎร์ธานี ผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นนายวิชวุทย์ จินโต ผู้ว่าราชการ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนทุก ภาคส่วน ที่ช่วยกันทำ�ให้งานสัมมนาหอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 35 ซึ่งหอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นเจ้าภาพได้ รับคำ�ชมและสร้างความประทับใจให้ทกุ คนทีเ่ ข้ามาในจังหวัด สุราษฎร์ธานีอย่างมาก งานนี้ต้องขอขอบคุณผู้สนับสนุน ในการจัดงานครัง้ นีซ้ งึ่ มีดงั นี้ บริษทั อีซซู สุ รุ าษฎร์ธานี จำ�กัด สุพรโปรโมชั่น บริษัท บิ๊กโต ซุปเปอร์โปร จำ�กัด บริษัท เอส ซี จี 1995 จำ�กัด บริษัท นำ�สุราษฎร์ จำ�กัด โครงการ บ้านศุขเจริญ บริษัท มิตซูสุราษฎร์ จำ�กัด บริษัท ท่าทอง การเกษตร (1991) จำ � กั ด บริ ษั ท ซู ซู กิ ดั บ เบิ ล ยู เ อสซี ออโต้เซลส์ จำ�กัด โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า บริษัท สุราษฎร์ สินเกษตร (2533) จำ�กัด เกษียร ไลยโฆษิต ฟาร์มเบญจพล ดอนสัก บริษทั ลือ้ เอ็กเซ้ง จำ�กัด บ้านดอนปิยะกรุป๊ โรงแรม วังใต้ บริษัท แสงทองอินเตอร์เทรด จำ�กัด บริษัท โตโยต้า สุราษฎร์ธานี ผู้จำ�หน่ายโตโยต้า จำ�กัด บริษัท หาดทิพย์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทปูนซีเมนต์นครหลวง จำ�กัด (มหาชน) สินมานะฟาร์ม โรงแรมลีโฮเทล บริษัท ทักษิณปาล์ม (2521) จำ�กัด บริษัท ทักษิณอุตสาหกรรมน้ำ�มันปาล์ม (1993) จำ�กัด บริษัท บาง สวรรค์ศิลาทอง จำ�กัด โรงแรม เฉวงรีเจนท์ บีช รีสอร์ท บริษทั ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จำ�กัด (มหาชน) ท็อปเฟอร์นเิ จอร์ บริษัท หัวถนน(สุราษฎร์ธานี) จำ�กัด โครงการบ้านนารายา บริษัท ทำ�ดียางยนต์ เวียงสระ จำ�กัด บริษัท การันต์รัตน จำ�กัด บริษัท รอยัลเกทเวย์ จำ�กัด บริษัท เชียรไทย ก่อสร้าง

จำ�กัด บริษัท ปุ๋ยไวกิ้ง จำ�กัด บริษัท โรจน์กสิกิจเฟอร์ติไล เซอร์ จำ�กัด บริษทั กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) บริษทั เอ็น.วี.เค.อินเตอร์ จำ�กัด บริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำ�กัด บริษทั ที.ซี.ฟาร์มาซูตคิ อล อุตสาหกรรม จำ�กัด (กระทิงแดง) เอวิส เร้นท์ อะ คาร์ บริษทั เวนเจอร์เทค มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด บริษทั ชัยรัชการ จำ�กัด บริษัท สมศักดิ์พุนพินยางยนต์ จำ�กัด วิริยะประกันภัย หจก.กิตติภัณฑ์เทรดดิ้ง บจก. เคพี โกลด์ แอนด์ เจมส์ ในเครื อ ห้ า งเพชรทองก้ อ งไพศาล บริ ษั ท ฮิวแมนเซฟตี้ จำ�กัด บริษัท เข็มทองซุปเปอร์สโตร์ จำ�กัด ร้านไพศาลโทรทัศน์ โรงแรมคอรอลโคฟชาเล่ย์ โรงแรม ร้อยเกาะ บริษัท สุราษฎร์สยามโลหะภัณฑ์ จำ�กัด บจก. บิ๊กโต ผลิตภัณฑ์คอนกรีต หจก.สุราษฎร์ทรัพย์ศิริ 2002 บริษทั ศุภกิตติม์ อเตอร์สรุ าษฎร์ธานี จำ�กัด บ้านบนเขาวิวสวย คุ ณ บุ ญ ธรรม ไกรวั ฒ นพงศ์ ท่ า ทองรั ง นก นายสุ ทั ศ น์ เลิศมโนรัตน์ ประธานหอการค้ากลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย บริษัท แสงศิริน้ำ�มันปาล์ม จำ�กัด นายสุทัศน์ ตันติษัณสกุล มหาวิทยาลัยตาปี คุณณัฐพร ชนะสงคราม หจก.สมุยอักษร คุณธรรมนูญ เทือกสุบรรณ บริษัท บอสคอมพิวเทคแอนด์ เซอร์วิส จำ�กัด สำ�นักงานทนายความทรงยศ ยอดดนตรี ร้านทำ�ขนมเปียอื้อเล้งฮวด บริษัท ชิบนิตี้ จำ�กัด บริษัท โอสถสภา จำ � กั ด หจก.รามภั ก ดี หจก.เมื อ งเวี ย งปาล์ ม นายทวี นิ ส ภกุ ล คาราบาวแดงตั ว แทนจำ � หน่ า ย โดย หจก.สุ ร าษฎร์ ท รั พ ย์ ศิ ริ 2002 ร้ า นนั ม เบอร์ วั น การป้ า ย ร้ า นสาทรบุ๊ ค เซ็ น เตอร์ 2529 บจก. เจ.เจ.เซ้ า เทิ ร์ น บจก.สิ ริ สิ น เทรดดิ้ ง บางใหญ่ นายพี ร ะพล นั น ทวงษ์ นายประทักษ์ ทิพย์ชติ นายศรายุทธ์ วงศ์ศรีชยั คุณธิติ พานวัน คุณอนันต์ ไตรประคอง ห้างทองชัยสุวรรณ ชมรมธนาคาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี หจก.บ้านถุงทอง ก่อสร้าง (2014) หจก.โชคทองสรรพกิ จ หจก.นวลวั ฒ น์ ก ารโยธา หจก. ภาวดียงยุทธ หจก. เอส.ที.เค เทรกเตอร์ คอนสตรัคชั่น หจก.อริญชัยการโยธา หจก. พ.รุ่งโรจน์การโยธา หจก.รุ่ง ทรัพย์การโยธา บจก.วาตะศิลป์กรุ๊ป บมจ. บิ้กซี ซูเปอร์ เซ็ น เตอร์ บจก.อายิ โ นะโมะโต๊ ะ บจก.ทั ก ษิ ณ ยางยนต์ (1991) บจก.สุราษฎร์ธานี ฮอนด้าออโต้โมบิล เรือนไทยซีฟู้ด นายอนุชะ ชิตพยัคฆ์ กลุ่มโอท๊อปจังหวัดสุราษฎร์ธานี หจก. ค้าเกษตรผล โรงพยาบาลทักษิณ หจก. บี เค บี ขนส่ง บจก.เคซีออยล์เชอร์วิส บจก.อุตสาหกรรมขนมไทย บจก. เพนส์มาร์เก็ตติ้ง แอนด์ดิสทริบิวชั่น บริษัท เฟอร์เฟคโอเอ สุราษฎร์ธานี หจก. สมุยซีแลนด์ เอกสิริพร หจก.พ.รพีพัฒน์ การโยธา TP วัสดุ บริษัท เกร็ดแก้วกรีน ทั้งหมดนี้คือ ผู้สนับสนุนงานสัมมนาหอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 35 ครับ สุดท้ายนี้ทีมงานบอกเก้าเล่าสิบต้องขอจบเพียงเท่านี้ พบกันใหม่ในปี 2561 ขอให้ทุกท่านโชคดี คิดสิ่งใดขอให้ สมหวังครับ


ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

+ - รักคณิตศาสตร์ x -

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

7


8

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

หลากเรื่อง เมืองคนดี

ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

ทัศนศึกษาดูงานด้านการศึกษา

โดย..ส.ท.ลก พงษ์ศักดิ์ โพธิครูประเสริฐ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์กรที่ ถูกจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการที่ทุกโรงเรียนต้องมี ผมได้รับ โอกาสให้ทำ�หน้าที่กรรมการของโรงเรียนสุราษฎร์ธานีซึ่ง ครบวาระต้องเว้นวรรคแล้ว แต่ยงั เป็นกรรมการของโรงเรียน เทศบาล 5 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี และยังเป็นประธาน คณะกรรมการศึกษาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีด้วย ทำ�ให้ผมต้องศึกษาหาความรู้ด้านการศึกษาอยู่ตลอด เวลา เมื่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียน เทศบาล 5 ที่มีคุณสุณิสา วงศ์เจริญ เป็นประธาน และ คุณรัตนา บัวเพชร ผู้อำ�นวยการโรงเรียนเทศบาล 5 จัด ทัศนศึกษาดูงานที่จังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย ระหว่าง วันที่ 22-25 พฤศจิกายน ผมจึงร่วมไปกับคณะด้วย เดี๋ยวนี้การเดินทางไปเชียงใหม่เป็นเรื่องสะดวกมาก เพราะมีสายการบินแอร์ เอเซีย บินตรงทุกวันใช้เวลาเดิน ทาง 2 ชั่วโมงเท่านั้น ทำ�ให้ประหยัดเวลาได้มากค่าตั๋วก็ไม่ แพงเวลาเดินทางเหมาะสมด้วยไม่ต้องรีบร้อน คณะเดินทางครั้งนี้ไปทั้งหมด 17 ท่าน ออกเดินทาง จากท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี เวลา 9.35 น. ถึง ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ เวลา 11.20 น. ตรงตาม เวลา ถึงสนามบินมีรถตูม้ ารับเข้าทีพ่ กั แล้วรับประทานอาหาร กลางวัน จากนั้นจึงเดินทางไปโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ ซึ่งตั้ง อยู่ใจกลางเมืองเก่าเชียงใหม่ โรงเรียนนี้มีนักเรียนถึง 2,400 คน ผมเห็นโรงเรียนสะอาดมากแม้จะมีนกั เรียนกว่า 2,000 คน แต่ทแี่ ปลกตาคือมีเจดียอ์ ยูก่ ลางโรงเรียนพอฟังบรรยายสรุป จึงรูว้ า่ เป็นวัดเก่าแก่มาก่อน ชือ่ วัดกิตติ จึงมีพระธาตุกติ ติให้ นักเรียนได้บูชา โรงเรียนนี้มีชื่อเสียงด้านการจัดการขยะตามแนวคิดที่ ว่า “โรงเรียนใหญ่ รอยเท้าเล็ก” เป็นการจัดการขยะด้วย การลด Carbon Footprint ด้วยว่าโรงเรียนมีขนาดใหญ่ขยะ มากถ้าจะลดขยะให้ได้ต้องมีรอยเท้าเล็กจึงเป็นที่มาของชื่อ ดังกล่าว ด้วยการทำ�กิจกรรมต่างๆ ถึง 12 กิจกรรม เพื่อปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพราะปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเกิดจากการทิ้งขยะไม่ เป็นที่ และขยะไม่สามารถย่อยสลายได้ในระยะเวลาสั้น การ เผาขยะก็ท�ำ ให้เกิดก๊าซพิษ ซึง่ เชียงใหม่มปี ญ ั หานีเ้ กือบทุกปี ขยะจึงเป็นปัญหาสำ�คัญ โรงเรียนจึงได้จดั กิจกรรม “ลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู้” ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนได้จัดห้องพิเศษ Low Carbon School Network และเข้าร่วมโครงการโรงเรียนใหญ่ รอยเท้าเล็ก ของมู ล นิ ธิ สิ่ ง แวดล้ อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น (ประเทศไทย) โดยได้รับรางวัลสถานศึกษาดีเด่นด้านการ

ส่งเสริมกิจกรรมลดรอยเท้าคาร์บอนในโรงเรียน และยังได้ รับรางวัลดีเด่นด้านการจัดการขยะการประกวดโครงการ Y Green School Award ที่ไหนก็มักจะเน้นที่การนำ�ขยะมาใช้ใหม่ จะด้วยวิธี การต่างๆ กัน แต่ที่นี่ผมสนใจ 2 กิจกรรม กิจกรรมแรกตั้ง ชื่อเพราะมาก “One Product One Classroom” โดยให้ นักเรียนแต่ละห้องคิดทำ�ผลิตภัณฑ์จากขยะแล้วมาประกวด แข่งขันกัน ซึ่งวันนั้นผมเห็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่ไม่เคยเห็น มาก่อน และเป็นกิจกรรมใหม่ที่น่าสนใจทีเดียว อีกกิจกรรมคือ “แสตมป์สร้างนิสัย” เลียนแบบจาก การที่เวลาไปซื้อของร้านสะดวกซื้อที่จะให้แสตมป์ คุณครูที่ ทำ�เรื่องนี้จึงนำ�แนวคิดนี้มาใช้กับร้านค้าในโรงเรียนให้แจก แสตมป์ให้นักเรียนเวลามาซื้อของโดยทำ�ตามเงื่อนไขในการ ลดขยะ แล้วนักเรียนนำ�แสตมป์ไปแลกของตามที่กำ�หนดไว้ ผมว่าทั้งสองโครงการไม่ได้คิดขึ้นมาใหม่แต่นำ�แนวคิด ที่มีอยู่แล้วมาพลิกมุมคิดแล้วประยุกต์ใช้ให้เข้ากับแนวทางที่ ดำ�เนินอยู่ ทำ�ให้ทั้ง 2 กิจกรรม เป็นเรื่องเด่นของการจัดการ ขยะของโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ทใี่ ครมาดูงานแล้วสามารถ นำ�ไปต่อยอดได้ทันที จากเชียงใหม่ไปเชียงรายระยะทาง 180 กิโลเมตร ใช้ เวลาเดินทางกว่า 3 ชั่วโมง ด้วยรถตู้คณะเดินทางไปที่ โรงเรียนดำ�รงราษฏร์สงเคราะห์ โรงเรียนนี้มีนักเรียนถึง 2,700 คน ถ้าเทียบกับบ้านเราก็ประมาณโรงเรียนสุราษฎร์ พิทยา เพราะเป็นโรงเรียนสตรีมาก่อน และทั้งสองเด่นด้าน โครงงานวิทยาศาสตร์เหมือนกันผลัดกันแพ้ชนะมาตลอด ด้วยความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ทำ�ให้โรงเรียนได้ รับการสนับสนุนด้านอาคารเรียนที่ทันสมัยมีห้องปฎิบัติการ ด้านฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ที่เพิ่งสร้างเสร็จแต่ยังไม่ได้เปิดใช้ และยังได้งบประมาณสร้างอาคารใหม่สูง 7 ชั้น พิเศษตรงที่ ชั้นบนสุดจะทำ�เป็นหอดูดาวซึ่งเป็นแห่งแรกอีกด้วย

การดูงานโรงเรียนนีผ้ มได้ความคิดใหม่ 2 เรือ่ ง เรือ่ งแรก ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนได้กล่าวสรุปว่า “โรงเรียนดำ�รงราษฏร์ สงเคราะห์เป็นโรงเรียนทีม่ กี ระบวนการจัดการเรียนการ สอนทีท่ �ำ ให้เด็กประสบความสำ�เร็จ” ทีผ่ า่ นมาส่วนใหญ่จะ ได้ยินแต่ เก่ง ดี มีสุข ซึ่งถ้าคิดให้ดีแล้วการทำ�ให้เด็กประสบ ความสำ�เร็จน่าจะเป็นเรื่องที่สำ�คัญที่สุด อีกแนวคิดหนึ่งจากรองผู้อำ�นวยการที่กล่าวสรุปว่า โรงเรียนต้องมี 4 เสา ที่เกื้อกูลให้โรงเรียนประสบความสำ�เร็จ ที่ผมรู้มาก็มีเพียง 3 เสา คือ คณะกรรมการสถานศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน สมาคมศิษย์เก่า และสมาคมครูและผูป้ กครอง แต่ ที่รองผู้อำ�นวยการเพิ่มขึ้นมาอีกเสาหนึ่งคือ สมาคมครูเก่า ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าสามารถเข้ามาช่วยเหลือ โรงเรียนได้อีกทางหนึ่ง การทัศนศึกษาดูงานครัง้ นีแ้ ม้จะเป็นช่วงสัน้ ๆ แต่กเ็ ป็น เวลาที่คุ้มค่าและได้ประโยชน์เป็นอย่างยิ่ง ทั้งได้รับความรู้ จากโรงเรียนทั้ง 2 แห่ง แล้วยังได้รับการดูแลเป็นอย่างดีจาก คณะครูที่ร่วมเดินทางภายใต้การนำ�ของผู้อำ�นวยการ รัตนา บัวเพชร แต่คนที่ทำ�ให้โครงการนี้เกิดได้ต้องขอบคุณท่าน ประธาน สุณสิ า วงศ์เจริญ ทีส่ นับสนุนการเดินทางและสร้าง ความสนุกสนานให้กับคณะตลอดเวลาที่อยู่ร่วมกัน


ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

พลังประชาชน สุราษฎร์ธานี

โดย.. ฉัตรวรุณธ์ คูเศรษฐวัฒน์ สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่าน โรงเรียนการช่างสตรี เป็นชื่อ เรียกของ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี ในอดีตทีผ่ า่ นมา เดิมชื่อว่า “โรงเรียนช่างเย็บเสื้อผ้าสุราษฎร์ธานี” โดย การอนุมัติของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2481 เปิดรับนักเรียนเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2482 ดำ�เนินการสอนตามหลักสูตร 2 ปี รับเฉพาะนักเรียน หญิงที่สำ�เร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ทำ�การสอนที่โรงเรียน สตรีสุราษฎร์ธานี (โรงเรียนสุราษฎร์พิทยาในปัจจุบัน) โดย นางสาวชุลี อาตมะมิตร เป็นครูใหญ่ มีนักเรียน 32 คน ครูแผ้ว พรหมสวัสดิ์ และครูกฤษณ์ บุญยรัตน์ มี จิตศรัทธาบริจาคที่ดิน จำ�นวน 4 ไร่ 1 งาน 80.3 ตารางวา บนถนนตลาดใหม่ ห่างจากตลาด 1 กิโลเมตร สร้างอาคาร ไม้ 2 ชั้น และย้ายมาเรียนในวันที่ 6 พฤษภาคม 2484 เปิด สอนตามหลักสูตรช่างเย็บเสื้อผ้าจนถึง พ.ศ. 2491 กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารจึ ง เปลี่ ย นหลั ก สู ต รใหม่ เ ป็ น หลั ก สู ต รมั ธ ยม อาชีวศึกษา แผนกการช่างสตรีเรียน 2 ปี และเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนการช่างสตรีสุราษฎร์ธานี” พ.ศ. 2498 ได้รับงบประมาณจากกรมอาชีวศึกษาจัด ซื้อที่ดิน จำ�นวน 3 ไร่ พ.ศ. 2516 เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียน อาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี” พ.ศ. 2519 รวมโรงเรียนการช่าง สุราษฎร์ธานีและโรงเรียนอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี จัดตัง้ เป็น “วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี วิทยาเขต 1 และวิทยาเขต 2” ต่อมา 1 เมษายน 2523 ได้แยกตัวจัดตั้งเป็นวิทยาลัย ใหม่ชื่อว่า “วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี” มีพื้นที่ ทั้งหมด 7 ไร่ 1 งาน 80.3 ตารางวา ในปัจจุบัน วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี เปิดสอนในหลักสูตร เกี่ยวกับสายอาชีพ คหกรรม พาณิชยกรรม ศิลปกรรม เพื่อ ให้เป็นทางเลือกแก่นกั เรียนในชัน้ มัธยมศึกษาได้เข้าเรียนต่อ ในสายอาชีพ ที่สำ�คัญวิทยาลัยอาชีวศึกษาได้ผลิตบุคลากร ออกสู่ตลาดแรงงานอย่างมากมายจากอดีตสู่ปัจจุบัน จาก รุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง มีลูกศิษย์ลูกหาที่ไปสร้างชื่อเสียง มากมาย นอกจากนี้วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานีเป็น

9

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

สถานศึกษารางวัลพระราชทาน ของชาวสุราษฎร์ธานี

ผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังในการจัดงานใหญ่ของจังหวัดหลายงาน โดยที่ ไม่ค่อยมีผู้คนภายนอกรับทราบ ตลอดระยะเวลา 10 ปีทผ่ี า่ นมา ทางวิทยาลัยอาชีวศึกษา ได้บริหารจัดการทางการศึกษาบุคลากรและนักเรียนให้มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลแก่ผสู้ �ำ เร็จการศึกษา ทำ�ให้ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี ได้รับรางวัลพระราชทาน ของกระทรวงศึกษาธิการเมื่อ พ.ศ. 2551 และ 2555 มาในปี 2560 นี้ ผลของการปฏิบตั งิ านของคณะผูบ้ ริหาร ครู-อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และบุคคลากรทุกฝ่าย ของ

อีกหนึ่งความภาคภูมิใจ

วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฏร์ธานี ประจำ�ปีการศึกษา 2559 ทำ�ให้ได้รางวัลพระราชทาน เป็นปีที่ 3 ในรอบ 10 ปีเป็นความ ปลื้มปิติ ความภาคภูมิใจที่เกิดจากที่ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์ อั น สู ง ส่ ง ซึ่ ง หาที่ เ ปรี ย บไม่ ไ ด้ กั บ รางวั ล พร้ อ มกั บ โล่ ห์ พระราชทานทองคำ�ด้วย ต้องบอกว่าสุราษฎร์ธานี เมืองคนดีของเรายังมีอะไรดีๆ อีกมากมายทีพ่ อ่ แม่พนี่ อ้ งยังไม่ได้รบั ทราบ ยังไม่เคยรูถ้ งึ เรือ่ ง ราวต่างๆ เหล่านี้ ผมเองก็น�ำ เรือ่ งราวดีๆ แบบนีม้ าบอกต่อให้ ทุกท่านได้รบั ทราบ เพือ่ ประโยชน์ของลูกหลานพวกเราทุกคน

นางมาลี ว่องเกษฏา อาจารย์ประจำ�คณะคหกรรม สาขาอาหารและโภชนาการ กับอนุสิทธิบัตร น้ำ�จิ้มสุกี้ ที่มีส่วนผสมของน้ำ�ส้มสับปะรด ซึ่งเป็นความร่วมมือของนักเรียน นักศึกษา และอาจารย์ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้ สูตรน้ำ�จิ้มดังกล่าว


10

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

หอการค้าสุราษฎร์ธานีส่งมอบธงให้หอการค้าจังหวัดลำ�ปาง

การจัดสัมมนาหอการค้าทัว่ ประเทศ ครัง้ ที่ 35 ทีจ่ งั หวัด สุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 17-19 พฤศจิกายน 2560 ที่ผ่านมา ที่หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นเจ้าภาพจัดงานได้เสร็จ สิ้นลงแล้วด้วยความสำ�เร็จเป็นอย่างยิ่ง การจัดงานเริ่มขึ้นเช้าวันที่ 17 พฤศจิกายน ณ โรงแรม ไดมอนด์พลาซ่า ด้วยการสัมมนาของผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ของหอการค้าทัว่ ประเทศหรือ YEC โดยนายกลินท์ สารสิน ประธานหอการค้าไทยเป็นประธานกล่าวเปิดงาน และมีการ แข่งขัน YEC Pitching ซึ่งปีนี้ YEC ภาคใต้ได้รับรางวัล ชนะเลิศ ช่วงบ่ายเป็นการประชุมหอการค้าภาค 5 ภาค และ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ YEC กล่าวเปิดงานโดย คุณวัฒนา ธนาศักดิเ์ จริญ ประธานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจพืน้ ที่ ภาคใต้ และรองประธานหอการค้าไทย โดยครั้งนี้ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือเพื่อส่งเสริมและ ผลักดันให้เกิดการเรียนการสอนหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ ในพื้นที่ภาคเหนือ ระหว่างนายวิโรจน์ จิรัฐติกาลโชติ รอง ประธานหอการค้าไทย และประธานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจพืน้ ทีภ่ าคเหนือ กับผูบ้ ริหารโรงพยาบาลกล้วยน้�ำ ไท และนายกสมาคมส่งเสริมธุรกิจบริการสูงอายุไทย ช่ ว งเย็ น เป็ น งานเลี้ ย งรั บ รองผู้ เข้ า ร่ ว มสั ม มนาของ หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่โรงแรมวังใต้ ซึ่งได้เตรียม การมานานหลายเดือนเพื่อสร้างความประทับใจให้กับผู้เข้า ร่วมงาน จึงตกแต่งสถานที่ตั้งแต่บริเวณล็อบบี้ให้เป็นลาน แสดงศิลปะวัฒนธรรมและของดีของจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีการออกซุ้มอาหารอร่อยจากทุกอำ�เภอบริเวณ ริมสระน้ำ�ของโรงแรมจนไปถึงบริเวณชั้น 2 ก่อนเข้าห้อง ศรี วิ ชัย ผู้ เข้ า ร่ ว มงานสามารถเดินชมการจำ�ลองวิถีชีวิต ของคนลุ่มน้ำ�ตาปีและชิมอาหารพื้นเมืองที่รวบรวมมาไว้ได้ มากมายหลายอย่างได้ตามความชอบ จนถึงเวลา 19.00 น. พิธีการจึงเริ่มขึ้นด้วยการกล่าว ต้ อ นรั บ โดย นายวิ ช วุ ท ย์ จิ น โต ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี กล่าววัตถุประสงค์การจัดงานโดย นายธีระชัย ศรีโพธิ์ชัย ประธานหอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี และ กล่าวขอบคุณโดย นายกลินท์ สารสิน ประธานกรรมการ หอการค้าไทย และพิธเี ปิดงานโดยการตีกลองพร้อมการแสดงต้อนรับ ผู้เข้าร่วมงาน มอบของที่ระลึกให้แก่ผู้สนับสนุนการจัดงาน รับชม VTR แนะนำ�จังหวัดสุราษฎร์ธานี และชมการแสดง ชุด “อารยธรรมลุม่ น้�ำ ตาปี เมืองคนดีศรีวชิ ยั ” ซึง่ เป็นการ แสดงที่ได้รับคำ�ชมจากผู้เข้าร่วมงานเป็นอย่างมาก วันเสาร์ที่ 18 พฤศจิกายน วันที่ 2 ของงานได้แบ่ง เป็น 2 ชุด คือผู้เข้าร่วมสัมมนาที่โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า และผู้ที่ไปเดินทางท่องเที่ยวตามเส้นทางที่หอการค้าจังหวัด สุราษฎร์ธานี ได้จัดเตรียมไว้ 4 เส้นทาง

เส้นทางแรกเที่ยวอำ�เภอเมือง “สักการะพระธาตุศรี สุราษฎร์ ชมธรรมชาติแลวิวเมืองบ้านดอน ขอพรสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ เรียนรู้วิถีชีวิตคนในบาง” เส้นทางที่ 2 เที่ยว อำ�เภอดอนสัก “อิม่ บุญ สุขใจในเส้นทาง 2 ธรรม” เส้นทาง ที่ 3 เที่ยวอำ�เภอบ้านตาขุน “ตามหาหัวใจกลางเขา เรามี เรา@เขื่อนรัชชประภา” และเส้นทางที่ 4 เที่ยวอำ�เภอไชยา “ทริปล้างใจ” ครัง้ นีผ้ รู้ ว่ มสัมมนาเดินทางไปท่องเทีย่ วเขือ่ น รัชชประภามากที่สุด ในส่วนการสัมมนาเริ่มด้วยการขับร้องประสานเสียง โดยนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ า ไทย กล่ า วต้ อ นรั บ ในนามจั ง หวั ด โดย นายวิ ช วุ ท ย์ จิ น โต ผู้ ว่ า ราชการ จังหวัดสุราษฎร์ธานี กล่าวต้อนรับในนามหอการค้าจังหวัด สุราษฎร์ธานีโดย นายธีระชัย ศรีโพธิช์ ยั ประธานหอการค้า จังหวัดสุราษฎร์ธานี และกล่าวรายงานวัตถุประสงค์โดย นาย วัฒนา ธนาศักดิเ์ จริญ รองประธานกรรมการหอการค้าไทย และประธานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจพื้นที่ภาคใต้ และกล่าวสุนทรพจน์เปิดการสัมมนา Executing Trade & Services 4.0 : เติบโต ทั่วถึง แบบไทยเท่ (ThaiTay with Inclusive Growth) โดย นายกลินท์ สารสิน ประธาน กรรมการหอการค้าไทย ซึ่งเป็นหัวข้อในการจัดสัมมนา ครั้งนี้ ภาคค่ำ�เป็นงานเลี้ยงรับรองที่จัดโดยหอการค้าไทย ซึ่งทุกปีจะมีการประกาศสถานที่จัดการสัมมนาหอการค้าทั่ว ประเทศ ครั้งที่ 37 ปี 2562 ซึ่งนายสมชาติ พงคพนาไกร ประธานหอการค้ า จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี พ ร้ อ มด้ ว ยคณะ กรรมการและนายสฤษดิ์ วิ ฑู ร ย์ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ได้ ขึ้ น ประกาศความพร้ อ มในการรั บ เป็ น

เจ้าภาพการจัดงาน จากนั้ น เป็ น พิ ธี ม อบธงการจั ด สั ม มนาหอการค้ า ทั่ ว ประเทศ ครั้ ง ที่ 36 ปี 2561 โดยประธานหอการค้ า จังหวัดสุราษฎร์ธานีและคณะ มอบธงให้ประธานกรรมการ หอการค้าไทยแล้วมอบต่อให้ประธานหอการค้าจังหวัดลำ�ปาง และคณะ ด้านนายชูฤทธิ์ อันนารา ประธานหอการค้าจังหวัด ลำ�ปาง ได้กล่าวถึงการเป็นเจ้าภาพการจัดสัมมนาหอการค้า ทั่วประเทศปี 2561 ว่า หอการค้าจังหวัดลำ�ปางมีขึ้นเพื่อเป็น ตัวแทนของภาคการค้า เพราะการรวมตัวคือพลังและส่งเสริม การค้าการลงทุนและเศรษฐกิจของจังหวัดอย่างมีมิติ ครั้งนี้รับอาสาทำ�งานหนักด้วยความตั้งใจด้วยความ พร้อมและมุ่งมั่นที่จะเดินหน้าเพื่อ “เปิดลำ�ปาง” ให้ได้ ถึง แม้เราจะไม่สามารถทุม่ ทรัพยากรจัดการต้อนรับแบบหรูหรา ได้ แต่เรามีความน่ารักของคนลำ�ปางและความเป็นมิตรเป็น แรงสำ�คัญในการจัดงานนี้ ภารกิจนี้สิ่งที่สำ�คัญที่สุดสำ�หรับ หอการค้าจังหวัดลำ�ปางคือ คนลำ�ปางต้องได้ประโยชน์ ด้วย แนวคิดการจัดงาน “หอการค้า เปิดลำ�ปาง ไทยเท่ ลำ�ปาง ก็เท่” และขอเชิญชวนทุกท่านไปร่วมงานในปี 2561 ซึ่งเป็น ปีท่องเที่ยวลำ�ปางด้วย หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี สามารถจัดการสัมมนา หอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 35 ได้สำ�เร็จด้วยความราบรื่น เรียบร้อยจนได้รับคำ�ชมจากหลายๆ หอการค้าที่มาร่วมงาน ในครั้งนี้ เพราะความทุ่มเทของประธานหอการค้า นาย ธีระชัย ศรีโพธิ์ชัย คณะกรรมการ และYEC ร่วมทั้งหน่วย งานต่างๆ ที่มาร่วมจัดงานครั้งนี้


ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

เมืองใต้นิวส์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

ท่าเรือสำ�ราญกำ�ลังจะเกิดขึ้น ณ เกาะสมุย

ตามที่ ก ระทรวงการท่องเที่ย วและกีฬา มีโ ครงการ ศึกษาเพื่อจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมการท่องเที่ยว เรือสำ�ราญ พ.ศ. 2561-2570 ภายใต้โครงการค่าใช้จ่าย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเรือสำ�ราญ (Cruise Tourism) ในบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพโดยรวม ในพื้นที่ภาคตะวันออก กรุงเทพมหานคร ภาคกลางตอนล่าง ภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย และ ภาคใต้ฝั่งอันดามัน เพื่อศึกษาพื้นที่น่าจะมีความเป็นไปได้ ในการก่อสร้างท่าเรือเทียบเรือรองรับเรือสำ�ราญขนาดใหญ่ มี ก ารศึ ก ษาท่ า เรื อ ที่ ร องรั บ เรื อ สำ � ราญขนาดใหญ่ ใ นต่ า ง ประเทศ การบริหารจัดการท่าเทียบเรือ การบูรณาการการ ทำ�งานของท่าเรือกับหน่วยงานต่างๆ แนวโน้มการท่องเทีย่ ว โดยเรือสำ�ราญ เพือ่ นำ�ข้อมูลมาจัดทำ�เป็นกรณีศกึ ษาประกอบ โครงการ และมีการลงพืน้ ที่ ณ สถานทีจ่ ริง ศึกษารายละเอียด พร้อมเก็บข้อมูลด้วย โดยเมือ่ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2560 มีการลงพืน้ ทีส่ �ำ รวจ แหล่งท่องเทีย่ วของอำ�เภอเกาะสมุย อาทิ พระใหญ่ หาดเฉวง หินตา หินยาย น้ำ�ตกหน้าเมือง สำ�รวจเส้นทางการคมนาคม เพื่อรวบรวมข้อมูลในการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว ต่อมาวันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องมรกต โรงแรม ไดมอนด์พลาซ่า สุราษฎร์ธานี ได้มีการจัดประชุม Focus Group ครัง้ ที่ 2/5 พืน้ ทีภ่ าคใต้ฝงั่ อ่าวไทย เพือ่ นำ�เสนอข้อมูล แก่ผู้เข้าร่วมประชุม มี ดร. จามรี ยสินทร หัวหน้าโครงการ, ดร. มานะ ภัตรพานิช ที่ปรึกษาโครงการ, คุณวัฒนา โชคสุวณิช ที่ ปรึกษาโครงการ, คุณสุทัศ วรรระเลิศ ผู้เช่ียวชาญด้าน การท่องเที่ยว ร่วมบรรยายและเสนอเกี่ยวกับพื้นที่ที่น่าจะ ก่อสร้างท่าเรือเทียบเรือรองรับเรือสำ�ราญขนาดใหญ่ ในพืน้ ที่ ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. ภาคกลางตอนล่าง ได้แก่ บริเวณอำ�เภอชะอำ� จังหวัด เพชรบุรี และอำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2. ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ได้แก่ บริเวณอำ�เภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี อำ�เภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา ซึ่งพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ อาทิ ด้านวิศวกรรม ด้าน การตลาดและเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสังคม จาก การได้มกี ารจัด Focus Group ครัง้ ที่ 1/5 ผลปรากฏว่า พืน้ ที่ อำ�เภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นพื้นที่ที่มีความ พร้อมในด้านต่างๆ เป็นอันดับ 1 รองลงมา คือบริเวณอำ�เภอ

11

หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และท่าเรือน้ำ�ลึก จังหวัด สงขลา พร้อมกันนี้ได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แนวทาง ที่น่าจะเกิดท่าเทียบเรือสำ�ราญ แนวปฏิบัติต่างๆ เพื่อให้มี การแลกเปลี่ยนข้อมูลมากที่สุดในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ดังกล่าว

การประชุม Focus Group ครั้งที่ 2/5 พื้นที่ภาคใต้ ฝั่งอ่าวไทย ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ในจำ�นวน 5 ครั้ง เพื่อให้ ได้ ข้ อ สรุ ป นำ � เสนอต่ อ กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า นำ�จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมการท่องเทีย่ วเรือสำ�ราญ พ.ศ. 2561-2570 ภายใต้โครงการค่าใช้จ่ายเพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวเรือสำ�ราญ (Cruise Tourism) ต่อไป


12

เมืองใต้นิวส์

ฉบับประจำ�เดือนธันวาคม

ปีที่ 6 ฉบับที่ 66 ประจำ�เดือนธันวาคม 2560

12 : 12 : 12 : 12 : 12 : 60 ขอเชิญร่วมพิธีเปิด

สมาคมส่งเสริมการค้า การลงทุน ไทย จีน วันอังคาร ที่ 12 ธันวาคม 2560 เวลา 12.12.12 น. ณ ที่ทำาการสมาคมฯ สาขาอำาเภอเกาะสมุย เลขที่ 191/13 หมู่ที่ 2 ตำาบลบ่อผุด อำาเภอเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี

เอสที กาแฟชุมพร

ST Chumphon Coffee โฉมใหม่

เอสที

กาแฟชุมพร ST Chumphon Coffee

มีจำ�หน่ายที่ร้าน

์ ณ ร ภ า อ วิไล

มีจำ�หน่ายที่ร้าน

์ ณ ร ภ า อ ล วิไ โทร. 077-273352, 081-978 3401

โทร. 077-273352, 081-978 3401


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.