รายงานประจำปีคณะวิทยาการจัดการ 2554

Page 1

รายงานประจําป 2554 Annual Report 2011



สารบัญ เนื้อหา

หนา คํานํา ประวัติคณะวิทยาการจัดการ บทนํา ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค กลยุทธ ยุทธศาสตร ตราสัญลักษณคณะวิทยาการจัดการ สีประจําคณะวิทยาการจัดการ สถานที่ตั้งและแผนที่อาคารคณะวิทยาการจัดการ ผูบริหารคณะวิทยาการจัดการ โครงสรางการบริหารคณะวิทยาการจัดการ คณะกรรมการบริหารคณะวิทยาการจัดการ โครงสรางการบริหาร/แผนผังคณะวิทยาการจัดการ โครงสรางการแบงสวนหนวยงานในสํานักงานคณบดี คณะวิทยาการจัดการ บุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ คณาจารยประจําหลักสูตรภายในคณะวิทยาการจัดการ บุคลากรสายสนับสนุน ขอมูลนักศึกษา ผลงานและกิจกรรมที่สําคัญในปงบประมาณ 2554 กิจกรรมดานวิชาการ กิจกรรมดานบริการวิชาการ กิจกรรมดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ผลงานวิจัยและงานสรางสรรค การบริหารจัดการ งบประมาณ การพัฒนาบุคลากร ภาคผนวก รวมภาพกิจกรรมประจําปงบประมาณ 2554 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในปการศึกษา 2553

1 3 6 6 6 9 10 11 12 12 16 23 24 25 25 26 26 27 29 29 36 45 46 49


คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี 41 หมู 5 ตําบลทาชาง อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000 โทรศัพท : 0-3931-9111 ตอ 1300 – 1306 , 0-8644-03163 ,0-3947-1080 โทรสาร : 0-3947-1080 เว็บไซต : http://www.manage.rbru.ac.th


คํานํา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี ไดบริหารจัดการตามแผนกลยุทธ โดยใชปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร เปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาคณะอยาง ตอเนื่อง ซึ่งสอดคลองกับการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัย ในปงบประมาณ 2554 คณะวิทยาการจัดการ มีผลการดําเนิน งานที่เติบ โตขึ้ นอย างตอเนื่ อง พิจารณาไดจากผลการประเมินการประกั นคุ ณภาพ การศึกษาภายใน ที่มีผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นจากเดิม ทั้งนี้คณะฯ จึงจัดทํารายงานประจําป 2554 เพื่อนําเสนอผลงานการดําเนินงานของหลักสูตร ในคณะวิทยาการจัดการ ซึ่งประกอบดวยขอมูลพื้นฐาน งบประมาณ การจัดการศึกษา การดําเนินงาน ดานวิชาการ การบริการวิชาการ เปนตน เพื่อใหเห็นภาพรวมของการดําเนินงาน ของคณะวิทยาการจัดการ ในปงบประมาณที่ผานมา เพื่อเป นแหลงอางอิงและนําไปใชในการพัฒ นาคณะวิทยาการจัดการใน อนาคต คณะผู จั ด ทํ าขอขอบคุ ณ หลั ก สู ต รในคณะวิ ท ยาการจั ด การที่ ให ข อ มู ล และปฏิ บั ติ ห น า ที่ ตามยุทธศาสตรของคณะวิทยาการจัดการใหบรรลุตามทิศทางของคณะวิทยาการจัดการที่ไดวางไว ทางผู จั ด ทํ าหวังเป น อย างยิ่ งว ารายงานประจํ าป งบประมาณ 2554 คณะวิทยาการจัดการฉบับ นี้ จะสามารถนําไปใชใหเปนประโยชนในการอางอิงไดตอไป

(ดร.โกศล อินทวงศ) คณบดีคณะวิทยาการจัดการ


~1~

ประวัติคณะวิทยาการจัดการ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ รําไพพรรณี ไดเริ่มกอตั้งขึ้นใน ภายใต ชื่อคณะวิชา วิทยาการจัดการ วิทยาลัยครูจันทบุรี ในภาคเรียนที่สอง ปการศึกษา 2527 ภายใตการนําของอาจารย สาโรช เนติธรรมกุล รวมกับอาจารยอาสาสมัครจากคณะวิชาอื่นๆ อีก 2-3 ทาน เขามาดําเนินการสอน จนกระทั่ งป การศึ กษา 2528 วิทยาลัย ครูจัน ทบุ รี ไดรับ พระราชทานพระบรมราชานุ ญ าตให อั ญ เชิ ญ พระนามาภิ ไธยในสมเด็ จ พระนางเจ า รํ า ไพพรรณี พระบรมราชิ นี ในรั ช การที่ 7 เป น นาม ของวิทยาลัยวา “วิทยาลัยรําไพพรรณี” พรอมกันนี้ไดจัดตั้งคณะวิชาวิทยาการจัดการขึ้นอยางเปนทางการ นับ เป น คณะวิ ชาที่ 5 ในวิทยาลัย รําไพพรรณี โดยใช หองเรีย น 316 ของคณะมนุ ษยศาสตรในป จจุ บั น เปนที่ทําการแหงแรกของคณะ หลั ก สู ต รที่ ค ณะเป ด การเรี ย นการสอนในช ว งแรกเป ด ทํ า การสอนในระดั บ อนุ ป ริ ญ ญา ศิลปศาสตร (อ.ศศ.) สาขาวิชาบริหารธุรกิจ เป นสาขาวิชาแรก จนกระทั่งป การศึกษา 2529 คณะวิช า วิทยาการจัดการ ไดเขารวมโครงการผลิตนักศึกษาในโครงการ “การศึกษาสําหรับบุคลากรประจําการ (กศ.บป.)” ซึ่งเปดทําการสอน 2 ระดับ ประกอบไปดวย ระดับอนุปริญญาศิลปศาสตร (อ.ศศ.) สาขาวิชา บริหารธุรกิจ และระดับปริญญาตรีศิลปศาสตร (ศศ.บ.) 2 ปหลังอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ต อ มาในป ก ารศึ ก ษา 2530 และ 2531 คณะวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การได เ ป ด สอน ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ศิ ล ปศาสตร (ศศ.บ.) 2 ป ห ลั งอนุ ป ริ ญ ญา สาขาวิช าการจั ดการทั่ ว ไป และระดับ อนุ ป ริญ ญา (อ.ศศ.) สาขาธุรกิจทองเที่ยว เพิ่มเติมสําหรับนักศึกษาภาคปกติตามลําดับ ตอมาในปการศึกษา 2535 คณะวิชา ไดเปดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีศิลปศาสตร (ศศ.บ.) สาขาวิชานิเทศศาสตร สําหรับนักศึกษา ภาคปกติ นับแตปการศึกษา 2535 เปนตนมา คณะวิชาวิทยาการจัดการไดมีการเปดการสอนในหลักสูตร สาขาวิชาการจัดการทั่วไป บริหารธุรกิจ อุตสาหกรรมการทองเที่ยว นิเทศศาสตร และเศรษฐศาสตร รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~2~

สหกรณ โดยในแตละสาขาวิชาไดแบงออกเปนแขนงวิชาตางๆ ตามความตองการของทองถิ่น เชน แขนง วิชาการตลาด แขนงวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย แขนงวิชาบัญชี แขนงวิชาการประชาสัมพันธ แขนงวิชา วารสารศาสตร เปนตน แตตอมาในภายหลังไดปดสาขาวิชาเศรษฐศาสตรสหกรณ เนื่องจากไมไดรับความ นิยมจากบุคคลในทองถิ่นเทาที่ควร ในป การศึกษา 2536 คณะวิทยาการจัดการยายที่ทําการมาอยู ที่อาคาร 6 และใชเป นอาคาร ที่ทําการของคณะวิทยาการจัดการอยางเปนทางการ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมรองรับแผนการขยาย งานของคณะ ที่นับวันจะทําการรับนักศึกษาในแขนงวิชาอื่นๆ เพิ่มขึ้น ในป พ.ศ. 2538 ได มี การประกาศใชพ ระราชบั ญ ญั ติ ส ถาบัน ราชภัฏ พ.ศ. 2538 ยั งผลให คํ า นํ า หน า ของวิ ท ยาลั ย ครู เปลี่ ย นเป น “สถาบั น ราชภั ฏ ” วิ ท ยาลั ย รํ า ไพพรรณี จึ ง เปลี่ ย นเป น “สถาบั น ราชภั ฏ รํ า ไพพรรณี ” นอกจากการเปลี่ ย นแปลงชื่ อ วิ ท ยาลัย แลว ยั งมี ก ารเปลี่ ย นแปลงชื่ อ ในสวนราชการตางๆ ในสถาบัน โดย “คณะวิชาวิทยาการจัดการ” เปลี่ยนมาใชเปน “คณะวิทยาการจัดการ” แทน และตําแหนงหัวหนาคณะวิชาเปลี่ยนเปนคณบดี รองหัวหนาคณะวิชาเปลี่ยนมาเปนรองคณบดี เพื่ อให เกิ ดความคล องตั ว และเอื้ อตอการระดมทรัพ ยากรมาใชเพื่ อพั ฒ นาการเรีย นการสอน ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในปการศึกษา 2542 คณะวิทยาการจัดการไดปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารจาก ภาควิ ช ามาเป น รู ป แบบของโปรแกรมวิ ช า โดยปรั บ เปลี่ ย นจาก 5 ภาควิ ช าเดิ ม ได แ ก ภาควิ ช า บริห ารธุรกิจ ภาควิช าการตลาด ภาควิชาการเงินและการบั ญชี ภาควิชาเศรษฐศาสตร และภาควิช า การสื่ อ สารและประชาสั ม พั น ธ มาเป น โปรแกรมวิช าบริห ารธุร กิ จ โปรแกรมวิช าการจัด การทั่ ว ไป โปรแกรมวิ ช าวารสารศาสตร และการประชาสัม พั น ธ โปรแกรมวิช านิ เทศศาสตร และโปรแกรมวิช า อุตสาหกรรมการทองเที่ยว เนื่องจากอาคารคณะวิทยาการจัดการ (อาคาร 6) นอกจากจะใชเปนที่ทําการสํานักงานคณะแลว ยังใชเปน หองพั กอาจารยประจําคณะ และใชเปนสถานที่ฝกทักษะของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ได แ ก ห อ งปฏิ บั ติ ก ารพิ ม พ ดี ด ไทย ห อ งปฏิ บั ติ ก ารพิ ม พ ดี ด อั ง กฤษ ห อ งปฏิ บั ติ ก ารคอมพิ ว เตอร ห องปฏิ บั ติ การบั น ทึ ก เสี ย ง และห องปฏิ บั ติ ก ารวีดี ทั ศ น สถานที่ ภ ายในคณะจึ งมี ค วามคั บ แคบ และ ไมสามารถขยับขยายเพื่อรองรับความตองการดังกลาวได ดังนั้น ในป พ.ศ. 2546 คณะวิทยาการจัดการ ไดเปลี่ยนสถานที่ทําการคณะอีกครั้งหนึ่ง จากอาคาร 6 มาเปนอาคาร 13

รายนามคณบดีคณะวิทยาการจัดการ ลําดับ 1 2 3

รายชื่อ นายสาโรช เนติธรรมกุล นายณรงค โพธิส์ ามตน นางรวงพร อิ่มผล

ระยะเวลาที่ดํารงตําแหนง พ.ศ. 2527 – 2529 พ.ศ. 2529 – 2529 พ.ศ. 2529 – 2530

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~3~ 4 5 6 7 8 9 10 11 12

นายชัยยศ ผลวัฒนา ผูชวยศาสตราจารยณรงค โพธิ์สามตน นางจงกลณี เลื่อนศักดิ์ ผูชวยศาสตราจารยนงนุช วงษสุวรรณ นางสาวกัลยา จยุติรตั น นางสาวละเมียด ควรประสงค นายนนธวัช ผลวัฒนา รองศาสตราจารยบัญญัติ สุขศรีงาม (รักษาราชการแทนคณบดีคณะวิทยาการจัดการ) ดร.โกศล อินทวงศ

พ.ศ. 2530 – 2534 พ.ศ. 2534 – 2536 พ.ศ. 2536 – 2538 พ.ศ. 2538 – 2540 พ.ศ. 2540 – 2542 พ.ศ. 2542 –2544 พ.ศ. 2544 – 2552 ตั้งแตวันที่ 9 เมษายน - 7 ธันวาคม 2552 ตั้งแตวันที่ 8 ธันวาคม 2552 – ปจจุบัน

ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค นโยบาย ยุทธศาสตร คณะวิทยาการจัดการ ปรัชญาของคณะวิทยาการจัดการ (Philosophy) “ผลิตบัณฑิตคุณภาพเพื่อพัฒนาทองถิ่นไทย” วิสัยทัศน (Vision) คณะวิทยาการจัดการผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถดานวิชาการและทักษะ ตามมาตรฐานวิชาชีพ พันธกิจ (Mission) คณะวิทยาการจัดการมุงจัดระบบการศึกษาระดับสากลทั้งดานวิชาการ การวิจัยและเทคโนโลยี ให ได รั บ การพั ฒ นาอย างต อเนื่ องใช ระบบประกัน คุณ ภาพและการบริห ารจัดการนั กศึกษาเพื่ อใหเกิ ด ความเชื่อมั่นแกผูปกครอง ผูประกอบการและแสวงหาโอกาสในการขยายบริการสูสังคมใชและประสาน ภูมิปญ ญาท องถิ่น ดานอารยธรรมและวัฒ นธรรมอั นดี งามของชุมชน โดยความรวมมือกั บภาครัฐและ ภาคเอกชน นโยบายคณะวิทยาการจัดการ • การวางแผนกลยุทธองคการจะมองระยะยาว • การจั ด โครงสร า งองค ก ารจะเป น แนวราบ และเป น เครื อ ข า ย (Flat Organization & Networking) • การกระจายอํานาจตัดสินใจสูผูปฏิบัติจะมากขึ้น (Empowerment) รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~4~

• องคกรชวยเหลือตัวเองมากขึ้น (Self-sustainable) • ประชาคมในองคกรจะมีสวนรวมมากขึ้น (Participation) • การใชความรูเชิงสหวิทยาการมีความจําเปนมากขึ้น • การแกปญหาจะตองมองภาพที่เปนลักษณะองครวม แผนยุทธศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี ยุทธศาสตร 1 การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษยใหมีความเขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมีคณ ุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ 1. ผลิตบัณฑิตสูมาตรฐานการศึกษาระดับชาติและระดับสากล 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนเพื่อการจัดการศึกษา อยางมีประสิทธิภาพ 3. ปรับปรุงหลักสูตรเดิมและพัฒนาหลักสูตรใหมใหเปนไปตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education) และสอดคลองกับความตองการของสังคมและมาตรฐานวิชาชีพ 4. พัฒนาระบบและกลไกการบริหารมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับการประกัน คุณภาพการศึกษา 5. ขยายโอกาสทางการศึกษาแกนักเรียนผูดอยโอกาส (Pre college) ยุทธศาสตร 2 การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีสมรรถนะตาม มาตรฐานวิชาชีพ 2. สงเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการการศึกษาตลอดชีพใหกับครูและ บุคลากรทางการศึกษา 3. สงเสริมการพัฒนาศึกษาศาสตร 4. พัฒนาโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยใหเปนแหลงเรียนรู/แหลงสาธิตการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร 3 การวิจัยเพื่อนําไปสูการพัฒนาดานวิชาการและพัฒนาทองถิ่น กลยุทธ 1. พัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ เพื่อนําไปสู การพัฒนาดานวิชาการที่สามารถบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่นและสากลได รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~5~

2. ใหมีความรวมมือดานการวิจัยและใหมีการเผยแพรงานวิจัยทั้งระดับชาติและ นานาชาติ 3. สนับสนุนใหมีการสรางสรรค สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมที่มุงสูการจดสิทธิบัตรได รวมถึงการพัฒนาการปรับปรุงเทคโนโลยีที่สอดคลองกับภูมิปญญาทองถิ่น 4. เรงรัดใหมีการวิจัยสถาบันเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและ การเรียนการสอนอันจะนําไปสูการเพิ่มศักยภาพในการแขงขันของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร 4 บริการวิชาการแบบมีสวนรวมบนพื้นฐานความตองการของสังคม ชุมชนและทองถิ่น กลยุทธ 1. พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีและใหบริการวิชาการหลากหลายรูปแบบที่ สอดคลองกับความตองการของสังคม ชุมชนและทองถิ่น 2. การใหบริการทางวิชาการที่สามารถนําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร 5 อนุรักษ ฟนฟูและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นภาคตะวันออก กลยุทธ 1. การพัฒนามหาวิทยาลัยใหเปนแหลงเรียนรูทางศิลปวัฒนธรรมภาคตะวันออก 2. สนับสนุนและสงเสริมจิตสํานึกทางวัฒนธรรมแกเยาวชน นักศึกษาและประชาชน ในทองถิ่น เพื่อใหเกิดความตระหนักถึงคานิยม เอกลักษณ ขนบธรรมเนียมประเพณี และเชิดชูภูมิปญญาไทยโดยสอดแทรกไวในกระบวนการเรียนการสอน 3. สนับสนุนใหมีการวิจัยทางวัฒนธรรมเพื่อการอนุรักษและฟนฟูวัฒนธรรมทองถิ่น 4. สนับสนุนใหมีการสรางเครือขายทางวัฒนธรรม 5. เรงรัดการพัฒนาพระตําหนักวังสวนบานแกวใหเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ที่สําคัญของจังหวัดจันทบุรีและภาคตะวันออก ยุทธศาสตร 6 สงเสริมและสืบสานโครงการพระราชดําริ เพื่อการพัฒนาทองถิ่น กลยุทธ 1. สงเสริมและสนับสนุนโครงการพระราชดําริ 2. พัฒนาเครือขายความรวมมือโครงการพระราชดําริทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร 7 พัฒนาระบบการบริหารมหาวิทยาลัยตามหลักการบริหารที่ดี กลยุทธ 1. สงเสริมระบบการบริหารองคกรโดยใชหลักธรรมาภิบาล รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~6~

2. พัฒนาเครือขายความรวมมือทั้งภายในประเทศและตางประเทศ 3. พัฒนาระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในและบริหารความเสี่ยงของ ทุกหนวยงานใหมีประสิทธิภาพ 4. พัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารมาใชในการบริหารจัดการ 5. พัฒนาบุคลากรดานการบริหารจัดการ และความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในทุกระดับ 6. การประชาสัมพันธและแนะแนวการศึกษาเชิงรุกเพื่อเพิ่มจํานวนและคุณภาพ นักศึกษา 7. มีระบบการบริหารเชิงกลยุทธ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติที่สอดคลองเปนแนวทาง เดียวกัน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~6~

ตราสัญลักษณคณะวิทยาการจัดการ ตราสัญลักษณ : อักษรยอคณะวิทยาการจัดการ อักษรยอ ว หมายถึง วิสัยทัศน (Vision) เปนผูที่มองการณไกล รอบรู เรียนรู รับรูและลวงรู อักษรยอ จ หมายถึง จริยปฏิบัติ (Ethics in Action) เปนผูที่มีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ อักษรยอ ก หมายถึง กลยุทธ (Strategy) เปนผูที่มี ความฉลาด สามารถอานภาวะแวดลอมทั้งภายใน และภายนอกได สีสัม หมายถึง ความสุข ความอบอุนและความกระตือรือรน เสนรัศมี หมายถึง การเผยแพรความรูและชื่อเสียงสูชุมชน และสังคมภายนอก ชองวางระหวางตัวอักษร หมายถึง การเปดรับความรูและ ความคิดเห็นจากในทุกมิติของการเรียนรู

สีประจําคณะวิทยาการจัดการจัดการ สีสม : ความรุงโรจนในดานศิลปวิทยาการทั้งปวงที่ ประสิทธิประสาทใหแกมวลชน

สถานที่ตั้ง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี 41 หมู 5 ถนนรักศักดิ์ชมูล ตําบลทาชาง อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี โทรศัพท / โทรสาร รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


0 3947 1080 , 086-4403163 , 0 3931 9111 ตอ 1304 ~7~

เบอรโทรศัพทภายใน ลําดับ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ 44

44

สโมสรนักศึกษาวิทยาการจัดการ สโมสรนักศึกษาวิทยาการจัดการ

สถานที่ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ หองพักอาจารย หองพักอาจารย หองประชุม สํานักงานคณะและรองคณบดี ศูนยฝกประสบการณ หองพัสดุและโรเนียวเอกสาร หองพักอาจารย อาจารยประจําสโมสรนักศึกษา นักศึกษาวิทยาการจัดการ

หอง ชั้นลาง ชั้นบน ชั้นบน ชั้นบน

หมายเลขโทรศัพท 1300 1301 1302 1303

ชั้นลาง

1304

ชั้นลาง ชั้นลาง อาจารย นักศึกษา

1305 1306 1308 1309

โฮมเพจ คณะวิทยาการจัดการ http://manage.rbru.ac.th แผนที่อาคารคณะวิทยาการจัดการ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~9~

1. อาคาร 13 (อาคาร 2 ชั้น) ประกอบดวย ชั้นที่ 1 - สํานักงานคณบดี (หองคณบดี หองรองคณบดีฝายบริหาร หองรองคณบดีฝายวิชาการและหัวหนาสํานักงาน) - หองถายเอกสารและโรเนียว ชั้นที่ 2 - หองพักอาจารย - หองประชุมใหญ - หองพักอาจารย 3. อาคาร 6 (อาคารคณะวิทยาการจัดการหลังเกา) ชั้นที่ 1 - หองพักอาจารย - หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 ชั้นที่ 2 - หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2 4. สโมสรนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ - หองพักอาจารย - หองรองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา - หองประชุมสโมสรนักศึกษา

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~10~

โครงสรางการบริหารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี คณบดีคณะวิทยาการจัดการ กรรมการประจําคณะ ที่ปรึ กษาคณบดี

รองคณบดี ฝ่ ายบริ หาร

รองคณบดีฝ่าย กิจการนักศึกษา

รองคณบดี ฝ่ ายวิชาการ

ผูช้ ่วยคณบดี ฝ่ ายบริ หาร

ผูช้ ่วยคณบดี ฝ่ ายกิจการนักศึกษา

ผูช้ ่วยคณบดี ฝ่ ายวิชาการ

หัวหน้าสํานักงาน คณบดี

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


หลักสู ตร เศรษฐศาสตร์ ธุ รกิจ

หลักสู ตร การบัญชี

หลักสู ตร บริ หารธุ รกิจ

หลักสู ตร บริ หารธุ รกิจ

(บริ หาร ทรัพยากร มนุษย์)

(คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ)

หลักสู ตร บริ หารธุ รกิจ (การเงินการ ธนาคาร)

หลักสู ตร บริ หารธุ รกิจ (การจัดการ)

หลักสู ตร บริ หารธุ รกิจ (การตลาด)

หลักสู ตร อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว

~11~

ผูบริหารคณะวิทยาการจัดการ คณะกรรมการบริหารงานคณะวิทยาการจัดการ

1

2

3

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

4


5

10

6

7

11

9

8

12

13

1. ดร.โกศล อินทวงศ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ ประธานกรรมการ 2. อาจารยนิพนธ วุฒิชัย รองคณบดีฝายบริหาร รองประธาน 3. ผศ.ดร.ณรงค โพธิ์สามตน รองคณบดีฝายวิชาการ กรรมการ 4. อาจารยณรงค อนุพันธ รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา กรรมการ 5. ผศ.ละเมียด ควรประสงค ประธานหลักสูตรบธ.สาขาวิชาการเงินการธนาคาร กรรมการ 6. ผศ.ฉวี สิงหาด รักษาการแทนประธานหลักสูตรการบัญชี กรรมการ 7. อาจารยภานิตา โพธิ์แกว ประธานหลักสูตรบธ.สาขาวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย กรรมการ 8. อาจารยนันทภัทร บุรขจรกุล ประธานหลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยว กรรมการ 9. นายพิศิษฐ ชัยสุวรรณถาวร ประธานหลักสูตรเศรษฐศาสตรธุรกิจ กรรมการ 10. นายตอสันติ์ พิพัฒนสุทธิ์ ประธานหลักสูตรบธ.สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ กรรมการ 11. นางสาวฤดีวรรณ ยิ่งยง ประธานหลักสูตรบธ.สาขาวิชาการตลาด กรรมการ 12. อาจารยกฤษณา ถนอมธีระนันท ประธานหลักสูตรบธ.สาขาวิชาการจัดการ กรรมการ 13. นางสาวกัณทิมา พุทธศาสน รักษาการหัวหนาสํานักงานคณบดี กรรมการและ ~12~ เลขานุการ โครงสรางการบริหาร/แผนผังคณะวิทยาการจัดการ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~13~

โครงสรางการแบงสวนหนวยงานในสํานักงานคณบดี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


คณะวิทยาการจัดการ หัวหน้าสํานักงานคณบดี งานธุรการ

งานการเงินการบัญชี และพัสดุ

งานนโยบายและแผน

งานบริ การ การศึกษา

-

หลักสูตรคณะวิทยาการจัดการ มีทั้งหมด 4 หลักสูตร ประกอบดวย 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย สาขาวิชา การเงินการธนาคาร สาขาวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ 2. หลักสูตรการบัญชี 3. หลักสูตรศิลปศาสตร สาขาวิชาอุตสาหกรรมการทองเที่ยว สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ 4. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ บุคลากร บุ ค ลากรของคณ ะวิ ท ยาการจั ด การที่ ป ฏิ บั ติ ใ นป ก ารศึ ก ษา 2554 มี ทั้ ง สิ้ น 49 คน ประกอบดวยบุคลากรสายการสอน จํานวน 40 คน แยกเป น ขาราชการพลเรือน (อาจารยป ระจํา) จํานวน 18 คน และพนักงานมหาวิทยาลัย (สายวิชาการ) จํานวน 22 คน และบุคลากรสายสนับสนุน จํ านวน 9 คน ประกอบด ว ยพนั กงานราชการ 1 คน พนัก งานมหาวิ ท ยาลั ย (สายสนั บ สนุน ) 8 คน ดังตารางตอไปนี้ อาจารยประจํา 18

จํานวนบุคลากร พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ (สายวิชาการ) 22 1

พนักงานมหาวิทยาลัย (สายสนับสนุน) 8

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

รวม 49

-


ปฏิบัติงานจริง อาจารย พนักงาน ประจํา มหาวิทยาลัย (สายวิชาการ) 16 20

จํานวนอาจารย ลาศึกษาตอ อาจารย พนักงาน ประจํา มหาวิทยาลัย (สายวิ~14~ ชาการ) 2 2 วุฒิการศึกษาอาจารย ระดับปริญญาโท 36

ระดับปริญญาเอก 3

รองศาสตราจารย 2

อาจารยทั้งหมด อาจารย พนักงาน ประจํา มหาวิทยาลัย (สายวิชาการ) 18 22

ระดับปริญญาตรี 1

ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย 13

อาจารยประจํา 25

รวม

40

รวม 40 รวม 40

รายชื่ออาจารยและวุฒิการศึกษา อาจารยประจํา (ขาราชการพลเรือน) ลําดับที่

ตําแหนง

ชื่อ-สกุล

1

รองศาสตราจารย ดร.

นางสาวนงนุช วงษสุวรรณ

2

รองศาสตราจารย

นางสาวอัญชลี อุทัยไขฟา

3

ผูชวยศาสตราจารย

นางจิตติมา สิงหธรรม

4

ผูชวยศาสตราจารย

*นางสาวนภดล แสงแข

5

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาววราภรณ ศรบัณฑิต

6

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาวสุรียพร พานิชอัตรา

7

ผูชวยศาสตราจารย ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ (การเงินการธนาคาร)

นางสาวละเมียด ควรประสงค

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

คุณวุฒิ คบ. MAT Ed.D ศ.บ. วท.ม. กศ.บ. บธ.ม. วท.บ. MBA. บธ.บ. บธ.ม. ศ.บ. วท.ม. บธ.บ. บธ.บ. บธ.บ.

สาขาวิชา นาฏศิลป Non-Formal Education Occupational Education เศรษฐศาสตรการเงินการ ธนาคาร เศรษฐศาสตร ธุรกิจศึกษา (การตลาด) บริหารธุรกิจ(การตลาด) วิทยาการคอมพิวเตอร Management (Finance) การบัญชี (เกียรตินิยมอันดับ 1) การบัญชีการเงิน เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ เศรษฐศาสตร การจัดการทั่วไป (เกียรตินิยมอันดับ 1) การบัญชี การเงินการธนาคาร


ลําดับที่

ตําแหนง

ชื่อ-สกุล

8

ผูชวยศาสตราจารย

นางมาลี แสงจันทร

9

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาววาสนา สุมนาวดี

10

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาวมาดิน เฮงตระกูล

11

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาวทัศนัย ขัตติยวงษ

12

ผูชวยศาสตราจารย

นางจรัสศรี นวกุลศิรินารถ

13

ผูชวยศาสตราจารย

*นางสาวธัญ~15~ ญาณี นิยมกิจ

ลําดับที่ 14

15 16 17

18

ตําแหนง ผูชวยศาสตราจารย รองคณบดีฝายวิชาการ รักษาการประธานหลักสูตร การบัญชี อาจารย ประธานหลักสูตรอุตสาหกรรม ทองเที่ยว อาจารย รองคณบดีฝายบริหาร อาจารย ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ (บริหารทรัพยากรมนุษย) อาจารย

ชื่อ-สกุล

คุณวุฒิ บธ.ม. บธ.บ. วท.ม. ค.บ. วท.ม. กศ.บ. กศ.ม. บธ.บ. บช.บ. บธ.ม. บธ.บ. บธ.บ. MBA. คุณวุฒิ

นางฉวี สิงหาด

บธ.บ. บช.ม.

นางสาวเทียมจันทร ศรีถาน

บธ.บ. บธ.ม.

นายนิพนธ วุฒิชัย นางสาวศิริลักษณ เทียนมณี

นางสาวนิศารัตน แสงแข

สาขาวิชา การบริหารการเงิน การบัญชี การพัฒนาทรัพยากรมนุษย ธุรกิจศึกษา เศรษฐศาสตรสหกรณ ธุรกิจศึกษา (การตลาด) ธุรกิจศึกษา(การตลาด) บริหารธุรกิจ การบัญชี การบริหารการเงิน การบัญชี บริหารธุรกิจ (การตลาด) Management

วท.บ. บธ.ม. ศษ.บ. บธ.ม. ศบ. BMTM.

สาขาวิชา การบัญชี การบัญชี อุตสาหกรรมบริการ การจัดการและการบริหาร องคการ สัตวศาสตร การเงินการธนาคาร บริหารธุรกิจ การจัดการและการบริหาร องคกร ออกแบบผลิตภัณฑ Master of Business (Tourism Management)

* ลาศึกษาตอ

พนักงานมหาวิทยาลัย (สายวิชาการ) ลําดับที่

ตําแหนง

1

อาจารย รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

ชื่อ-สกุล นายณรงค อนุพันธ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

คุณวุฒิ วท.บ. บธ.ม.

สาขาวิชา เศรษฐศาสตรเกษตร บริหารธุรกิจ


2

อาจารย

นางปญญณัฐ ศิลาลาย

3

อาจารย

นายธนภ จิตรแจง

4

อาจารย

*นางขวัญจิต กาญจนวงค

5

6

อาจารย

นางสาวเมทินี จันทีนอก

อาจารย ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ (การจัดการ)

นางสาวกฤษณา ถนอมธีระนันท

7

อาจารย

นางเพ็ญศิริ สมารักษ

8

อาจารย

นายธงชัย ศรีเ~16~ บญจโชติ

บช.บ. บธ.บ. บธ.ม. บธ.บ. บธ.ม. ศศ.บ. บธ.ม. บธ.บ. บธ.ม. ศศ.บ. บธ.บ. บธ.ม. วท.บ. บธ.บ. ศ.บ. ศ.ม. ศ.บ. วท.ม.

การบัญชี การจัดการทั่วไป การจัดการทั่วไป การเงินการธนาคาร การจัดการทั่วไป บริหารธุรกิจ (บริหารทรัพยากร มนุษย) การจัดการทั่วไป การจัดการทั่วไป บริหารธุรกิจ บริหารธุรกิจ(บริหารทรัพยากร มนุษย) (เกียรตินิยมอันดับ 2) การจัดการทั่วไป การจัดการธุรกิจระหวาง ประเทศ เทคโนโลยีการผลิตพืช บริหารธุรกิจ (การตลาด) เศรษฐศาสตรธุรกิจ เศรษฐศาสตรธุรกิจ เศรษฐศาสตรธุรกิจ เศรษฐศาสตรเกษตร

* ลาศึกษาตอ

ลําดับที่

ตําแหนง

9

อาจารย ประธานหลักสูตรเศรษฐศาสตร ธุรกิจ

ชื่อ-สกุล นายพิศิษฐ ชัยสุวรรณถาวร

คุณวุฒิ ศศ.บ. ศ.ม.

10

อาจารย

นางสาวบุษรา บรรจงการ

บธ.บ. บธ.บ. บธ.ม.

11

อาจารย ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ (การตลาด)

นางสาวฤดีวรรณ ยิ่งยง

บธ.บ. บธ.ม.

12

อาจารย

นางเอมอร หวานเสนาะ

13

อาจารย ประธานหลักสูตรอุตสาหกรรม ทองเที่ยว

นางสาวนันทภัทร บุรขจรกุล

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

บธ.บ. วท.ม. บธ.บ. ศศ.ม.

สาขาวิชา ทฤษฎีเศรษฐศาสตร (เกียรตินิยมอันดับ 2) เศรษฐศาสตรธุรกิจ การบริหารงานบุคคล บริหารธุรกิจ (การตลาด) บริหารธุรกิจ(การตลาด) บริหารธุรกิจ(การตลาด) บริหารธุรกิจ (การตลาด) การเงิน (เกียรตินิยมอันดับ 2) เศรษฐศาสตรธุรกิจเกษตร การจัดการโรงแรมและ ทองเที่ยว การจัดการโรงแรมและการ ทองเที่ยว


14

อาจารย รองผูอํานวยการสํานักวิทย บริการฯ

นายยุทธนา พรรคอนันต

บช.บ. บธ.ม.

การบัญชี การบัญชี

15

อาจารย

นางสาวกัลยรัตน เจียมโฆสิต

บธ.บ. บธ.ม.

บริหารธุรกิจ (การบัญชี) บริหารธุรกิจ (การบัญชี)

ค.บ. วท.ม. บธ.บ. บธ.ม.

คอมพิวเตออรศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ธุรกิจศึกษา - การบัญชี วิทยาการจัดการ- บริหารธุรกิจ

บธ.บ. บธ.ม. วท.บ. กจ.ม.

บริหารธุรกิจ (การตลาด) บริหารธุรกิจ (การตลาด) สัตวศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร การจัดการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม การบริหารทั่วไป การจัดการทรัพยากรมนุษย เทคโนโลยีการวัดคุมทาง อุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร วิทยาการคอมพิวเตอร เคมี นิติศาสตร การบริหารงานบุคคล วิศวกรรมเครื่องกล วิเคราะหนโยบายและวางแผน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

อาจารย ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอรธุรกิจ) อาจารย รองผูอํานวยการ สํานักวิทยบริการฯ อาจารย ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ

16

17 18

นายตอสันต พิพัฒนสุทธิ์

นางสาววัชรินทร หอมประเสริฐ นายศตวรรษ ทิพโสต

19

อาจารย ผูชวยคณบดีฝายบริหาร

นางสาวกฤตติยา สัตยพานิช

20

อาจารย

นางสาวภานิตา โพธิ์แกว

21

อาจารย

นายศักดา อางวัฒนกิจ

22

อาจารย

นางสาวพัชรินทร บัวเย็น

23

ผูชวยศาสตราจารย

นายณรงค โพธิ์สามตน

24

คณบดี

นายโกศล อินทวงศ

~17~

* ลาศึกษาตอ

รป.บ. กจ.ม. คอ.บ. วท.ม. วท.บ วท..ม. กศ.บ. น.บ. พบ.ม. คอ.บ. พบ.ม. ปร.ด.

คณาจารยประจําหลักสูตรภายในคณะวิทยาการจัดการ

อาจารยประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงินการธนาคาร รูปถาย

ตําแหนงทางวิชาการ

ผูชวยศาสตราจารย

ชื่อ – สกุล

นางสาวละเมียด ควรประสงค

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

บธ.บ.

การจัดการทั่วไป (เกียรตินิยมอันดับ 1) การบัญชี การเงินการธนาคาร

บธ.บ. บธ.บ.


บธ.ม.

การบริหารการเงิน

นางสาวทัศนัย ขัตติยวงษ

บธ.บ. บช.บ. บธ.ม.

บริหารธุรกิจ การบัญชี การบริหารการเงิน

อาจารย

นายนิพนธ วุฒิชัย

วท.บ. บธ.ม.

สัตวศาสตร การเงินการธนาคาร

อาจารย

*นายธนภ จิตรแจง

บธ.บ. บธ.ม.

การเงินการธนาคาร การจัดการทั่วไป

อาจารย

*นางเอมอร หวานเสนาะ

บธ.บ. วท.ม.

การเงิน (เกียรตินิยมอันดับ 2) เศรษฐศาสตรธรุ กิจเกษตร

ผูชวยศาสตราจารย

~18~

อาจารยประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย รูปถาย

ตําแหนงทางวิชาการ

ชื่อ – สกุล

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

คุณวุฒิ

สาขาวิชา


นายณรงค โพธิส์ ามตน

กศ.บ. น.บ. พบ.ม.

เคมี นิติศาสตร การบริหารงานบุคคล

รองศาสตราจารย

นางสาวนงนุช วงษสุวรรณ

คบ. MAT Ed.D

นาฏศิลป Non-Formal Education Occupational Education

อาจารย

นางสาวศิรลิ ักษณ เทียนมณี

ศษ.บ. บธ.ม.

บริหารธุรกิจ การจัดการและการบริหาร องคกร

ศศ.บ.

บริหารธุรกิจ (บริหาร ทรัพยากรมนุษย) การจัดการทั่วไป

ผูชวยศาสตราจารย

อาจารย

*นางนงลักษณ กตัญู บธ.ม.

ศศ.บ. อาจารย

อาจารย

บธ.ม.

บริหารธุรกิจ (บริหาร ทรัพยากรมนุษย) การจัดการทั่วไป

รป.บ. กจ.ม.

การบริหารทั่วไป การจัดการทรัพยากรมนุษย

*นางขวัญจิต กาญจนวงค

นางสาวภานิตา โพธิ์แกว ~19~

อาจารยประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด รูปถาย

ตําแหนงทางวิชาการ

ชื่อ – สกุล

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

คุณวุฒิ

สาขาวิชา


ผูชวยศาสตราจารย

นางจิตติมา สิงหธรรม

กศ.บ. บธ.ม.

ธุรกิจศึกษา (การตลาด) บริหารธุรกิจ(การตลาด)

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาวมาดิน เฮงตระกูล

กศ.บ. กศ.ม.

ธุรกิจศึกษา (การตลาด) ธุรกิจศึกษา(การตลาด)

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาวธัญญาณี นิยมกิจ

บธ.บ. MBA.

บริหารธุรกิจ (การตลาด) Management

อาจารย

*นางสาวบุษรา บรรจงการ

บธ.บ. บธ.บ. บธ.ม.

การบริหารงานบุคคล บริหารธุรกิจ (การตลาด) บริหารธุรกิจ(การตลาด)

อาจารย

*นางสาวฤดีวรรณ ยิ่งยง

บธ.บ. บธ.ม.

บริหารธุรกิจ(การตลาด) บริหารธุรกิจ (การตลาด)

อาจารย

นายศตวรรษ ทิพโสต

บธ.บ. บธ.ม.

บริหารธุรกิจ (การตลาด) บริหารธุรกิจ (การตลาด)

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~20~

อาจารยประจําหลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยว รูปถาย

ตําแหนง ทางวิชาการ

ชื่อ – สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

ศบ. BMTM.

ออกแบบผลิตภัณฑ Master of Business (Tourism Management)

อาจารย

นางสาวนิศารัตน แสงแข

อาจารย

นางสาวเทียมจันทร ศรีถาน

บธ.บ. บธ.ม.

อุตสาหกรรมบริการ การจัดการและการบริหาร องคการ

อาจารย

*นางสาวเพ็ญศิริ พิงกุศล

วท.บ. บธ.บ. ศ.บ. ศ.ม.

เทคโนโลยีการผลิตพืช บริหารธุรกิจ (การตลาด) เศรษฐศาสตรธรุ กิจ เศรษฐศาสตรธรุ กิจ

อาจารย

*นางสาวนันทภัทร บุรขจรกุล

บธ.บ. ศศ.ม.

การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว การจัดการโรงแรมและการ ทองเที่ยว

อาจารยประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ รูปถาย

ตําแหนง ทางวิชาการ

ชื่อ – สกุล

คุณวุฒิ

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาวนภดล แสงแข

วท.บ. MBA.

วิทยาการคอมพิวเตอร Management (Finance)

อาจารย

*นายตอสันต พิพัฒนสุทธิ์

ค.บ. วท.ม.

คอมพิวเตออรศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

สาขาวิชา


~21~

อาจารยประจําหลักสูตรการบัญชี รูปถาย

ตําแหนง ทางวิชาการ

ชื่อ – สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

ผูชวยศาสตราจารย นางฉวี สิงหาด

บธ.บ. การบัญชี บช.ม. การบัญชี

ผูชวยศาสตราจารย นางสาววราภรณ ศรบัณฑิต

บธ.บ. การบัญชี (เกียรตินิยม อันดับ 1) บธ.ม. การบัญชีการเงิน

ผูชวยศาสตราจารย นางมาลี แสงจันทร

บธ.บ. การบัญชี วท.ม. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

ผูชวยศาสตราจารย นางจรัสศรี นวกุลศิรินารถ

บธ.บ. การบัญชี

อาจารย

*นายยุทธนา พรรคอนันต

บช.บ. การบัญชี บธ.ม. การบัญชี

อาจารย

*นางสาวกัลยรัตน เจียมโฆสิต

บธ.บ. บริหารธุรกิจ (การบัญชี) บธ.ม. บริหารธุรกิจ (การบัญชี)

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


อาจารย

*นางสาววัชรินทร หอมประเสริฐ

บธ.บ. ธุรกิจศึกษา - การบัญชี วิทยาการจัดการบธ.ม. บริหารธุรกิจ

~22~

อาจารยประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ รูปถาย

ตําแหนง ทางวิชาการ

อาจารย

อาจารย

ชื่อ – สกุล

*นางปญญณัฐ ศิลาลาย

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

บช.บ. บธ.บ. บธ.ม.

การบัญชี การจัดการทั่วไป การจัดการทั่วไป

ศศ.บ . บธ.บ. บธ.ม.

บริหารธุรกิจ(บริหารทรัพยากร มนุษย) (เกียรตินิยมอันดับ 2) การจัดการทั่วไป การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ

*นางสาวกฤษณา ถนอมธีระนันท

อาจารย

*นางสาวเมทินี จันทีนอก

บธ.บ. บธ.ม.

การจัดการทั่วไป บริหารธุรกิจ

อาจารย

*นายณรงค อนุพันธ

วท.บ. บธ.ม.

เศรษฐศาสตรเกษตร บริหารธุรกิจ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


วท.บ. อาจารย

นางสาวกฤตติยา สัตยพานิช กจ.ม.

สัตวศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร การจัดการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม

~23~

อาจารยประจําหลักสูตรเศรษฐศาสตรธุรกิจ รูปถาย

ตําแหนง ทางวิชาการ

ชื่อ – สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

รองศาสตราจารย

นางสาวอัญชลี อุทัยไขฟา

ศ.บ. วท.ม.

เศรษฐศาสตรการเงินการธนาคาร เศรษฐศาสตร

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาวสุรยี พร พานิชอัตรา

ศ.บ. วท.ม.

เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ เศรษฐศาสตร

ผูชวยศาสตราจารย

นางสาววาสนา สุมนาวดี

ค.บ. วท.ม.

ธุรกิจศึกษา เศรษฐศาสตรสหกรณ

อาจารย

*นายธงชัย ศรีเบญจโชติ

ศ.บ. วท.ม.

เศรษฐศาสตรธรุ กิจ เศรษฐศาสตรเกษตร

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


อาจารย

*นายพิศิษฐ ชัยสุวรรณถาวร

ศศ.บ. ศ.ม.

ทฤษฎีเศรษฐศาสตร (เกียรตินิยมอันดับ 2) เศรษฐศาสตรธรุ กิจ

พนักงานราชการ ลําดับที่ 1

ชื่อ-สกุล นางสาวกัณทิมา พุทธศาสน

ตําแหนง คุณวุฒิ พนักงานราชการ ศศ.บ. (การบัญชี) รักษาการหัวหนาสํานักงานคณบดี

พนักงานมหาวิทยาลัย (สายสนับสนุน) ลําดับที่ ชื่อ-สกุล 1 นางกนกพร เชิญกลาง

ตําแหนง นักวิชาการงานพัสดุและการเงิน

คุณวุฒิ ศศ.บ. บริหารธุรกิจ (การตลาด)

2

นางสาวจารุวัฒน สอนมนต

3

นางสาวดวงนภา ประดิษฐศิลป

นักวิชาการศูนยฝกประสบการณ ศศ.บ. บริหารธุรกิจ (การบัญชี) วิชาชีพ นักวิชาการงานบริการการศึกษา ศศ.บ. บริหารธุรกิจ (การตลาด)

4

วาที่เรือตรีกําพล มีมาก

นักวิชาการผลิตเอกสาร

5

นายสิทธิพงษ พิมพธารา

นักวิชาการคอมพิวเตอร

6

นายอดิศักดิ์ สูญสิ้นภัย

7

นางฉวีวรรณ บัณฑิตสุนทร

8

นางสมศรี จันทรามาตร บุคลากรสายสนับสนุน

รูปถาย

ชื่อ – สกุล

ศศ.บ.นิเทศศาสตร (วิทยุกระจายเสียงฯ) วท.บ.วิทยาการคอมพิวเตอร

นักวิชาการนโยบายและแผนงาน วท.บ. เทคโนโลยีอุตสาหกรรม (คอมพิวเตอร) อศศ.บริหารธุรกิจ ~24~รการ พนักงานธุ (การบริหารทรัพยากรมนุษย) พนักงานทําความสะอาด มัธยมศึกษาปที่ 3 ตําแหนงงาน

คุณวุฒิ

นางสาวกัณทิมา พุทธศาสน

พนักงานราชการ รักษาการหัวหนาสํานักงาน คณบดี

ศศ.บ.

การบัญชี

นางกนกพร เชิญกลาง

นักวิชาการงานพัสดุ และการเงิน

ศศ.บ.

การตลาด

นางสาวจารุวัฒน สอนมนต

นักวิชาการศูนยฝก

ศศ.บ.

การบัญชี

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

สาขาวิชา


ประสบการณวิชาชีพ

นางสาวดวงนภา ประดิษฐ ศิลป

นักวิชาการงานบริการ การศึกษา

ศศ.บ.

การตลาด

นางฉวีวรรณ บัณฑิตสุนทร

พนักงานธุรการ

อศศ.

บริหารธุรกิจ (ทรัพยากรมนุษย)

นายสิทธิพงษ พิมพธารา

นักวิชาการคอมพิวเตอร

วท.บ.

วิทยาการ คอมพิวเตอร

นางสาวณัฐกาญจน พิพัฒนกุล

นักวิชาการแผนงานและ พัฒนา

วท.บ.

วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการอาหาร

วาที่เรือตรีกมั พล มีมาก

นักวิชาการผลิตเอกสารฯ

ศศ.บ.

นิเทศศาสตร (วิทยุกระจายเสียงฯ)

นางสมศรี จันทรามาตร

พนักงานทําความสะอาด

มัธยมศึกษาป ที่ 3

~25~

ขอมูลนักศึกษา ตารางแสดงจํานวนนักศึกษาทั้งหมดของคณะวิทยาการจัดการ ปการศึกษา 2554 จําแนกตาม สาขาวิชา ในระดับปริญญาตรี (ขอมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555) ปการศึกษา 2554 มีจํานวนนักศึกษาทุกระดับและชั้นป รวมทั้งสิ้น 1,556 คน โดยจําแนกเปน นักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 1,519 คนแบงเปนภาคปกติ จํานวน 1,066 คน ภาคพิเศษ (กศ.ปช.) จํานวน 453 คน และระดับปริญญาโท จํานวน 37 คน ซึ่งแยกตาม ระดับการศึกษา ดังนี้ รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


สาขาวิชา คณะวิทยาการจัดการ

ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ภาคพิเศษ 1,066 453

ระดับปริญญาโท ภาคปกติ ภาคพิเศษ 37

รวม 1,556

ผลงานและกิจกรรมที่สําคัญในปงบประมาณ 2554 กิจกรรมดานวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี ใหการสนับสนุนกิจกรรมดานวิชาการใน การสรางสรรคผลงานทางวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของนักศึกษา อาจารยและบุคลากรใหมี ~26~ ความรู ความเขาใจเพื่อตอบสนองและสนับสนุนการพัฒนาอันสงผลใหเกิดคุณภาพอยางยั่งยืน กิจกรรม / โครงการดานวิชาการในรอบปงบประมาณ 2554 โครงการ / กิจกรรม 1. พัฒนาปรับปรุงหลักสูตร คณะวิทยาการจัดการ 2. พัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงค 3. ฝกประสบการณวิชาชีพ 4. ปรับปรุงสภาพแวดลอมและ จัดซุมงานพิธีซอมรับ พระราชทานปริญญาบัตร 5. จัดการเรียนการสอน หลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยว 6. พัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงคคณะวิทยาการ จัดการ 7. กิจการนักศึกษา คณะ วิทยาการจัดการ 8. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต คณะวิทยาการ จัดการ ประจําปการศึกษา 2554 โครงการ / กิจกรรม

เปาหมาย

ตัวชี้วัด 1.3 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายในระยะเวลา 1 ป 1.3 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายในระยะเวลา 1 ป 1.3 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายในระยะเวลา 1 ป จํานวนบัณฑิต นักศึกษา คณาจารย และศิษยเกาเขารวมโครงการ

ป 2554

ผลการดําเนินงาน

> รอยละ 75

รอยละ 79.96

> รอยละ 75

รอยละ 79.96

> รอยละ 75

รอยละ 79.96

จํานวนบัณฑิต นักศึกษา คณาจารยและศิษยเกาเขา รวมโครงการ > รอยละ 75

550 คน รอยละ 80

> รอยละ 75

รอยละ 79.96

> รอยละ 75

รยอละ 92.72

จํานวนนักศึกษา

100 คน

265 คน

ความพึงพอใจ

> รอยละ 75

รอยละ 79.57

จํานวนนักศึกษา

20 คน

44 คน

เปาหมาย

ผลการดําเนินงาน

1.4 รอยละบัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงาน ทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา 1.3 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายในระยะเวลา 1 ป ความพึงพอใจ

ตัวชี้วัด

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


ป 2554 9. จัดการศึกษาภาคพิเศษและ บริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจ

จํานวนหลักสูตรที่ไดรับการสนับสนุน ดานวิทยากร

อยางนอย 1 หลักสูตร

1 หลักสูตร

กิจกรรมดานบริการวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ ใหความสําคัญในการใหบริการวิชาการแกชุมชนและสังคมตาม นโยบายของคณะและมหาวิทยาลัย เปนสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม กิจกรรม / โครงการดานบริการวิชาการในรอบปงบประมาณ 2554 โครงการ / กิจกรรม

ตัวชี้วัด

เปาหมาย ป 2554 > 80%

ผลการดําเนินงาน

1. พี่สอนนองวางแผนออมตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจ พอเพียง

ความรูความเขาใจ ความพึงพอใจ

> 80%

84.63%

2. บริหารจัดการอยางไรบนพื้นฐานการทองเที่ยวที่ยั่งยืนตาม แนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง

ความรูความเขาใจ

> 80%

85.90%

ความพึงพอใจ

> 80%

83.87%

3. ฝกอบรมวิชาชีพระยะสั้นตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจ พอเพียง

ความรูความเขาใจ

> 80%

89.63%

ความพึงพอใจ

> 80%

91.35%

4. บัญชีเพื่อวิถีชีวิตพอเพียง

ความรูความเขาใจ

> 80%

91.60%

ความพึงพอใจ

> 80%

93.80%

มีความรูความเขาใจ

90% / 75%

90%

ความพึงพอใจ

80%/75%

88.62%

การนําความรูไปใช

80%/75%

90%

มีความรูความเขาใจ

90% / 75%

93.51%

ความพึงพอใจ

80%/75%

93.62%

การนําความรูไปใช

80%/75%

96.76%

5. เสริมสรางทักษะดานการบริการสวนหนาของโรงแรม ประจําปงบประมาณ 2554

6. HR Transformation ประจําปงบประมาณ 2554

85.45%

กิจกรรมดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

คณะวิทยาการจัดการใหความสําคัญในการสงเสริมใหนักศึกษา อาจารยและบุคลากรให รับความรู สงเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรม / โครงการดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมในรอบปงบประมาณ 2554 โครงการ / กิจกรรม 1. ทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม คณะ วิทยาการจัดการ

ตัวชี้วัด จํานวนโครงการหรือ กิจกรรมที่สงเสริมและ สนับสนุนอนุรักษ ฟนฟูและ ทํานําบํารุงศิลปวัฒนธรรม

เปาหมาย ป 2554 > 3 โครงการ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

ผลการดําเนินงาน 3 โครงการ


~27~ และภูมิปญญาทองถิ่น

กิจกรรมดานผลงานวิจัยและงานสรางสรรค คณะวิ ท ยาการจั ด การให ก ารสนั บ สนุ น บุ ค ลากรในการจั ด ทํ า ผลงานวิ จั ย และงาน สรางสรรคให โดยคํานึงถึงการนําทฤษฎีทางดานบริหารธุรกิจและทางดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของมาเปนเครื่องมือ ในการกําหนดหัวของานวิจัย ตลอดจนการประยุกตใชผลวิจัยในการจัดการเรียนการสอนและการใหพัฒนา ชุมชน กิจกรรม / โครงการดานผลงานวิจัยและงานสรางสรรคในรอบปงบประมาณ 2554

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~28~

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


การบริหารจัดการ งบประมาณ คณะวิทยาการจัดการไดรับการจัดสรรงบประมาณจากมหาวิทยาลัยในการบริหารจัดการเรียนการสอน บริหารงานคณะและดําเนินงานตามภารกิจที่ไดรับ มอบหมายใหบรรลุวัตถุประสงคของการใชงบประมาณ แผนงบประมาณและแผนปฏิบัติงานประจําป 2554 ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย

เปาประสงค

ตัวชี้วัด

โครงการ ป 2554

1. ปรับปรุงหลักสูตรเดิม และพัฒนาหลักสูตรใหมให เปนไปตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education) และสอด คลองกับความตองการของ สังคมและมาตรฐานวิชาชีพ

1.3 รอยละของบัณฑิต ระดับปริญญาตรีที่ได งานทําหรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน ระยะเวลา 1 ป

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

1. พัฒนาปรับปรุง หลักสูตร คณะ วิทยาการจัดการ

> รอยละ 75

ผลการดําเนินงาน รอบ 6 เดือน -

รอบ 12 เดือน รอยละ 79.96

งบประมาณที่ไดรับ จัดสรร งปม. 30,000

รายได _

การบรรลุ เปาหมาย บรรลุ

ผูประสานงาน รองคณบดีฝาย วิชาการ หลักสูตร

~29~

1. การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ

เปาหมาย


1. การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ

ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย

1.3 รอยละของบัณฑิต ระดับปริญญาตรีที่ได งานทําหรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน ระยะเวลา 1 ป

2. พัฒนา คุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงค

> รอยละ 75

เปาหมาย เปาประสงค

ตัวชี้วัด

โครงการ

จํานวนอาจารยและ บุคลากรไดรับการ สนับสนุนดานวัสดุ อุปกรณในการ ปฏิบัติงาน

1. บัณฑิตไดรบั การพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

1.3 รอยละของบัณฑิต ระดับปริญญาตรีที่ได งานทําหรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน ระยะเวลา 1 ป

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

3. พัฒนาระบบ บริหารและสนับสนุน การจัดการเรียนการ สอนและการ ปฏิบัติงาน คณะ วิทยาการจัดการ 4. ฝกประสบการณ วิชาชีพ

รอยละ 79.96

ผลการดําเนินงาน

30

รอบ 6 เดือน 30

รอบ 12 เดือน 48

> รอยละ 75

-

รอยละ 79.96

ป 2554 1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

-

_

งบประมาณ ที่ไดรับจัดสรร

บรรลุ

คณะวิทยาการ จัดการ

การบรรลุ เปาหมาย

ผู ประสานงาน

งปม.

รายได

230,000

_

บรรลุ

งานนโยบาย และแผน

200,000

_

บรรลุ

ศูนยฝก ประสบการ วิชาชีพคณะ วิทยาการ จัดการ

~30~

1. การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ 1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน


1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

จํานวนบัณฑิต นักศึกษา คณาจารย และศิษยเกาเขารวม โครงการ

5. ปรับปรุง สภาพแวดลอมและ จัดซุมงานพิธีซอมรับ พระราชทานปริญญา บัตร

1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

จํานวนคณาจารยและ บุคลากรเขารวม โครงการ

6. พัฒนาศักยภาพ ผูบริหาร บุคลากร และอาจารยคณะ วิทยาการจัดการ

ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย 1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ

จํานวน บัณฑิต นักศึกษา คณาจารย และศิษยเกา เขารวม โครงการ ไมนอยกวา 30 คน

เปาหมาย เปาประสงค

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

ตัวชี้วัด

1.4 รอยละบัณฑิต ปริญญาตรีที่ไดงานทํา ตรงสาขาที่สําเร็จ การศึกษา

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

โครงการ

7. จัดการเรียนการ สอนหลักสูตร อุตสาหกรรม ทองเที่ยว

-

550 คน

35,000

37 คน

20 คน

230,000

ผลการดําเนินงาน

ป 2554

รอบ 6 เดือน

รอบ 12 เดือน

> รอยละ 75

-

รอยละ 80

_

งบประมาณที่ไดรับ จัดสรร งปม.

บรรลุ

ฝายกิจการ นักศึกษา

บรรลุ

คณะ วิทยาการ จัดการ

รายได

การ บรรลุ เปาหมาย

29,000

บรรลุ

ผูประสานงาน

หลักสูตร อุตสาหกรรม ทองเที่ยว


ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย 1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน 1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

1.3 รอยละของบัณฑิต ระดับปริญญาตรีที่ได งานทําหรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน ระยะเวลา 1 ป ความพึงพอใจ จํานวนนักศึกษา

8. พัฒนา คุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงคคณะ วิทยาการจัดการ

> รอยละ 75

9. กิจการนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ

รอยละ 79.96

180,000

บรรลุ

รองคณบดีฝาย วิชาการ หลักสูตร

> รอยละ 75 -

รยอละ 92.72

50,000

บรรลุ

100 คน

265 คน

ฝายกิจการ นักศึกษา

เปาหมาย เปาประสงค

ตัวชี้วัด

โครงการ ป 2554

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

ความพึงพอใจ จํานวนนักศึกษา

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

10. วิทยาการสัมพันธ > รอยละ 75 550 คน

-

ผลการดําเนินงาน รอบ รอบ 6 เดือน 12 เดือน รอยละ 81.20 539 คน

บรรลุ

งบประมาณที่ไดรับ จัดสรร งปม.

รายได

การ บรรลุ เปาหมาย

52,900

บรรลุ ไมบรรลุ

ผูประสานงาน ฝายกิจการ นักศึกษา

~31~

1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ 1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ


1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

จํานวนอาจารยและ บุคลากรไดรับการ สนับสนุนดานวัสดุ อุปกรณในการ ปฏิบัติงาน

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

ความพึงพอใจ จํานวนนักศึกษา

11. พัฒนาระบบ บริหารและสนับสนุน การจัดการเรียนการ สอนและการ ปฏิบัติงาน คณะ วิทยาการจัดการ 12. อบรมเสริมทักษะ ภาษาตางประเทศเพื่อ รองรับการเขาสู ประชาคมอาเซียน ของนักศึกษา คณะ วิทยาการจัดการ

ไมนอยกวา 30 คน

20 คน

> รอยละ 75

-

-

50 คน

-

-

เปาหมาย

ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย

เปาประสงค

1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ

1. บัณฑิตไดรับการพัฒนา ศักยภาพในการดํารงชีวิต

ตัวชี้วัด

ผลการดําเนินงาน

โครงการ

รอบ 6 เดือน

ป 2554 ความพึงพอใจ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

13. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา

20 คน

> รอยละ 75

-

รอบ 12 เดือน รอยละ 79.57

-

122,520

บรรลุ

คณะวิทยาการ จัดการ

-

72,000

ไมบรรลุ

ฝายวิชาการ

ผูประสานงาน

รายได

การ บรรลุ เปาหมาย

55,380

บรรลุ

งบประมาณที่ได รับจัดสรร งปม.

หลักสูตร บริหารธุรกิจ

~32~

1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ 1 การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษยใหมีความ เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ


ประกอบอาชีพและ เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน

จํานวนนักศึกษา

3. การวิจัยเพื่อนําไปสูการ พัฒนาดานวิชาการและ พัฒนาทองถิ่น

พัฒนาบุคลากรของ มหาวิทยาลัยใหผลิต งานวิจัยที่มีคุณภาพ เพื่อ นําไปสูการพัฒนาดาน วิชาการ ที่สามารถบูรณา การภูมิปญญาทองถิ่นและ สากลให พัฒนาและถายทอด เทคโนโลยีและใหบริการ วิชาการหลากหลายรูปแบบ ที่สอดคลองกับความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น

1.1 จํานวนอาจารยที่ ไดรับการพัฒนาดาน การวิจัย

4. บริการวิชาการแบบมี สวนรวมบนพื้นฐานความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น

ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย

เปาประสงค

บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต คณะ วิทยาการจัดการ ประจําปการศึกษา 2554 1. พัฒนาศักยภาพ ผูบริหาร บุคลากร และอาจารยคณะ วิทยาการจัดการ

20 คน

> 10 คน

-

44 คน

37

10

มหาบัณฑิต

-

บรรลุ

คณะวิทยาการ จัดการ

-

ไมบรรลุ

คณะวิทยาการ จัดการ ปรับมา ใชบริหาร จัดการ

254,600

จํานวนโครงการบริการ วิชาการตามความ ตองการของชุมชนและ ทองถิ่น

1. ตามแนว พระราชดําริและ บริการวิชาการ คณะ วิทยาการจัดการ

> 5 โครงการ

-

ตัวชี้วัด

โครงการ

เปาหมาย

ผลการดําเนินงาน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

บรรลุ

140,000

งบประมาณที่ได รับจัดสรร

การ บรรลุ

ผูประสานงาน

~33~

เขมแข็ง ยั่งยืนและสามารถ ประกอบอาชีพ ไดอยางมี คุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ


4. บริการวิชาการแบบมี สวนรวมบนพื้นฐานความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น

4. บริการวิชาการแบบมี สวนรวมบนพื้นฐานความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น

มีความรูความเขาใจ ความพึงพอใจ การนําความรูไปใช

มีความรูความเขาใจ ความพึงพอใจ การนําความรูไปใช

มีความรูความเขาใจ ความพึงพอใจ การนําความรูไปใช

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

รอบ 6 เดือน

รอบ 12 เดือน

งปม.

รายได

2. เสริมสรางทักษะ ดานการบริการสวน หนาของโรงแรม ประจําปงบประมาณ 2554

90% / 75%

-

90%

31660

-

80%/75%

-

88.62%

บรรลุ

80%/75%

-

90%

บรรลุ

3. HR Transformation ประจําปงบประมาณ 2554

90% / 75%

-

93.51%

บรรลุ

80%/75%

-

93.62%

80%/75%

-

96.76%

บรรลุ

4. พัฒนา ประสิทธิภาพการ บริหารงานองคกร ภาครัฐ ประจําป งบประมาณ 2554

90% / 75%

-

-

บรรลุ

80%/75%

.-

-

80%/75%

-

-

12,300

62,000

บรรลุ

บรรลุ

บรรลุ บรรลุ

หลักสูตร อุตสาหกรรม ทองเที่ยว

หลักสูตร บริหาร ทรัพยากร มนุษย

หลักสูตร การเงินการ ธนาคาร (คืน งบประมาณ)

~34~

4. บริการวิชาการแบบมี สวนรวมบนพื้นฐานความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น

พัฒนาและถายทอด เทคโนโลยีและใหบริการ วิชาการหลากหลายรูปแบบ ที่สอดคลองกับความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น พัฒนาและถายทอด เทคโนโลยีและใหบริการ วิชาการหลากหลายรูปแบบ ที่สอดคลองกับความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น พัฒนาและถายทอด เทคโนโลยีและใหบริการ วิชาการหลากหลายรูปแบบ ที่สอดคลองกับความ ตองการของสังคม ชุมชน และทองถิ่น

เปาหมาย

ป 2554


ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย

เปาหมาย เปาประสงค

ตัวชี้วัด

โครงการ

ผลการดําเนินงาน

ป 2554

รอบ 6 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

3

5. อนุรักษ ฟนฟูและทํานุ สนับสนุนและสงเสริม บํารุงศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น จิตสํานึกทางวัฒนธรรมแก ภาคตะวันออก เยาวชน นักศึกษาและ ประชาชนในทองถิ่น เพื่อให เกิดความตระหนักถึง คานิยม เอกลักษณ ขนบธรรมเนียมประเพณี และเชิดชูภูมิปญญาไทยโดย สอดแทรกไวใน กระบวนการเรียนการสอน 6. สงเสริมและสืบสาน สงเสริมและสนับสนุน โครงการพระราชดําริเพื่อ โครงการพระราชดําริ การพัฒนาทองถิ่น

จํานวนโครงการหรือ กิจกรรมที่สงเสริมและ สนับสนุนอนุรักษ ฟนฟู และทํานําบํารุง ศิลปวัฒนธรรมและภูมิ ปญญาทองถิ่น

1. ทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม คณะ วิทยาการจัดการ

> 3 โครงการ

ความรูความเขาใจ

> 80%

-

85.45%

> 80%

-

84.63%

6. สงเสริมและสืบสาน โครงการพระราชดําริเพื่อ การพัฒนาทองถิ่น

ความรูความเขาใจ ความพึงพอใจ

1. พี่สอนนองวางแผน ออมตามแนว พระราชดําริเศรษฐกิจ พอเพียง 2. บริหารจัดการ อยางไรบนพื้นฐาน การทองเที่ยวที่ยั่งยืน ตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง

> 80% > 80%

-

85.90% 83.87%

งปม.

รายได

การ บรรลุ เปาหมาย

ผูประสานงาน

บรรลุ

คณะวิทยาการ จัดการ

บรรลุ

หลักสูตร การเงินการ ธนาคาร

40,000

~35~

สงเสริมและสนับสนุน โครงการพระราชดําริ

งบประมาณที่ได รับจัดสรร

ความพึงพอใจ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

69,999

36,690

บรรลุ บรรลุ บรรลุ

หลักสูตร บริหาร ทรัพยากร มนุษยรวมกับ หลักสูตร อุตสาหกรรม


ทองเที่ยว

ประเด็นยุทศาสตร มหาวิทยาลัย

เปาหมาย เปาประสงค

ตัวชี้วัด

สงเสริมและสนับสนุน โครงการพระราชดําริ

ความรูความเขาใจ

6. สงเสริมและสืบสาน โครงการพระราชดําริเพื่อ การพัฒนาทองถิ่น 7. พัฒนาระบบการ บริหารมหาวิทยาลัยตาม หลักบริหารทีด่ ี

สงเสริมและสนับสนุน โครงการพระราชดําริ

ความรูความเขาใจ

พัฒนาบุคลากรดานบริหาร จัดการและความเชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพทุกระดับ

จํานวนอาจารยและ บุคลากร

7. พัฒนาระบบการ บริหารมหาวิทยาลัยตาม หลักบริหารที่ดี

พัฒนาบุคลากรดานบริหาร จัดการและความเชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพทุกระดับ

จํานวนหลักสูตรที่ไดรับ การสนับสนุนดาน วิทยากร

ความพึงพอใจ

ความพึงพอใจ

ป 2554

รอบ 6 เดือน

รอบ 12 เดือน

3. ฝกอบรมวิชาชีพ ระยะสั้นตามแนว พระราชดําริเศรษฐกิจ พอเพียง 4. บัญชีเพื่อวิถีชีวิต พอเพียง

> 80%

-

89.63%

> 80%

-

91.35%

> 80%

-

91.60%

> 80%

-

93.80%

1. พัฒนาศักยภาพ ผูบริหาร บุคลากร และ อาจารยคณะวิทยาการ จัดการ 2. จัดการศึกษาภาค พิเศษและบริหาร หลักสูตรบริหารธุรกิจ

ไมนอย กวา 30 คน

37

37

อยางนอย 1 หลักสูตร

1

สรุปผลการปฏิบัติราชการ ปงบประมาณ พ.ศ.2554 รอบ 12 เดือน คณะวิทยาการจัดการ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

งบประมาณที่ได รับจัดสรร งปม.

รายได

การ บรรลุ เปาหมาย บรรลุ

30,690

บรรลุ บรรลุ

45,000

บรรลุ

170,000

หลักสูตร บริหาร ทรัพยากร มนุษย หลักสูตรการ บัญชี

บรรลุ

คณะวิทยาการ จัดการ

บรรลุ

คณะวิทยาการ จัดการ

254,600

1

ผูประสานงาน

~36~

6. สงเสริมและสืบสาน โครงการพระราชดําริเพื่อ การพัฒนาทองถิ่น

โครงการ

ผลการดําเนินงาน


1 จํานวนโครงการ 2 จํานวนตัวชี้วัด - จํานวนตัวชี้วัดที่บรรลุเปาหมาย - จํานวนตัวชี้วัดที่ไมบรรลุ/กําลังดําเนินการ - คิดเปนรอยละของตัวชี้วัดที่บรรลุเปาหมาย

25 39 36 3 92.31

โครงการ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ของตัวชี้วัด ทั้งหมด

สรุปการใชจายงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2554 แสดงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใชงบประมาณ ที่

8 9

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

ยอดเงินคงเหลือ ณ 30 กันยายน 2554 12,075 4,743 10,830 7,507.90 37,839 85 34,734 15,824 16,322

งบ งปม. งบ งปม. งบ งปม. งบ งปม. งบ งปม. งบ งปม. งบ งปม.

คิดเปน รอยละ 59.75 84.19 91.67 92 81.08 99.72 79.57

งบ งปม. งบ งปม.

88.70 59.20

แหลงเงิน

หมาย เหตุ

~37~

1 2 3 4 5 6 7

งบประมาณ ที่ไดรับ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 30,000 กิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคฯ 30,000 พัฒนาระบบบริหารและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนฯ 130,000 พัฒนาระบบบริหารและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนฯ 100,000 ฝกประสบการณวิชาชีพ 200,000 ปรับปรุงสภาพแวดลอมและจัดซุมงานซอมรับพระราชทานปริญญาบัตร 30,000 การจัดการศึกษาภาคพิเศษและบริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 170,000 ฯ ตามแนวพระราชดําริและบริการวิชาการฯ 140,000 ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 40,000 โครงการ


10 พัฒนาศักยภาพผูบริหาร บุคลากรและอาจารยฯ รวม

ที่

โครงการ

11 งานกิจการนักศึกษาฯ 12 จัดการเรียนการสอนหลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยว 13 กิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค รวม 14 วิทยาการสัมพันธ

254,600 1,124,600

35,532 175,492

งบประมาณที่ ยอดเงินคงเหลือ ณ ไดรับ 30 กันยายน 2554 50,000 3,640 29,000 9,945 180,000 860 259,000 14,445 52,900 3,050

15 พัฒนาระบบบริหารและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนฯ

122,520

186.7

16 พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตฯ

55,380

5,511

17 เสริมทักษะภาษาตางประเทศเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมฯ

72,000

72,000

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

งบ งปม.

แหลงเงิน งบรายได งบรายได งบรายได รายได (เพิ่มเติม) รายได (เพิ่มเติม รายได (เพิ่มเติม รายได

86.04 84.40

คิดเปน รอยละ 92.72 65.71 99.52 94.42 94.23 99.85 90.05 0.00

หมาย เหตุ


(เพิ่มเติม รวม

ที่ 18 19 20 21 22

302,800

80,748

ยอดเงิน งบประมาณที่ คงเหลือ ณ โครงการ 30 กันยายน ไดรับ 2554 บริการวิชาการ (การจัดการความรูเพื่อพัฒนาบุคลากรทองถิ่น ครั้งที่ 2 ประจําปงบประมาณ 18,250 4,460 2554) หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ บริการวิชาการ “พี่สอนนองวางแผนออม ตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง”หลักสูตร 69,999 10,745 บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงินการธนาคาร บริการวิชาการทางการบัญชี “บัญชีเพื่อวิถีชีวิตที่พอเพียง” ครั้งที่ 2 ประจําป 2554 45,000 4 หลักสูตรการบัญชี บริการวิชาการ “ฝกอบรมวิชาชีพระยะสั้น” ตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง 30,690 11,205 หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย บริการวิชาการ “บริหารจัดการอยางไรบนพื้นฐานการทองเที่ยวที่ยั่งยืน” ตามแนว 36,690 10 พระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

73.33

แหลงเงิน

คิดเปน รอยละ

งบอุดหนุน

75.56

งบอุดหนุน

84.65

งบอุดหนุน

99.99

งบอุดหนุน

63.49

งบอุดหนุน

99.97

หมาย เหตุ


39~

รวมกับ หลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยว 23 บริการวิชาการ “เสริมสรางการบริการสวนหนาของโรงแรม” ประจําปงบประมาณ 2554 หลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยว 24 บริการวิชาการ “HR Transformation” ประจําปงบประมาณ 2554 หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย รวม

31,660

694

งบอุดหนุน

97.81

12,300

2,240

งบอุดหนุน

81.79

244,589

29,358

88.00

การพัฒนาบุคลากร คณะวิทยาการจัดการใหการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน เพื่อเพิ่มพูนความรู ประสบการณ และศักยภาพที่จําเปนและเหมาะสม ตอการปฏิบัติงาน จึงใหสงเสริมกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรทั้งในภาคเอกชนและภาครัฐ บุคลากรสายวิชาการที่เขารับการอบรม / สัมมนา / ประชุมวิชาการ / ศึกษาดูงาน เรือ่ ง วันที่ ประชุ ม เครื อ ข า ยความร ว มมื อ ทางวิ ช าการ การประชุ ม วิ ช าการะรั บ ชาติ 14 – 17 มกราคม 2554 มหาวิท ยาลัย ราชภั ฏ ครั้งที่ 2 เรื่อ ง “การวิจัย ท องถิ่น เพื่ อ แผน ดิ น ไทย : พั ฒ นา คุณภาพชีวิตของคนในทองถิ่น” พัฒนาศักยภาพผูบริหาร บุคลากรและอาจารยคณะวิทยาการจัดการ “การทบทวน 7 – 8 มีนาคม 2554 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ยุทธศาสตรการบริหารและพัฒนาคณะวิทยาการ จัดการ โดยกระบวนการจัดการความรู (KM) “กระบวนการจัดการความรู (KM)

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

สถานที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม (สวนทะเลแกว) จังหวัดพิษณุโลก สํานักงานองคการบริหารสวนตําบล บางชัน จังหวัดจันทบุรี

~40~

ชื่อ-สกุล อาจารย ดร.โกศล อินทวงศ ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน อาจารยศตวรรษ ทิพโสต อาจารย ดร.โกศล อินทวงศ อาจารยสกล กิจจริต รศ.ดร.นงนุช วงษสุวรรณ


รศ.อัญชลี อุทัยไขฟา ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน ผศ.จิตติมา สิงหธรรม ผศ.วราภรณ ศรบัณฑิต ผศ.สุรียพร พานิชอัตรา ผศ.ละเมียด ควรประสงค ผศ.มาลี แสงจันทร ผศ.ทัศนัย ขัตติยวงษ ผศ.วาสนา สุมนาวดี ผศ.มาดิน เฮงตระกูล ผศ.จรัสศรี นวกุลศิรินารถ ผศ.ฉวี สิงหาด อาจารยเทียมจันทร ศรีถาน อาจารยศิริลักษณ เทียนมณี ชื่อ-สกุล อาจารยนิพนธ วุฒิชัย อาจารยนิศารัตน แสงแข อาจารยยุทธนา พรรคอนันต อาจารยวัชรินทร หอมประเสริฐ อาจารยเอมอร หวานเสนาะ อาจารยนันทภัทร บุรขจรกุล อาจารยนงลักษณ ศรีสุข อาจารยณรงค อนุพันธ

การพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค : การจัดทํา มคอ.1-7” และ “พัฒนา ศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและความรูดานจรรยาบรรณนักวิจัย โดย กระบวนการจัดการความรู (KM) : การจัดทําวิจัยในชั้นเรียน”

เรื่อง วันที่ พัฒนาศักยภาพผูบริหาร บุคลากรและอาจารยคณะวิทยาการจัดการ “การทบทวน 7 – 8 มีนาคม 2554 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ยุทธศาสตรการบริหารและพัฒนาคณะวิทยาการ จัดการ โดยกระบวนการจัดการความรู (KM) “กระบวนการจัดการความรู (KM) การพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค : การจัดทํา มคอ.1-7” และ “พัฒนา ศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและความรูดานจรรยาบรรณนักวิจัย โดย กระบวนการจัดการความรู (KM) : การจัดทําวิจัยในชั้นเรียน”

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

สถานที่ สํานักงานองคการบริหารสวนตําบล บางชัน จังหวัดจันทบุรี


ชื่อ-สกุล อาจารย ดร.โกศล อินทวงศ ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน อาจารยตอสันติ์ พิพัฒนสุทธิ์ อาจารยศตวรรษ ทิพโสต อาจารยนิพนธ วุฒิชัย

~41~

อาจารยปญญณัฐ ศิลาลาย อาจารยธนภ จิตรแจง อาจารยเมทินี จันทีนอก อาจารยกฤษณา ถนอมธีระนันท อาจารยเพ็ญศิริ พิงกุศล อาจารยธงชัย ศรีเบญจโชติ อาจารยพิศิษฐ ชัยสุวรรณถาวร อาจารยบุษรา บรรจงการ อาจารยฤดีวรรณ ยิ่งยง อาจารยตอสันติ์ พิพัฒนสุทธิ์ อาจารยศตวรรษ ทิพโสต อาจารยภานิตา โพธิ์แกว อาจารยกฤตติยา สัตยพานิช

เรื่อง วันที่ สั ม มนาและประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเศรษฐกิ จ สร า งสรรค ร ะดั บ ประเทศ ภายใต 22 กุมภาพันธ 2554 แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555

สถานที่ โรงแรมเดอะ ซายน จังหวัดชลบุรี

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี ~42~


อาจารยณรงค อนุพันธ อาจารย ดร.โกศล อินทวงศ ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน รศ.ดร.นงนุช วงษสุวรรณ ผศ.ละเมียด ควรประสงค ผศ.จิตติมา สิงหธรรม อาจารยวัชรินทร หอมประเสริฐ นางสมศรี จันทรามาตร นางสาวจารุวัฒน สอนมนต นางสาวดวงนภา ประดิษฐศิลป วาที่เรือตรีกัมพล มีมาก นางกนกพร เชิญกลาง อาจารย ดร.โกศล อินทวงศ ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน อาจารยตอสันติ์ พิพัฒนสุทธิ์ อาจารยศตวรรษ ทิพโสต อาจารยณรงค อนุพันธ อาจารย ดร.โกศล อินทวงศ ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน อาจารยวัชรินทร หอมประเสริฐ อาจารย ดร.โกศล อินทวงศ อาจารยนิพนธ วุฒิชัย ชื่อ-สกุล อาจารยเทียมจันทร ศรีถาน

วิทยาการรวมใจ ใสใจพระพุทธศาสนา ทอดผาปาสามัคคี : ทํานุบํารุงศาสนา

18 มีนาคม 2554

วั ด ปรงธรรมโชติ ก าราม จั ง หวั ด ฉะเชิงเทรา

สัมมนาโครงการ “การศึกษานโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาการเศรษฐกิจ”

15 มีนาคม 2554

โรงแรมอิ ม พี เ รี ย ล ควี น ส ปาร ค สุขุมวิท 22 กรุงเทพมหานคร

สัม มนาทางวิช าการ เนื่ อ งในโอกาสครบรอบป ที่ 25 ของคณะวิท ยาการจัด การ “วิจารณขอเสนอการปฏิรูประบบการวิจัยของประเทศ ครั้งที่ 1” ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การดําเนินกิจกรรมบนระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 24 (WUNCA 24th)” สัมมนาทางวิชาการระหวางไทย-อินเดีย ครั้งที่ 5 “NRCT-ICSSR Joint Seminar on Dimensions of GloBalization : Indo-Thai Perspectives” เรื่อง รวมเปนคณะกรรมการตรวจประเมินโฮมสเตยไทยรวมกับกรมการทองเที่ยว โดย

11-12 กรกฎาคม 2554

ห อ งเมจิ ก 3 โรงแรมมิ ร าเคิ ล แก รนด หลักสี่ ดอนเมือง กรุงเทพฯ มหาวิท ยาลัย ราชภั ฏ สุ ราษฎรธานี จังหวัดสุราษฎรธานี โรงแรมมณเฑี ย ร พั ท ยา จั ง หวั ด ชลบุรี สถานที่ เค เอส บี โฮมสเตย จังหวัดจันทบุรี

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

27-30 กรกฎาคม 2554 5-6 กันยายน 2554 วันที่ 16 สิงหาคม 2554


ผศ.ฉวี สิงหาด อาจารยเทียมจันทร ศรีถาน อาจารยณรงค อนุพันธ ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน อาจารยณรงค อนุพันธ ผศ.จิตติมา สิงหธรรม ผศ.ละเมียด ควรประสงค ผศ.มาลี แสงจันทร ผศ.ฉวี สิงหาด ผศ.จรัสศรี นวกุลศิรินารถ อาจารยวัชรินทร หอมประเสริฐ อาจารยเทียมจันทร ศรีถาน อาจารยนิศารัตน แสงแข อาจารยนันทภัทร บุรขจรกุล ผศ.จรัสศรี นวกุลศิรินารถ ผศ.มาลี แสงจันทร ผศ.ฉวี สิงหาด อาจารยวัชรินทร หอมประเสริฐ อาจารยยุทธนา พรรคอนันต

สํานักพัฒนาบริการทองเที่ยวรวมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม สัมมนาพิ จ ารณ (ราง) ประกาศกระทรวงศึ กษาธิการ เรื่อ ง หลัก เกณฑ และแนว 27 กันยายน 2554 ปฏิบัติการพิจารณาหลักสูตรการศึกษาที่เกี่ยวของกับองคกรวิชาชีพ การประเมินผลการปฏิบัติงานจาก Individual Scorecard 21 กุมภาพันธ 2554 ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษา หลักสูตรคณาจารยนิเทศสหกิจศึกษา รุนที่ 7 28 กุ ม ภาพั น ธ -2 มี น าคม 2554 อบรมหลักสูตร “กาวใหมสูองคการสรางสรรค (Creative Organization)” 23-24 พฤษภาคม 2554 ศึกษาดูงานสํานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะ 12 พฤษภาคม 2554 ในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อบรม เรื่อง “ตามติดมาตรฐานวิชาชีพการบัญชีปจจุบัน” โดยสภาวิชาชีพบัญชี ใน 7-8 เมษายน 2554 พระบรมราชูปถัมภ และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

สัมมนาเชิงวิชาการ หัวขอเรื่อง “การพัฒนาหลักสูตรดานการทองเที่ยวและบริการ 22 เมษายน 2554 เพื่อรองรับการเขาสูการรวมกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)”

อบรมสั ม มนาพั ฒ นาความรู ด านการบั ญ ชี ให ก าวทั น มาตรฐานการบั ญ ชี หั วข อ 26 พฤษภาคม 2554 “ผลกระทบทางภาษี กั บ มาตรฐานการบั ญ ชี ที่ เปลี่ ย นแปลง ป 2552 ฉบั บ ที่ 1,16,19 และธุรกิจที่ไมมีสวนไดสวนเสียกับสาธารณะชน”

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

หองกมลทิพย ชั้น 2 โรงแรมสยาม ซิตี้ กรุงเทพฯ โรงแรมวินเซอร สวีทส กรุงเทพฯ โรงแรมกรุ ง ศรี ริ เ วอร จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา โรงแรมวินเซอร สวีทส กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ศู น ย อ บรมสั ม มนาศาสตราจารย เกียรติ คุณเกษรี ณรงคเดช อาคาร สภาวิช าชีพ บั ญ ชี ถนนสุ ขุม วิท 22 (อโศก) กรุงเทพฯ ห อ งประชุ ม จี ร ะ บุ ญ มาก ชั้ น 3 อาคารสยามบรมราชกุมารี สถาบัน บั ณ ฑิ ต พั ฒ น บ ริ ห า ร ศ า ส ต ร กรุงเทพฯ อาคารคณะเทคโนโลยีสังคม ชั้น 4 วิทยาเขตจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี


ชื่อ-สกุล ผศ.ณรงค โพธิ์สามตน ผศ.จรัสศรี นวกุลศิรินารถ อาจารยเทียมจันทร ศรีถาน อาจารยศิริลักษณ เทียนมณี ผศ.ละเมียด ควรประสงค ผศ.จิตติมา สิงหธรรม อาจารยวัชรินทร หอมประเสริฐ

เรื่อง คนควาเอกสารตําราเพื่อประกอบการเรียนการสอนและการจัดทํางานวิจัย

วันที่ 2 สิงหาคม 2554

ประชุมชี้แจงแผนการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 25 สิงหาคม 2554 2555-2559) สัมมนา “เสรมความรูสูการใช Software เพื่อจัดทําบัญชี” 17-18 ตุลาคม 2554

สถานที่ ศูนยหนังสือจุฬาฯ กรุงเทพฯ

หองสัมมนาบานตุม วิลเลจ แอน รี สอรท จังหวัดจันทบุรี อาคารไทยศรี ชั้น 3 บริษั ท ออโต ไฟลท จํากัด กรุงเทพฯ

บุคลากรสายสนับสนุนที่เขารับการอบรม / สัมมนา / ประชุมวิชาการ / ศึกษาดูงาน ชื่อ-สกุล นางสาวจารุวัฒน สอนมนต นางสาวณัฐกาญจน พิพัฒนกุล นายสิทธิพงษ พิมพธารา วาที่เรือตรีกัมพล มีมาก นางสาวณัฐกาญจน พิพัฒนกุล นางสมศรี จันทรามาตร นางสาวกัณทิมา พุทธศาสน นางสาวจารุวัฒน สอนมนต นางกนกพร เชิญกลาง

เรื่อง วันที่ อบรมการใชซอฟแวรเพื่อการบริหารจัดการตัวชี้วัดภาครัฐ (Scorecard Cockpit 7 มกราคม 2554 Enterprise) พัฒนาศักยภาพผูบริหาร บุคลากรและอาจารยคณะวิทยาการจัดการ “การทบทวน 7 – 8 มีนาคม 2554 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ยุทธศาสตรการบริหารและพัฒนาคณะวิทยาการ จัดการ โดยกระบวนการจัดการความรู (KM) “กระบวนการจัดการความรู (KM) การพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค : การจัดทํา มคอ.1-7” และ “พัฒนา ศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและความรูดานจรรยาบรรณนักวิจัย โดย กระบวนการจัดการความรู (KM) : การจัดทําวิจัยในชั้นเรียน”

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

สถานที่ โรงแรมเฟรส ประตูน้ํา กรุงเทพฯ สํานักงานองคการบริหารสวนตําบล บางชัน จังหวัดจันทบุรี


นางสาวดวงนภา ประดิษฐศิลป นางฉวีวรรณ บัณฑิตสุนทร

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~45~

ภาคผนวก

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~46~

รวมภาพกิจกรรมประจําปงบประมาณ 2554

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~47~

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~48~

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


1

ให้ระบุเป็ นตัวเลขที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสําหรับตัวบ่งชี้ น้ นั ๆ เช่น ระบุเป็ นค่าร้อยละหรื อระบุเป็ นสัดส่ วน หรื อระบุเป็ นคะแนน หรื อระบุเป็ นจํานวน หรื อระบุเป็ นข้อ หรื อระบุเป็ นระดับ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

~49~

การประเมินตามองคประกอบคุณภาพประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สกอ.) ประจําปการศึกษา 2553 คณะวิทยาการจัดการ ตารางที่ ป. 1 ผลการประเมินรายตัวบงชี้ของคณะวิทยาการจัดการ ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมิน หมายเหตุ ตัวบงชี้ (เกณฑ สกอ.) ตั ว ตั ง ้ ผลลั พ ธ เปาหมาย 1 (เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR) คุณภาพ จาก (% หรือ ตัวหาร คณะกรรมการ สัดสวน) ตัวบงชี้ 1.1 6 ขอ 7 ขอ 4 คะแนน ตัวบงชี้ 2.1 4 ขอ 3 ขอ 3 คะแนน คณะประเมินตัวเอง 5 ขอ แตจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรไมครบ (ตัดขอ 3) และยังไมนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร (ตัดขอ 5) 3 เลือกแนวทางการคิดคะแนนแบบคาการเพิ่มขึ้นของอาจารยที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 7.32ตัวบงชี้ 2.2 8% X100 4.47 คะแนน 1.96=5.36% เทียบกับการเพิ่ม6% เทากับ5 คะแนน 41 15 ตัวบงชี้ 2.3 35 % X100 36.59% 3.05 คะแนน 41 ตัวบงชี้ที่ 2.4 5 ขอ 6 ขอ 4 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.5 5 ขอ 5 ขอ 3 คะแนน


ตัวบงชี้ที่ 2.6 ตัวบงชี้ 2.7 ตัวบงชี้ 2.8

5 ขอ 4 ขอ 4 ขอ

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย 2

ตัวบงชี้ที่ 3.1 ตัวบงชี้ที่ 3.2 ตัวบงชี้ที่ 4.1 ตัวบงชี้ที่ 4.2

5 ขอ 5 ขอ 5 ขอ 3 ขอ

ตัวบงชี้ที่ 4.3

25,000

ตัวบงชี้ที่ 5.1 ตัวบงชี้ที่ 5.2 ตัวบงชี้ที่ 6.1 ตัวบงชี้ที่ 7.1

4 ขอ 4 ขอ 4 ขอ 6 ขอ

2

4 ขอ 2 ขอ 4 ขอ ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง ผลลัพธ (% หรือ ตัวหาร สัดสวน) 4 ขอ 4 ขอ 5 ขอ 5 ขอ 713,975 19,296.6 37 5 ขอ 5 ขอ 5 ขอ 6 ขอ

3 คะแนน 2 คะแนน 4 คะแนน คะแนนประเมิน (เกณฑ สกอ.) จาก คณะกรรมการ 3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 5 คะแนน 3.86 คะแนน 5 5 5 4

ผลการพึงพอใจต่ํากวา 3.51 , บางสาขาขาดการเพิ่มทักษะจากภายใน/ภายนอก สํารวจบัณฑิตที่พึงประสงคไมครบทุกสาขา , ขาดการนําผลสํารวจมาประชุม

หมายเหตุ (เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

ตัวหารตองเปนอาจารยที่อยูปฏิบัติราชการทั้งหมดไมใชนับเฉพาะอาจารยที่ไดรับ ทุนวิจัย

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

ให้ระบุเป็ นตัวเลขที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสําหรับตัวบ่งชี้ น้ นั ๆ เช่น ระบุเป็ นค่าร้อยละหรื อระบุเป็ นสัดส่ วน หรื อระบุเป็ นคะแนน หรื อระบุเป็ นจํานวน หรื อระบุเป็ นข้อ หรื อระบุเป็ นระดับ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~50~

ตัวบงชี้ที่ 7.2 ตัวบงชี้ที่ 7.3 ตัวบงชี้ที่ 7.4

4 ขอ 3 ขอ 5 ขอ

ตัวบงชี้คุณภาพ เปาหมาย 3

ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมิน (เกณฑ สกอ.) ตัวตั้ง ผลลัพธ จาก ตัวหาร (% หรือสัดสวน) คณะกรรมการ 7 ขอ 5 คะแนน 8 ขอ 4 คะแนน 1 ขอ คะแนน 1 ขอ คะแนน 1 ขอ คะแนน 1 ขอ คะแนน 2 ขอ คะแนน 3 ขอ คะแนน

หมายเหตุ (เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

ให้ระบุเป็ นตัวเลขที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสําหรับตัวบ่งชี้ น้ นั ๆ เช่น ระบุเป็ นค่าร้อยละหรื อระบุเป็ นสัดส่ วน หรื อระบุเป็ นคะแนน หรื อระบุเป็ นจํานวน หรื อระบุเป็ นข้อ หรื อระบุเป็ นระดับ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

~51~

3

5 ขอ 7 ขอ

3 คะแนน 4 คะแนน 4 คะแนน

~50~

ตัวบงชี้ที่ 8.1 ตัวบงชี้ที่ 9.1 *ตัวบงชี้ที่ 10.1 *ตัวบงชี้ที่ 10.2 *ตัวบงชี้ที่ 10.3 *ตัวบงชี้ที่ 10.4 *ตัวบงชี้ที่ 11.1 *ตัวบงชี้ที่ 11.2

3 ขอ 4 ขอ 4 ขอ


คะแนนเฉลี่ย

3.80 คะแนน

รายงานตารางที่ ป.2 คะแนนการประเมินเฉลีย่

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

0.00<=1.50การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51–2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51–3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.00 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

องคประกอบที่ 1

-

4

-

4

ดี

องคประกอบที่ 2

3.50

3.25

4

3.44

พอใช

องคประกอบที่ 3

-

3

-

3

พอใช

องคประกอบที่ 4

3.86

4

-

3.95

ดี

องคประกอบคุณภาพ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

หมายเหตุ


คะแนนการประเมินเฉลีย่

ผลการประเมิน

P

O

รวม

องคประกอบที่ 5

-

5

-

5

ดีมาก

องคประกอบที่ 6

-

5

-

5

ดีมาก

องคประกอบที่ 7

-

3.75

-

3.75

ดี

องคประกอบที่ 8

-

5

-

5

ดีมาก

องคประกอบที่ 9

-

3

-

3

พอใช

3.59

3.63

4

3.80

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

องคประกอบคุณภาพ

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกองคประกอบ ผลการประเมิน

รายงานตารางที่ ป.3 มาตรฐานอุดมศึกษา

คะแนนการประเมินเฉลีย่

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

ผลการประเมิน

หมายเหตุ

~52~

I

0.00<=1.50การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51–2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51–3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.00 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

หมายเหตุ


P

O

รวม

0.00<=1.50การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51–2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51–3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.00 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

มาตรฐานที่ 1

-

-

4

4

ดี

มาตรฐานที่ 2 ก

-

4

-

4

ดี

มาตรฐานที่ 2 ข

3.59

3.67

-

3.64

ดี

มาตรฐานที่ 3

-

4

-

4

ดี

3.59

3.63

4

3.80

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

~53~

I


รายงานตารางที่ ป.4 คะแนนการประเมินเฉลีย่

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

0.00<=1.50การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51–2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51–3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.00 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

1.ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวน เสีย

-

3.50

4

3.57

ดี

2.ดานกระบวนการภายใน

-

3.89

-

3.80

ดี

3.ดานการเงิน

3.86

5

-

4.43

ดี

4.ดานบุคลากรการเรียนรูและ นวัตกรรม

3.50

4

-

3.88

ดี

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ ของทุกมุมมอง

3.59

3.63

4

3.80

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

มุมมองดานการบริหารจัดการ

ผลการประเมิน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

หมายเหตุ


รายงานตารางที่ ป.5 มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

0.00<=1.50การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51–2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51–3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.00 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

(1)ดานกายภาพ

3

-

-

3

พอใช

(2)ดานวิชาการ

3.76

3.67

-

3.70

ดี

(3)ดานการเงิน

-

5

-

5

ดีมาก

(4)ดานการบริหารจัดการ

-

3.67

-

3.67

ดี

3.76

3.80

-

4.04

ดี

หมายเหตุ

1มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมใน การจัดการศึกษา

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

~55~

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 1


มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

0.00<=1.50การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51–2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51–3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.00 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

-

2.67

4

3

พอใช

3.86

4

-

3.95

ดี

(3)ดานการใหบริการทางวิชาการแกสังคม

-

5

-

5

ดีมาก

(4)ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

-

5

-

5

ดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 2

3.86

3.88

4

3.89

ดี

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของ ทุกมาตรฐาน

3.59

3.63

4

3.80

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

2. มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจ ของสถาบันอุดมศึกษา (1)ดานการผลิตบัณฑิต (2)ดานการวิจัย

ผลการประเมิน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

หมายเหตุ


~56~

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


~57~

ตารางที่ ส.1 ตารางสรุปการประเมินตามองคประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ประเภทสถาบันเนนผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม องคประกอบ คะแนนการประเมิน เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คุณภาพ (ตามเกณฑ สกอ.) ตัวบงชี้ที่ 1.1 6 ขอ 7 ขอ 4 คะแนน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 1 4 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.1 4 ขอ 3 ขอ 3 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.2 8% 5.36% 4.47 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.3 35% 36.59% 3.05 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.4 5 ขอ 6 ขอ 4 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.5 5 ขอ 5 ขอ 3 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.6 5 ขอ 4 ขอ 3 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.7 4 ขอ 2 ขอ 2 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 2.8 4 ขอ 4 ขอ 4 คะแนน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 2 3.44 ตัวบงชี้ที่ 3.1 5 ขอ 4 ขอ 3 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 3.2 5 ขอ 4 ขอ 3 คะแนน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 3 3 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 4.1 5 ขอ 5 ขอ 3 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 4.2 3 ขอ 5 ขอ 5 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 4.3 25,000 19,296.6 3.86 คะแนน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 4 3.95 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 5.1 4 ขอ 5 ขอ 5 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 5.2 4 ขอ 5 ขอ 5 คะแนน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 5 5 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 6.1 4 ขอ 5 ขอ 5 คะแนน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 6 5 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 7.1 6 ขอ 6 ขอ 4 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 7.2 4 ขอ 3 ขอ 3 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 7.3 3 ขอ 4 ขอ 4 คะแนน ตัวบงชี้ที่ 7.4 5 ขอ 4 ขอ 4 คะแนน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 7 3.75 คะแนน รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


ตัวบงชี้ที่ 8.1

5 ขอ 7 ขอ เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 8 ตัวบงชี้ที่ 9.1 7 ขอ 8 ขอ เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 9 ~58~ประกอบ เฉลี่ยคะแนนทุกตัวบงชี้ของทุกองค

5 คะแนน 5 คะแนน 4 คะแนน 4 คะแนน 3.80

สรุปผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ คะแนนการประเมิน การบรรลุ ผลการ (ตามเกณฑสกอ.) องคประกอบคุณภาพ เปาหมาย เปาหมาย ดําเนินงาน จากคณะกรรมการ ตัวบงชี้ที่ 1.1 : 6 ขอ 7 ขอ 4 คะแนน  กระบวนการพัฒนาแผน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 1 (4 / 1) 4 คะแนน 1/1 องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ 2.1 : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหาร หลักสูตร ตัวบงชี้ที่ 2.2 : อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ตัวบงชี้ที่ 2.3 : อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ ตัวบงชี้ที่ 2.4 : ระบบการพัฒนาคณาจารยและ บุคลากรสายสนับสนุน ตัวบงชี้ที่ 2.5 : หองสมุด อุปกรณการศึกษาและ สภาพแวดลอมการเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 2.6 :

ผลการ เปาหมาย ดําเนินงาน

คะแนนการประเมิน การบรรลุ (ตามเกณฑสกอ.) เปาหมาย จากคณะกรรมการ

4 ขอ

3 ขอ

3 คะแนน

8%

5.36%

4.47 คะแนน

ผศ.รศ. และ ศ.35 %

36.59%

3.05 คะแนน

5 ขอ

6 ขอ

4 คะแนน

5 ขอ

5 ขอ

3 คะแนน

5 ขอ

4 ขอ

3 คะแนน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


ระบบและกลไกการจัดการเรียนการ สอน ตัวบงชี้ที่ 2.7 : ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผล 4 ขอ 2 ขอ การเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 2.8 : ระบบความสําเร็จของการเสริมสราง 4 ขอ 4ขอ คุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 2 (26.52/8)

2 คะแนน

4 คะแนน

3.32

4/8

~59~

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา คะแนนการ ประเมิน (ตามเกณฑ ผลการ องคประกอบคุณภาพ เปาหมาย สกอ.) ดําเนินงาน จาก คณะกรรมการ ตัวบงชี้ที่ 3.1 : ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและ 5 ขอ 4 ขอ 3 คะแนน บริการดานขอมูลขาวสาร ตัวบงชี้ที่ 3.2 : ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรม 5 ขอ 4 ขอ 3 คะแนน นักศึกษา เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 3 (6/2) 3 คะแนน

การบรรลุ เปาหมาย

 0/2

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

องคประกอบคุณภาพ

เปาหมาย

ผลการ ดําเนินงาน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

คะแนนการ ประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.) จาก

การบรรลุ เปาหมาย


คณะกรรมการ ตัวบงชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรือ งานสรางสรรค ตัวบงชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรูจาก งานวิจัยหรืองานสรางสรรค ตัวบงชี้ที่ 4.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค ตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่

5 ขอ

5 ขอ

3 คะแนน

3 ขอ

5 ขอ

5 คะแนน

25,000

19,296.6

3.86 คะแนน

3.95 คะแนน

2/3

3 (11.86/3)

~60~

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบคุณภาพ เปาหมาย ผลการ คะแนนการประเมิน ดําเนินงาน (ตามเกณฑสกอ.) จากคณะกรรมการ ตัวบงชี้ที่ 5.1 : 4 ขอ 5 ขอ 5 คะแนน ผลการนําความรูและประสบการณ จากการใหบริการวิชาการมาใชใน การพัฒนาการเรียนการสอนหรือ การวิจัย ตัวบงชี้ที่ 5.2 : กระบวนการ 4 ขอ 5 ขอ 5 คะแนน บริการทางวิชาการใหเกิดประโยชน ตอสังคม เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 5 (10/2) 5 คะแนน

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

การบรรลุ เปาหมาย 

2/2


องคประกอบคุณภาพ

เปาหมาย

ผลการ ดําเนินงาน

คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑสกอ.) จากคณะกรรมการ

การบรรลุ เปาหมาย

5 คะแนน

5 คะแนน

1/1

ตัวบงชี้ที่ 6.1 : ระบบและกลไกการทํานุบํารุง 4 ขอ 5 ขอ ศิลปะและวัฒนธรรม เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 6 (5/1)

องคประกอบที่ 7 การบริหารจัดการ องคประกอบคุณภาพ เปาหมาย ผลการ คะแนนการประเมิน การบรรลุ ดําเนินงาน (ตามเกณฑสกอ.) เปาหมาย จากคณะกรรมการ ตัวบงชี้ที่ 7.1 : 6 ขอ 6 ขอ 4 คะแนน  ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบ ริหารทุกระดับของ สถาบัน ตัวบงชี้ที่ 7.2 : 4 ขอ 3 ขอ 3 คะแนน  การพัฒนาสถาบันสูสถาบันการเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 7.3 : 3 ขอ 4 ขอ 4 คะแนน  ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบงชี้ที่ 7.4 : 5 ขอ 4 ขอ 4 คะแนน  ~61~ ระบบบริหารความเสี่ยง เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 7 (15/4) 3.75 คะแนน 2/4 องคประกอบที่ 8 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม คะแนนการประเมิน การบรรลุ องคประกอบคุณภาพ เปาหมาย ผลการดําเนินงาน (ตามเกณฑสกอ.) เปาหมาย จากคณะกรรมการ ตัวบงชี้ที่ 8.1 : ระบบและกลไกการเงินและ 5 ขอ 7 ขอ 5 คะแนน  งบประมาณ เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 8 (7/1) 5 คะแนน 1/1 องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องคประกอบคุณภาพ เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมิน รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

การบรรลุ


ตัวบงชี้ที่ 9.1 : ระบบและกลไกการประกัน 7 ขอ 6 ขอ คุณภาพการศึกษาภายใน เฉลี่ยคะแนนองคประกอบที่ 9 (3/1)

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

(ตามเกณฑสกอ.) จากคณะกรรมการ

เปาหมาย

3 คะแนน

3 คะแนน

0/1


ตารางเปรียบเทียบและแสดงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

ตัวบงชี้คุณภาพ

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้

1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4

ตัวบงชี้ 2.5 ตัวบงชี้ 2.6 ตัวบงชี้ 2.7 ตัวบงชี้ 2.8 ตัวบงชี้ 2.9

เปาหมาย ปการศึกษา 2551-2552 ระดับ 5 75 % ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 4 10% ป. เอก 15% ป. ตรี 10% ผศ. รศ.และ ศ.40% รศ. ขึ้นไป 6 % ระดับ 3 3 ขอ 60%

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา 2551

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา 2552

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา

6 ขอ 4 ขอ 8% ผศ.รศ.และศ. 35% 5 ขอ

2 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

3 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 1 คะแนน

5 ขอ

1 คะแนน

1 คะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 4.47 คะแนน 3.05 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน

5 ขอ

1 คะแนน

1 คะแนน

4 ขอ 4 ขอ -

3 คะแนน 2 คะแนน 2 คะแนน

3 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน

เปาหมาย ปการศึกษา 2553

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

2553

3 คะแนน 2 คะแนน 4 คะแนน -

หมายเหตุ


เปาหมาย ปการศึกษา 2553

ตัวบงชี้ 2.10 ตัวบงชี้ 2.11

75% 3.50

-

ตัวบงชี้ 2.12 ตัวบงชี้ที่ 3.1 ตัวบงชี้ที่ 3.2 ตัวบงชี้ที่ 4.1 ตัวบงชี้ที่ 4.2 ตัวบงชี้ที่ 4.3 ตัวบงชี้ที่ 4.4 ตัวบงชี้ที่ 5.1 ตัวบงชี้ที่ 5.2 ตัวบงชี้ที่ 5.3 ตัวบงชี้ที่ 5.4 ตัวบงชี้ที่ 5.5 ตัวบงชี้ที่ 6.1 ตัวบงชี้ที่ 7.1

0.016% ระดับ 7 ระดับ 3 3 ขอ 3 ขอ 17,000 รอยละ 5 ระดับ 3 รอยละ 40 รอยละ 25 รอยละ 75 4 แหลง ระดับ 3 4 ขอ

5 ขอ 5 ขอ 5 ขอ 3 ขอ 25,000 4 ขอ 4 ขอ 4 ขอ 6 ขอ

ตัวบงชี้คุณภาพ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา 2551 1 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา 2552 2 คะแนน 3 คะแนน

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา

3 คะแนน

3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 5 คะแนน 3.86 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 4 คะแนน

2 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 1 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 2 คะแนน 0 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน

หมายเหตุ

2553

-

~63~

เปาหมาย ปการศึกษา 2551-2552


ตัวบงชี้คุณภาพ

ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 3 1% ระดับ 3 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 3 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 4 3 ขอ 2 ดาน

เปาหมาย ปการศึกษา 2553 4 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 ขอ 7 ขอ -

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา 2551 2 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 0 คะแนน 2 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน -

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา 2552 3 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 0 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน -

ผลคะแนนการประเมิน ตามเกณฑ สกอ. ประจําปการศึกษา

หมายเหตุ

2553 3 คะแนน 4 คะแนน 4 คะแนน

5 คะแนน 4 คะแนน -

~64~

ตัวบงชี้ที่ 7.2 ตัวบงชี้ที่ 7.3 ตัวบงชี้ที่ 7.4 ตัวบงชี้ที่ 7.5 ตัวบงชี้ที่ 7.6 ตัวบงชี้ที่ 7.7 ตัวบงชี้ที่ 7.8 ตัวบงชี้ที่ 7.9 ตัวบงชี้ที่ 8.1 ตัวบงชี้ที่ 8.2 ตัวบงชี้ที่ 9.1 ตัวบงชี้ที่ 9.2 ตัวบงชี้ที่ 9.3 *ตัวบงชี้ที่ 10.1 *ตัวบงชี้ที่ 10.2 *ตัวบงชี้ที่ 10.3

เปาหมาย ปการศึกษา 2551-2552


*ตัวบงชี้ที่ 10.4 *ตัวบงชี้ที่ 11.1 *ตัวบงชี้ที่ 11.2

-

2.10

เฉลี่ยทุกองคประกอบ

2.25

3.80

แผนการปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2554 ขอเสนอแนะ ปการศึกษา 2553 แผนการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554 ผูรับผิดชอบ องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน 2.1 จํานวนอาจารยประจําหลักสูตรไมครบตามเกณฑ ควร จัดทําแผนอัตรากําลังเสนอขออัตราจากมหาวิทยาลัย รองคณบดีฝายบริหาร พิจารณาปรับปรุงแกไข 2.4 ควรนําผลการประเมินมาปรับปรุงระบบการพัฒนา จัดทําโครงการและแผนพัฒนาคณาจารยคณะวิทยาการ รองคณบดีฝายบริหาร บุคลากร จัดการดานวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และ โครงการพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานบุคลากร คณะวิทยาการจัดการ ปงบประมาณ 2555 ใชทรัพยากรรวมกับมหาวิทยาลัย

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

รองคณบดีฝายบริหาร

~65~

2.5 ทรัพยากรที่จัดเพื่อสนับสนุนการศึกษา เพื่อเสริมสราง สภาพการเรียนรูที่เหมาะสมในบางสวนอนุญาตใหใช ทรัพยากรรวมกัน แต อยางไรก็ตามตองมีเจาภาพในการ ประเมินคุณภาพของการใหบริการดังกลาว


ขอเสนอแนะ ปการศึกษา 2553 2.6 การสงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเองแลวใหผูเรียนรู ไดรับประสบการณในการเรียนทั้งภายในและภายนอก ควร จัดใหครบทุกหลักสูตรและมีการใหใชประสบการณทั้ง ภายในและภายนอกที่หลากหลายรูปแบบเพื่อใหเกิดการ เรียนรูไดครอบคลุม(สวนใหญเปนการแกไขขอมูลเกี่ยวกับ การทําวิจัย, การขอเขาชมงาน) - มีผลการประเมินความพึงพอใจบางรายวิชา มีคาคะแนน ต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน 3.51 2.7 ขาดการสํารวจลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคครบทุก หลักสูตรดังนั้น แนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให เปนไปตามประสงคจึงไมสามารถเกิดได - ขาดการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรดานบุคลากรและ งบประมาณที่เอื้อตอการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต -โครงการที่สนับสนุนทรัพยากรดานการพัฒนาคุณลักษณะ ของบัณฑิต ยังมีอยูนอยมาก (บางโครงการไมใชการพัฒนา คุณลักษณะของบัณฑิต)

แผนการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554 ผูรับผิดชอบ ใชขอมูลในรายวิชากฝกประสบการณวิชาชีพ เนื่องจากทุก รองคณบดีฝายวิชาการ หลักสูตรมีการจัดสงนักศึกษาเขาเรียนรูจากผูมี ประสบการณทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ และกิจกรรม ศึกษาดูงานของหลักสูตรตางๆ

ผูบริหารเชิญอาจารยผูมีผลการประเมินต่ํากวา 3.51 พูดคุยและดําเนินการแกไข จัดทําโครงการสํารวจคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคเพื่อ ผูชวยคณบดีฝายบริหาร นํามาปรับปรุงหลักสูตร มีนโยบายในการใหการสนับสนุนทรัพยากรในดานตางๆ รองคณบดีฝายบริหาร เพิ่มมากขึ้น กําหนดใหแตละหลักสูตรดําเนินการจัดทําโครงการพัฒนา ประธานหลักสูตร คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคไวในแผนงบประมาณ ประจําป โดยผานการพิจารณาจากคณะกรรมการ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


66~

บริหารงานของคณะ - ขาดระบบกลไกในการสงเสริมใหนักศึกษาทั้ง 2 ระดับเขา กําหนดกิจกรรมประชุมวิชาการสําหรับนักศึกษา 2 ระดับ รองคณบดีฝายวิชาการและประธานหลักสูตร รวมกิจกรรมประชุมวิชาการนําเสนอผลงานในที่ประชุม ในแผนปฏิบตั ิงานและแผนงบประมาณประจําป 2555 ระดับชาติ/นานาชาติโดยเฉพาะโครงการที่พัฒนานักศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษา ขอเสนอแนะ ปการศึกษา 2553 2.8 การประเมินผลโครงการ/กิจกรรมดานสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ใหเปนไปตามขอกําหนดการบรรลุเปาหมาย รอยละ 90 ของตัวบงชี้(ประมาณ 82.80%) - โครงการกิจกรรมที่เกี่ยวของดานคุณธรรมจริยธรรมใหมี ความชัดเจนมากยิ่งขึ้น องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา จุดออน/แนวทางการพัฒนา 3.1 ขาดการจัดบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอศิษย เการวมถึงกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูและประสบการณให ศิษยเกา

แผนการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554 มอบหมายใหฝายกิจการนักศึกษาเปนผูดําเนินการ

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

รองคณบดีฝายบริหาร

รองคณบดีฝายวิชาการ

~67~

มอบหมายใหนักวิชาการคอมพิวเตอรเปนผูดําเนินการ จัดหาขอมูลขาวสารที่จําเปนตอศิษยเกาเผยแพรในระบบ สารสนเทศของคณะและใหจัดทํา Fack book ของคณะ เพื่อใหศิษยเกาไดรับทราบขอมูลขาวสาร - โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาการแก มอบหมายใหศูนยฝกประสบการณวิชาชีพเปน นักศึกษา ยังมีนอย ผูรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมแกนักศึกษารวมกับ

ผูรับผิดชอบ รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา


- มีความสับสนในการจัดเรียงขอมูลใหตรงตามตัวบงชี้ - ขาดผลประเมินคุณภาพการใหบริการโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาความรูและประสบการณแกนักศึกษา

หลักสูตรตางๆ แตงตั้งผูกํากับตัวชี้วัดตรวจสอบเอกสารกอนการประเมิน แตงตั้งผูกํากับตัวชี้วัดวางแผนรวมกัน

ขอเสนอแนะ ปการศึกษา 2553 3.2 กิจกรรมที่ใหความรูและทักษะประกันคุณภาพกับ นักศึกษา ยังมีอยูนอย

แผนการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554 มอบหมายใหฝายกิจการนักศึกษารวมกับฝายประกัน คุณภาพของคณะวางแผนการใหความรูจากนโยบายของ กรรมการประจําคณะ - ขาดการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการ ประชุมประเมินผลความสําเร็จตามแผนแตละโครงการ จัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา และนําผลการประเมินไป ปรับปรุงพัฒนาแผนกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา - ควรมีการเพิ่มกิจกรรมรวมกันระหวางสถาบันที่มีการสราง มอบหมายใหฝายกิจการนักศึกษารวมกับฝายประกัน เครือขาย คุณภาพของคณะวางแผนการจัดกิจกรรมระหวางสถาบัน ที่มีการสรางเครือขาย องคประกอบที่ 4 การวิจัย จุดออน รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

คณะกรรมการกํากับตัวบงชี้ฯ คณะกรรมการกํากับตัวบงชี้ฯ

ผูรับผิดชอบ รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษาและ คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพ คณะวิทยาการจัดการ


ขอเสนอแนะ ปการศึกษา 2553 แนวทางการพัฒนา 4.2-2 ผลการทํางานของกรรมการคัดสรร สังเคราะห งานวิจัยยังไมไดนํามาแสดงใหเห็นจึงยังไมมีการเผยแพร งานวิจัยใหภายนอกไดนําไปใชประโยชน จึงไดรับการ ยอมรับนอย ดังนั้นจึงตองติดตามผลตอบรับจากชุมชน หรือ ตองเรงใหชุมชนเอางานวิจัยและพัฒนาไปใชดวย 4.2-3 ควรสังเคราะหงานวิจัยแลวนําไปเผยแพรใหชุมชน ภายนอกไดใชควรใหกรรมการที่ตั้งขึ้น ทํางานเพื่อคัดสรร ผลงานที่ดีมีประโยชน

ใหอาจารยที่ไดรับทุนการวิจัยไดนํานักศึกษาเขารวมใน งานวิจัย โดยมีคณะกรรมการพิจารณาทุนวิจัย

คณะกรรมการพิจารณาทุนวิจัย

ประสานงานยังคณะนิเทศศาสตรในการยายอาคาร เพื่อ ใชอาคารเกื้อการุญในการจัดทําแหลงคนควาดานตางๆ

คณบดีและรองคณบดี

แผนการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554

ผูรับผิดชอบ

มอบรองคณบดีฝายบริหารเปนผูวางระบบการจัดคัดสรร และแจงใหผูรับทุนวิจัยทราบ

รองคณบดีฝายบริหาร

มอบรองคณบดีฝายบริหารเปนผูวางระบบการเผยแพร งานวิจัยและแจงใหผูรับทุนวิจัยทราบ

รองคณบดีฝายบริหาร

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

~68~

4.1-2 การนําผลงานวิจัยมาพัฒนาการเรียนการสอนนั้น นอกจากนําผลสรุปจากแบบประเมินงานวิจัยมาใชแลว คณะสามารถจัดใหผูเรียนมีสวนรวมในงานวิจัยดวยก็ได 4.1-5 ควรมีศูนยใหคําปรึกษาดานงานวิจัยของคณะ รวมถึง แหลงคนควาหาความรูของตนเองเชนหองสมุดของคณะ หรือแหลงคนควาผานระบบอินเตอรเน็ต และมีกิจกรรมทาง วิชาการตามขอกําหนด


ขอเสนอแนะ ปการศึกษา 2553 องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดออน - ขาดการจัดลําดับความ/ไมมีการจัดทําแผน/หลักฐานไม อยูในความเปนระบบ ขาดการวิเคราะหบทความ - มีสภาสถาบันหรือไม มีสภาคณะและขอกฎหมาย แกสภา คณะมีการประชุมสภาคณะมีการจัดประชุม มีการเปดเผย ประวัติ - ไมมีการจัดลําดับความเสี่ยง/ไมมีแผนบริหารความเสี่ยง/

ประชุมแจงผูรับผิดชอบโครงการใหดําเนินโครงการตาม ตัวบงชี้ที่กําหนดไวอยางครบถวน เพื่อพิจารณาในการ จัดสรรงบประมาณในครั้งตอไป

ประธานหลักสูตร

แผนการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554

มอบหมายใหรองคณบดีฝายบริหารและคณะกรรมการ ดําเนินงานประกันคุณภาพพิจารณาวางระบบใหชัดเจน เชิญคณะกรรมการประจําคณะประชุมดําเนินตาม ขอเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจประเมินประกัน คุณภาพการศึกษา คณบดี รองคณบดี เปนผูกําหนดทิศทางในการบริหาร

ผูรับผิดชอบ

รองคณบดีฝายบริหารและกรรมการ ดําเนินงานประกันคุณภาพ รองคณบดีฝายบริหาร

ผูบริหาร ~70~

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

~69~

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม แนวทางการพัฒนา ผลการประเมินความพึงพอใจบางโครงการไมถึงรอยละ 80


รายงานการติดตามแผนบริหารความเสี่ยง /รายงานแผน บริการหารความเสี่ยงไมสมบูรณ องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ จุดออน/แนวทางแกไข - ควรมีการนํารายงานประจําปทําเปนรายงานประกัน คุณภาพตอเสนอสภาสถาบัน และ สกอ. - ควรนําผลการประเมินคุณภาพมาพัฒนาการดําเนินงาน ตามตัวบงชี้ตามแผนกลยุทธทุกตัวบงชี้ - ควรมีการสรางเครือขายดานประกันคุณภาพระหวาง สถาบันและสรางกิจกรรมรวมกัน

ความเสี่ยงและแจงใหบุคลากรภายในคณะทราบ

ปรับใชรายงานประกันคุณภาพเปนรายงานประจําป

หัวหนาสํานักงานคณบดี

ประชุมวางแผนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพทั้งระดับ คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพ หลักสูตรและคณะ คณะฯ มอบหัวหนาสํานักงานประสานไปยังหนวยงานภายใน หัวหนาสํานักงานคณบดี สถาบันในการจัดกิจกรรมเครือขายดานประกันคุณภาพ รวมกัน

รายงานประจําป 2554 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.