Engineering Today No.176 (Issue Mar-Apr 2020)

Page 1




Innovation ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

DA1% = A; K4 #RFLI 8K,3L3AK/ ==; ER 3<3/ ! LW%Q`G ¨´»®© ù . A<XD" º» Y$ !K2Z- Y27P_20N^V#7KIW>I"Q-VCN^;! 2cK< F!0N^ <7 "QEKH

Y$;E3 LER 3<3/ ! LW%Q`G[A=KD GY= ®ºÁ´¯ ¤ . A<XD" ÀÁ

ĞĽĦ

čĥõûĦčĒĥĆčĦěĨċĖĦĜĦĞĉėʃ ıęĤİċøIJčIJęĖĩ ı ğɿ û þĦĉĨ Ğěċþ IJĈĖ ĜĭčĖʃİċøIJčIJęĖĩİĒīĸġøěĦĕ ĕĥĸ č øûöġûďėĤİċĜıęĤõĦėďėĤĖĬ õ ĉʃ İþĨûĒĦćĨþĖʃ /4% ėɿěĕõĥĎ ĞĊĦĎĥčěĨüĥĖ İċøIJčIJęĖĩ þĩ ě ĔĦĒıęĤěĨ Ĝ ěõėėĕĒĥ č ČĬ ĜĦĞĉėʃ üĬĠĦęûõėćʃĕğĦěĨċĖĦęĥĖ ĒĥĆčĦ ıęĤċĈĞġĎ čěĥĉõėėĕğĬčɿ ĖčĉʃúĦɿ İþīġĹ IJėø ĈʀěĖıĞû 67 ğėīġ Ư(FSN 4BCFS 3PCPUư ÿĪĸ û İďʇ č ğĬ ɿ č Ėčĉʃ ċĽ Ħ ğčʀ Ħ ċĩĸ ú ɿ Ħ İþīĹ ġ õɿ ġ IJėø $07*% ĈʀěĖıĞûĖĭěĩ 67 ĞĦĕĦėĊİöʀĦ ĊĪ û õĦėúɿ Ħ İþīĹ ġ IJėøijčĒīĹ č ċĩĸ İ ýĒĦĤıęĤ üĬĈİĞĩĸĖûIJėøĉɿĦûĶ ĴĈʀĈĩ İčīĸġûüĦõėĤğěɿĦû õĦėúɿ Ħ İþīĹ ġ IJėø ĒīĹ č ċĩĸ İ ğęɿ Ħ čĥĹ č üĤĉʀ ġ û ďęġĈøč İĒėĦĤõĦėijþʀıĞû 67 ıĕʀüĤ ĞĦĕĦėĊúɿĦİþīĹġIJėøĴĈʀĈĩ ıĉɿĉʀġûėĤĕĥĈėĤěĥû ğĦõčĽ Ħ Ĵďijþʀ Ĵ ĕɿ Ċĭ õ ěĨ Čĩ ġ Ħüİďʇ č ġĥ č ĉėĦĖ ĉɿġĕčĬĝĖʃĴĈʀ

Ĉė ĜĨěėĥõĝʃ ĜĨěIJĕõĝČėėĕ ĐĭʀġĽĦčěĖõĦėĜĭčĖʃİċøIJčIJęĖĩİĒīĸġøěĦĕĕĥĸčøûöġû ďėĤİċĜıęĤõĦėďėĤĖĬõĉʃİþĨûĒĦćĨþĖʃ /4% ĞĽĦčĥõûĦčĒĥĆčĦěĨċĖĦĜĦĞĉėʃıęĤ İċøIJčIJęĖĩığɿûþĦĉĨ Ğěċþ õęɿĦěĊĪûõĦėĒĥĆčĦčěĥĉõėėĕğĬɿčĖčĉʃúɿĦİþīĹġĴěėĥĞõɿġIJėø $07*% ĈʀěĖıĞû 67 ğėīġ Ư(FSN 4BCFS 3PCPUư ěɿĦ İčīĸġûüĦõċĩĕěĨüĥĖĉʀġûõĦėþɿěĖ ĎėėİċĦĞĊĦčõĦėćʃõĦėėĤĎĦĈöġûIJėø $07*% ijčĖĦĕċĩĸöĦĈıøęčġĬďõėćʃċĦûõĦė ıĒċĖʃ ċĥĹûğčʀĦõĦõġčĦĕĥĖ ıġęõġĢġęʃúɿĦİþīĹġ ıęĤčĽĹĦĖĦúɿĦİþīĹġIJėøĉɿĦûĶ üĪûİėɿûĐęĨĉğĬɿč ĖčĉʃúɿĦİþīĹġõɿġIJėø $07*% öĪĹčĕĦ İĒīĸġİďʇčġĬďõėćʃİĞėĨĕijčõĦėúɿĦİþīĹġĴěėĥĞõɿġIJėø $07*% ċĩijĸ þʀûĦčĴĈʀĞĤĈěõċĬõċĩıĸ ęĤĉęġĈİěęĦ IJĈĖõĦėúɿĦİþīġĹ IJėøijčėĥĜĕĩIJĈĖėġĎ İĕĉė İďʇčėĤĖĤİěęĦ čĦċĩĉɿġüĬĈ üĤþɿěĖúɿĦİþīĹġIJėøĎčĒīĹčĐĨěĉɿĦûĶ ĴĈʀ ğĬɿčĖčĉʃúɿĦİþīĹġĴěėĥĞõɿġIJėø $07*% ĈʀěĖıĞû 67 ċĩĸĒĥĆčĦöĪĹččĩĹ ďėĤõġĎĈʀěĖ ğęġĈĖĭěĩ ÿĩ 67 $ öčĦĈĒęĥûûĦčėěĕ ěĥĉĉʃ ĒėʀġĕþĬĈøěĎøĬĕĴē ĕĩøěĦĕĒĨİĜĝĉėû ċĩĞĸ ĦĕĦėĊĎĥûøĥĎijğʀöĎĥ İøęīġĸ čĴďĖĥûüĬĈĉɿĦûĶ ĐɿĦčġĬďõėćʃøěĎøĬĕ 3FNPUF $POUSPM İĒīġĸ ĞĥĸûõĦėijğʀğĬɿčĖčĉʃİĈĨčğčʀĦ ĊġĖğęĥû İęĩĹĖěÿʀĦĖ İęĩĹĖěöěĦ ıęĤğĕĬčĉĥěıĎĎ ġûĜĦ İĒīĸġďėĤĞĨċČĨĔĦĒijčõĦėúɿĦİþīĹġIJėøċĬõĞĔĦĒĒīĹčċĩĸ ƯėĥûĞĩġĥęĉėĦĴěIJġİęĉğėīġıĞû 67 İďʇčĞİďõĉėĥĕöġûøęīĸčıĕɿİğęķõĴēēɻĦijčþɿěû čĦIJčİĕĉėĊĪû čĦIJčİĕĉė ÿĪĸûĕĩøěĦĕĊĩĸċĩĸĞĭûõěɿĦċĩĸĉĦİėĦĕġûİğķčĴĈʀ IJĈĖğĬɿčĖčĉʃ Ư(FSN 4BCFS 3PCPUư ċĩĸĒĥĆčĦöĪĹččĩĹ ijþʀıĞû 67 $ øěĦĕĖĦěøęīĸčġĖĭɿijčĖɿĦčøěĦĕĊĩĸ ďėĤĕĦć čĦIJčİĕĉė İďʇčıĞû 67 ċĩĸĕĩďėĤĞĨċČĨĔĦĒĞĭûijčõĦėõĽĦüĥĈĞĨĸûĕĩþĩěĨĉöčĦĈ İęķõğėīġİþīĹġIJėøĉɿĦûĶ ċĩĸøěĦĕĖĦěøęīĸččĩĹ ıĞû 67 üĤċĽĦęĦĖĈĩİġķčİġöġûĞĨĸûĕĩþĩěĨĉ öčĦĈİęķõġĖɿĦûĴěėĥĞ ıĎøċĩİėĩĖ İþīĹġėĦ ıęĤİþīĹġIJėøþčĨĈĉɿĦûĶ ğĖĬĈĖĥĹûďėĤĞĨċČĨĔĦĒijčõĦė ıĒėɿĒĥčČĬʃıęĤúɿĦĒĦğĤİğęɿĦčĩĹijčċĩĸĞĬĈư Ĉė ĜĨěėĥõĝʃ õęɿĦě õĦėčĽĦğĬɿčĖčĉʃ (FSN 4BCFS 3PCPU ĕĦijþʀďėĤIJĖþčʃijčþɿěûċĩĸďėĤİċĜĴċĖĕĩõĦė ėĤĎĦĈöġûIJėø $07*% üĤþɿěĖijğʀĞĊĦčċĩĉĸ Ħɿ ûĶ ċĥûĹ ĔĦøėĥĄıęĤİġõþčĞĦĕĦėĊďėĤğĖĥĈ øɿĦijþʀüɿĦĖüĦõčĽĹĦĖĦúɿĦİþīĹġ þɿěĖęĈõĦėĉõøʀĦûğėīġďčİďɹʉġčöġûĞĦėİøĕĩijččĽĹĦĖĦúɿĦİþīĹġ ċĩĸĞĽĦøĥāğĬɿčĖčĉʃúɿĦİþīĹġIJėøĞĦĕĦėĊúɿĦęĤġġûđġĖöġûİþīĹġċĩĸęġĖijčġĦõĦĜĴĈʀ ıęĤ ĖĥûĞĦĕĦėĊijþʀúɿĦİþīĹġĎčĒīĹčĐĨěöġûġĬďõėćʃİýĒĦĤ İþɿč ġĬďõėćʃġĨİęķõċėġčĨõĞʃ ġĬďõėćʃ õĦėıĒċĖʃ ċĩĸĴĕɿĞĦĕĦėĊIJĈččĽĹĦğėīġčĽĹĦĖĦİøĕĩĴĈʀ İďʇčĉʀč ċĥĹûčĩĹ ċĩĕěĨüĥĖİĉėĩĖĕøěĦĕĒėʀġĕöġûğĬɿčĖčĉʃ (FSN 4BCFS 3PCPU IJĈĖěĦûıĐč čĽĦėɿġûċĈĞġĎõĦėijþʀûĦčċĩĸĞĊĦčĒĖĦĎĦęığɿûıėõ øīġ IJėûĒĖĦĎĦęüĬĠĦęûõėćʃıęĤ ğčɿěĖûĦčĉɿĦûĶ ĉɿġĴď

-< AM@<J B AM@X: B1<<: 1O_ #L & L< 6S GdL3A< L=BS3< W1 Y3Y?<O W8Q_G AL;;K_3 " G"5=JW1BX?J L=5=J<R / W%N"8L-N%< ¹¾¯ DA1% X?J1O;AN#K<

4

Z% ½ÐØÚßÐ ®ÚÙßÝÚ× DK_" L=ZE ER 3<3/ W ?Q_G31O_ E;R3/KAX44 ¡ G"BL W8Q_G5=JDN12N:L8 Z3 L=! LW%Q`GY= 1R D:L88Q`31O_



ASEAN’s Leading Machinery and Technology Event for Manufacturing and Supporting Industries

24 27 (Wed - Sat) 10.00 - 18.00 hrs. rs.

JUNE

BITEC • BANGKOK KO OK OK

Organized by:

Co-located with:

Exhibit space is open for reservation.

+66 2686 7299

manufacturing-expo@reedtradex.co.th

manufacturingexpopage

www.manufacturing-expo.com



EDITOR TALK õĨĉĉĨ ěĨĞĬċČĨėĥĉčõĬę

ċלāÑüÖ éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã

üāÓāòíÜāďæċíôù åèè÷òĄüñćçñā ČÑöÖæćŚÖíÜāďæ ċÑäòāÙċæöĄ ÐòćÖċæíþ čæò÷ĀíæŞ čæòùāò www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net F .BJM FEJUPS!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI ÐüÖéòòâāçăÐāò F .BJM FEJUPS!FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU ìŕāñčÕøâā F .BJM NBSLFUJOH@NBH!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI ìŕāñéĀÜÙĄČôÿçćòÐāò F .BJM BDDPVOU!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI

ÓâÿæĄēêòąÐøā

÷ üòćâ ÙĀñċùòĄ ãò æèÖ íăæñÿ ò÷ ØãĀé êŠæðùĈä ÷ ãò ðÖÓô ċãÙèÓòăèæòŞ ò÷ ãò íăÙèĄ číçāòāðăÐ ò÷ íĈôíò ČùÖéāÖêôā ò÷ ãò äŚüäòÿÐĈô ñðèāÓ ÷ ãò öò÷ĀÐãăė ÐèÐèćÐĈôÙĀñ ãò ÐāòćÜ ×ĀèæòāÖ÷ć ãò êòÿċùòăß ïĀæòðĀñ ùăòăíò ď÷ôÿùĈä ùăæçăíò òĀäčèïāù êòÿùÖÓŞ çāòāďÙñ êòā⥠íĀèçćðùăèÙĀñ ò÷ ãò êòăæòò÷èŞ íĀèçćéòòñÖÐŞ öĀôôï ċäĄñ÷ăòă ë÷ ãò èăċö÷èŞ ċúðöÙăòöòāÐò éòòâāçăÐāòüĘāèöñÐāò Ðăääă öăùćæçăòĀäèÐćô éòòâāçăÐāòëĈśíăðíŞëĈśčÕøâā ùćċðç éćÜùĀðíĀèçŞÐă× éòòâāçăÐāòöăÙāÐāò ÷ ãò íĄò÷ĀÐãăė öòùćèæčòùå ãò ðèäòĄ öĄòñāÖÐĈò éòòâāçăÐāò ùćòĄñŞíò öÖ÷Ş÷òĄäòÿÐĈô ÐüÖéòòâāçăÐāò æĀ÷èĄñŞ ċòĆüÖäăÐ íăùĈ×èŞüĀÐøò çăãāöãĄ éćÜùćñā ÷ăôêÐòòð íóáăñā èăôöĀäò Ùćäăïā ×òăäíĀèçŞ ìŕāñčÕøâā ðèĀù ďÙñċíù ÷ăòăïò⪠ÐôăēèÑ×ò Ðøăòā ċúðéĀâàăäñŞ ÐĀôñā æòĀíñŞïăòðñŞ öĄòÿöòòâ íćæçčüöāæ ċôÑāèćÐāòìŕāñëôăä ÙćäăðâàèŞ éĀöëĀè ìŕāñùðāÙăÐ ÷ăòăèæăíñŞ čñçāíĀèçŞ čòÖíăðíŞ ú×Ð òćŚÖċòĆüÖÐāòíăðíŞ ČñÐùĄ é×Ð ÓôāùăÓùČÐè Engineering Today www.engineeringtoday.net

ùÖöèôăÑùăæçăėäāðíòÿòāÙéĀÜÜĀäăôăÑùăæçăė í ÷

สธ. ประเมินตัวเลขผู้ติดเชื้อ COVID-19 ณ 30 เม.ย. ยอดทะลุ 3,500 คน มั่นใจ พ.ร.ก.ฉุกเฉินช่วยหน่วงสถานการณ์ได้ ċɿĦĕõęĦûĞĊĦčõĦėćʃõĦėıĒėɿėĤĎĦĈöġûİþīĹġĴěėĥĞIJøIJėčĦ $07*% öġûĴċĖ čĥĎĉĥĹûıĉɿěĥčċĩĸ ĕõėĦøĕ ċĩĸĐɿĦčĕĦ ÿĪĸûİďʇčěĥčıėõċĩĸõėĤċėěû ĞĦČĦėćĞĬö ĞČ ıĊęûöɿĦěĒĎĐĭʀĉĨĈİþīĹġĴěėĥĞIJøIJėčĦĞĦĖĒĥčČĬʃijğĕɿėĦĖıėõijč ďėĤİċĜĴċĖ üčĊĪûěĥčċĩĸ ĕĩčĦøĕ üĽĦčěčĐĭʀĉĨĈİþīĹġİĒĨĸĕİďʇč øčijčėĤĖĤİěęĦ ěĥč ğėīġİýęĩĸĖİĒĨĸĕöĪĹčİõīġĎěĥčęĤ øč üčĊĪûěĥčċĩĸ ĕĩčĦøĕ ĞČ ĒĎĐĭʀĉĨĈ İþīĹġėĦĖijğĕɿİĒĨĸĕ ėĦĖ čĥĎİďʇčėĦĖċĩĸ ėěĕĕĩĐĭʀĉĨĈİþīĹġĞĤĞĕ ėĦĖ üĦõčĥĹčıčěIJčʀĕõĦėıĒėɿėĤĎĦĈijčĴċĖİėĨĸĕėĬčıėûĕĦõĖĨĸûöĪĹč ĞɿěčijğāɿĕĦüĦõõęĬɿĕ ĞčĦĕĕěĖ üčĊĪûöćĤčĩĹ ěĥčċĩĸ ĕĩčĦøĕ ĒĎĐĭʀĉĨĈİþīĹġėĦĖijğĕɿ ėĦĖ ĖġĈĐĭďʀ ěɺ ĖĉĨĈİþīġĹ $07*% ĞĤĞĕ ėĦĖ İĞĩĖþĩěĉĨ İĒĨĕĸ ėĦĖ ėěĕİĞĩĖþĩěĉĨ ĞĤĞĕ ėĦĖ üĤİğķčĴĈʀěɿĦčĥĎĉĥĹûıĉɿěĥčċĩĸ ĕĩčĦøĕċĩĸĐɿĦčĕĦ ĖġĈĐĭʀĉĨĈİþīĹġėĦĖijğĕɿĒĬɿûĞĭû öĪĹčĊĪû ėĦĖ üĦõčĥĹčěĥčċĩĸ ĕĩčĦøĕ ĖġĈĐĭʀĉĨĈİþīĹġėĦĖijğĕɿİĒĨĸĕöĪĹčõěɿĦ ėĦĖċĬõěĥč ċĥûĹ čĩĴĹ Ĉʀĕõĩ ĦėøĦĈõĦėćʃüĦõ ĞČ ěɿĦ ğĦõĕĩĖġĈĐĭĉʀ ĈĨ İþīġĹ İĒĨĕĸ ěĥčęĤ õěɿĦøč ĉĥĹûıĉɿěĥčċĩĸ ĕĩčĦøĕ İĕĝĦĖččĩĹ øĦĈěɿĦüĤĕĩĐĭʀďɺěĖ ċĥĸěďėĤİċĜėĦě øč ğĦõĕĦĉėõĦėĴĕɿİöʀĕöʀčĒġ ċĥĹûĕĦĉėõĦė ƯġĖĭɿĎʀĦč ğĖĬĈİþīĹġ İĒīĸġþĦĉĨư ıęĤĕĦĉėõĦė Ư4PDJBM %JTUBODJOHư ÿĪĸûüĤøěĎøĬĕıęĤďɻġûõĥč õĦėıĒėɿėĤĎĦĈöġûİþīĹġ $07*% ĴĈʀİďʇčġĖɿĦûĈĩ ġĖɿĦûĴėõķĉĦĕ ĞČ İþīĸġĕĥĸčijüěɿĦ ğęĥûüĦõċĩĸėĥĄĎĦęďėĤõĦĜijþʀ Ē ė õ ýĬõİýĨčijčěĥčċĩĸ ĕĩčĦøĕ ÿĪĸûĕĩöʀġõĽĦğčĈ öʀġ čɿĦüĤþɿěĖğčɿěûĞĊĦčõĦėćʃĴĈʀ ĞĽĦğėĥĎěĦėĞĦė &OHJOFFSJOH 5PEBZ ýĎĥĎċĩĸ čĩĹöġİõĦĤĉĨĈûĦčěĨüĥĖĞĭʀĔĥĖ $07*% İėĨĸĕüĦõ ƯĞěċþ ėɿěĕõĥĎüĬĠĦģ ĒĥĆčĦčěĥĉõėėĕğĬɿčĖčĉʃúɿĦİþīĹġ $07*% Ĉʀ ě ĖıĞû 67 ijþʀ û ĦčĴĈʀ ij čĒīĹ č ċĩĸ İ ýĒĦĤıęĤüĬ Ĉ İĞĩĸ Ė û čĽ Ħ ėɿ ġ ûċĩĸ ėĒ üĬĠĦģư ƯüĥĎĉĦ ûĦčěĨüĥĖ þɿěĖĴċĖĖĦĕěĨõĘĉ $07*% ğčʀĦõĦõĐʀĦõĥč čĽĹĦöġû ĕČ ğčʀĦõĦõġčĦĕĥĖ İĞėĨĕıĐɿčİĞʀčijĖčĦIJčöġû ĕüĒ ư ƯüĬĠĦģ İďɶĈĉĥě ğęĥõĞĭĉėĐęĨĉĎĥćąĨĉıĒċĖʃ ďėĨāāĦ ĉėĩıĒċĖʃ øěĎIJċěĨĜěõėėĕþĩěİěþ ĕĬɿûĐęĨĉıĒċĖʃ čĥõěĨüĥĖþĥĹččĽĦ ıõʀĴöďʅāğĦijčIJėûĒĖĦĎĦęư ƯĞõĞě ĉĨĈĉĦĕõĦė ěĦûıĐčĎėĨğĦėüĥĈõĦėčĽĹĦİĞĩĖijčIJėûûĦč ü þęĎĬėĩ ığɿû ıõʀďʅāğĦöĦĈıøęččĽĹĦ ijčĒīĹčċĩĸ &&$ư ıęĤøġęĥĕčʃġīĸčĶ ċĩĸčɿĦĞčijü İþĨāĉĨĈĉĦĕġɿĦčĴĈʀċĥĹûėĭďıĎĎ 1SJOU ıęĤ & .BHB[JOF čĤøėĥĎ ėɿěĕijüøčĴċĖđɺĦěĨõĘĉ $07*% ĴďĈʀěĖõĥč



CONTENTS Engineering Today

March - April 2020 VOL. 2 No. 176

COLUMNS 4

Innovation

ùöæÙ òŚöðÐĀé×ćûāþ íĀáèāèöĀäÐòòðúćŚèñèäŞÕŚāċÙĆĔü $07*% ãśöñČùÖ 67 ĎÙśÖāèďãśĎèíĆĔèæĄēċØíāÿČôÿ×ćãċùĄēñÖ èĘāòŚüÖæĄē òí ×ćûāþ

17

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

19 In Trend

4 yvy r w `

ùç êòÿċðăèäĀöċôÑëĈśäăãċÙĆĔü $07*% â ċð ñ ñüãæÿôć Óè ðĀēèĎ× í ò Ð ØćÐċØăèÙŚöñúèŚöÖùåāèÐāòâŞďãś

ĵ Ðăääă öăùćæçăòĀäèÐćô

İöă÷öÐòúÜăÖ ċ×èċèüċòÙĀēèı ÐśāöÑśāðÓöāðæśāæāñ ùĈŚöăÙāÙĄíöă÷öÐòúÜăÖüñŚāÖċäĒðïāÓïĈðă

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

DIGITAL ECONOMY 24 Technology

13 Interview

ùÐùö äăãäāðÐāòöāÖČëèéòăúāò×ĀãÐāòèĘĔāċùĄñĎèčòÖÖāè × ÙôéćòĄ ČúŚÖ ČÐśêŠÜúāÑāãČÓôèèĘĔāĎèíĆĔèæĄē &&$

ð ðúăãô ×ĀéðĆü æĄčüæĄ èĘā ( ñÐòÿãĀééòăÐāòùāçāòâùćÑ ċíăēðÑĄãÓöāðùāðāòåċýôæŞċæÓÑüÖêòÿċæ÷

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

27 Digital

ץèĎÙśċæÓčèčôñĄãă×ăæĀôÙŚöñÙĄöăä ìŕāîŠèöăÐóä æŚāðÐôāÖöăÐóäďöòĀù $07*% òÿéāã

ĵ üāôĄċíñŞ

29 IoT (Internet of Things)

ÐùæÙ ċãăèúèśāëôĀÐãĀèÐāòĎÙś *P5 ĎúśďãśðāäòßāèČôÿêôüãïĀñ úöĀÖôãÓöāðċùĄēñÖïĀñÓćÐÓāðďÚċéüòŞ

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

13 17 Open House

×ćûāþ ċêőãäĀöúôĀÐùĈäòëôăäéĀâàăäČíæñŞ êòăÜÜā äòĄČíæñŞ Óöéčæöă÷öÐòòðÙĄöċöÙ ðćŚÖëôăäČíæñŞ èĀÐöă×ĀñÙĀĔèèĘā ČÐśďÑêŠÜúāĎèčòÖíñāéāô

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

29



CONTENTS Engineering Today

March - April 2020 VOL. 2 No. 176

DIGITAL ECONOMY IT Update

32 EEC

ùöæÙ ×ĀéðĆü êäæ ùë íĀáèā &&$J äüéč×æñŞ *OEVTUSZ íòśüð×ĀãäĀĔÖ÷ĈèñŞöă×ĀñíĀáèāþ êäæ ùë ċêŢèòāñČòÐĎè &&$J

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

52 ċüêùĀèÙĈÐôñćæçŞ ĭ%PVCMF -&"%Į úöĀÖÓòüÖëĈśèĘāäôāãüăÖÓŞċ×Ēæ

íòăèċäüòŞ # # ØôüÖÓòéòüé êŒĎèďæñêŒĮ

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

54 öăåĄďüæĄêŒ í ÷ öăåĄùĈŚčôÐñćÓüĀäčèðĀäă

32 Report 36 ùåāéĀèċíăēðþ Óòéòüé êŒ

56 Logistics

×ĀãùĀððèā İ5SBOTGPSNJOH 1SPEVDUJWJUZ GPS 5PNPSSPX 4VDDFTTı ÑĀéċÓôĆēüèëôăäïāíüćäùāúÐòòðďæñĎúśČÑŚÖÑĀèďãśüñŚāÖñĀēÖñĆè

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

éæöăíāÐøŞïĈðă÷āùäòŞčô×ăùäăÐùŞ Ðò⥠0#03 ÓôüÖďæñ ùÿíāèċÐāÿùðćñ

ĵ ò÷ ãò òÿúĀäò čò×èêòÿãăøߪ

yvc

36

ĵ ùćïĀÓ ôāñċôă÷

Ðāòöă×ĀñČôÿíĀáèāîőôŞðÓāòŞéüèċùðĆüèċíÙò ãśöñċæÓèăÓČùÖÚăèčÓòäòüè

ĵ ãò ÷òāñćæç äĀĔèðĄ ãò ÙèòòÓŞ ċüĆĔüòĀÐùÐćô üćÐóøÝŞ óæçăúÖùŞ ùåāéĀèöă×ĀñČùÖÚăèčÓòäòüè

CONSTRUCTION THAILAND

39 ×Āéäā Öāèöă×Āñ ÙŚöñďæññāðöăÐóä $07*%

64 Construction

úèśāÐāÐëśāÐĀèèĘĔāÑüÖ ðç úèśāÐāÐüèāðĀñ ċùòăðČëŚèċùśèĎñèāčèÑüÖ ð×í

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

43 Research & Development

ùöæÙ ďéčüċæÓ òŚöðÐĀéČðŚčל äăãäāð #$( .PEFM ĎèïāÓċúèĆü ñÐòÿãĀéÓćâïāíÙĄöăäċÐøäòÐò ċíăēðêòÿùăæçăïāí ëôëôăäêôüãùāòċÓðĄ

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

48 Energy Today

ÐÐí ùèĀéùèćè "&*5' ċêőãäĀöčÓòÖÐāò 4PMBS .PWF ãąÖéśāè×Āãùòò úôĀÖòŚöðĎ×ĎÙśďî×āÐíôĀÖÖāèČùÖüāæăäñŞ

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

ÓðèāÓð ×ĀéðĆü üö ČôÿíĀèçðăäòïāÓòĀß ċüÐÙè òöð úèŚöñÖāè ðćŚÖÑĀéċÓôĆēüèüćäùāúÐòòðòāÖďæñæćÐðăäă

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

68 Property

ôôăô ØĄÐãĄďÚèŞČéééśāè ĎúśċêŢèéśāèùďäôŞìòĀēÖċ÷ù ëùāèîŠÖÐŞÙĀēèÐĀéùåāêŠäñŞÑüÖ ĭċôü ÐüòŞéĈÚĄċñĮ ùåāêèăÐòÿãĀéčôÐ

ĵ ÐüÖéòòâāçăÐāò

70 Project Management

ÐāòéòăúāòčÓòÖÐāòüñŚāÖðĆüüāÙĄí 1SPGFTTJPOBM 1SPKFDU .BOBHFNFOU ÐāòéòăúāòčÓòÖÐāò ċÙăÖÐôñćæçŞ ãśāèÐāò÷ąÐøāÓöāðċêŢèďêďãśčÓòÖÐāò

ĵ ãò íòÙĀñ üÖÓŞöÖ÷ŞùÐćô


Interview • กองบรรณาธิการ

“วิศวกรหญิง 4 เจนเนอเรชั่น”

กาวขามความทาทาย สูวิชาชีพวิศวกรหญิงอยางเต็มภาคภูมิ ในยุคปจจุบันที่ผูหญิงมีความเกงและความสามารถไมแพผูชาย ยืนหยัดแถวหนาอยูในหลากหลายวงการรวมทั้งสายวิชาชีพ “วิศวกร” ที่ “วิศวกรหญิง” สามารถทํางานเคียงบาเคียงไหลเทียบเทา “วิศวกรชาย” อีกทั้งยังมีโอกาสเติบโตในเสนทางอาชีพได อยางเทาเทียมกันอีกดวย ซึง่ มีตวั อยางของวิศวกรหญิง 4 เจนเนอเรชัน่ ทีม่ คี วามมุง มัน่ ในวิชาชีพวิศวกร สามารถกาวผานความทาทาย จนประสบความสําเร็จในวิชาชีพนี้

รศ.พูลพร แสงบางปลา กรรมการจรรยาบรรณ สภาวิศวกร ผูหญิงคนเดียวในคณะ ใชความมานะ - อดทน พิสูจนวาผูหญิงเปนวิศวกรได รศ.พูลพร แสงบางปลา กรรมการ จรรยาบรรณ สภาวิศวกร นายกกิตติมศักดิ์ สมาคมวิศวกรยานยนตไทย นายกสมาคม วิศวกรหญิงไทยคนแรก ประธานกลุม ชิ้นสวนและยานยนต ASEAN และหนึ่ง ในที ม ทดลองวิ จั ย พลั ง งานทดแทนใน เครื่องยนต กลาวถึงบทบาทการทํางานใน ฐานะวิศวกรหญิงวา ไมมคี าํ วายาก หากนํา ความรูที่ไดศึกษาในรั้วมหาวิทยาลัยตลอด 4 ป มาประยุกตใชในโลกของการทํางาน

ไดอยางเหมาะสม ภายใตการยึดมั่นใน จรรยาบรรณแห งวิชาชีพของผูประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม “ความทาทายของผูหญิงในอาชีพ วิศวกร สําหรับตัวเอง เริ่มตั้งแตการตัดสิน ใจกาวเขาสูคณะวิศวกรรมศาสตร ในรั้ว จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย เมื่ อ ป พ.ศ. 2500 ถือวาเปน ผูหญิงคนเดียวในคณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทําใหตองมีความมานะ อดทน เพื่อพิสูจน ถึงความเปนผูห ญิงสามารถประกอบอาชีพ วิศวกรได เมื่อเรียนจบการศึกษาก็ไดทํา อาชีพวิศวกรอยางเต็มตัว เพียงระยะหนึ่ง

13

เทานั้น จากนั้นก็ตัดสินใจผันตัวเองสูการ เปนอาชีพ “เรือจาง” โดยเปนอาจารยที่ จุฬาฯ เพื่อปลุกปนบุคลากรที่มีคุณภาพ ประดับวงการ” รศ.พูลพร กลาว

หญิงแกรงแหงวงการยานยนต สรางแรงบันดาลใจวิศวกรยุคใหม

จากการทํางานมาตลอดระยะเวลา 60 ปที่ผานมานี้ ซึ่งมีมากมายนับไมถวน โดยผลงานที่ ชื่ น ชอบและสร า งความ ภาคภูมใิ จใหกบั ตนเอง คือการทดลองวิจยั พลังงานทดแทน จึงเปนคนไทยคนแรกที่ วิจัยพลังงานทดแทน อยาง แกสแอลพีจี

Engineering Today March - April

2020


(LPG) ซีเอ็นจี (CNG) เอทานอล (Ethanol) และไบโอดีเซล (Biodiesel) ทําใหทุกวันนี้ ประเทศไทยใชพลังงานทดแทนตางๆ ตาม งานวิจัยของอาจารย รวมทั้งระบบไอเสีย จึงไดรับการขนานนามวา “หญิงแกรงแหง วงการยานยนต” และยังคงมุงมั่นปลุกปน บุคลากรวิศวกรไทย เพื่อทํางานชวยเหลือ สังคมและพัฒนาประเทศไทยใหมีความ ยั่งยืนตอไป

“สิ่งสําคัญสําหรับวิศวกรรุนใหม จะ ต อ งเรี ย นรู  ร อบด า น เพื่ อ ก า วให ทั น กั บ ยุค Industry 4.0 ไมเกงเฉพาะวิชาที่เรียน มาเท า นั้ น ต อ งศึ ก ษาศาสตรวิ ศ วกรรม ทั้งวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาห การ หรือแมกระทั่งหลักการบริหารงาน การบริ ห ารคน และการบริ ห ารเงิ น ” รศ.พูลพร กลาว

ผศ. ดร.สุภมาศ สุชาตานนท อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มธ. วิศวกรหญิงกับบทบาทอาจารย มหาวิทยาลัย ดวยเปาหมาย ที่ยิ่งใหญ ผลิตวิศวกรรุนใหม ผศ. ดร.สุ ภ มาศ สุ ช าตานนท อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมอุตสาห การ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร (มธ.) หรือ TSE (Thammasat School of Engineering) กลาวถึงจุด เปลีย่ นของการทํางานในสาย “วิศวกรหญิง” บนเสนทางการศึกษาวา เกิดจากความ ต อ งการในการส ง ต อ องค ค วามรู  ด  า น วิศวกรรมอุตสาหการใหเกิดขึ้นในวงกวาง ยิ่งขึ้น ผานเยาวชนรุนใหมที่มี Passion ในการเปน “วิศวกร” นอกเหนือจากการ เป น อี ก หนึ่ ง ฟ น เฟ อ งที่ จ ะช ว ยวางแผน

Engineering Today March - April

2020

การบริ ห ารจั ด การ คํ า นวณต น ทุ น ทาง เศรษฐศาสตร การวางผังโรงงาน การควบคุม กระบวนการผลิต และอื่นๆ เพื่อประโยชน สูงสุดในการยกระดับศักยภาพของโรงงาน สายการผลิตในภาคอุตสาหกรรม ซึง่ ความ รูในสาขาดังกลาว สามารถนําไปประยุกต ใช กั บ การทํ า งานได ใ นหลากมิ ติ ควบคู  ไปกับการปรับตัวใหเทาทันตอการเปลี่ยน แปลงและไม ห ยุ ด เรี ย นรู  เ ทคโนโลยี ห รื อ อัพเดทเทรนดใหมๆ “แม ก ารทํ า งานในอดี ต ในฐานะ วิศวกรหญิงประจําโรงงานสายการผลิต จะ ตองเผชิญกับขอจํากัดดานการทํางานใน บางประการ อาทิ การลงพื้นที่ทํางานใน ตางจังหวัด การประสานและควบคุมการ

14

ทํางานของชางเทคนิคในฝายตางๆ ก็ตาม แตโดยสวนตัวเชือ่ วา “เรือ่ งเพศ ทัง้ เพศหญิง และเพศที่สาม (LGBTQ) มิใชขอจํากัดใน การทํางานสายวิศวฯ ในปจจุบนั เพราะหาก คุณสามารถแสดงศักยภาพเปนทีป่ ระจักษได หรื อ ทํ า งานที่ ไ ด รั บ มอบหมายได เ ป น อยางดี เมื่อนั้นคุณก็จะไดรับการยอมรับ อยางไรเงื่อนไข” ผศ. ดร.สุภมาศ กลาว


ชลธิชา ปยะศิริศิลป วิศวกรประมาณราคา บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด (มหาชน) หรือทีมกรุป วิศวกรหญิง ผูห ลงใหลงานกอสราง ทํางานเคียงบาเคียงไหล กับวิศวกรชาย ชลธิ ช า ป ย ะศิ ริ ศิ ล ป วิ ศ วกร ประมาณราคา บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด (มหาชน) (Team Group) ศิษยเกาจาก สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรม ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร กลาววา การกาวสูเสนทางอาชีพวิศวกร หญิงมีจุดเริ่มตนจากตนเองที่มองวาการ ก อ สร า งเป น หนึ่ ง ในผลงานที่ มี รู ป ธรรม จับตองได อีกทั้งยังมีความใฝฝนวา เมื่อมี ครอบครั ว จะถ า ยทอดให ลู ก ฟ ง ถึ ง ตึ ก ที่ แม ส ร า งอย า งภาคภู มิ ใ จ เพราะทุ ก ตึ ก มีโครงสรางและดีไซนแตกตางกัน ดังนั้น ในชวงมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงวางแผน ชีวติ และเลือกศึกษาตอระดับมหาวิทยาลัย ในหลักสูตรวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรม ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร พรอมกับสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม หรือ ใบ ก.ว. กับสภาวิศวกรทันที

เมื่อสําเร็จการศึกษา เพื่อเปนใบเบิกทาง สูเปาหมายอาชีพวิศวกรโยธาหญิงเต็มตัว “กวาจะกาวสูอาชีพวิศวกรโยธาได สําเร็จนัน้ ตองใชความอดทนสูง สมัยเรียน มหาวิ ท ยาลั ย จะมี เ พื่ อ นผู  ห ญิ ง ที่ ค ณะ นอยมาก อีกทั้งเพื่อนหลายๆ คน ยังเลือก หั น หลั ง ไปในเส น ทางอาชี พ อื่ น แทน ซึ่งจริงๆ แลว ในรูปแบบการทํางานบาง ประเภทอยาง “การประมาณการกอสราง และการวางแผน” นั้ น ส ว นตั ว มองว า วิ ศ วกรหญิ ง สามารถทํ า ได ดี ก ว า ผู  ช าย ดวยความที่ผูหญิงมีความละเอียดออนที่ มากกวา โดยทุกวันนี้ ยังรูสึกสนุกกับการ ออก Site งานกอสราง และเชื่อมั่นวา ผูหญิงก็สามารถทํางานวิศวกรโยธาไดดี ไมตางจากผูชาย” ชลธิชา กลาว

15

แนะสั่งสมความรูตั้งแตเรียน ในรั้วมหาวิทยาลัย ดวยวิศวกรตองมีภาวะผูนํา

สํ า หรั บ ความท า ทายโลกของการ ทํางานในฐานะ “วิศวกรประมาณราคา” (Estimate Engineer) คือ การใหคาํ ปรึกษา กับเจาของโครงการและผูออกแบบอยาง แมนยํา เพราะหากมีขอผิดพลาดเกิดขึ้น อาจจะกอใหเกิดความเสียหาย ทั้งการ กอสรางผิดแบบหรือกอสรางแลวไมประสบ ความสําเร็จ “อยากจะฝากแนวคิดใหกับนองๆ ที่ตองการเติบโตบนเสนทางอาชีพวิศวกร วา ตองเก็บเกี่ยวความรูนับตั้งแตที่เรียนใน รั้วมหาวิทยาลัย เพราะเมื่อกาวสูอาชีพ วิศวกรถือวาอยูใ นระดับหัวหนางาน ตองมี ภาวะผูนํา ชี้แนะแนวทางการทํางานใหกับ โฟร แ มน สํ า หรั บ ตนเองนั้ น เก็ บ เกี่ ย ว ประสบการณการเปนผูรับเหมารวม 5 ป เพื่อใหมีความเชี่ยวชาญในงานกอสราง อยางแทจริง” ชลธิชา กลาว

Engineering Today March - April

2020


และตั้ ง เป า ตามรอยความสํ า เร็ จ เพื่ อ เป น หนึ่ ง ในวิ ศ วกรหญิ ง ที่ ป ระสบความ สํ า เร็ จ และก า วหน า ในอาชี พ เช น กั น โดยล า สุ ด เตรี ย มวางแผนศึ ก ษาต อ ใน ระดับปริญญาโท เพื่อนําความรูเชิงลึกที่ได เขาไปเติมเต็มและขับเคลือ่ นการทํางานใน สายวิศวกรรมอุตสาหการ ตามที่ตั้งใจได อยางเต็มศักยภาพ

ณัชชา คูณอเนกสิน นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร สจล. วิศวกรหญิงรุน ใหมขอเดินตามฝน มุงมั่นสูความสําเร็จในวิชาชีพ ตามที่ตั้งใจ ณัชชา คูณอเนกสิน นักศึกษาชั้นป ที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เลาวา จากความสนใจศึกษาตอ ดานวิศวกรรมอุตสาหการ ดวยมองวาเปน หลั ก สู ต รที่ มี ส าขาน า เรี ย นหลายแขนง มีกลุมงานรองรับมั่นคงและหลากหลาย ทั้งบริษัทและโรงงานอุตสาหกรรม อีกทั้ง ยั ง เป น หลั ก สู ต รที่ ต อบโจทย โ ลกการ ทํ า งานในปจ จุ บั น และอนาคต ที่ มี เ รื่ อ ง ของเทคโนโลยี ม าเกี่ ย วพั น ซึ่ ง คณะ วิศวกรรมศาสตร สจล.มีความแข็งแกรง ดานวิศวกรรมศาสตร มีกิจกรรมที่กระตุน

Engineering Today March - April

2020

สภาวิศวกรเผยมีสมาชิกวิศวกร การคิด-วิเคราะหอยางตอเนื่อง รวมถึง ขึ้นทะเบียนกวา 170,000 ราย เนนสรางประสบการณจากการลงมือทํา ครอบคลุม 7 สาขา

มากกวาฟงบรรยาย โดยมีอาจารยภาคให คําปรึกษา ทําใหตนไดสัม ผัสและคุนเคย กับรูปแบบการทํางานจริง กอนเดินทางไป ฝกประสบการณ ณ มหาวิทยาลัยโตไก ประเทศญี่ปุน ซึ่งสามารถนําความรูจาก สจล. ไปปรับใชในการฝกปฏิบตั ทิ หี่ อ ง Lab ประเทศญี่ปุน ไดเปนอยางดี ขณะเดียวกัน ก็ ไ ด เ รี ย นรู  ก ารใช เ ทคโนโลยี ใ หม ๆ ใน ภาคอุตสาหกรรมเชนกัน อยางไรก็ดี จากประสบการณทไี่ ดรบั จากการเรียนและฝกงานที่ญี่ปุน พบวา วิ ศ วกรหญิ ง มี แ นวโน ม การเติ บ โตและ ประสบความสํ า เร็ จ จํ า นวนมาก ทั้ ง ใน บริษัทเอกชน และโรงงานอุตสาหกรรม ทําใหมองเห็นเสนทางอาชีพทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้

16

จากข อ มู ล ล า สุ ด ของ “สมาชิ ก วิศวกร” ที่ขึ้นทะเบียนกับ “สภาวิศวกร” (COE) มีจํานวนกวา 170,000 ราย และ มากกวา 10% เปนวิศวกรหญิง ครอบคลุม ทั้งสิ้น 7 สาขา ไดแก วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเหมืองแร วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ า วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมสิ่งแวดลอม และวิศวกรรมเคมี โดยผู  ส นใจที่ จ บการศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต ใน 7 สาขา ดั ง กล า ว สามารถสมั ค รเป น สมาชิ ก สภาวิศวกร เพือ่ สอบ “ใบอนุญาตประกอบ อาชีพวิศวกรรมควบคุม” หรือ “ใบ ก.ว.” สูการรับรองมาตรฐานและศักยภาพการ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม


Open House • กองบรรณาธิการ

จุฬาฯ เปดตัวหลักสูตรผลิตบัณฑิตแพทย 2 ปริญญา ตรีแพทยควบโทวิศวกรรมชีวเวช

มุงผลิตแพทย – นักวิจัยชั้นนํา แก ไขปญหาที่พบจริงในโรงพยาบาล

ศ. นพ.สุทธิพงศ วัชรสินธุ คณบดีคณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ผลิตภัณฑตนแบบทางการแพทย

ศ. นพ.สุทธิพงศ วัชรสินธุ คณบดีคณะแพทยศาสตร พรอมดวย ศ. ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกันแถลงขาว จุฬาฯ เปดโครงการผลิตบัณฑิตแพทย 2 ปริญญา ภายในเวลา 6 ป ปริญญาตรีแพทย และปริญญาโทวิศวกรรมชีวเวช ณ หองเธียเตอร ชั้น 1 อาคารหอสมุดคณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศ. นพ.สุทธิพงศ วัชรสินธุ คณบดีคณะ แพทยศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย กลาวถึงการเปดโครงการผลิตบัณฑิตแพทย 2 ปริญญานีว้ า คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เปนสถาบันตนแบบทางการ แพทยที่มีคุณธรรม และสรางมาตรฐานระดับ นานาชาติ โดยนับตั้งแตป พ.ศ. 2560 ทาง สถาบันไดมีการปรับหลักสูตรการเรียนการ สอน โดยมุงเพิ่มชวงเวลาที่นิสิตสามารถเลือก เรียนวิชาเลือก วิชาที่ตนเองสนใจไดมากขึ้น เพื่อใหนิสิตคนพบตนเอง รวมถึงเสริมสราง ความถนัดในดานที่ตนเองตองการ เชน ดาน วิจัย ดานบริหาร ในป พ.ศ. 2563 นี้ นับ ศ. ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร เปนการเปลี่ยนแปลง และการเริ่มตนครั้งใหม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่จุฬาฯ ได เปดโครงการหลักสูตรควบข าม ระดับขามศาสตร หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขา วิศวกรรมชีวเวช ซึ่งมีจุดเดนคือ บัณฑิตที่จบ

17

Engineering Today March - April

2020


การศึกษาจะไดรบั 2 ปริญญา คือ ปริญญาตรีแพทยศาสตร บัณฑิต และปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขา วิศวกรรมชีวเวช โดยใชระยะเวลาในการศึกษาเพียง 6 ป ซึ่ ง เป น หลั ก สู ต รมุ  ง ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ เ ชี่ ย วชาญทั้ ง สาขา แพทยศาสตร และวิศวกรรมชีวเวช ใหสามารถสรางสรรค ผลงานวิชาการ องคความรู วิจยั และนวัตกรรม เหมาะสําหรับ นิสติ แพทยทมี่ ศี กั ยภาพ และความสนใจดานวิศวกรรมชีวเวช ตองการเปนแพทย นักวิชาการ นักวิจัยชั้นนํา ผูเชี่ยวชาญ ทั้งสาขาแพทยศาสตรและวิศวกรรมชีวเวช ที่สรางสรรค ผลงานวิชาการ องคความรู วิจัยและนวัตกรรมตอไป “นิสิตในโครงการนี้ จะเรียนรายวิชาในหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) เชน เดี ย วกั บ นิ สิ ต แพทย ค นอื่ น โดยนิ สิ ต สามารถเลื อ กลง ทะเบียนเรียนรายวิชาการศึกษาทั่วไป วิชาเฉพาะเพื่อสง เสริมสมรรถนะผูเรียน และ/หรือเลือกเสรีในสาขาวิชา วิศวกรรมชีวเวช ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรแพทย ศาสตรบัณฑิตใหการรับรองไดตามความสนใจ เพื่อเปน วิชาพื้นฐานสําหรับการศึกษาในระดับปริญญาโท และเมื่อ เรียนรายวิชาในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตครบ 120 หนวยกิต และมี คุณสมบัติตามที่คณะกรรมการบริหาร หลักสูตรกําหนด จะมีสิทธิ์สมัครเขาศึกษาหลักสูตรวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาวิศวกรรมชีวเวช ทีใ่ ชเวลาเรียน ไมนอยกวา 2 ปได จากนั้นนิสิตที่ไดรับการคัดเลือก จะ เรียนรายวิชาชั้นปที่ 4-6 ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต รวมกับนิสิตในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตคนอื่นควบคู ไปกับการสัมมนา และการทําวิทยานิพนธในหลักสูตรวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต ในชวงเวลาวิชาเฉพาะเพื่อสงเสริม สมรรถนะผูเรียน หรือชวงนอกเวลา” ศ. นพ.สุทธิพงศ กลาว สําหรับคาใชจายในการเรียน จะจัดเก็บคาเลาเรียน ทั้ ง 2 หลั ก สู ต รในอั ต ราตามประกาศจุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย เรือ่ ง อัตราการเรียกเก็บเงินคาเลาเรียน และ เงินเรียกเก็บประเภทอืน่ ๆ สําหรับนิสติ ในสวนของแผนการ รั บ นิ สิ ต โครงการฯ จะคั ด เลื อ กและให ทุ น แก นิ สิ ต ใน หลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ ว น เขาศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมชีวเวช 10 คน ตอปการศึกษา ศ. นพ.สุทธิพงศ กลาววา สําหรับนิสิตในหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิตปจจุบันชั้นปที่ 1 และ ชั้นปที่ 2 คาดวาจะสามารถสมัครเขารวมโครงการดังกลาวไดในป การศึกษา 2563 เปนตนไป สวนผูที่สนใจเขาศึกษาใน โครงการที่ เ ป น นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย สามารถสมัครสอบคัดเลือกไดตามระบบ TCAS รอบที่ 1-3

Engineering Today March - April

2020

โดยสําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 6 ปจจุบันเริ่มสมัครผานระบบ TCAS63 ในวันที่ 17-27 เมษายน ศกนี้ ดาน ศ. ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา หลักสูตรสหสาขาวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ เปนหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่กอตั้งขึ้นใน ป พ.ศ. 2549 โดยริ เ ริ่ ม ขึ้ น จากความร ว มมื อ หลั ก ระหว า งคณะ วิศวกรรมศาสตร และคณะแพทยศาสตร “จุดเดนของหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวชคือ ความรวมมือที่เขมแข็ง ของทั้ง 2 คณะ ที่รวมกันพัฒนาโจทยวิจัยที่ทาทาย และตอบโจทยหรือ แกไขปญหาทีพ่ บอยูจ ริงในการแพทยในปจจุบนั นิสติ ทีเ่ รียนในหลักสูตร จะมีอาจารยทปี่ รึกษา 2 ทาน ทานหนึง่ จากคณะวิศวกรรมศาสตรซงึ่ เปน ผู  เ ชี่ ย วชาญด า นการพั ฒนาเทคโนโลยี และอี ก ท า นหนึ่ ง จากคณะ แพทยศาสตรซึ่งเปน ผูใชเทคโนโลยี และเขาใจปญหาที่แทจริงของ เทคโนโลยีการแพทย” ศ. ดร.สุพจน กลาว นอกจากนี้ หลักสูตรยังไดรับความรวมมือจากคณาจารยของ คณะวิทยาศาสตรสายสุขภาพอืน่ ๆ อีกดวย อาทิ คณะทันตแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร และคณะสหเวชศาสตร เปนตน ทัง้ นี้ หลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช ประกอบไปดวย 6 สาขาวิจยั ไดแก สาขา Medical Instruments and Biosensors, สาขา Biomechanics, สาขา Rehabilitation, สาขา Medical Imaging, สาขา Tissue Engineering and Drug Delivery System และสาขา Bioinformatics ซึ่งทั้ง 6 สาขาวิจัยนี้ ครอบคลุมเทคโนโลยีการแพทยตั้งแตการตรวจ วินิจฉัย วิเคราะหโรค การรักษาโรค การฟนฟูผูปวย รวมถึงการปองกัน การเกิดโรค “จะเห็นไดวา ทุกศาสตร ทุกสาขาของแพทย ลวนใชศาสตร วิศวกรรมชีวเวชเขาไปชวยพัฒนาไดทั้งสิ้น ที่ผานมาหลักสูตรเราได สรางสรรค Research Innovations จํานวนมาก ไมวาจะเปน Medical Device, Sensor ตรวจวัดคาตางๆ ทีบ่ ง ชีก้ ารเกิดโรคของรางกาย ระบบ นําสงยารักษาโรค และอวัยวะเทียม อวัยวะสังเคราะหตา งๆ” ศ. ดร.สุพจน กลาว สําหรับตัวอยางผลงานทีเ่ ปน Lab Prototypes หรือเปน Certied Products ที่เปนผลงานของหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช รวมกับภาควิชา ตางๆ ภายในคณะวิศวกรรมศาสตร และคณะแพทยศาสตร ไดแก โครงเนือ้ เยือ่ สําหรับการสรางหลอดเลือด และการสรางกระดูก, Micro Needle ที่สามารถควบคุมการปลดปลอยยาได ไมเทาที่มีสัญญาณ เสียง แสงและการสัน่ เพือ่ กระตุน การเดินของผูป ว ยโรคพารกนิ สัน และ เทาเทียม ขอสะโพกเทียมที่มีการออกแบบเหมาะสําหรับสรีระผูปวย คนไทย และคนเอเชีย เปนตน “ตลอดเวลาทีผ่ า นมามีแพทยเฉพาะทางเขามาเรียนตอปริญญาโท และเอก ที่หลักสูตรเราอยางตอเนื่อง ทั้งที่จบการศึกษาไปแลว และ ที่กําลังศึกษาอยู กวา 20 ทาน ซึ่งแตละทานมีโอกาสทํางานวิจัยที่แกไข โจทยปญหาที่พบจริงในโรงพยาบาล” ศ. ดร.สุพจน กลาวทิ้งทาย

18


In Trend • กองบรรณาธิการ

โรงงานบริษัท โมเดอร์น ไดสตัฟส์ แอนด์ พิคเมนท์ส จ�ำกัด ผลิตสีย้อมและเคมีภัณฑ์ส่ง 70 ประเทศทั่วโลก

สกสว. ติดตามการวางแผน

บริหารจัดการน�้ำเสียในโรงงาน จ.ชลบุรี 2 แห่ง แก้ปัญหาขาดแคลนน�ำ้ ในพื้นที่ EEC

ส�ำ

นักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ลงพื้นที่ ติดตามความคืบหน้า แผนงานการพัฒนาระบบการวางแผนบริหารจัดการน�้ำ ในพื้นที่ EEC กรณีศึกษาการจัดการน�้ำเสียของโรงงาน และการจัดการผลกระทบของชุมชน จังหวัดชลบุรี ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม การบริหาร จัดการน�้ำ ที่โรงงานผลิตสีย้อม บริษัท โมเดอร์น ไดสตัฟส์ แอนด์ พิคเมนท์ส จ�ำกัด และโรงงาน ผลิตถุงยางอนามัย บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมรับฟังการ บรรยายความคืบหน้าจากชุมชนบ้านบางละมุง ซึ่งได้รับผลกระทบจากน�้ำเสียและการแก้ไข ปัญหา เพื่อบูรณาการการจัดการน�้ำอย่างเป็นระบบ เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ รศ. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ประธานคณะกรรมการอ�ำนวยการ แผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม การบริหารจัดการน�้ำ

>> สกสว.ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี ลดการใช้น�้ำ - น�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ให้ ได้ 15% รศ. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ประธานคณะกรรมการอ�ำนวยการแผนงานยุทธศาสตร์ เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม การบริหารจัดการน�้ำ กล่าวว่า ปัญหาเรื่องน�ำ้ อุปโภคบริโภค ในสังคมไทยถือเป็นปัญหาใหญ่ที่ต้องร่วมกันบูรณาการแก้ไขให้มีน�้ำใช้ทั้งช่วงฤดูแล้ง และฤดูฝน ให้เพียงพอกับความต้องการของทุกๆ คน อย่ารอให้เกิดวิกฤตแล้วค่อยเร่งหามาตรการแก้ไขปัญหา จึงจ�ำเป็นต้องมีแผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม การบริหารจัดการน�้ำ ซึ่งเป็นการบริหารจัดการวิจัยแบบใหม่ที่ สกสว. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันวิจัย พัฒนา

19

Engineering Today March - April

2020


เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการน�้ำเพื่อให้เกิด องค์ ค วามรู ้ แ ละนวั ต กรรมให้ มี ท รั พ ยากรน�้ ำ ใช้ ในเชิ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพเพี ย งพอรองรั บ การ พัฒนาประเทศในทุกๆ ภาคส่วน พร้อมทั้งลดการ ใช้นำ�้ ในภาคการเกษตร ภาคการผลิตในอุตสาหกรรม และครัวเรือน น�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ให้ได้ประมาณ 15% และเพิ่มปริมาณน�้ำให้เขื่อนรวมทั้งแหล่งกัก เก็บน�ำ้ ให้ได้ประมาณ 85% ภายในระยะเวลา 3 ปี จากนี้ ในขณะนี้ได้น�ำร่องการท�ำงานแล้วในพื้นที่ โครงการท่อส่งน�้ำและบ�ำรุงรักษาทองแดง (คบ.ท่อ ทองแดง) ส� ำ นั ก งานชลประทานที่ 4 จั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร และโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวั น ออก (EEC) ในโรงงานต้ น แบบทุ ก ระดั บ ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ซึ่งเป็น โรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่ซ�้ำประเภทกันเข้าร่วมด้วย ความสมัครใจ โดยน�ำหลัก 3R (Reduce Reuse Recycle) ควบคู่ไปกับการใช้ IoT (Internet of Things) ในการด�ำเนินงานเพื่อให้เกิดระบบการ จั ด การน�้ ำ แบบอั จ ฉริ ย ะเก็ บ ข้ อ มู ล การท� ำ งานได้ แม่นย�ำ สะดวก รวดเร็ว มีข้อมูลประเมินความเสี่ยง ตรวจสอบย้อนกลับได้ ซึ่งมีโรงงานจ�ำนวน 15 แห่ง เข้าร่วม ได้แก่ บริษัท ซันโทรี่ เป๊ปซี่โค เบเวอเรจ (ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริษัท ไดกิ้นคอมเพรส เซอร์อนิ ดัสทรีส์ จ�ำกัด, บริษทั ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริษทั ไทยนิปปอนรับเบอร์อนิ ดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน), บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน), บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูด ส์ จ�ำ กัด

รศ. ดร.บัญชา ขวัญยืน อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะหัวหน้าโครงการ และหัวหน้ากลุ่มวิจัยแผนงานการพัฒนาการ บริหารจัดการน�้ำในพื้นที่ EEC

Engineering Today March - April

2020

(มหาชน), บริษัท เอส เอส ซี ออยล์ จ�ำกัด, บริษัท ไทยซิลิเกต เคมีคัล จ�ำกัด, บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน), บริษัท โมเดอร์น ไดสตัฟส์ แอนด์ พิคเมนท์ส จ�ำกัด, บริษัท ไทยคิวบิค เทคโนโลยี่ จ�ำกัด, บริษัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน), บริษัท ไทย เอ็นโอเค จ�ำกัด, บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) สาขาที่ 12 และ บริษัท ไทย เอ็ม เอฟ ซี จ�ำกัด และนิคมอุตสาหกรรม 2 แห่งเข้าร่วม ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของการ นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ศรีราชา อยู่ภายใต้การควบคุมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ส�ำหรับการลงพื้นที่ติดตามความคืบหน้า แผนงานการพัฒนาระบบการ วางแผนบริหารจัดการน�้ำในพื้นที่ EEC : กรณีศึกษาการจัดการน�้ำเสียของ โรงงาน และการจัดการผลกระทบของชุมชน จังหวัดชลบุรี ภายในโรงงาน ผลิตสีย้อม บริษัท โมเดอร์น ไดสตัฟส์ แอนด์ พิคเมนท์ส จ�ำกัด และโรงงาน ผลิตถุงยางอนามัย บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดชลบุรี เพือ่ ติดตามการลดการใช้นำ�้ และการบริหารจัดการน�ำ้ เสียภายใน โรงงานว่ามีความก้าวหน้า มีปัญหาและอุปสรรคอย่างไรบ้าง พร้อมทั้งให้ ค�ำแนะน�ำในการจัดการน�้ำอย่างเป็นระบบตามหลักวิจัยให้เกิดผลส�ำเร็จสร้าง ความมัน่ คงด้านน�ำ้ รองรับการใช้นำ�้ ในพืน้ ทีเ่ พือ่ น�ำไปขยายผลต่อในโรงงานอืน่ ๆ ในพื้นที่ EEC ต่อไป

>> วางแผนศึกษาสมดุลน�ำ้ และมาตรการลดการใช้น�้ำ ใน EEC 20 ปี เน้นศึกษา 2 ส่วนหลัก รศ. ดร.บัญชา ขวัญยืน อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาเขต ก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะหัวหน้าโครงการ และ หัวหน้ากลุ่มวิจัยแผนงานการพัฒนาการบริหารจัดการน�้ำในพื้นที่ EEC กล่าวว่า การศึกษาและวิเคราะห์สมดุลน�ำ้ ในพืน้ ที่ EEC มีนกั วิจยั ร่วมกันท�ำงาน เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�้ำอย่างต่อเนื่องแต่เพิ่งจะมี การศึกษาวางแผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านน�ำ้ บูรณาการ ท�ำงานร่วมกับนักวิจัยทุกภาคส่วน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ หน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย และภาคประชาชนเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2561 ซึง่ ในขณะนัน้ รัฐบาลก�ำลังขับเคลือ่ นพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมใหม่ในบริเวณพืน้ ที่ EEC จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ซึ่งจ�ำเป็นต้องใช้นำ�้ ในปริมาณมากจึงมี แผนศึกษา วิเคราะห์น�้ำในลักษณะบูรณาการการใช้น�้ำใน 4 ภาคส่วนหลัก ในพื้นที่ ประกอบด้วย ภาคการเกษตร ภาคการอุปโภคบริโภค ภาคการ บริการ และภาคอุตสาหกรรรม โดยได้วางแผนการศึกษาไว้ 20 ปี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2561-2580 เน้นการศึกษาใน 2 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. การประเมินการใช้น�้ำ วิเคราะห์การใช้นำ�้ ในอดีตและปัจจุบนั เพือ่ ประเมินภาพรวมในอนาคตให้มนี ำ�้ ใช้ทกุ ภาคส่วนอย่างเพียงพอ รวมทัง้ หาแนวทางในการใช้นำ�้ ต้นทุนทัง้ น�ำ้ ผิวดิน และน�้ำใต้ดินร่วมกันอย่างมีศักยภาพ และ 2. การคาดการณ์การใช้น�้ำใน ภาคส่วนต่างๆ พร้อมทั้งหานวัตกรรมและเทคโนโลยี งานวิจัยที่จะน�ำมาใช้ลด การใช้นำ�้ พร้อมทัง้ น�ำน�ำ้ จากธรรมชาติ เช่น น�ำ้ ฝน มาใช้ในช่วงหน้าแล้ง เป็นต้น รวมทั้งการบ�ำบัดน�้ำเสียภายในโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่น�ำกลับมาใช้ใหม่ เนื่องจากเป็นการลงทุนที่ไม่แพง

20


>> เผยระยองเริ่มขาดแคลนน�ำ้ น�ำน�ำ้ เสีย กว่า 600 คิวต่อวัน มาบ�ำบัดรองรับ ความต้องการของพื้นที่

ส�ำหรับผลการศึกษาแผนงานการศึกษาสมดุล น�้ำและมาตรการลดการใช้น�้ำเพื่อการพัฒนาระบบ การวางแผนการจัดการน�ำ้ อย่างยั่งยืนในพื้นที่ EEC นั้ น พบว่ า ในจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรามี ก ารใช้ น�้ ำ เพื่ อ การเกษตรมากกว่ า 85%, อุ ป โภคบริ โ ภคและ อุตสาหกรรม11% และอืน่ ๆ อีก 4% , จังหวัดชลบุรี ใช้นำ�้ ในภาคอุตสาหกรรม 43%, อุปโภคบริโภคและ การท่องเทีย่ ว 31% ภาคการเกษตร 25% และอืน่ ๆ อีก 1% และจังหวัดระยองใช้นำ�้ ในภาคอุตสาหกรรม 59%, การเกษตร 28% และอุปโภคบริโภคและ การท่ อ งเที่ ยว 13% แต่ เ นื่ อ งจากสภาพอากาศ แปรปรวนท�ำให้ฤดูกาลเปลีย่ นแปลง ช่วงฤดูฝนน้อยลง ส่งผลให้ปริมาณน�ำ้ ฝนลดลง การใช้นำ�้ เริม่ ขาดแคลน หาได้ ย าก ต้ อ งพึ่ ง พาน�้ ำ จากบริ ษั ท จั ด การน�้ ำ

บุญเหลือ อักษรเลิศสวัสดิ์ รองประธานกรรมการ บริษัท โมเดอร์น ไดสตัฟส์ แอนด์ พิคเมนท์ส จ�ำกัด

ภาคเอกชนในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ท�ำให้ต้นทุนน�้ำที่น�ำมาใช้ในกระบวนการ ผลิตแพง ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ออกสู่ตลาดจึงจ�ำเป็นต้องขยับราคาสูงขึ้นตาม ต้นทุนที่แท้จริง ท�ำให้ผู้บริโภคได้รับความเดือดร้อน จ�ำเป็นต้องน�ำน�ำ้ ที่บ�ำบัด ได้จากกระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงงานที่ร่วมท�ำงานในพื้นที่ EEC ทดแทน ในสัดส่วนทีเ่ หมาะสมอย่างเร่งด่วน เพราะปริมาณน�ำ้ เสียในพืน้ ทีป่ จั จุบนั มีกว่า 600 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน หากน�ำมาบ�ำบัดตามกระบวนการตามหลักวิชาการ ที่ถูกต้องจะสามารถน�ำน�้ำกลับมาใช้ชดเชยความต้องการใช้น�้ำของพื้นที่ได้ “นอกจากนี้ ใ นช่ ว งหน้ า แล้ ง อยากขอความร่ ว มมื อ เกษตรกรในช่ ว ง ประกาศของภาครัฐงดเว้นการปลูกข้าว โดยให้เกษตรกรท�ำตามอย่างเคร่งครัด มิฉะนัน้ การบูรณาการจัดการเรือ่ งน�ำ้ ทีท่ กุ หน่วยงานพยายามร่วมกันท�ำงานจะ ไม่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่วางเอาไว้ หรืออาจจะเกิดปัญหาการ แย่งชิงทรัพยากรในอนาคตได้” รศ. ดร.บัญชา กล่าว

>> โมเดอร์น ไดสตัฟส์ฯ เผยเข้าร่วมโครงการบ�ำบัดน�้ำเสีย ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่า 15-20% บุญเหลือ อักษรเลิศสวัสดิ์ รองประธานกรรมการ บริษัท โมเดอร์น ไดสตัฟส์ แอนด์ พิคเมนท์ส จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ ผลิตสีย้อมและเคมีภัณฑ์ ส่งส�ำหรับลูกค้ากว่า 70 ประเทศทั่วโลก มากว่า 25 ปี โดยผลิตสีทุกประเภท ได้ทั้งหมด ประมาณ 84,000 ตันต่อปี ส่งขายยังต่างประเทศประมาณ 80% ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มลูกค้าในเอเชียกว่า 69% ที่เหลืออีก 20% จ�ำหน่ายใน ประเทศ ในกระบวนการผลิ ต สี นั้ น จะต้ อ งใช้ ป ริ ม าณน�้ ำ ในขั้ น ตอนการ ผลิตจ�ำนวนมาก ค่าใช้จ่ายในการซื้อน�้ำจากบริษัทเอกชนที่น�ำเข้ามาทดแทน ปริมาณน�้ำที่มีอยู่ภายในบริษัทฯ ไม่เพียงพอ โดยในแต่ละปีจะใช้นำ�้ 151,758 ลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็นใช้ในการอุปโภคบริโภคภายในบริษัทฯ 34,988.40 ลูกบาศก์เมตรต่อปี และใช้ในกระบวนการผลิต 117,369.60 ลูกบาศก์เมตร ต่อปี ซึ่งเมื่อมาคิดค�ำนวณค่าใช้จ่ายในการจัดการเรื่องน�้ำท�ำให้พบว่างบ ประมาณในการจัดการเรื่องน�้ำในแต่ละปีสูงมาก ท�ำให้บริษัทฯ พยายามหา แนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าว จนกระทั่งเมื่อประมาณกลางปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา สกสว. และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ชักชวนให้เข้าร่วม โครงการ Spearhead พร้อมแนะน�ำให้มีการขุดบ่อส�ำหรับกักเก็บน�้ำไว้ใช้ใน หน้าแล้ง เนื่องจากบริษัทฯ มีพื้นที่ว่างเปล่าจ�ำนวนมากที่ยังไม่ได้ใช้ดำ� เนินงาน หลังจากที่บริษัทฯ ได้เข้าร่วมโครงการดังกล่าวแล้ว ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เรื่องน�้ำได้กว่า 15-20% นอกจากนี้ยังช่วยปลูกจิตส�ำนึกในการใช้น�้ำอย่างรู้ คุณค่าให้กับพนักงานในบริษัทน�ำกลับไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันอีกทางหนึ่งด้วย

>> ไทยนิปปอนรับเบอร์ฯ ตั้งเป้าปี’63 ลดการใช้น�้ำ น�ำน�้ำเสียที่บำ� บัดมาใช้ 55%

ปฐมพงศ์ ชูพยัคฆ์ ผู้อำ� นวยการฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

ด้าน ปฐมพงศ์ ชูพยัคฆ์ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายปฏิบตั กิ าร บริษทั ไทยนิปปอน รับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ในแต่ละปีบริษัทฯ ใช้น�้ำในการ ผลิตถุงยางอนามัยจ�ำนวนมากทั้งน�ำ้ ประปา น�ำ้ ฝนจากธรรมชาติ และซื้อจาก ภาคเอกชน แต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ จากการบันทึกข้อมูลการใช้นำ�้ เมือ่ ช่วงเดือนตุลาคม 2562 พบว่ามีการใช้นำ�้ ทัง้ ปี 113,983.00 ลูกบาศก์เมตร โดยน�ำ้ ทัง้ หมดจะอยูใ่ นกระบวนการผลิต 20% คิดเป็น 22,797.00 ลูกบาศก์เมตร

21

Engineering Today March - April

2020


โรงงานบริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

ต่อปี และปริมาณน�ำ้ ออกสูร่ ะบบบ�ำบัดส่วนกลางการ นิคมอุตสาหกรรมในพืน้ ที่ 80% คิดเป็น 91,188.00 ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อ ปี เมื่ อ บริ ษั ท ฯ เริ่ ม น� ำ ระบบ แผนสมดุลน�้ำ Water Balance Diagram (WBD) ที่ทางคณะท�ำงาน Spearhead มาปรับใช้ท�ำให้ สามารถน�ำน�้ำเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตมา ทดแทนได้กว่า 30-35% แบ่งการใช้น�้ำเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก น�ำไปใช้ในกระบวนการผลิต 64,175.23 ลูกบาศก์เมตร โดยน�ำไปใช้ในส่วนต่างๆ ประกอบด้วย การจุ่ม (Dipping Line) 53,563.28 ลูกบาศก์เมตร, การล้าง (Washing) 3,232.20 ลูกบาศก์เมตร, การผสม (Mixing) 72,000 ลูกบาศก์เมตร, RO 413.19 ลู ก บาศก์ เ มตร และ Chiller Room 6,894.56 ลูกบาศก์เมตร และ ส่วนที่ 2 น�ำน�้ำไป ใช้ในส่วนอุปโภคบริโภค 49,807.77 ลูกบาศก์เมตร โดยน�ำไปใช้ในส่วน Canteen 1,214 ลูกบาศก์เมตร และอื่นๆ 48,593.77 ลูกบาศก์เมตร

ดร.สมนึก จงมีวศิน อาจารย์จากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในฐานะหัวหน้าโครงการป้องกันและจัดการความขัดแย้ง ในการใช้ทรัพยากรน�้ำ : กรณีศึกษาในพื้นที่ EEC

Engineering Today March - April

2020

“ในปี พ.ศ. 2563 นี้บริษัทฯ ตั้งเป้าว่าจะลดการใช้น�้ำและน�ำน�้ำเสีย ที่บ�ำบัดแล้วมาใช้ให้ได้ประมาณ 55% ส่วนแผนการด�ำเนินการในอนาคต นั้น ขณะนี้กำ� ลังร่วมกับทีม Spearhead หาแนวทางในการกักเก็บน�้ำฝนไว้ใช้ ในช่วงฤดูแล้งต่อไป” ปฐมพงศ์ กล่าว

>> เสนอภาครัฐศึกษาและร่วมวิจัยกับภาคประชาชน ในพื้นที่ EEC ดูแลวิถีชีวิตประมงพื้นบ้าน ชุมชนชาวบางละมุง ดร.สมนึก จงมีวศิน อาจารย์จากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ในฐานะหัวหน้าโครงการป้องกันและจัดการความขัดแย้งในการใช้ ทรัพยากรน�ำ้ :กรณีศกึ ษาในพืน้ ที่ EEC กล่าวว่า เมือ่ การพัฒนาเข้าสูท่ กุ พืน้ ที่ ย่อมท�ำให้เกิดการแย่งชิงทรัพยากรทุกรูปแบบ ไม่เว้นแม้แต่ทรัพยากรน�้ำ โดยเฉพาะพื้นที่ใน EEC ซึ่งมีชุมชนชาวบางละมุงที่ประกอบอาชีพการประมง เมื่อมีการบ�ำบัดน�้ำเสียที่ไม่ถูกต้องตามกระบวนการลงสู่แม่น�้ำ ล�ำคลอง และ ท้องทะเลที่ใช้เป็นพื้นที่หาสัตว์นำ�้ ประทังชีวิต หรือน�ำไปขาย ท�ำให้สมดุลที่เคย มีหายไป ความเป็นอยูเ่ ริม่ เปลีย่ น ทัง้ วิถชี วี ติ การประกอบอาชีพ ท�ำให้ชาวบ้าน เหล่านั้นได้รับผลกระทบ ทั้งยังขาดการดูแลจริงจังจากภาครัฐ ขาดการเข้ามา รับรู้ถึงปัญหาและพยายามที่จะหาแนวทางแก้ไขปัญหา แม้ว่าชาวบ้านจะ พยายามปรับตัวรับสภาพเมือง สภาพแหล่งอุตสาหกรรมใหม่ที่จะเข้ามา โดยตลอด แต่ภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐทีด่ แู ลไม่พยายามทีจ่ ะปรับตัวท�ำให้ ความขัดแย้งลุกลามและไม่มที างทีจ่ ะแก้ปญ ั หาให้กลับมาสูส่ มดุลของการใช้ชวี ติ เหมือนเดิมอีกครั้ง สิ่งแวดล้อมก็ถูกท�ำลาย ขาดการฟื้นฟูและให้การช่วยเหลือ ปริมาณสัตว์น�้ำก็ลดลง “ส�ำหรับแนวทางในการเสนอแนะต่อภาครัฐในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว นี้ อยากให้ภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องเข้ามาท�ำการศึกษาและร่วมวิจยั กับภาคประชาชน ในพื้นที่ อย่าท�ำแล้วละทิ้งโครงการ เพราะประชาชน ชาวบ้านที่นี่เขามีรูปแบบ การดูแลสิ่งแวดล้อม ดูแลวิถีชีวิตประมงพื้นบ้านที่น่าสนใจ หากเข้ามาช่วย น�ำร่องฟื้นฟูได้ก็จะสามารถน�ำไปปรับใช้เป็นโมเดลในพื้นที่ประมงอื่นๆ ใน ประเทศไทยได้” ดร.สมนึก กล่าว

22


Digital Economy @Engineering Today Vol. 2 No. 176

:—:DM-> "J3:PF 0NXF0N 2L ߍ ; <I-J33<Ă˝ K<CK1K<,CQ V7ĉ^: Ăž- @K:CK:K</VG>0 V0 F!4<IV0A

C@0$— "J3:PF 4.0—C5— 7J+2K ŠŠ§Ă? .F3X"0; ­Ă’ĂˆĂ™Ă—Ă˜Ă–Ă? ݗ™ 7< F:"J-.J_!AR2; @Ă˝"J; 7J+2KH 4.0—C5— V4 2<K;W< Y2 ŠŠ§Ă?

C0$— V-M2D2 K5>J -J2 K<Y$ ­Ă“¸ YD Z- :K.<)K2W>I4>F-9J; D@J!>- @K:VCN^;!9J; Q K:Z%V3F<

"N2Y$ V0 X2X>;N-M"M0J> $ @;$N@Ă˝.–6 K8Ä›2@Ă˝ =. 0 K: >K!@Ă˝ =.Z@<JC §³º­¨Â–øÂ? <I3K-


Technology • กองบรรณาธิการ

ม.มหิดล จับมือ ทีโอที

นํา 5G ยกระดับบริการสาธารณสุข เพิ่มขีดความสามารถอุตสาหกรรม เฮลทเทคของประเทศ

ณะวิ ศ วกรรมศาสตร และคณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าช พยาบาล มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล จั ด พิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ความรวมมือทางวิชาการกับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยทีโอที เตรียมติดตั้งเสาสัญญาณ 4G/5G ที่คณะวิศวกรรมศาสตร และคณะ แพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มุง นําความกาวหนา ดานเทคโนโลยีการสือ่ สารไรสาย 4G/5G มาพัฒนาและยกระดับการ แพทยและอุปกรณเครื่องมือแพทย เพื่อสรางความมั่นคงดานบริการ สาธารณสุข (Public Healthcare) และอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย (Health Tech) ของประเทศไทย

Engineering Today March - April

2020

24

รศ. ดร.จั ก รกฤษณ ศุ ท ธากรณ คณบดี ค ณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล กลาววา การลงนาม บันทึกขอตกลงในครั้งนี้ เปนความร วมมือทั้ง สองฝาย ระหว า ง บริ ษั ท ที โ อที จํ า กั ด (มหาชน) กั บ คณะ วิศวกรรมศาสตร และคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี รศ. นพ.วิศิษฎ วามวาณิชย ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลศิรริ าช คณะแพทยศาสตรศริ ริ าช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เขารวมดวย เพื่อรวมกัน ผนึกกําลังทามกลางกระแสยุค Disruption สนับสนุน และสงเสริมการพัฒนาศักยภาพความแข็งแกรงทางดาน โทรคมนาคมและการศึกษาวิจัย รวมถึงการนําเทคโนโลยี 5G มาใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนากําลังคน บุคลากร นักวิจัยและนักศึกษา ใหมีองคความรูและทักษะทางดาน เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายกับการแพทยและอุปกรณ เครื่องมือแพทย ตอบโจทยความตองการของประเทศ รวม ถึงการนําระบบสารสนเทศ เน็ตเวิรค มาใชในการพัฒนา ดานการสาธารณสุข (Public Healthcare) และอุตสาหกรรม เครื่องมือแพทย (Health Tech) ในประเทศไทย ซึ่งจะ เปนการยกระดับการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนประเทศและ สรางมูลคาเพิ่มดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ตลอดจน


ผนึกพลังเทคโนโลยีการสื่อสารไรสาย 5G มุงพัฒนาความกาวหนาระบบการแพทยและอุปกรณเครื่องมือแพทยของประเทศ

เพิ่มประสิทธิภาพของเครือขายการสื่อสาร ชวยประหยัด พลังงานและตนทุน นอกจากนี้ ยังเปนการผลักดันสงเสริม ให เ กิ ด ผู  ป ระกอบการใหม และที่ สํ า คั ญ ช ว ยลดความ เหลื่อมลํ้า สงเสริมเศรษฐกิจฐานรากและความเปนอยู ที่ดีของประชาชน ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนา ประเทศไทยใหเขมแข็งอีกดวย สําหรับความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยมหิดล และทีโอทีในครั้งนี้ มีระยะเวลา 5 ป โดยระยะแรกจะ เปนการนําระบบเทคโนโลยี 4G ของทีโอที มาสนับสนุน ระบบสารสนเทศในการเชื่อมตอสื่อสารของ รถเคลื่อนที่ รักษาโรคหลอดเลือดสมอง (Mobile Stroke Unit) ภายใน บริเวณสถานีบริการนํา้ มัน ปตท. ซึง่ นับเปนนวัตกรรมความ รวมมือของคณะวิศวกรรมศาสตร และคณะแพทยศาสตร ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ทําใหผปู ว ยไดรบั การ รักษาและสามารถเขาถึงผูเ ชีย่ วชาญไดอยางรวดเร็วขึน้ ขณะ ที่แพทยและบุคลากรทางการแพทยทํางานรวมกันไดอยาง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งจะชวยลดอัตราการเสียชีวิตและ พิการของผูปวย “ในอนาคตอันใกลนจี้ ะมีแผนการติดตัง้ เสาสัญญาณ สื่อสาร 4G/5G ในพื้นที่คณะวิศวกรรมศาสตร คณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และ สถานีบริการนํา้ มัน ปตท. 4 แหง พรอมกันนีย้ งั มีความรวม มือในการพัฒนาสงเสริมการใชเทคโนโลยีความเร็วสูงดาน การสาธารณสุข อุปกรณเครื่องมือทางการแพทย การวิจัย ดานการแพทย เพื่อตอบโจทยเพิ่มขีดความสามารถดาน อุตสาหกรรมเฮลทเทคของประเทศ” รศ. ดร.จักรกฤษณ กลาว

รศ. นพ.วิศิษฎ วามวาณิชย ผูอํานวยการโรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ลงนาม MOU รวมกันระหวาง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ ทีโอที ในการนํา 5G ยกระดับสาธารณสุขไทย

25

Engineering Today March - April

2020


ในอนาคตอันใกลนี้จะมีแผนการ ติดตั้งเสาสัญญาณสื่อสาร 4G/5G ในพื้นที่คณะวิศวกรรมศาสตร, คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และสถานีบริการ นํ้ามัน ปตท. 4 แหง พรอมกันนี้ ยังมีความรวมมือในการพัฒนา สงเสริมการใชเทคโนโลยีความเร็วสูง ดานการสาธารณสุข อุปกรณ เครื่องมือทางการแพทย การวิจัย ดานการแพทย เพื่อตอบโจทย เพิ่มขีดความสามารถดาน อุตสาหกรรมเฮลทเทคของประเทศ

พิพัฒน ขันทอง กรรมการ และรักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทีโอที

รังสรรค จันทรนฤกุล รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจสื่อสารไรสาย บมจ. ทีโอที

ทัง้ นี้ คณะวิศวกรรมศาสตร และคณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พรอมที่จะรวมทํางานและสนับสนุนความกาวหนา เชิงวิชาการกับทีโอที ทัง้ ในทางทฤษฎี ทักษะปฏิบตั แิ ละ Soft Skills ดวย องคความรูและหองปฏิบัติการที่กาวลํ้ามากมาย เชน 1. ศูนยบมเพาะ และสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม (Innogineer Studio) เปรียบเสมือน เวิรคช็อปบมเพาะนวัตกรรมและสตารทอัพครบครันเครื่องมือไฮเทค ที่เปดโอกาสให SME และเมคเกอรเขามาทําโปรเจ็กตตางๆ สราง ชิน้ งานและตนแบบจากความคิดสรางสรรคจากความฝนสูค วามเปนจริง 2. Innogineer BAY ศูนยฝกหัดดานหุนยนตและระบบ AI (Articial Intelligence) ที่ทันสมัยระดับโลก 3. Digital Forensics Lab ศูนยนิติ วิศวกรรมและการสืบคนอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร 4. BART LAB ศูนยเครือขายวิจัยประยุกตทางเทคโนโลยีหุนยนตและชีวการแพทย 5. University-Industry Co-Working Space ศูนยบริการนวัตกรรมและ ใหคําปรึกษาแกภาคธุรกิจอุตสาหกรรม 6. ศูนย LogHealth นอกจากนี้ คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล ยังไดศกึ ษาวิจยั และออกแบบ พัฒนาระบบโลจิสติกสโรงพยาบาล และดําเนินการจัดทําแผนแมบท ระบบ Big Data เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภาคสาธารณสุข ของประเทศ (Healthcare Logistics Big Data) ตลอดจนหองปฏิบัติ การและศูนยวิจัยที่เชี่ยวชาญกาวลํ้าของคณะตางๆ ในมหาวิทยาลัย มหิดล อีกดวย รวมทั้งโครงการในอนาคต เชน ศูนยทดสอบเครื่องมือ

Engineering Today March - April

2020

26

อุปกรณการแพทย ศูนยหนุ ยนตการแพทยระดับสูง เปนตน พิพฒ ั น ขันทอง กรรมการ และรักษาการกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) กลาววา ที โ อที ยิ น ดี ที่ ไ ด ร  ว มมื อ กั บ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีผลงานและความกาวหนาทั้ง ทางวิชาการและเครื่องมือทางการแพทยที่เปนประโยชน ตอสังคมและเศรษฐกิจ โดยจะรวมกันวิจัยและพัฒนา เพื่อนําเทคโนโลยี 4G และเทคโนโลยี 5G ยานความถี่ mmWave ซึ่งปจจุบันเปนยานความถี่ที่เปนที่สนใจระดับ สากล เนนการใชงานในพื้นที่ที่มีปริมาณการใชงานสูง หรื อ มี ค วามต อ งการอั ต ราข อ มู ล ที่ สู ง มาร ว มพั ฒ นา สรางประโยชน สรางโอกาสการเขาถึงบริการสาธารณสุข ใหกับประเทศ ไดอยางเทาเทียม และสามารถลดความ เหลื่อมลํ้าของสังคม โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทหางไกล เพือ่ ใหบริการ Telemedicine หรือการแพทยทางไกลดวย อินเทอรเน็ตความเร็วสูง นอกจากนี้ ยังเปนการสงเสริม ประเทศใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ โดยนักวิจัยรุนใหมแทน การใชเทคโนโลยีตางประเทศ ซึ่งเทคโนโลยี 4G/5G จะสราง Big Data ขนาดใหญในการพัฒนาไดอยางมี ประสิทธิภาพ


Digital • อาลีเพย

จีนใชเทคโนโลยีดิจิทัล ชวยชีวิต -ฝาฟนวิกฤต ทามกลางวิกฤตไวรัส COVID-19 ระบาด

ริม่ิ ตนศักราชป พ.ศ. 2563 หลายประเทศในเอเชียตองเผชิญ กับการระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุใ หม หรือ COVID-19 ซึ่งสงผลกระทบตอการใชชีวิต การทํางาน และการดําเนินธุรกิจ แต ดวยการใชเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เชน วิดโี อคอนเฟอเรนซ อยาง Zoom, แอพฯ สําหรับการแชทและการทํางานรวมกันทางออนไลน อยาง Slack และแอพฯ บริการสงอาหารและสินคาตางๆ ทีช่ ว ยใหผคู นสามารถใชชวี ติ และทํางานไดอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนสิ่งที่ไมเคยมีเมื่อ 5 ปที่ผานมา ทัง้ นีบ้ ริษทั และเจาของเทคโนโลยีตา งๆ พยายามหาทางแกปญ  หา เพื่อใหคนจีนหลายลานคนผานชวงเวลาที่วิกฤตนี้ เรื่องราวเหลานี้เปน กรณีศีกษาวาเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถนําทางและชวยคนจีน ฝาฟน อุปสรรค และใชชีวิตตอไปอยางไรในชวงที่มีการระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 โดย อาลีเพย (Alipay) ไดนํากรณีศึกษาตางๆ เหลานี้มา เผยแพร เพือ่ ชวยจุดประกายความคิดทามกลางสถานการณทยี่ ากลําบาก

ชวงที่ 1 การทําใหชีวิตกลับคืนสูปกติ

การใชชีวิตทามกลางการระบาดของไวรัส COVID-19 ทั่วโลก นับเปนเรื่องที่ลําบากอยางยิ่ง แตดวยความคิดสรางสรรคที่หลากหลาย บริษัทเทคโนโลยีตางๆ ไดนําเสนอโซลูชั่นที่ชวยใหคนจีนใชชีวิตได ใกลเคียงปกติมากที่สุด เชน การทํางาน : การทํางานและการศึกษาผานออนไลน ไดรับความ นิยมอยางแพรหลายในชวงนี้ ในประเทศจีน บุคลากรหลายลานคน ใชเครือ่ งมือในการทํางานรวมกัน เชน DingTalk ของอาลีบาบา, WeChat Work and Meeting ของเท็นเซ็นต, Feishu ของไบตแดนซ และ WeLink ของหัวเวย เครื่องมือเหลานี้เพิ่มฟเจอรใหมๆ เชน โควตาสําหรับผูเขา รวมการประชุมและระยะเวลาในการโทร, การตรวจสุขภาพออนไลน และโซลูชั่นสําหรับอุตสาหกรรมที่เฉพาะเจาะจง ในวันที่ 5 มีนาคม 2563 มายแบงค (MYbank) ซึ่งเปนธนาคาร พาณิ ช ย เ อกชนสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก ในเครื อ แอนท ไ ฟแนนเชี ย ล (Ant Financial) ไดเปดตัวการบริการกูยืมเงิน “Contactless Loans” ภายใตความรวมมือกับธนาคารของจีนและองคกรชั้นนํากวา 100 แหง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหความชวยเหลือแกธุรกิจ SME ผูประกอบการ รายยอย และเกษตรกรกวา 10 ลานรายทั่วประเทศจีน ผานโมเดลการ กูยืม “310” ซึ่งอาลีเพยและมายแบงคเปน ผูบุกเบิก ซึ่งใชเวลาเพียง 3 นาทีในการยื่นเรื่องขอกูยืมเงินผานโทรศัพทมือถือ และอนุมัติทันที

27

ภายใน 1 วินาที โดยทุกขั้นตอนดําเนินการโดยระบบ อัตโนมัติ หรือ Zero (0) Manual Intervention นับเปน ชองทางทีส่ ะดวกรวดเร็วสําหรับผูป ระกอบการในการเขาถึง แหลงเงินทุนในชวงเวลาที่เกิดการแพรระบาดของไวรัส โดยไมตอ งเดินทางไปติดตอทีส่ าขาของธนาคารดวยตนเอง การใชชีวิต ทามกลางการแพรระบาดของเชื้อไวรัส ซึ่งกอใหเกิดขาวลือมากมายในโลกออนไลน Ding Xiang Yuan ผูใหบริการคอนเทนทออนไลนยอดนิยมของจีน ภายใตการสนับสนุนของบุคลากรทางการแพทย ไดดาํ เนิน การอย า งจริ ง จั ง เพื่ อ นํ า เสนอข อ มู ล ทางการแพทย ที่ มี ประโยชน บริการตรวจเช็คอัพรางกายทางออนไลน และ การจัดการกับขาวลือเกีย่ วกับไวรัส COVID-19 นอกจากนี้ Yikuang ซึ่งเปนบริการในเครือ WeChat ผลงานของ นักพัฒนาอิสระ และแอพ Sspai.com ชวยจัดทําแผนทีเ่ พือ่ ระบุเคสผูปวยที่ไดรับการยืนยันในพื้นที่ใกลเคียง โดยใช ขอมูลจากทางการจีน การเลนและเรียนรู นักเรียนนักศึกษาชาวจีนหลาย ลานคนจําเปนตองหยุดอยูบานเปนเวลานาน แตดวย เทคโนโลยีดิจิทัลชวยใหพวกเขาไมพลาดโอกาสที่จะเรียนรู อยางตอเนือ่ ง เมือ่ วันที่ 10 กุมภาพันธ ซึง่ เปนวันเปดเทอม วันแรกภายหลังการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 นักเรียนนักศึกษากวา 50 ลานคนในเมืองตางๆ กวา 300 เมืองของจีนไดเขารวมโครงการหองเรียนออนไลน ซึ่งริเริ่ม โดย DingTalk และ Youku โดยเปดโอกาสใหอาจารยกวา 600,000 คนเปดสอนวิชาตางๆ ผานระบบไลฟสตรีม

Engineering Today March - April

2020


ชวงที่ 2 การตอสูกับเชื้อไวรัส COVID-19

ขณะทีห่ ลายพืน้ ทีใ่ นประเทศจีนพยายามฟน ฟูวถิ ชี วี ติ ใหกลับคืนสู ปกติ บริษทั เทคโนโลยีของจีนไดนาํ เสนอนวัตกรรมทีเ่ หนือชัน้ ในการตอสู กับเชื้อไวรัส COVID-19 โดยใชโซลูชั่นที่ชวยยับยั้งการแพรระบาดและ คนหาวิธีการรักษาโรค เชน • Damo Academy ซึ่งเปนสถาบันวิจัยของอาลีบาบา ไดพัฒนา ระบบวินิจฉัยโรคโดยอาศัยเทคโนโลยี AI เพื่อตรวจจับเคสผูติดเชื้อ รายใหมผา นการเอกซเรยคอมพิวเตอร (CT Scan) ซึง่ นักวิจยั ไดฝก ฝน โมเดล AI โดยใชขอมูลตัวอยางจากเคสผูปวยที่ไดรับการยืนยันกวา 5,000 ราย ชวยใหระบบสามารถระบุความแตกตางในภาพ CT Scan ระหวางผูปวยที่ติดเชื้อไวรัส COVID-19 กับผูปวยโรคปอดบวมทั่วไป โดยมีความแมนยําสูงถึง 96% • อาลีบาบา คลาวด (Alibaba Cloud) เปดใหสถาบันวิจัยของรัฐ เขาใชงานระบบประมวลผล AI ของบริษัทฯ ไดฟรี เพื่อชวยเรงขั้นตอน การจัดลําดับยีนของไวรัส การวิจัยและพัฒนายารักษาโรค และการ คัดกรองโปรตีน ขณะเดียวกัน ไปตู (Baidu) ก็ไดเปดแพลตฟอรม Smart Cloud Tiangong IoT (Internet of Things) สําหรับโครงการที่ เกีย่ วของกับการปองกันการแพรระบาด รวมถึงหนวยงานภาครัฐทีม่ หี นา ที่ยับยั้งการแพรระบาด สวนเท็นเซ็นตก็ไดเปดใหใชงานระบบ Supercomputing เพื่อชวยใหนักวิจัยคิดคนวิธีการรักษาโรค • DJI ผูผลิตโดรนของจีน นําเอาโดรนที่ใชในการพนสารเคมีใน ภาคการเกษตรมาใชในการฉีดพนยาฆาเชือ้ ในบริเวณทีอ่ าจมีการติดเชือ้ นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งลําโพงไวกับโดรนเพื่อชวยในการแจงเตือนให ประชาชนหลีกเลี่ยงการชุมนุมในพื้นที่หนาแนน และมีการบินโดรนที่ ติดปายประกาศแจงเกี่ยวกับมาตรการปองกัน รวมถึงมีการติดตั้งกลอง ตรวจจั บ ความร อ นไว บ นโดรนเพื่ อ ตรวจวั ด อุ ณ หภู มิ ร  า งกายของ ประชาชน ชวยใหคณะแพทยสามารถระบุ Case ที่ตองสงสัยไดอยาง รวดเร็ว • มีการใชเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) เพือ่ ชวยใหบคุ ลากร ทางการแพทยในมณฑลหูเปยไดรับบริจาคหนากากอนามัย เครื่องมือ ทางการแพทย และเงินบริจาค ซึ่งจําเปนอยางมากตอการดําเนินงาน ผานแพลตฟอรม Shanzong สําหรับการตรวจสอบติดตามเงินและ สิ่งของบริจาคโดยอาศัยเทคโนโลยีบล็อกเชนซึ่งเปน ผลงานการพัฒนา ของบริษัทสตารทอัพ Hyperchain และ China Xiong'an Group นอกจากนี้ แพลตฟอรมทีใ่ หความชวยเหลือทางออนไลน Xiang Hu Bao ของแอนทไฟแนนเชียล ก็ใชเทคโนโลยีบล็อกเชนเพือ่ ตรวจสอบติดตาม การจายเงินเคลมประกันอยางรวดเร็ว หลังจากที่มีการเพิ่ม COVID-19 ไวในรายชือ่ โรคติดตอรายแรงทีส่ ามารถเคลมประกันไดสงู สุด 100,000 หยวน (14,320 ดอลลาร หรือประมาณ 460,000 บาท)

ชวงที่ 3 เรื่องราวสนุกๆ และผอนคลาย

ขณะที่ ก ารแพร ร ะบาดของเชื้ อ ไวรั ส COVID-19 ใกล จ ะถึ ง จุดเปลี่ยน ชาวจีนจึงเริ่มมองหาวิธีผอนคลายจากภาวะความเครียด ที่เกิดจากการแพรระบาดของโรค โดยอาศัยเทคโนโลยีดิจิทัล เชน • ที่กรุงปกกิ่ง ผับมีชื่อวา Jing-A Brewing Co. ยังเปดใหบริการ โดยรับเฉพาะออเดอรที่สั่งอาหารและเครื่องดื่มกลับบาน และใหบริการ

Engineering Today March - April

2020

28

ทั้งนี้บริษัทและเจาของเทคโนโลยีตาง ๆ พยายามหาทางแกปญหาเพื่อใหคนจีน หลายลานคนผานชวงเวลาที่วิกฤตนี้ เรื่องราวเหลานี้เปนกรณีศีกษาวา เทคโนโลยีดิจิทัลสามารถนําทางและ ชวยคนจีนฝาฟนอุปสรรค และใชชีวิต ตอไปอยางไรในชวงที่มีการระบาด ของเชื้อไวรัส COVID-19

สงอาหารถึงบาน รวมถึง Rell สําหรับลูกคาที่นําเหยือก แกวใสเบียรมาเอง บารแหงนี้มี 2 สาขาในกรุงปกกิ่งได ขยายเวลาใหบริการจัดสงอาหารเปน 11.00 น. ถึง 23.00 น. ลูกคาสามารถสัง่ อาหารและเครือ่ งดืม่ ผานทางแพลตฟอรม ออนไลน Meituan และทางผับยังใหสวนลดพิเศษสําหรับ บริการจัดสงเบียรอีกดวย สํ า หรั บ ประเทศไทย บริ ษั ท แอดวานซ อิ น โฟร เซอรวิส (AIS) และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมมือกัน ในการใชเทคโนโลยีหุนยนตและ 5G เพื่อชวยควบคุม วิกฤตการณ COVID-19 โดยใชเทคโนโลยี 5G เพื่อ ปรับปรุงความสามารถของหุนยนตทางการแพทย ซึ่งทํา หนาทีต่ รวจวินจิ ฉัยอาการของผูป ว ยทีส่ งสัยวาอาจติดเชือ้ และชวยเหลือแพทยและพยาบาลในการดูแลผูปวยที่ ติดเชื้อหรือสงสัยวาอาจติดเชื้อ


IoT (Internet of Things) • กองบรรณาธิการ

กสทช. เดินหนาผลักดัน การใช IoT ให ได

มาตรฐานและปลอดภัย

หากไทยขยายระบบ 5G ตามเมืองใหญ อุปกรณ IoT จะเติบโตมหาศาล

หวังลดความเสี่ยง ภัยคุกคามไซเบอร

จากผลการสํารวจ Gartner พบวาอุปกรณ IoT ทั่วโลก ปจจุบันในป พ.ศ. 2563 มีมากกวา 26 พันลานเครื่อง เพิ่มขึ้น จากเมื่อราว 4 ปที่ผานมาซึ่งมีจํานวนอยูราว 6 พันลานเครื่อง ที่นาสนใจคือ มีคาดการณวาเมื่อมีการใชงาน 5G จํานวนของ อุปกรณ IoTจะเพิ่มมากขึ้นอีกหลายเทาตัว โดยอนาคต 2-3 ป อาจจะมีจํานวนมากถึง 50 พันลานเครื่อง “ระบบ 5G สามารถรองรับอุปกรณอยางนอย 1 ลานเครือ่ ง ภายใน 1 ตร.กม. ขณะที่ระบบ 4G รองรับอุปกรณไมเกิน 3 แสน เครื่อง ในอนาคตหากไทย Roll out ระบบ 5G ตามเมืองใหญ จะสามารถรองรับ Machine จํานวนลานๆ เครื่อง โอกาสของ อุปกรณ IoT จะเติบโตอยางมหาศาล” พล.อ.ท. ดร.ธนพันธุ กลาว

สํา

นั ก งานคณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) รวมกับ นิตยสาร SM Magazine นิตยสารการตลาด ชั้นนํา จัดงานสัมมนา Cyber Tech 2020 : Challenging in IoT เพือ่ แลกเปลีย่ นความรูแ ละยกระดับการปองกันภัยคุกคามไซเบอร ในการใชงานอุปกรณ IoT (Internet of Things) ซึ่งมีแนวโนม เติบโตมหาศาลอยางตอเนื่อง รับเทคโนโลยี 5G

เผยไทยมีเครือขาย 3G และ 4G ผูใชอินเทอรเน็ตพุงขึ้นกวา 50 ลานคน พล.อ.ท. ดร.ธนพันธุ หรายเจริญ รองเลขาธิการ คณะ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) กลาววา เดิมทีในไทยมีผใู ชบริการ อินเทอรเน็ตจํานวน 10 ลานคน นับตั้งแตมีเครือขายระบบ 3G และ 4G มีผูใชบริการเพิ่มขึ้นกวา 50 ลานคน จากเบอรโทรศัพท มือถือกวา 90 ลานเลขหมาย กสทช.มองวาการ Connect อิ น เทอร เ น็ ต แบบก า วกระโดด เมื่ อ ผู  ใ ช บ ริ ก ารอิ น เทอร เ น็ ต เขาถึงงาย ทําใหเกิดภัยคุกคามทางไซเบอรได ขณะทีต่ วั เลขทัว่ โลก เขาบริการอินเทอรเน็ต 4,500 ลานคน จากจํานวนประชากร กวา 7,000 ลานคน ซึ่งมีจํานวนเกิน 50% แสดงใหเห็นถึง ความเสี่ยงตอภัยคุกคามทางไซเบอร ป จ จุ บั น การเชื่ อ มโยงของเทคโนโลยี ที่ นํ า มาพั ฒนาวาง โครงสรางพื้นฐานสําคัญทางสารสนเทศของประเทศ ตลอดจน พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสําคัญที่ชวยขับเคลื่อนประเทศ จําเปน ตองใชอุปกรณ IoT หรืออุปกรณตางๆ ที่สามารถเชื่อมตอรับสง ขอมูลผานอินเทอรเน็ตไดเขามารวมดวย สงผลใหปจจุบันมีการ ใชงาน IoT อยางแพรหลาย ตั้งแต Smart Device ของใชสวนตัว ของผูบริโภค ไปจนถึงนํามาใชพัฒนาเปนสวนหนึ่งในการ Smart City หรือเมืองอัจฉริยะ

พล.อ.ท. ดร.ธนพันธุ หรายเจริญ รองเลขาธิการ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.)

29

Engineering Today March - April

2020


5 ความเสี่ยงของอุปกรณ IoT จากภัยคุกคามทางไซเบอร

ระบบ 5G สามารถรองรับอุปกรณอยางนอย 1 ลานเครื่องภายใน 1 ตร.กม. ขณะที่ ระบบ 4G รองรับอุปกรณ ไมเกิน 3 แสนเครื่อง ในอนาคตหากไทย Roll out ระบบ 5G ตามเมืองใหญ จะสามารถรองรับ Machine จํานวนลานๆ เครื่อง โอกาสของอุปกรณ IoT จะเติบโตอยางมหาศาล

ปจจุบันตองยอมรับวา อุปกรณ IoT กําลังถูกคุกคามทาง ดานไซเบอรในหลายรูปแบบ และจะมีมากยิ่งขึ้นตามจํานวน IoT ที่มากขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต สําหรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมา จากหลายปจจัยดวยกัน คือ 1. จํานวนอุปกรณที่มากขึ้น ทําให เกิดชองโหวมากขึ้น 2. เมื่อจํานวนมากขึ้น อุปกรณยังมีมาตรฐาน ที่หลากหลาย โดยมาตรฐานดังกลาวขึ้นอยูกับ Sector ในการ ใชงาน เชน IoT Healthy และ Smart Home ทีม่ คี วามหลากหลาย ซึ่งการดูแลปองกันทําไดยาก 3. การผลิตอุปกรณจะหลากหลาย ไปดวย ไทยมีขดี ความสามารถในการผลิตผลิตภัณฑและบริการนี้ ได ถือเปนโอกาส 4. การใชงาน IoT เมือ่ ติดตัง้ แลวไมมกี ารอัพเดท เหมือนคอมพิวเตอรพีซีที่อพั เดท Patch สวนมือถืออัพเดท iOS Android อาจเปนชองโหว และ 5. การรับ-สงขอมูลอาจจะไม ปลอดภัย นับเปนปญหาหรือความทาทายในอนาคต

สําหรับประเทศไทย สํานักงาน กสทช. ไดวางมาตรการ เขมงวดในการกํากับดูแล และตรวจสอบเพือ่ ใหเปนไปตาม พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัย พ.ศ. 2562 และ พ.ร.บ.คุมครอง ขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 ดังจะเห็นไดจากการที่ กสทช.ผลัก ดันใหเกิดการประมูล 5G ตองการใหเกิด IoT อยางเปนรูปธรรม ใชงานไดแทจริง ซึ่งในประกาศหลักเกณฑการประมูลนั้น ผูชนะ การประมู ล จะต อ งสร า งโครงข า ยให ร องรั บ และเป น ไปตาม มาตรฐาน 5G ทั้งในดานความเร็ว ความหนวง และการรองรับ อุปกรณจํานวนมากดังที่กลาว นอกจากนั้น ผูชนะโดยเฉพาะใน คลืน่ ความถีย่ า น 2600 MHz จะตองสรางโครงขาย 5G ใหรองรับ 50% ของพื้นที่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่ง เปนพืน้ ทีเ่ ปาหมายทีจ่ ะนํา 5G มารองรับ IoT ในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งจะตองสงแผนการดําเนินการทางดานความปลอดภัยทาง ไซเบอร และแผนการดําเนินการดานขอมูลสวนบุคคล มาให กสทช.พิจารณากอน เพือ่ ตรวจสอบใหเปนไปตาม พ.ร.บ.ดังกลาว ทั้งสองฉบับ

ระบบหวงโซคุณคา (Value Chain) ของ Internet of Things (IoT) ในไทยมีหลายมิติ

มั่นใจไทยผลิตอุปกรณ IoT แขงกับตางประเทศได หากปลอดภัย-ไดมาตรฐานสากล พล.อ.ท. ดร.ธนพันธุ กลาววา เพื่อลดความเสี่ยงจากการ ถูกคุกคามทางไซเบอร ประชาชนและองคกรทุกภาคสวนตอง ตระหนักถึงความเสี่ยงของการใชอุปกรณ IoT ดังนั้น องคกรควร ปฏิบัติตามแนวทางการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร ตามปกติอยางเครงครัด ตัง้ แตขนั้ ตอนการจัดหาอุปกรณ IoT และ การติดตั้ง มีการออกแบบโดยคํานึงถึงภัยดังกลาว รวมทั้งตองมี การจัดทําการทดสอบชองโหว หรือ Penetration Test เปนประจํา ทุกป และตองมีการทดสอบเขมขนมากขึ้นหาก มีอุปกรณ IoT เขามาใชในองคกร สําหรับประชาชนผูใชงานควรตองตระหนัก ด ว ยการตั้ ง คํ า ถามและหาคํ า ตอบด า นความมั่ น คงปลอดภั ย อยูเสมอ เมื่อมีอปุ กรณมาเชื่อมตอภายในบานหรือองคกรของเรา เพื่อสรางความมั่นใจมากขึ้น

การพัฒนา IoT Smart Device สําหรับผูที่มีปญหาการนอนหลับลึก (Deep Sleep)

การผาตัดทางไกล (Telemedicine) ระยะทาง 50 กิโลเมตร โดยเทคโนโลยี 5G

Engineering Today March - April

2020

30


“วันนีเ้ ริม่ ต้นท�ำความเข้าใจ หามาตรฐานป้องกัน Balance ให้เหมาะสม เพื่อแข่งขันกับที่อื่นได้ โดยสร้างความตระหนักรับรู้ และร่วมมือกับผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นโอกาส แม้ว่าเราจะผลิต โทรศัพท์มือถือไม่ได้ แต่เราสามารถผลิตอุปกรณ์ IoT แข่งขันกับ ต่างประเทศได้ และท�ำอย่างไรให้อุปกรณ์ดังกล่าวปลอดภัยตาม มาตรฐานสากล โดย กสทช.จะเร่งรัดจัดท�ำคู่มือหรือแนวทาง (Guideline) เช่น การน�ำ Smart Home เข้ามา ควรจะมี Guideline เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบ และใช้งานได้อย่าง ปลอดภัย” พล.อ.ท. ดร.ธนพันธุ์ กล่าว

ขวาว่าการนอนหันไปทางไหน จะหลับลึก เป็นต้น หรือการผ่าตัด ทางไกล (Telemedicine) ระยะทาง 50 กิโลเมตร คาดว่าใช้เวลา ไม่นานจะมีบทวิเคราะห์ทางธุรกิจออกมา จากข้อมูลของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AIS เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ได้มีการคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2563 อุปกรณ์ IoT ในไทยมีมูลค่าราว 1.4 พันล้าน เหรียญสหรัฐ โดยรองรับในกลุม่ ผูบ้ ริโภค ขนส่ง ภาคการผลิตและ โลจิสติกส์ โดยคาดว่าจะมีอุปกรณ์ IoT 2 หมื่นล้านเครื่อง รองรับ Smart City, Industrial IoT และ Connected Health ส�ำหรับความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ เมือ่ มีโอกาสมาก ความเสีย่ ง ย่อมเกิดขึ้นมากตามไปด้วย ซึ่งอยากจะ Recommend ว่า ถ้ามี อุปกรณ์ใหม่ๆ ควรเซตอัพ Password ใหม่ อย่าใช้ Default ที่มา กับอุปกรณ์ จะต้องมีการยืนยันตัวตน รวมทั้งใช้ฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ที่น่าเชื่อถือ

มุ่งปกป้องความปลอดภัยข้อมูล 3 ระดับ ฐิติรัตน์ ศิริพัฒนาเลิศ Chief Information Security Officer and Chief Data Officer จาก True Digital Group กล่าวถึงการปกป้องข้อมูลและความท้าทายด้านความปลอดภัย ใน IoT ว่า ข้อมูลที่เป็นส่วนตัว (Privacy) กับ ความมั่นคง (Security) เป็ น ประเด็ น ที่ ถ กเถี ย งกั น อย่ า งกว้ า งขวาง ทั้ ง นี้ การออกแบบ Solution ควรค�ำนึงถึงความปลอดภัยเป็นอันดับแรก โดยไม่ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลร่วมกับบุคคลอื่น รวมทั้งก�ำหนดสิทธิ์ ในการเข้าถึงข้อมูล ส�ำหรับการรักษาความปลอดภัย มี 3 ระดับ คือ 1. ข้อมูล ทัว่ ไป 2. ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น บัตรประชาชน ตรวจสิทธิเ์ ฉพาะ ผู้ที่เกี่ยวข้องที่จะเข้าถึงข้อมูลได้ และ 3. ข้อมูลปลอดภัยสูงสุด (Sensitive Personal Information) เช่น Health Record จะต้อง บล็อกไม่ให้คนทัว่ ไป Access เข้ามาได้ นอกจากการเข้ารหัสแล้ว ควรมีการทบทวนสิทธิก์ ารเข้าถึงข้อมูลทุกๆ 3 เดือน ให้สอดคล้อง ตามความเสี่ยงของแต่ละข้อมูล

นิติ เมฆหมอก นายกสมาคมไทยไอโอที

เผย Value Chain ของ IoT มีหลายมิติ ด้าน นิติ เมฆหมอก นายกสมาคมไทยไอโอที กล่าวว่า สมาคมฯ จัดตั้งประมาณ 2 ปี มีสมาชิกทั้งหมด 120 ราย แบ่ง เป็นบริษทั ขนาดใหญ่ รวมทัง้ SME 70 รายทีเ่ หลือเป็นคณาจารย์ และนักศึกษา 50 ราย จะเห็นได้ว่าระบบห่วงโซ่คุณ ค่า (Value Chain) ของ Internet of Things (IoT) มีหลายมิติ การน�ำข้อมูลมาใช้ต้องมี ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ โดยการท�ำ User Interface ทั้งนี้ Business Development จะน�ำข้อมูลความต้องการจากลูกค้ามา แล้วย้อนมาทีข่ นั้ ตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์หรือบริการว่าจะต้อง ออกแบบอย่างไร บนปัจจัยหลักในเรื่องราคา Leadtime และ ความปลอดภัย

ผลกระทบของ IoT มีทั้งด้านบวกและลบ ส�ำหรับผลกระทบของ IoT แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. สร้าง โอกาส และ 2. ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ในส่วนของการสร้าง โอกาสทางธุรกิจ เช่น การพัฒนา IoT ในด้านต่างๆ ยกตัวอย่าง Smart Device ส�ำหรับผู้ที่มีปัญหาการนอนหลับลึก (Deep Sleep) โดยให้ผู้ที่มีปัญหาใส่ Smart Watch เพื่อน�ำข้อมูลการ นอนหลับลึกมาท�ำเป็นอัลกอริทึ่ม เพื่อให้สุขภาพดีและนอน หลับลึกได้ยาวนานขึ้น อาจจะมีการทดลองนอนตะแคงซ้ายและ

ฐิติรัตน์ ศิริพัฒนาเลิศ (ขวา) Chief Information Security Officer and Chief Data Officer จาก True Digital Group

31

Engineering Today March - April

2020


EEC • กองบรรณาธิการ

สวทช. จับมือ ปตท.สผ.

พัฒนา EECi ตอบโจทย์ Industry 4.0 พร้อมจัดตั้งศูนย์วิจัยพัฒนาฯ ปตท.สผ. เป็นรายแรกใน EECi

ริ ษั ท ปตท.ส� ำ รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม จ�ำกัด (มหาชน) โดย พงศธร ทวีสนิ ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ลงนามความ ร่วมมือกับ ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation: EECi) เพื่อร่วมวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ที่ตอบโจทย์ความต้องการ Industry 4.0 ณ อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี โดย ปตท.สผ. และ สวทช. จะด�ำเนินกิจกรรมวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมร่วมกัน ทั้งด้านองค์ความรู้ การพัฒนาด้าน บุคลากร โครงสร้างพืน้ ฐาน เพือ่ ตอบโจทย์ทางธุรกิจและ ช่วยยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศต่อไปในอนาคต ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. หน่วยงานวิจัยและพัฒนา ในฐานะที่เป็น ผู้บริหารโครงการ EECi ได้ด�ำเนินงานร่วมกับพันธมิตร

Engineering Today March - April

2020

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ต่างๆ ซึ่งมีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ส�ำหรับความร่วมมือกับ ปตท. สผ. ในครั้งนี้ เป็นการประสานประโยชน์ร่วมกันในการเป็นพันธมิตร ร่วมทางที่ดี ซึ่ง สวทช.ให้ความส�ำคัญในเรื่องนี้เป็นอย่างมาก และ มุ่งเน้นถึงประโยชน์ของ EECi ที่จะเกิดขึ้นกับการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อ Industry 4.0 การพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม

32


และระบบอัตโนมัติ และการยกระดับขีดความสามารถ ด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ในสาขาต่างๆ ของทั้ง สองฝ่ายและภาคส่วนอื่นๆ ของประเทศ รวมถึงสนับสนุน ข้อมูลและองค์ความรู้ ตลอดจนบุคลากรและทรัพยากร ที่เหมาะสม เพื่อวางแผนขับเคลื่อนและการพัฒนา EECi พัฒนาก�ำลังคนและโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ของประเทศใน EECi และด�ำเนินกิจกรรมวิจัยและนวัตกรรมร่วมกัน รวมถึงให้ บริการที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมวิจัยและ นวัตกรรมในพื้นที่ EECi “ส�ำหรับการก่อสร้าง EECi เป็นไปตามแผนและ มีก�ำหนดก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2564 รวมทั้งได้ เตรียมความพร้อมรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร สมัยใหม่และอุตสาหกรรม Biorefinery ซึ่งถือเป็นโรงงาน ต้นแบบ Biorefinery แห่งแรกในอาเซียนที่จะเป็นส่วน ส� ำ คั ญ ในการพั ฒนาเทคโนโลยี ด ้ า นชี ว ภาพของไทยให้ ก้าวมาเป็น ผู้น�ำในภูมิภาคนี้ ยกระดับให้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลาง (Hub) ด้าน Bio-base ของอาเซียน และจะขยาย ไปตั้งโรงงานต้นแบบ Biorefinery ในต่างประเทศส่งเสริม เศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย น และลดปั ญ หาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม นอกจากนี้ ยั ง มี น โยบายในการสร้ า งบุ ค ลากรในสาขา เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ในอนาคต เพื่ อ รองรั บ การลงทุ น อุตสาหกรรมใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC)” ดร.ณรงค์ กล่าว พงศธร ทวี สิ น ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิต ปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ปตท.สผ. ให้ความ ส�ำคัญกับการขับเคลื่อนธุร กิจด้วยเทคโนโลยี และการ

ร่วมมือกับพันธมิตรทุกภาคส่วนในการผสานประโยชน์และสร้างคุณค่า ร่วมกันเพื่อเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน ดังวิสัยทัศน์ Energy Partner of Choice ของบริษัทฯ ซึ่ง สวทช.ถือเป็นอีกหนึ่งพันธมิตรส�ำคัญ ที่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันที่จะยกระดับการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ให้สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทย มีนวัตกรรมของตัวเอง ซึ่งจะเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างความ สามารถในการแข่งขันในระดับสากล นอกจากการลงนามความร่วมมือในครั้งนี้แล้ว ปตท.สผ. นับเป็น เอกชนรายแรกทีจ่ ะจัดตัง้ ศูนย์วจิ ยั ขึน้ ในพืน้ ที่ EECi อย่างเป็นทางการ ภายใต้ชอื่ ศูนย์วจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ปตท.สผ. (PTTEP Technology and Innovation Centre: PTIC) เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี ที่จะช่วยสนับสนุนกิจกรรมการส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม รวมทั้งเป็น ศูนย์กลางในการพัฒนานวัตกรรมส�ำหรับธุรกิจใหม่ของบริษทั ซึง่ รวมถึง เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) หุ่นยนต์ (Robotics) โดยคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2564

พงศธร ทวีสิน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน)

33

Engineering Today March - April

2020


NSTDA signs MoU with PTTEP to drive EECi development and innovation towards Indusrty 4.0 PTT Exploration and Production Public Company Limited (PTTEP), in collaboration with National Science and Technology Development Agency (NSTDA), signed a Memorandum of Understanding (MoU) to collaboratively support the development of the Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi) including joint research and innovation that respond to Industry 4.0. The agreement was signed by Phongsthorn Thavisin, President and Chief Executive Officer of PTTEP and Dr.Narong Sirilertworakul, President of NSTDA. at Thailand Science Park, Pathum Thani Province: Under the MoU to support the development of Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi),

“สยามคูโบต้า”

PTTEP and NSTDA will jointly conduct research and development activities with respect to knowledge, personnel development and infrastructure to promote technological research and development in support of business in the future. Moreover, PTTEP will also be the first in the private sector to establish PTTEP Technology and Innovation Centre (PTIC) at EECi to support petroleum exploration and production activities and act as a hub for developing innovations that serve the company’s new businesses including Artificial Intelligence (AI) and Robotics. The construction of the centre is expected to be completed in 2021.

มอบเงิน 1 ล้านบาท สนับสนุนกรมควบคุมโรค

รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

จัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ สู้ COVID-19

ริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มอบเงินสนับสนุนเพื่อ จัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ จ�ำนวน 1,000,000 บาท ให้แก่ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง สังกัดกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จ�ำนวน 500,000 บาท และโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ จ�ำนวน 500,000 บาท เพื่อรับมือสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่แพร่ระบาดไปยังทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยในขณะนี้ ซึ่งส่งผลกระทบไปยังทุกภาคส่วนเกิดภาวะขาดแคลนอุปกรณ์และเครื่องมือ ทางการแพทย์ รวมถึงอุปกรณ์จ�ำเป็นที่ใช้ในการป้องกันการติดเชื้อจากไวรัส ของบุคลากรทางการแพทย์ซึ่งเป็นผู้ที่ต้องให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด “สยามคูโบต้า เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของอุปกรณ์และเครื่องมือทางการ แพทย์ที่จำ� เป็นส�ำหรับรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ เพื่อลดอัตราการแพร่ระบาด รวมไป ถึงลดภาระ และความเสีย่ งของบุคลากรทางการแพทย์ทตี่ อ้ งเฝ้าระวังและรักษา ผู้ติดเชื้ออย่างใกล้ชิด ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆ ล้วนมีความจ�ำเป็น และนับวันยิ่ง ขาดแคลนเนื่องจากมีอัตราผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง” สมศักดิ์ มาอุทธรณ์ กรรมการรองผู้จัดการใหญ่อาวุโส สยามคูโบต้าฯ กล่าว

Engineering Today March - April

2020

34



Report • กองบรรณาธิการ

สถาบันเพิ่มฯ ครบรอบ 25 ปี จัดสัมมนา

“Transforming Productivity for Tomorrow Success” ขับเคลื่อนผลิตภาพอุตสาหกรรมไทยให้แข่งขันได้อย่างยั่งยืน

ถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ครบรอบ 25 ปี จัดงานสัมมนา “International Forum on Transforming Productivity for Tomorrow Success” ขับเคลือ่ นผลิตภาพ (Productivity) ภาคอุตสาหกรรมของ ประเทศไทยในทุกภาคส่วน ให้มีความเข้มแข็ง พร้อมรับ มือทุกๆ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงอย่างเท่าทัน และ เติบโตอย่างยั่งยืน

ปฏิรูปการยกระดับผลิตภาพ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

กอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า ปัจจุบันเศรษฐกิจโลกแข่งขันทางการค้าด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพิม่ สูงขึน้ ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ต้องเร่งเพิม่ ความสามารถและพัฒนาศักยภาพของประเทศ เช่นเดียวกับประเทศไทยทีต่ อ้ งมีการเร่งพัฒนาเรือ่ งดังกล่าว ซึ่งการพัฒนาที่จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศได้ คือ ต้องยกระดับผลิตภาพ (Productivity) ด้วยการใช้ทรัพยากรรอบๆ ตัว อย่างคุม้ ค่าและมีการพัฒนา อย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ดี จากข้อมูลของ APO Productivity Database พบว่า การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทยในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2513-2558) ล้วนแต่เกิดจากการ บริโภคทรัพยากรและปัจจัยทุนต่างๆ เป็นหลัก ไม่ได้ให้ความ ส�ำคัญในการยกระดับผลิตภาพมากนัก ส่งผลให้ผลิตภาพรวม (Total Factor Productivity: TFP) ของประเทศเติบโต ในระดั บ ต�่ ำ มากเมื่ อ เที ย บกั บ การเติ บ โตของผลิ ต ภั ณ ฑ์ มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ดังนั้นทางออกของประเทศที่จะสามารถเอาชนะ ปัญหาและความท้าทายต่างๆ ได้อย่างยัง่ ยืน คือการปฏิรปู การยกระดับผลิตภาพ (Transforming Productivity) ของประเทศ โดยเฉพาะการเพิ่ ม ผลิ ต ภาพในภาค อุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน เศรษฐกิ จ ของประเทศ ด้ ว ยการยกระดั บ ทั ก ษะความ สามารถของแรงงาน การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรม ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และสร้าง ความพร้ อ มของปั จ จั ย แวดล้ อ มในอุ ต สาหกรรมหลั ก ที่ประเทศไทยมีความช�ำนาญ รวมถึงอุตสาหกรรมใหม่ ที่มีศักยภาพที่จะเติบโตในอนาคต ได้แก่ อุตสาหกรรมที่ ผลักดันด้วยนวัตกรรม S-Curve, New S-Curve และ

Engineering Today March - April

2020

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสถาบันเพิ่ม ผลผลิตแห่งชาติ เป็นก�ำลังส�ำคัญของกระทรวงอุตสาหกรรม ในการชีน้ ำ� และช่วยยกระดับ ผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม น�ำความรู้ความสามารถมาใช้ในการ ขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรมมาโดยตลอด

ผลักดันให้มีการเพิ่มผลิตภาพในทุกภาคส่วนของประเทศ สอดคล้องเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

ดร.พานิ ช เหล่ า ศิ ริ รั ต น์ ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แห่งชาติ กล่าวว่า ปัจจุบันสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติได้ขยายขอบเขต การด�ำเนินงานไปในทุกภาคส่วนไม่เฉพาะแต่ภาคอุตสาหกรรม แต่ยัง ครอบคลุมถึงภาคบริการ ภาครัฐ และ ภาคเกษตรแปรรูป เพื่อผลักดัน ให้เกิดการเพิม่ ผลิตภาพในทุกภาคส่วนของประเทศ และมีบทบาทหน้าที่ ในการชีน้ ำ� และยกระดับผลิตภาพขององค์กร เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน เสริมสร้างการเติบโตที่เข้มแข็งอย่างยั่งยืนขององค์กรและ ประเทศ ภายใต้เป้าหมายส�ำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในด้าน การสร้างความสามารถในการแข่งขันที่ได้ก�ำหนดไว้ว่าประเทศไทย จะต้องเป็นประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วภายในปี พ.ศ. 2580 ซึง่ ในมิตเิ ศรษฐกิจ “ประเทศที่พัฒนาแล้ว” หมายถึง ประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจอยู่ ในกลุ่มประเทศรายได้สูง อย่างไรก็ตาม การพัฒนาประเทศในปัจจุบันเพื่อไปสู่เป้าหมาย ดังกล่าวยังอยูภ่ ายใต้ขอ้ จ�ำกัดทัง้ ในเรือ่ งทรัพยากรและความท้าทายจาก ประเทศเกิดใหม่ (Emerging Countries) การเพิม่ ผลิตภาพของประเทศ จึงเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญควบคู่ไปกับองค์ประกอบด้านอื่นๆ ใน การน�ำพาประเทศไปสู่การบรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ก�ำหนด และ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ก้าวล�้ำในปัจจุบันท�ำให้ทุกภาค ส่วนของไทยต้องมีพฒ ั นาการน�ำเทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้องและเหมาะสมเข้า มาช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพ เช่น ลีน (Lean), ไคเซน (Kaizen), การวิเคราะห์ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (Overall Equipment Effectiveness: OEE) และ Sig Sigma เป็นต้น “ส�ำหรับการจัดงานครบรอบ 25 ปี ในฐานะเป็นสถาบันแห่งชาติ ได้นำ� เสนอมุมมองการขับเคลื่อนผลิตภาพใน 4 มิติ ประกอบด้วย การ ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาองค์กร Industry Upgrading, Creativity & Innovation, Data Analytics and Digital Technology และ High Skilled Workforce ที่จะเป็นรูปแบบเครื่องมือส�ำคัญในการสนับสนุน ผูป้ ระกอบการและองค์กรต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนให้สามารถเติบโต และพร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งเท่ า ทั น ยกระดั บ ประสิทธิภาพขององค์กร เสริมความรูด้ า้ นผลิตภาพให้สามารถพัฒนาไป สู่อุตสาหกรรมแห่งอนาคตได้อย่างยั่งยืนต่อไป” ดร.พานิช กล่าว

36


กอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

ดร.พานิช เหล่าศิริรัตน์ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ

ชี้ Productivity หัวใจส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทย

ดร.วิ ร ไท สั น ติ ป ระภพ ผู ้ ว ่ า การธนาคารแห่ ง ประเทศไทย กล่าวว่า ส�ำหรับ Productivity หรือผลิตภาพ ถือเป็นหัวใจส�ำคัญขับเคลือ่ นเศรษฐกิจประเทศไทย เพราะ ผลิตภาพจะเป็นตัวก�ำหนดศักยภาพของเศรษฐกิจไทย ในอนาคต แท้ที่จริงแล้ว ผลิตภาพไม่ได้ส�ำคัญต่อเฉพาะ ศักยภาพของระบบเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส�ำคัญต่อความ อยู่ดีกินดีของพวกเราทุกคนในอนาคตอีกด้วย “หากพูดง่ายๆ ผลิตภาพก็คือประสิทธิภาพของการ ใช้ทรัพยากรในวิถีการท�ำงานและวิถีการใช้ชีวิตของเรา ซึ่งทรัพยากรนี้รวมถึงวัตถุดิบ เครื่องจักร ที่ดิน แรงงาน ตลอดจนผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเวลา การเพิ่มผลิต ภาพหมายถึงการที่เราสามารถท�ำงานได้ดีขึ้น เก่งขึ้น หรือ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยใช้ทรัพยากรปริมาณเท่าเดิม การ เพิ่ม ผลิตภาพอย่างต่อเนื่องจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การสร้างรายได้ และการยก ระดับคุณภาพชีวติ ของคนไทยในระยะยาว” ดร.วิรไท กล่าว

เศรษฐกิจไทยเผชิญปัญหาด้านผลิตภาพ 5 เรือ่ ง

อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจไทยมีปัญหาด้านผลิตภาพใน หลายมิติ โดยเฉพาะด้านผลิตภาพที่ประเทศไทยก�ำลัง เผชิญอยู่ 5 เรื่อง ได้แก่ 1. ปัญหาด้านผลิตภาพโดยรวม หรื อ ที่ นั ก เศรษฐศาสตร์ เ รี ย กว่ า Total Factor of Productivity: TFP ของเศรษฐกิจไทยค่อนข้างต�่ำและ ไม่เพิ่มขึ้นมากนัก ในขณะที่ประเทศอื่นมีพัฒนาการด้าน ผลิตภาพไปเร็วกว่าเรามาก ตัวอย่างเช่น เมื่อ 30 ปีที่ ผ่านมา ผลิตภาพของไทยอยูใ่ นระดับทีใ่ กล้เคียงกับประเทศ มาเลเซีย และอยู่ในระดับสูงกว่าประเทศอินเดียประมาณ ร้อยละ 40 แต่ปัจจุบัน ผลิตภาพโดยรวมของประเทศ

ดร.วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีตประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

มาเลเซียเพิม่ สูงขึน้ และสูงกว่าประเทศไทยไทยถึงร้อยละ 30 ขณะทีผ่ ลิต ภาพของประเทศอินเดียปรับมาเทียบเท่าผลิตภาพของไทยแล้ว 2. ปัญหา ด้านแรงงาน ด้วยแรงงานจ�ำนวนมากถึง 1 ใน 3 ของแรงงานไทย 38 ล้านคนอยูใ่ นภาคการเกษตรทีม่ ผี ลิตภาพต�ำ่ และเติบโตชะลอลง ปัจจุบนั ผลิตภาพในภาคการเกษตรของไทยเพิ่มขึ้นช้ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน หลายประเทศ ไม่วา่ จะเป็นประเทศจีน อินโดนีเซีย อินเดีย หรือเวียดนาม อีกทัง้ การเคลือ่ นย้ายแรงงานจากภาคการเกษตรไปสูภ่ าคเศรษฐกิจอืน่ ที่ มีผลิตภาพสูงกว่ายังท�ำได้ยากเพราะแรงงานส่วนใหญ่ที่เหลืออยู่ในภาค เกษตรขาดการพัฒนาทักษะทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมและบริการ เข้าถึงเทคโนโลยียากและใช้งานไม่เป็น หากภาคการเกษตรยังเดินต่อไป แบบนี้ ปัญหาผลิตภาพต�ำ่ ของภาคเกษตรจะยิง่ ท�ำให้ปญ ั หาความเหลือ่ ม ล�้ำระหว่างคนรวยกับคนจนรุนแรงขึ้น และจะสร้างจุดเปราะบางที่อาจ จะน�ำไปสู่ปัญหาเสถียรภาพทางสังคมได้ 3. ปัญหาช่องว่างของผลิต ภาพระหว่างผูป้ ระกอบการรายใหญ่และผูป้ ระกอบการ SME กว้างขึน้ ในหลายอุตสาหกรรม จากการวิเคราะห์ข้อมูลส�ำมะโนอุตสาหกรรมพบ ว่าสัดส่วนของผลิตภาพแรงงานในธุรกิจขนาดใหญ่สุดร้อยละ 10 เทียบ กับธุรกิจขนาดเล็กสุดร้อยละ 10 เพิ่มขึ้นจาก 3.1 เท่าในปี พ.ศ. 2539 เป็น 7.7 เท่าในปี พ.ศ. 2554 ซึ่งความแตกต่างของผลิตภาพระหว่าง ธุรกิจ SME กับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มากขึ้นยิ่งท�ำให้ผู้ประกอบการ SME ไม่สามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการรายใหญ่ได้ เกิดปรากฏการณ์ ปลาใหญ่กินปลาเล็กรุนแรงขึ้นเมื่อธุรกิจ SME ซึ่งเป็นแหล่งจ้างงาน ที่ส�ำคัญของระบบเศรษฐกิจไทยไม่สามารถแข่งขันได้ค่าจ้างแรงงาน จะถูกกดให้อยูใ่ นระดับต�ำ่ เป็นอีกสาเหตุทซี่ ำ�้ เติมปัญหาความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคมไทย แม้ว่าหลายรัฐบาลจะพยายามหาทางแก้ปัญหาดังกล่าวนี้ แต่ก็ท�ำได้ไม่ดีเท่าที่ควรนัก 4. ปัญหาผู้ประกอบการไทยต้องเผชิญกับ กฎเกณฑ์ข้อบังคับของทางการที่ซ�้ำซ้อนหรือล้าสมัย จากงานวิจัยของ TDRI (Thailand Development Research Institute) พบว่าทุกวันนี้ มีกฎระเบียบข้อบังคับกว่า100,000 ฉบับ และกฎระเบียบจ�ำนวนมาก ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของเศรษฐกิ จ ในโลกปั จ จุ บั น และโลกใหม่ ที่เทคโนโลยีก�ำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ผู้ที่ต้องการ ประกอบกิจการค้าปลีกอาจต้องขออนุญาตจากหน่วยงานราชการมาก ถึง 8 แห่ง การปฏิบัติตามกฎระเบียบเหล่านี้เป็นต้นทุนในการประกอบ กิจการ โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SME ที่กฎระเบียบมักสร้างภาระให้ สูงกว่าธุรกิจรายใหญ่ ยิ่งเพิ่มปัญหาความเหลื่อมล�้ำให้มากยิ่งขึ้น และ 5. ปัญหานโยบายของภาครัฐหลายเรื่องที่สะสมต่อเนื่องมาจากอดีต ไม่เอือ้ ต่อการพัฒนาผลิตภาพของผูป้ ระกอบการอย่างเต็มที่ ตัวอย่างเช่น

37

Engineering Today March - April

2020


นโยบายที่ไม่ส่งเสริมการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจไทย เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ผลิตภาพในหลายอุตสาหกรรม อยู่ในระดับต�่ำ เพราะผู้ประกอบการที่มีอ�ำนาจผูกขาดไม่มี แรงจูงใจในการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตหรือคิดค้น นวัตกรรม ในหลายกรณี การประกอบกิจการของรัฐวิสาหกิจ หรือกฎเกณฑ์จากภาครัฐเองส่งเสริมให้เกิดการผูกขาด ท�ำให้ผปู้ ระกอบการเพียงไม่กรี่ ายมีอำ� นาจเหนือตลาด เช่น นโยบายให้ความช่วยเหลือแบบให้เปล่าไปเรื่อยๆ ทั้งใน ภาคเกษตรกรรมและภาคธุรกิจ ทีไ่ ม่สร้างแรงจูงใจให้ผผู้ ลิต ยกระดับกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นหรือ เปลี่ยนไปผลิตสินค้าอื่นที่มีมูลค่าเพิ่มสูงกว่า เป็นต้น “ปัญหาต่างๆ เหล่านี้หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่าง จริงจังโดยเร็วจะส่งผลร้ายแรงในอนาคตได้เพราะคู่แข่งใน ตลาดการค้าของไทยมีการพัฒนาเทคโนโลยีผลิตภาพการ ผลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและโดดเด่ น หลายๆ ด้ า น ดั ง นั้ น ประเทศไทยควรน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรม และงานวิจัย ที่มีอยู่มากมายที่เกี่ยวข้องด้านผลิตภาพมาใช้ให้เหมาะสม โดยเฉพาะการพัฒนาผลิตภาพที่อาศัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นพืน้ ฐานให้มากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ ต้องใช้ บุคลากรทีช่ ำ� นาญเฉพาะด้านเข้ามาร่วมระดมความคิด ข้อ เสนอแนะในการท�ำงานร่วมกัน แม้ว่าจะเป็นคนละวัย ท�ำงาน ไม่วา่ จะเป็นวัยหนุม่ สาว วัยกลางคน และวัยเกษียณ ก็สามารถทีจ่ ะร่วมกันท�ำงานเพือ่ เพิม่ ผลิตภาพของประเทศ โดยไม่มีอคติในการท�ำงาน” ดร.วิรไท กล่าว

5 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาผลิตภาพ ในทุกภาคส่วนของเศรษฐกิจไทย

ส� ำ หรั บ ข้ อ เสนอแนะในการพั ฒ นาผลิ ต ภาพใน ทุ ก ภาคส่ ว นของเศรษฐกิ จ ไทยมี ด ้ ว ยกั น 5 แนวทาง ประกอบด้วย 1. การเพิ่มผลิตภาพต้องท�ำอย่างทั่วถึง เน้น ผู้ประกอบการรายย่อยและแรงงานทักษะต�่ำที่ขาด โอกาสพั ฒ นาผลิ ต ภาพในทุ ก ๆ ด้ า น ต้ อ งดู แ ลไม่ ใ ห้ ผลประโยชน์กระจุกอยู่กับเจ้าของกิจการหรือเจ้าของทุน เท่านั้น การเพิ่มผลิตภาพที่ส่งผลให้ค่าจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น จะช่วยลดปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล�้ำทาง รายได้ ลดปัญหาหนี้ครัวเรือน และสร้างเสถียรภาพทาง สังคมในระยะยาว 2. ต้องอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็น หัวใจของการเพิ่มผลิตภาพ โดยเฉพาะผลิตภาพของภาค เกษตรและผู้ประกอบการ SME เช่น การใช้สมาร์ทโฟน สามารถช่ ว ยลดต้ น ทุ น และเพิ่ ม โอกาสทางธุ ร กิ จ ให้ ผู้ประกอบการ SME ได้หลายด้าน การซื้อขายสินค้าและ บริการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) ไม่ว่า จะเป็นการสั่งสินค้าออนไลน์ หรือบริการส่งอาหารถึงบ้าน ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ท�ำให้ผู้ผลิตสามารถขยายตลาดไป สู่ผู้บริโภคจ�ำนวนมากขึ้นได้อย่างก้าวกระโดด ไม่ถูกจ�ำกัด โดยที่ตั้งหรือพื้นที่หน้าร้าน และไม่ต้องลงทุนสูง ท�ำให้

Engineering Today March - April

2020

สามารถเพิม่ การผลิตและลดต้นทุนต่อหน่วยลงได้มาก ดิจทิ ลั แพลตฟอร์ม ช่วยสร้างพื้นที่บนโลกออนไลน์ให้ผู้ผลิตและผู้บริโภคมาซื้อขายสินค้า เท่านัน้ แต่ยงั ช่วยให้ผปู้ ระกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้งา่ ยขึน้ ผ่านแพลตฟอร์มการให้กยู้ มื ออนไลน์ ช่วยให้ผปู้ ระกอบการและแรงงาน สามารถจับคู่กันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. ภาครัฐต้องเร่งลด อุปสรรคต่างๆ เพิ่ม ผลิตภาพในกระบวนการท�ำงานของภาครัฐ และ ส่งเสริมการท�ำงานของระบบตลาด เพือ่ ให้การด�ำเนินธุรกิจของธุรกิจไทย และการใช้ชีวิตของคนไทยมีผลิตภาพสูงสุดภาครัฐต้องส่งเสริมให้มีการ แข่งขันที่เป็นธรรมระหว่างธุรกิจเอกชนด้วยกันเอง และระหว่างธุรกิจ เอกชนกับรัฐวิสาหกิจ 4. ภาครัฐจะต้องสร้างระบบแรงจูงใจให้เหมาะสม เพื่อส่งเสริมให้ธุรกิจและประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้อง กับสภาวะของโลกใหม่ และให้ความส�ำคัญกับการเพิม่ ผลิตภาพอย่างเท่า เทียมกัน และควรหลีกเลี่ยงการออกมาตรการที่ไม่เอื้อต่อการยกระดับ ผลิตภาพของประเทศโดยไม่จ�ำเป็น หากมีการให้เงินอุดหนุนควรมี เงื่อนไขหรือแรงจูงใจให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์สำ� หรับอนาคต และ 5. ตระหนักว่าการเพิ่ม ผลิตภาพสามารถท�ำได้ในทุกระดับ และไม่จ�ำเป็นต้องเป็นโครงการ ที่ต้องลงทุนสูงเท่านั้น การเพิ่ม ผลิตภาพมีต้นทุนต�่ำมากหรืออาจจะ แทบไม่มีต้นทุนก็สามารถที่จะสร้างผลิตภาพที่สูงได้

ชี้แรงงานในอนาคตต้องปรับตัวรับเทคโนโลยีใหม่ เพื่อความอยู่รอด

ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ต้องยอมรับว่าประเทศไทยก�ำลังเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุมากขึ้น ทักษะในการท�ำงานอาจจะต้องเรียนรู้และเพิ่ม เติมในหลายๆ ส่วนเพือ่ ให้กา้ วทันยุคปัจจุบนั โดยเฉพาะการเรียนรูเ้ รือ่ ง เทคโนโลยีดิจิทัล และการท�ำงานร่วมกับคนวัยหนุ่มสาวที่เขาเติบโต ท�ำงานในยุคดิจิทัล ให้ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่างคล่องแคล่วและ ช�ำนาญ การแลกเปลี่ยนระหว่างวัยจ�ำเป็นที่จะต้องมีความยืดหยุ่นตาม ความเหมาะสม ใช้คนให้ตรงกับงาน ไม่มีพื้นที่ส่วนตัวในการท�ำงาน มองความส�ำเร็จขององค์กรร่วมกัน ถึงแม้ว่าการปรับตัวปรับเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่จะเข้ามาอาจ จะต้องใช้เวลาส�ำหรับแรงงานสูงวัย แต่หากมีความพยายามเรียนรู้ พยายามหมั่นค้นคว้าและหมั่นใช้งานบ่อยๆ เชื่อว่าจะสามารถใช้งานได้ แม้จะไม่ 100% แต่อย่างน้อยมั่นใจว่าแรงงานสูงวัยของไทยเก่งใน หลายๆ องค์กรจะท�ำงานในโลกเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำหรับเทคโนโลยีทแี่ รงงานควรจะเรียนรูแ้ ละศึกษาเพิม่ เติมนัน้ จะ เป็นในส่วน AI (Artificial Intelligence), Big Data Analytics, Cloud, Robot และ IoT (Internet of Things) ซึ่งแต่ละองค์กรมีการน�ำมาใช้ งานอยู่แล้ว แต่ยังขาดการเรียนรู้เพิ่มเติมร่วมกัน “ขอแนะน�ำว่าองค์กรแต่ละแห่งควรจัดฝึกอบรมภายในองค์กรและ อาจจะหาหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และรัฐวิสาหกิจที่มีเทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสมเข้ามาช่วยให้คำ� แนะน�ำภายในองค์กรเพิม่ เติม ยิง่ ท�ำให้ทกั ษะ การท�ำงานภายในองค์กรเพิ่มประสิทธิภาพคิดค้นผลิตภาพออกมาได้ดี มากยิ่งขึ้น” ดร.ไพรินทร์ กล่าว

38


Report • กองบรรณาธิการ

จั บ ตา 2 งานวิ จ ย ั ช่วยไทยยามวิกฤต หน้ากากผ้ากันน�้ำของ มธ.

หน้ากากอนามัย เสริมแผ่นเส้นใยนาโนของ มจพ.

หน้ากากผ้ากันน�้ำ THAMMASK

นวัตกรรมหน้ากากอนามัย เสริมแผ่นเส้นใยนาโนของ มจพ.

ากสถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อไวรัส COVID-19 นับตั้งแต่ ปลายเดื อ นธั นวาคม 2562 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ที่ มี ก ารแพร่ ร ะบาดไป หลายประเทศทั่วโลก และยังไม่มีวัคซีนที่จะป้องกันได้ อีกทั้งขาดแคลนหน้ากาก อนามัยซึ่งเป็นสิ่งจ�ำเป็นในการใช้สวมใส่เพื่อป้องกันลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ ดังกล่าว ทางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จึงได้จัดตั้ง คณะท�ำงานป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ขึ้น เพื่อร่วมกันคิดหาแนวทางผลิตหน้ากาก อนามัยโดยใช้ผ้าที่มีคุณสมบัติสะท้อนน�้ำ ไม่ดูดซับความชื้น ป้องกันการแพร่เชื้อ ใช้ทดแทนหน้ากากอนามัยทีข่ าดแคลน ส�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์และประชาชน ทั่วไปในยามวิกฤต ขณะที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ได้โชว์นวัตกรรมหน้ากากอนามัย เสริมแผ่นเส้นใยนาโนกรองฝุ่นและไวรัส 96.55% พร้อมเร่งผลิตให้กลุม่ เสีย่ งต่อการติดเชือ้ ไวรัส COVID-19 และโรงพยาบาล ถื อ เป็ น การน� ำ องค์ ค วามรู ้ ด ้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ม าพั ฒนานวั ต กรรม เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนในประเทศอย่างเร่งด่วนในภาวะที่ประเทศ ก�ำลังเผชิญกับวิกฤตโรคระบาดอย่างแท้จริง

รศ.เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มธ.พัฒนาหน้ากากผ้าสะท้อนน�้ำ ส�ำหรับแพทย์ - ประชาชนทั่วไป รศ.เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กล่าวว่า จากสถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ส่งผลให้ หลายฝ่ายร่วมกันคิดหาแนวทางการรับมือทั้งการพยายามคิดค้นหาวัคซีนรักษา

39

Engineering Today March - April

2020


ทดสอบคุณสมบัติการสะท้อนน�ำ้ ของหน้ากากผ้า

การป้องกันจ�ำกัดพืน้ ทีใ่ นการระบาด การพยายามทีจ่ ะหาสิง่ ทดแทนหน้ากากอนามัย ทางการแพทย์ที่ขาดแคลนโดยใช้ผ้าน�ำมาตัดเย็บเป็นหน้ากากอนามัยส�ำหรับลด ความเสี่ ย งจากการแพร่ ก ระจายของโรคดั ง กล่ า วชั่ ว คราว ซึ่ ง ทางมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์จึงได้จัดตั้ง คณะท�ำงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ขึ้น ภายใต้ความร่วมมือของประชาคมธรรมศาสตร์ และหน่วยงานภายนอก เช่น โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ และโรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกันคิดหาแนวทางผลิตหน้ากากอนามัยโดยใช้ผา้ ที่มีคุณสมบัติสะท้อนน�้ำ ไม่ดูดซับความชื้น ป้องกันการแพร่เชื้อ ส�ำหรับบุคลากร ทางการแพทย์ และประชาชนทั่วไป เบื้องต้นคาดว่าจะสามารถผลิตหน้ากากอนามัย สะท้อนน�้ำล็อตแรก 400 ชิ้นได้ภายใน 15 มีนาคม ศกนี้ เพื่อเตรียมมอบให้บุคลากร ทางการแพทย์น�ำไปใช้ก่อน หลังจากนั้นจะผลิตเพิ่ม 1,000-2,000 ชิ้น เพื่อแจกจ่าย ให้ประชาชนทั่วไปน�ำไปใช้ป้องกันต่อไป

THAMMASK ลดความเสี่ยงติดเชื้อ ลดปัญหาขาดแคลน Mask ใช้ครั้งเดียวทิ้ง ศ. พญ.อรพรรณ โพชนุกูล รองอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษา และประธาน คณะท�ำงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 กล่าวว่า แนวคิด ในการท�ำหน้ากากอนามัยโดยใช้ผ้านั้น เนื่องจากหน้ากากอนามัยในท้องตลาด ขาดแคลนอย่างมาก หาซือ้ มาใช้ไม่ได้ โดยเฉพาะหน้ากากอนามัยทีจ่ ะน�ำมาใช้ทางการ แพทย์ภายในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติช่วงที่ผ่านมาก็ประสบปัญหา หน้ า กากอนามั ย ส� ำ หรั บ บุ ค ลากรทางการแพทย์ อ ยู ่ ใ นระดั บ ที่ ไ ม่ เ พี ย งพอต่ อ

Engineering Today March - April

2020

40

ศ. พญ.อรพรรณ โพชนุกูล รองอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษา และประธานคณะท�ำงานป้องกันและควบคุม โรคติดเชื้อไวรัส COVID-19


ความต้องการเช่นกัน แม้ว่าจะมีประชาชนบริจาคหน้ากากอนามัยเข้ามาบ้างแต่ ความต้องการใช้ส�ำหรับป้องกันไวรัส COVID-19 และสวมใส่ส�ำหรับรักษาผู้ป่วยโรค ต่างๆ ในแต่ละวันจ�ำนวนมาก เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายหรือติดเชื้อ และลดปัญหาการขาดแคลนหน้ากากอนามัยที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง (Single-Use) ในกลุ่ม บุคลากรทางการแพทย์ และภาคประชาชน ที่หลายหน่วยงานแนะน�ำให้เลือกใช้ หน้ากากผ้าทดแทนหน้ากากอนามัย แต่ด้วยคุณสมบัติของหน้ากากผ้าทั่วไปจะ สามารถดูดซับน�้ำได้ดี ซึ่งรวมถึงสารคัดหลั่งด้วย จึงมีโอกาสที่อาจจะติดเชื้อได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นไวรัส COVID-19, ไข้หวัดปกติทั่วไป ด้วยเหตุนี้คณะท�ำงานจึงได้ศึกษาวิจัย คุณสมบัติผ้าที่เหมาะสม พัฒนาเป็น “หน้ากากผ้ากันน�้ำ THAMMASK เพื่อใช้ในทางการแพทย์” ผลิตจากวัสดุผ้า สะท้อนน�้ำ ไม่ดูดซับความชื้น และช่วยลดโอกาสในการแพร่เชื้อดังกล่าว

ใช้ผ้า Cotton-Silk ผสานเทคโนโลยีสะท้อนน�้ำ ป้องกันเชื้อโรคย้อนกลับไปสู่ผู้สวมใส่ ธนิกา หุตะกมล อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุและสิ่งทอ คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า หน้ากากผ้ากันน�้ำ THAMMASK เพื่อใช้ในทางการแพทย์นั้นเป็นการประยุกต์ใช้โครงสร้างผ้าที่มี คุณสมบัติในการกันน�้ำ และเหมาะใช้เป็นวัสดุท�ำหน้ากากผ้าป้องกันสารคัดหลั่ง เบื้องต้น ซึ่งผ้าที่ใช้คือ “Cotton-Silk” หรือผ้าฝ้ายผสมโพลีเอสเตอร์ โดยบริษัท ผู้ผลิตยังใช้เทคโนโลยีสะท้อนน�้ำ ซึ่งมีอนุภาคเป็นระดับไมครอนสามารถแทรกเข้าไป เนื้อผ้า ไม่ให้โมเลกุลของน�้ำแทรกเข้าไปในเนื้อผ้า มีความปลอดภัยเมื่อสัมผัสผิวหนัง โดยตรง ลักษณะของหน้ากากจะเป็นการน�ำเนื้อผ้า 2 ชิ้นมาประกบติดกัน 2 ชั้นแรก ท�ำมาจากผ้าชนิดเดียวกับทีใ่ ช้ผลิตชุดปฏิบตั กิ ารทางการแพทย์ มีคณ ุ สมบัตสิ ะท้อนน�ำ้ ป้องกันไรฝุ่น และไวรัสที่มากับสารคัดหลั่งจากผู้อื่น โดยมีผ้าฝ้ายรองด้านหลังชั้นใน สุดที่สัมผัสกับผู้ใช้งาน เป็นผ้าฝ้ายที่ซึมซับสารคัดหลั่ง ป้องกันการแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่น “ที่ส�ำคัญมีจีบ 3 ชั้น ป้องกันเชื้อโรคย้อนกลับไปสู่ผู้สวมใส่ ส่วนการพัฒนาใน อนาคตจะมีการทดลองด้วยการน�ำฟิลเตอร์หรือแผ่นกรอง PM 2.5 ส�ำหรับกรองฝุ่น มาใส่ตรงกลางอีกชัน้ เพือ่ ใช้สำ� หรับเป็นหน้ากากป้องกันฝุน่ PM 2.5 ขณะนีท้ างคณะ ท�ำงาน ก�ำลังอยู่ในระหว่างการทดสอบประสิทธิภาพการใช้งาน และความคงทนของ เส้นใย ว่ายังคงประสิทธิภาพเดิมหรือไม่ เมือ่ น�ำไปซักด้วยเครือ่ งซักผ้ามาตรฐานทัว่ ไป

41

ธนิกา หุตะกมล อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุและสิ่งทอ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ.

ซึ่งตามที่บริษัทผู้ผลิตระบุ บอกว่าสามารถ ซักซ�้ำได้ 20-30 ครั้ง แต่จากการทดสอบจริง พบว่ า วิ ธี ซั ก ที่ แ ตกต่ า งกั น การใช้ น�้ ำ ยาที่ แตกต่างกันย่อมมีผลต่อเส้นใยของผ้า จ�ำเป็น ต้ อ งรอการทดสอบว่ า จ� ำ นวนครั้ ง ที่ ผู ้ ผ ลิ ต ระบุ ต ้ อ งซั ก ด้ ว ยวิ ธี ก ารใดและส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการกั น น�้ ำ ของผ้ า ขนาดไหน เบื้ อ งต้ น ขณะนี้ จ ากการทดสอบการซั ก ท�ำความสะอาดซ�้ำท�ำได้อย่างน้อย 5 ครั้ง” ธนิกา กล่าว

ตั้งเป้าผลิตออกมา ทดลองใช้ 1,000 ชิ้น ทดลองใช้ที่ รพ.ธรรมศาสตร์ฯ ส�ำหรับต้นทุนการผลิตหน้ากากอนามัย ทางเลือก 1 ชิ้นจะอยู่ที่ 25-30 บาท หาก เที ย บกั บ การน� ำ ไปซั ก และน� ำ กลั บ มาใช้ ซ�้ำจ�ำนวนต�่ำสุดที่ 5 ครั้ง เฉลี่ยตกครั้งละ 2-3 บาท ส่วนการน�ำไปใช้เบื้องต้นจะน�ำไป ทดลองใช้ที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ ใช้ ส�ำหรับการตรวจทั่วไปหรือใช้กับเจ้าหน้าที่ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ที่ ป ระจ� ำ ตามจุ ด คั ด กรองต่ า งๆ ไม่ ส ามารถใช้ ภ ายในห้ อ ง ผ่าตัดได้ ในขั้ น ตอนนี้ ตั้ ง เป้ า จะผลิ ต ออกมา ทดลองใช้ 1,000 ชิน้ เพือ่ น�ำไปแจกจ่ายให้กบั บุคลากรทางการแพทย์ ในสังกัด ไม่ได้มงุ่ หวัง ท�ำเพือ่ การพาณิชย์ และหากภาครัฐสนใจทีจ่ ะ เข้ามาร่วมท�ำการผลิตกับทางมหาวิทยาลัย

Engineering Today March - April

2020


ธรรมศาสตร์กย็ นิ ดี ส่วนภาคประชาชนทีส่ นใจจะน�ำผ้ามาท�ำหน้ากากอนามัยทดแทน หน้ากากอนามัยที่ขาดแคลนนั้น ทางมหาวิทยาลัยยินดีที่จะสอนวิธีการท�ำให้ตาม ความเหมาะสมต่อไป

มจพ. โชว์นวัตกรรมหน้ากากอนามัย เสริมแผ่นเส้นใยนาโน กรองฝุ่นและไวรัส 96.55% เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) โดย รศ. ดร.นพวรรณ ชนัญพานิช หัวหน้าศูนย์วิจัยบูรณาการนาโน ส�ำนัก วิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ เจ้าของผลงานและนวัตกรรม “หน้ากากอนามัย เสริมแผ่นเส้นใยนาโน” ขนาดความกว้าง 14.5 ซม. และยาว 15 ซม. สามารถกรองฝุ่น และไวรัสได้ดี โดยมี คุณสมบัตพิ เิ ศษทีแ่ ตกต่างจากหน้ากากอนามัยทัว่ ไป คือมีประสิทธิภาพการกรองฝุน่ ที่อนุภาคเล็กกว่า 0.5 ไมครอน ได้ถึง 96.55% จากการทดสอบก่อนแผ่นกรอง และหลังผ่านแผ่นกรอง พบว่าใช้งานได้จริง ป้องกันได้ดีเยี่ยม เหมาะกับสถานการณ์เช่นนี้ที่หน้ากากอนามัยก�ำลังขาดแคลนเป็น อย่างมาก โดยเร่งผลิตให้กลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัส COVID-19 และโรงพยาบาล จะเห็นได้ว่า การที่ 2 สถาบันการศึกษาชั้นแนวหน้าได้พยายามคิดค้น และพัฒนานวัตกรรม โดยน�ำองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ เพื่อรับมือกับวิกฤตการขาดแคลนหน้ากากอนามัยจากการแพร่ ระบาดของเชื้อ COVID-19 ทั่วโลกได้อย่างทันท่วงที ถือเป็นการตอบโจทย์ความ ต้องการของประเทศ และน�ำนวัตกรรมมาแก้ปัญหาของชาติอย่างแท้จริง และ เป็นการพิสูจน์ให้คนทั้งประเทศได้เห็นว่า “วิกฤตของชาติคลี่คลายได้ ถ้าทุกฝ่าย ร่วมใจกัน”

Engineering Today March - April

2020

42

รศ. ดร.นพวรรณ ชนัญพานิช หัวหน้าศูนย์วิจัยบูรณาการนาโน ส�ำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.


Research & Development • กองบรรณาธิการ

สวทช. ไบโอเทค ร่ติดวตามมกัBCGบแม่ โ จ้ Model ในภาคเหนือ

ศูนย์การเรียนรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์ ผักเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร

เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิต - ปลอดสารเคมี แปลงผักอินทรีย์ บริษัท ริมปิงออร์แกนิค ฟาร์ม จ�ำกัด ที่ใช้ ไวรัส NPV

ส�ำ

นัก งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแ ห่งชาติ (สวทช.) โดย ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ลงพื้นที่ติดตามผลงาน BCG Model in Action ภาคเหนือที่ บริษัท ริมปิงออร์แกนิคฟาร์ม จ�ำกัด จังหวัดเชียงใหม่ และแปลงล�ำไยภายในศูนย์การเรียนรูก้ ารผลิต เมล็ดพันธุ์ผักเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้น�ำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถ่ายทอดสู่ภาค การเกษตร เพื่อปฏิรูปภาคการเกษตรยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตที่ปลอดสารเคมีในพื้นที่ให้ดียิ่งขึ้น

>> หนุนถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใต้ BCG Model ในพื้นที่ภาคเหนือ ดร.ณรงค์ ศิ ริ เ ลิ ศ วรกุ ล ผู ้ อ� ำ นวยการ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ประเทศไทย มีความหลากหลายเชิงชีวภาพมากมาย โดยเฉพาะภาคการเกษตรที่ ถื อ เป็ น ฐานรากทางเศรษฐกิ จ ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ สวทช. โดยศู น ย์ พั น ธุ วิ ศ วกรรมและเทคโนโลยี ชี ว ภาพแห่ ง ชาติ (ไบโอเทค) และ

43

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

Engineering Today March - April

2020


สวทช. โดย ไบโอเทค และมหาวิทยาลัย แม่โจ้ พร้อมด้วยเครือข่ายภาคการเกษตรทัง้ ภาครั ฐ และเอกชน สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม และ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ภายใต้ BCG Model ซึง่ บูรณาการ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ การเกษตรในพื้ น ที่ ภาคเหนือใน 3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย น และเศรษฐกิ จ สี เ ขี ย ว พร้อมๆ กัน

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พร้อมด้วยเครือข่ายภาคการเกษตรทั้งภาครัฐและ เอกชน สนับสนุนส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ภายใต้ BCG Model ซึ่งบูรณาการการพัฒนาเศรษฐกิจ การเกษตรในพืน้ ทีภ่ าคเหนือใน 3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียวพร้อมๆ กัน โดยน�ำองค์ความรู้มาต่อ ยอดฐานความเข้มแข็งภายในของประเทศไทย ซึง่ มีความหลากหลายทาง ชีวภาพและผลผลิตทางการเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ ปรับเปลี่ยนระบบ การผลิ ต ไปสู ่ ก ารใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งคุ ้ ม ค่ า สอดรั บ กั บ ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงให้เกษตรกรในพืน้ ทีน่ ำ� องค์ความรูไ้ ปปรับใช้สร้างความ เข้มแข็งของชุมชน ลดความเหลื่อมล�้ำ เชื่อมโยงการเกษตรฐานราก สูก่ ารเกษตรแบบครบวงจรทีป่ ลอดสารเคมี สูก่ ารใช้งานจริงในพืน้ ทีอ่ ย่าง ทัว่ ถึง พร้อมทัง้ พัฒนาบุคลากรด้านการเกษตรเป็นพีเ่ ลีย้ งดูแลอย่างเป็น ระบบ ร่วมขับเคลือ่ นพัฒนาภาคการเกษตรไทยให้เป็นทีย่ อมรับในตลาด การค้าต่างประเทศมากยิ่งขึ้น

ทีม่ อี ยู่ 3 ชนิด ได้แก่ หนอนกระทูห้ อม ส่วนใหญ่จะท�ำลาย ข้าวโพด ใบหอมพืชผัก ตระกูลกระหล�ำ่ ตระกูลแตง ตระกูล ถั่ว ตระกูลพริก-มะเขือ หน่อไม้ฝรั่ง กุหลาบ ดาวเรือง เบญจมาศ กล้วยไม้ มะลิ หนอนเจาะสมอฝ้าย ส่วนใหญ่ จะท�ำลายกระเจีย๊ บเขียว หน่อไม้ฝรัง่ มะเขือเทศ ถัว่ ฝักยาว ถั่วลันเตา ส้มเขียวหวาน กุหลาบ และ หนอนกระทู้ ผัก ท�ำลายพืชผักเศรษฐกิจแทบทุกชนิด เช่น กะหล�่ำปลี กะหล�่ำดอก ข้าว ข้าวโพด หอมแดง หอมใหญ่ มันเทศ และอื่นๆ ดั ง นั้ น ที ม วิ จั ย จึ ง ได้ วิ จั ย และคิ ด ค้ น ไวรั ส NPV ส�ำหรับใช้ฆ่าท�ำลายศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิดนี้ขึ้น โดยสรรพคุณ ของไวรัส NPV นี้จะท�ำลายเฉพาะศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิด ดังกล่าวนี้เท่านั้นแต่จะไม่ท�ำลายแมลงชนิดอื่นๆ ที่มีผล ต่อระบบนิเวศ จึงไม่เป็นอันตรายต่อเกษตรกรและสัตว์เลีย้ ง อื่นๆ ในพื้นที่ใกล้เคียงเมื่อเทียบกับการใช้ยาฆ่าแมลง ส�ำหรับการใช้ไวรัส NPV นี้ ง่ายและสะดวกมาก เพียงแค่ ผสมน�้ ำ ส� ำ หรั บ ฉี ด พ่ น พื ช ผั ก ในแปลงปลู ก ตามสั ด ส่ ว น ที่แสดงก�ำกับไว้ในฉลากข้างกล่องอย่างเคร่งครัด ไม่มาก หรือน้อยจนเกินไป ถ้าจะให้ได้ผลดีควรฉีดพ่นสารไวรัส NPV ในช่วงเวลาตั้งแต่ 16.00 น. เนื่องจากไวรัส NPV จะแพ้แสงแดดหากฉีดพ่นพืชผักในช่วงที่มีแสงแดดจัดจะ ไม่ได้ผลเท่าทีค่ วร จากการทดลองใช้ในพืน้ ทีก่ ารเพาะปลูก ของเกษตรกรที่สนใจพบว่าได้ผลที่ดีมาก ในอนาคตก�ำลัง ทดลองพัฒนาไวรัส NPV ในศัตรูพืชชนิดอื่นๆ ที่มีผลต่อ พืชผลทางการเกษตรเพิม่ เติมเพือ่ ช่วยเหลือและควบคุมศัตรู พืชในประเทศไทยให้ลดลง

>> ใช้ ไวรัส NPV จัดการหนอนและศัตรูพืช 3 ชนิด ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา ผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ วิจยั นวัตกรรมสุขภาพ สัตว์และการจัดการ ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) กล่าวว่า ทีมนักวิจยั ไบโอเทคได้คน้ คว้าวิจยั ด้านสารชีวภัณฑ์ (Biocontrol) เป็นเวลากว่า 10 ปีเพื่อใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ เช่น เชื้อราบิวเวอเรีย (Beauveria) โปรตีนวิป (VIP) จากแบคทีเรีย และ ไวรัส NPV (Nuclear Polyhedrosis Virus) ทีส่ ามารถควบคุมการระบาด ของแมลงศั ต รู พื ช ได้ ห ลายชนิ ด อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยวิ จั ย และ คัดเชือ้ ไวรัสทีม่ คี วามจ�ำเพาะต่อแมลงชนิดใดชนิดหนึง่ ทีม่ คี วามสามารถ ในการท�ำลายพืชผลทางการเกษตรของเกษตรกรให้เสียหายจ�ำนวนมาก

Engineering Today March - April

2020

44

ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา ผู้อำ� นวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ศูนย์พันธุ์วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค)


>> พร้อมส่งมอบไวรัส NPV บรรจุขวดให้เกษตรกรทดลองใช้ ติดต่อได้ที่ สวทช.และไบโอเทค สัมฤทธิ์ เกียววงษ์ นักวิชาการอาวุโส ทีมวิจยั เทคโนโลยีไวรัสเพือ่ ควบคุ ม แมลงศั ต รู พื ช ศู น ย์ พั น ธุ วิ ศ วกรรมและเทคโนโลยี ชี ว ภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) กล่าวว่า ไวรัส NPV เป็นไวรัสที่มีอยู่ในแล้วใน ธรรมชาติ เพียงแค่ศกึ ษาว่าท�ำไมไวรัสเหล่านีถ้ งึ ตายและภายหลังการตาย แล้วจะท�ำให้ไวรัสตัวอื่นๆ ตายไปด้วยได้อย่างไร เหมือนกับการน�ำไวรัส จากห้องทดลองไปฆ่าไวรัสในธรรมชาติ ซึง่ สามารถท�ำได้จริงควบคุมการ แพร่ระบาดได้จริงในพื้นที่ ใน 3 แมลงศัตรูพืช ได้แก่ หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย และหนอนกระทูผ้ กั โดยน�ำตัวอ่อนของแมลงทีไ่ ด้ รับไวรัส NPV ไปฉีดพ่นปะปนอยู่บนใบพืชในแปลงปลูก เมื่อไวรัสเข้าสู่ กระเพาะอาหารผลึกโปรตีนที่ห่อหุ้มอนุภาคของไวรัสจะถูกย่อยสลาย โดยน�ำ้ ย่อยของแมลงทีม่ ฤี ทธิเ์ ป็นด่าง อนุภาคไวรัสจะหลุดออกมาท�ำลาย เซลล์กระเพาะอาหาร เมื่อหนอนทั้ง 3 นี้ได้รับเชื้อไวรัสเข้าไปจะลดการ กินอาหารลง เมื่ออนุภาคของไวรัสขยายเพิ่มขึ้นท�ำให้เซลล์ต่างๆ ของ หนอนถูกท�ำลายและตายไปเองในที่สุด และเมื่อหนอนตัวหนึ่งตัวใด ตายก็จะกระจายไวรัสสู่หนอนตัวอื่นๆ ให้ตายตามไปด้วย เพราะเมื่อ หนอนตายแล้วไวรัสไม่ได้ตายไปด้วยแต่จะกระจายอยู่รอบๆ ตัวหนอน ที่ตาย หากมีหนอนตัวอื่นมากินพืชผักที่ปนเปื้อนไวรัสก็จะท�ำให้หนอน ตัวนั้นติดไวรัสและตายไปด้วย การใช้ไวรัส NPV ก�ำจัดศัตรูพชื จะปลอดภัยกว่าใช้สารเคมีเนือ่ งจาก การใช้สารเคมีท�ำให้มีสารเคมีตกค้างอยู่บนพืช ผัก แต่หากใช้ไวรัส

สัมฤทธิ์ เกียววงษ์ นักวิชาการอาวุโส ทีมวิจัยเทคโนโลยีไวรัส เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช ไบโอเทค

NPV จะไม่เหลือสารตกค้าง ปัจจุบันมีโรงงานต้นแบบ ทีบ่ รรจุไวรัส NPV ลงขวดและส่งมอบให้เกษตรกรทีต่ อ้ งการ น�ำไปทดลองใช้ตดิ ต่อมาได้ที่ สวทช.และไบโอเทค ส่วนการ จัดจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์นั้น ขณะนี้มีบริษัทเอกชน 2 ราย ติดต่อเข้ามาเพื่อรับการถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อน�ำไวรัส NPV ไปผลิตจัดจ�ำหน่ายในท้องตลาด

ตัวอย่างไวรัส NPV บรรจุขวด

45

Engineering Today March - April

2020


>> ริมปิงออร์แกนิค ฟาร์มใช้ ไวรัส NPV ลดผลผลิตผักที่ถูกหนอนเจาะท�ำลายได้ 10-15% เอกราช เครื่องพนัด ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ริมปิงออร์แกนิค ฟาร์ม จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ เริ่มด�ำเนินธุรกิจผลิตพืชแบบอินทรีย์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ส่วนใหญ่จะเป็นแปลงปลูกพืชผักกลุ่มสลัด เช่น สลัดคอส บัตเตอร์เฮด กรีนโอ๊ค และเรดโอ๊ค รวมทั้งมีผักไทย เช่น ผักโขม ผักบุ้ง ผักกาดขาว ข้าวโพดหวาน มะเขือเทศ และแตงกวา โดยใช้หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีได้รับการถ่ายทอดจาก สวทช. เช่น การควบคุมการเปิดปิดน�้ำด้วยระบบน�้ำหยดอัตโนมัติตั้งเวลาผ่าน โทรศัพท์มือถือและการใช้ไวรัส NPV ฉีดพ่นพืชผักแต่ละชนิด ว่าควรใช้ ในปริมาณเท่าใด รวมทัง้ ความถีใ่ นการพ่น และระยะเวลาทีห่ ยุดพ่นก่อน เก็บผลผลิต โดยเฉพาะการแนะน�ำไวรัส NPV ที่ใช้มากว่า 5 ปี ซึ่งได้ผล ที่ดีมาก สามารถป้องกันหนอนศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิดดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ลดการสูญเสียผลผลิตที่ถูกหนอนเจาะท�ำลายได้ 10-15% โดยเฉพาะ ผั ก กลุ ่ ม สลั ด หากถู ก หนอนเจาะจะไม่ ส ามารถส่ ง จ� ำ หน่ า ยสู ่ ห ้ า ง สรรพสินค้าที่ได้ท�ำสัญญาซื้อขายทั้งในพื้นที่เชียงใหม่และกรุงเทพฯ ได้ โดยผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ทัง้ Organic Thailand ของกรมวิชาการเกษตร มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ นานาชาติ IFOAM และมาตรฐานการคัดบรรจุโดยได้รับการรับรอง มาตรฐาน GMP Codex ผู้บริโภคจึงมั่นใจว่าได้รับผลผลิตที่ดีและ ปลอดภัยต่อการบริโภคแน่นอน

การใช้ ไวรัส NPV ก�ำจัดศัตรูพชื จะปลอดภัยกว่าใช้สารเคมีเนือ่ งจาก การใช้สารเคมีทำ� ให้มสี ารเคมีตกค้าง อยู่บนพืชผัก แต่หากใช้ ไวรัส NPV จะไม่ เ หลื อ สารตกค้ า ง ปั จ จุ บั น มี โรงงานต้นแบบที่บรรจุไวรัส NPV ลงขวดและส่ ง มอบให้ เ กษตรกรที่ ต้องการน�ำไปทดลองใช้ติดต่อมา ได้ที่ สวทช.และไบโอเทค

>> ให้ความรู้เกษตรอัจฉริยะแก่เกษตรกรสวนล�ำไย แก้ปัญหาการเพาะปลูกในช่วงหน้าแล้ง วิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์ รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และผูอ้ ำ� นวยการสถาบัน จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร (สท.) กล่าวว่า สวทช. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ร่วมกันถ่ายทอดเทคโนโลยีความรู้เกษตร อัจฉริยะแก่เกษตรกรสวนล�ำไยในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อแก้ปัญหา การเพาะปลูกในช่วงหน้าแล้งทีม่ กั จะประสบปัญหาไม่ได้ผลผลิตทีด่ แี ละ ไม่มีคุณภาพเนื่องจากขาดแคลนน�้ำ โดยทดสอบและขยายผลใน 2 จุด ได้แก่ พื้นที่ฟาร์มเปิด แปลงวิจัยวิจัยล�ำไย ในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ด้วยการน�ำเทคโนโลยีสถานีตรวจวัดสภาพอากาศแบบ Smart IoT (Internet of Things) เพือ่ การเกษตร จาก ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และระบบควบคุมการให้น�้ำ อัตโนมัติส�ำหรับพืชไร่และพืชสวนมาประยุกต์ใช้ “จะให้น�้ำเฉพาะช่วงเวลาที่ขาดน�้ำจริงๆ หากวันไหนฝนตกก็จะ หยุดให้นำ�้ ทันทีเพือ่ กักเก็บน�ำ้ ทีม่ อี ยูส่ ำ� หรับใช้ในช่วงทีไ่ ม่มฝี น หากให้นำ�้ ซ�้ำซ้อนกับฝนที่ตกจะท�ำให้ล�ำไยเสี่ยงต่อการเกิดโรคโคนเน่า ผลล�ำไย ที่ติดต้นอาจจะไม่มีคุณภาพ ไม่ได้ขนาดตามที่ต้องการ เพราะล�ำไยใน แต่ละช่วงอายุไม่ได้ต้องการปริมาณน�้ำมากเกินความจ�ำเป็นและหากให้ น�้ำมากเกินไปผลล�ำไยที่อยู่บนต้นอาจจะร่วงได้ โดยเกษตรกรสามารถ น�ำเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในสวนล�ำไยและพืชสวนอื่นๆ ตามความ

Engineering Today March - April

2020

46

เอกราช เครื่องพนัด ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ริมปิงออร์แกนิค ฟาร์ม จ�ำกัด

วิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์ รองผู้อำ� นวยการ สวทช. และผู้อำ� นวยการสถาบันจัดการเทคโนโลยี และนวัตกรรมการเกษตร (สท.)


เหมาะสมของพื้นที่และภายใต้งบประมาณที่ดำ� เนินการได้ ทั้งนี้ สวทช. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงในการให้ค�ำแนะน�ำเพื่อให้ เกษตรกรลดค่าใช้จา่ ยในการใช้นำ�้ อย่างมีประสิทธิภาพ” วิราภรณ์ กล่าว

>> สถานีตรวจวัดสภาพอากาศแบบ Smart IoT เพื่อการเกษตร ช่วยล�ำไยสมบูรณ์กว่าทั่วไปต้นละ 63 กก. ผศ. ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กล่าวว่า เทคโนโลยีสถานี ตรวจวัดสภาพอากาศแบบ Smart IoT เพือ่ การเกษตร ซึง่ ใช้พนื้ ทีภ่ ายใน ศูนย์การเรียนรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์ผักเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นพื้นที่ทดลองประมาณ 1 ไร่จากทั้งหมด 70 ไร่ ท�ำการศึกษามากว่า 15 ปี โดยติดตั้งระบบแม่ข่าย 1 จุดและลูกข่าย 10 จุด ที่ปลูกล�ำไย ซึ่งแม่ข่ายมีเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิอากาศ เซ็นเซอร์วัดความชื้นอากาศ เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง เซ็นเซอร์วัดความชื้นดิน อุปกรณ์วัดความ เร็ ว ลม และอุ ป กรณ์ วั ด ปริ ม าณน�้ ำ ฝน ส่ ว นลู ก ข่ า ย ประกอบด้ ว ย เซ็นเเซอร์วัดอุณหภูมิอากาศ เซ็นเซอร์วัดความชื้นอากาศ เซ็นเซอร์วัด ความเข้มแสง เซ็นเซอร์วัดความชื้นดิน สามารถดูปริมาณการให้น�้ำใน แต่ละจุดผ่านสมาร์ทโฟนแบบเรียลไทม์ได้ เมื่อเข้าไปตรวจดูที่ตั้งค่าไว้ แล้วพบว่าดินมีความแห้งเกินค่าที่ก�ำหนด ปริมาณน�้ำฝนที่ตกในพื้นที่ น้อยกว่าค่าที่ก�ำหนดจะมีระบบแจ้งให้เจ้าหน้าที่ที่อยู่ในพื้นที่เข้าไป เปิดระบบน�้ำในปริมาณที่เหมาะสม ตามช่วงเวลาที่ก�ำหนดประมาณ 20-30 นาทีเป็นอย่างน้อย ผลที่ได้พบว่าการติดดอก การเจริญเติบโต และผลผลิตล�ำไย สมบูรณ์กว่าแปลงที่ให้น�้ำแบบปกติทั่วไป เฉลี่ย 63 กิโลกรัมต่อต้น เทียบจากทรงพุม่ 3 เมตร และท�ำการถ่ายทอดผลการศึกษาจริงในแปลง ทดลองนี้แก่เกษตรกรในพื้นที่รวมทั้งน�ำไปสอนนิสิตนักศึกษาที่ก�ำลัง เรียนสาขาพืชไร่ พืชสวน เพื่อน�ำความรู้ไปถ่ายทอดสู่เกษตรกรในพื้นที่ อืน่ ๆ ต่อไปโดยเฉพาะพืน้ ทีใ่ นภาคเหนือและภาคตะวันออกทีม่ กี ารปลูก ล�ำไยจ�ำนวนมากเพื่อช่วยประหยัดน�้ำ และไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับสภาพ อากาศในช่ ว งล� ำ ไยเริ่ ม ออกดอก ทั้ ง นี้ ใ ช้ เ งิ น ลงทุ น เทคโนโลยี เ พี ย ง ครั้งเดียว สามารถใช้ได้นานกว่า 20 ปี

>> พัฒนาพันธุ์มะเขือเทศแก้ปัญหาโรคใบหงิกเหลือง อีกหนึ่งองค์ความรู้จะเป็นเรื่องการพัฒนาเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ ซึ่ง สวทช. ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบริษัทที เค อาร์ แอนด์ ดี จ�ำกัด ร่วมกันคิดค้นหาสายพันธุม์ ะเขือเทศทีท่ นต่อโรคใบหงิกเหลือง น�ำ ไปแจกจ่ายให้เกษตรกรในพืน้ ทีท่ ำ� การเพาะปลูกเนือ่ งจากในช่วงอากาศ ร้ อ นแห้ ง จะประสบปั ญ หาไวรั ส ท� ำ ลายแปลงมะเขื อ เทศท� ำ ให้ ใ บ หงิกเหลือง โดยทีมวิจัยได้ติดต่อขอพันธุ์มะเขือเทศจากอเมริกาใต้ ซึ่งมี ยีนต้านทานโรค (Ty3a) มาใช้ปรับปรุงพันธุ์ใหม่เป็น PC3 (A9) และ PC11 ได้ผลทีด่ ี โดยจะส่งมะเขือเทศพันธุใ์ หม่ให้แก่เกษตรกรน�ำไปปลูก เพื่อจ�ำหน่าย แต่มีข้อแม้ว่าห้ามส่งมะเขือเทศพันธุ์ใหม่นี้ไปจ�ำหน่าย ที่ทวีปอเมริกาใต้ เนื่องจากเป็นเจ้าของสายพันธุ์ที่น�ำมาวิจัย

47

ผศ. ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พาชมสถานีตรวจวัดสภาพอากาศ แบบ Smart IoT เพื่อการเกษตร

IoT WimaRC FARM ระบบตรวจวัดด้วยเซ็นเซอร์ แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการจัดการและควบคุมอัตโนมัติ ทํางาน ภายใต้ Platform IoT Cloud ของ NETPIE โดย เนคเทค และ ทีเม็ค

แปลงล�ำไยในมหาวิทยาลัยแม่โจ้

Engineering Today March - April

2020


Energy Today • กองบรรณาธิการ

กกพ.สนับสนุน AEITF

เปิดตัวโครงการ

Solar Move ดึงบ้านจัดสรร 10,000 หลัง

ร่วมใจใช้ ไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการ Solar Move ปลูกจิตส�ำนึก การมีส่วนร่วมประชาชนในการใช้ ไฟ จากพลังงานแสงอาทิตย์

เปิดตัวโครงการ Solar Move อย่างเป็นทางการ

มู

กิตติพงษ์ ภิญโญตระกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการ ก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) กล่าวว่า โครงการรณรงค์ส่งเสริม ความรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Rooftop) เข้าสู่ชุมชน เพื่อเป็น ทางเลือกใหม่ของการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน (Solar Move) เป็นการจัดกิจกรรมเชิงรุก น�ำความรู้ภาคทฤษฎีถ่ายทอดสู่การ ปฏิบตั ไิ ด้จริง ผ่านกิจกรรมสือ่ เคลือ่ นทีท่ กี่ ลุม่ เป้าหมายจะได้มสี ว่ น ร่วมและทดลองปฏิบัติ จากสื่อที่ทันสมัย ทั้ง Interactive สื่อ วีดทิ ศั น์ และโมเดลจ�ำลอง โดยประชาชนในหมูบ่ า้ นและประชาชน ทั่ ว ไปในเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล จะได้ สั ม ผั ส และทดลองการน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาต่อกับอุปกรณ์ง่ายๆ ภายในบ้าน เพื่อสร้างความตระหนักปลูกจิตส�ำนึก และเกิดการ มีส่วนร่วมในเรื่องพลังงานสะอาด โดยเฉพาะพลังงานไฟฟ้าจาก แสงอาทิตย์ ทีส่ อดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า เพื่อกิจการตามมาตรา 97(5) ซึ่งต้องการส่งเสริมสังคมและ ประชาชนให้มคี วามรู้ ความตระหนัก และมีสว่ นร่วมทางด้านไฟฟ้า

ลนิธสิ ถาบันพลังงานทางเลือกแห่งประเทศไทย (AEITF) เปิ ด ตั ว โครงการรณรงค์ ส ่ ง เสริ ม ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Solar Rooftop เข้าสู่ชุมชน เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ของการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน (Solar Move) ในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลใน หมู ่ บ ้ า นจั ด สรรประมาณ 200 โครงการ ประมาณ 10,000 ครัวเรือนให้มีความรู้ และความเข้าใจที่ถูกต้อง เกีย่ วกับพลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ เป็นพลังงานสะอาด เพือ่ เป็นทางเลือกใหม่ของการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน น�ำไปสู่ การลดภาวะโลกร้อนและใช้พลังงานอย่างยั่งยืน โครงการ Solar Move ได้รับการสนับสนุนงบ ประมาณจาก กองทุนพัฒนาไฟฟ้า เพือ่ กิจการตามมาตรา 97(5) ประจ�ำปีงบประมาณ 2562 ของส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ซึ่งกองทุนพัฒนา ไฟฟ้า จัดตั้งขึ้นภายในส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ กิจการพลังงาน หรือ ส�ำนักงาน กกพ. ตาม “พระราช บัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550” โดย มีคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน หรือ กกพ. เป็น ผู้ก�ำกับดูแล เพื่อส่งเสริมสังคมและประชาชนให้มีความรู้ ความตระหนัก และมีส่วนร่วมทางด้านไฟฟ้า โดยได้รับ เกียรติจาก กิตติพงษ์ ภิญโญตระกูล รองเลขาธิการคณะ กรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เป็นประธานใน พิธีเปิดตัวโครงการฯ ท่ามกลางผู้บริหารจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องร่วมงานอย่างคับคั่ง ณ ห้องจรัส ชั้น 3 หอศิลป วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

กิตติพงษ์ ภิญโญตระกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.)

Engineering Today March - April

2020

48


ทั้งนี้ได้มีการจัดแสดงสื่อนิทรรศการเคลื่อนที่ Solar Move ซึง่ ภายใน Solar Move จะน�ำเสนอความรูแ้ ละเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจ ต่างๆ อาทิ การติดตั้งแผง Solar Roof ที่ถูกต้อง จะลดค่าใช้จ่าย ครัวเรือนได้อย่างไร Solar ดีอย่างไร เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ สังคมไทยในเรื่อง “พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้” โครงการ น�ำเสนอ “พลังงานแสงอาทิตย์” เพื่อการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน และประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

10,000 ครัวเรือนให้มีความรู้ มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ พลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นพลังงานสะอาด นอกจากนี้ ต้องการให้ร่วมกันส่งเสริมให้ผู้ใช้ไฟฟ้าได้มี แนวทางในการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า โดยมีส่วนร่วม ในการใช้พลังงานสะอาดจากการน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวัน โดยสามารถทดลองใช้งานจริงผ่านรถ นิทรรศการเคลื่อนที่ในรูปแบบ Active Learning

AEITF ได้รับทุนสนับสนุน จาก กกพ. จัดท�ำโครงการ Solar Move-ลดเชื้อเพลิงฟอสซิล สุเมฆ ปัณฑรานุวงศ์ ประธานมูลนิธสิ ถาบันพลังงานทาง เลือกแห่งประเทศไทย (AEITF) กล่าวว่า มูลนิธฯิ ได้รบั การจัดสรร เงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้าจากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการ พลังงาน (กกพ.) เพื่อส่งเสริมสังคมและประชาชนให้มีความรู้ ความตระหนัก และมีส่วนร่วมทางด้านไฟฟ้าตามมาตรา 97(5) ผ่ า นการด� ำ เนิ น โครงการรณรงค์ ส ่ ง เสริ ม ความรู ้ ค วามเข้ า ใจ เกี่ยวกับ Solar Rooftop เข้าสู่ชุมชน เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ของ การใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน (Solar Move) ในกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลในหมู่บ้านจัดสรรประมาณ 200 โครงการ ประมาณ

สุเมฆ ปัณฑรานุวงศ์ ประธานมูลนิธิสถาบันพลังงานทางเลือกแห่งประเทศไทย (AEITF)

49

Engineering Today March - April

2020


ติดตั้งโซลาร์เซลล์ ปีละ 10,000-20,000 ครัวเรือน หนุนใช้ ไฟจากพลังงานสะอาด 100 เมกะวัตต์

หากมีการรณรงค์หรือส่งเสริมให้ ภาคครัวเรือน รวมทั้งหมู่บ้านจัดสรร ได้ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ บ นหลั ง คา ตามโครงการ โซลาร์ภาคประชาชนของ กกพ.ทีส่ ง่ เสริม ให้มกี ารติดตัง้ ปีละประมาณ 100 เมกะวัตต์ หรือติดตั้งปีละ 10,000-20,000 ครัว เรือน คิดเป็นมูลค่า 4,000 ล้านบาท/ปี

ปั จ จุ บั น สาขาครั ว เรื อ นหรื อ กลุ ่ ม ที่ อ ยู ่ อ าศั ย มี อั ต ราการ เติบโตของการใช้ไฟฟ้าถึง 10.1% (พิจารณาจากตัวเลขการใช้ ไฟฟ้าเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2562) โดยมีสัดส่วนการใช้ไฟฟ้า ถึง 26% หรือคิดเป็นสัดส่วนการใช้ไฟมากเป็นอันดับ 2 รองจาก สาขาอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการใช้ไฟฟ้า 45% และหากมีการ รณรงค์หรือส่งเสริมให้ภาคครัวเรือน รวมทั้งหมู่บ้านจัดสรรได้ ติดตั้ง Solar Rooftop ตามโครงการโซลาร์ภาคประชาชนของ กกพ. ทีส่ ง่ เสริมให้มกี ารติดตัง้ ปีละประมาณ 100 เมกะวัตต์ หรือ ติดตั้งปีละ 10,000-20,000 ครัวเรือน คิดเป็นมูลค่าได้ 4,000 ล้านบาท/ปี และหากมีการติดตัง้ ครบ 10 ปีตามแผน PDP 2018 (Power Development Plan) ก็จะมีกลุ่มบ้านที่อยู่อาศัยมี การผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานสะอาดถึ ง 1,000 เมกะวั ต ต์ ซึง่ กระทรวงพลังงานคาดว่า จะมีประชาชนติดตัง้ Solar Rooftop ตามโครงการโซลาร์ภาคประชาชนประมาณ 200,000 ครัวเรือน “ที่ส�ำคัญเพื่อร่วมกันลดภาวะโลกร้อนจากการลดการใช้ ไฟฟ้าที่ผลิตโดยเชื้อเพลิงที่เป็นฟอสซิล ซึ่งมีสัดส่วนประมาณ 75% (ก๊าซธรรมชาติ 58% และถ่านหิน/ลิกไนต์ 17%) เทียบกับ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีสัดส่วนเพียง 10% ซึ่งตามการวางแผนการพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580 (PDP 2018) จะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 30% ในปี พ.ศ. 2580” สุเมฆ กล่าว

อลงกรณ์ พลบุตร ประธานที่ปรึกษามูลนิธิสถาบันพลังงานทางเลือกแห่งประเทศไทย (AEITF)

“ขณะนี้ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีจ�ำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า 3.3 ล้านราย หากมีการรณรงค์หรือส่งเสริมให้ภาคครัวเรือน รวม ทั้งหมู่บ้านจัดสรรได้ติดตั้ง Solar Rootop ตามโครงการโซลาร์ ภาคประชาชนของ กกพ. ผ่านสื่อรถ Solar Move จะช่วยส่งเสริม สังคมและประชาชนให้มีความรู้ ความตระหนักด้านพลังงาน ทดแทน และสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนในพื้นที่ ในการใช้ พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ต่อไป” อลงกรณ์ กล่าว

แนะรณรงค์ ให้ผู้ใช้ ไฟในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 3.3 ล้านราย หันมาใช้ ไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์ ด้าน อลงกรณ์ พลบุตร ประธานที่ปรึกษามูลนิธิสถาบัน พลังงานทางเลือกแห่งประเทศไทย (AEITF) กล่าวว่า การผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีสัดส่วนเพียง 10% โดยจะเพิ่ม สัดส่วนขึน้ เป็น 30% ในปี พ.ศ. 2580 ตามการวางแผนการพัฒนา ก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580 (PDP 2018) นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างยิ่ง ปัจจุบนั โลกได้เปลีย่ นจาก Climate Change เป็น Climate Extreme ที่จ�ำนวนประชากรโลกมากกว่าครึ่ง ราว 4 พันล้านคน อาศัยอยู่ในเมือง ด้วยไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไปและความแออัดของ ประชากรในเมือง มีการขนส่งโดยใช้รถยนต์ทำ� ให้เกิดมลพิษ เช่น ฝุ่น PM 2.5 ในปัจจุบัน ในอนาคตอาจจะได้เห็นเอทานอล บริสทุ ธิ์ 100% ซึง่ ตามเป้าหมายไม่นา่ ใช่เรือ่ งยาก รวมทัง้ รถไฟฟ้า (EV: Electric Vehicle ) และรถยนต์ไฮบริด ช่วยตอบโจทย์ความ ต้องการพลังงานสะอาด

Engineering Today March - April

2020

อสังหาฯ ชั้นน�ำพร้อมใจส่งบ้าน 10,000 หลัง เข้าร่วมโครงการ Solar Move ส�ำหรับบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่เข้าร่วมโครงการรณรงค์ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Solar Rooftop เข้าสู่ชุมชน เพือ่ เป็นทางเลือกใหม่ของการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน (Solar Move) ประกอบด้วย บริษทั กานดา พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด, บริษทั แลนด์ แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน), บริษทั ควอลิตเี้ ฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน), บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน), บริษัท อารียา พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน), บริษทั เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท เอ็น.ซี.เฮ้าส์ซิ่ง จ�ำกัด (มหาชน)

50


เพื่อผลิตไฟฟ้าเก็บไว้ที่แบตเตอรี่แล้วน�ำมาใช้ในตอนกลางคืน นอกจากนั้นมีการทดลองติดตั้ง Solar Rooftop ที่สำ� นักงานขาย ขนาด 10 กิโลวัตต์ ช่วยให้ประหยัดค่าไฟเดือนละหลายพันบาท ขณะที่ บริษัท แลนด์แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ LH ส่งโครงการบ้านจัดสรรเข้าร่วมโครงการฯ 19 โครงการ ซึ่ ง มี บ ้ า นหลายแบรนด์ อาทิ บ้ า นเดี่ ย วแบรนด์ มั ณ ฑนา, ชัยพฤกษ์, พฤกษ์ลดา, ชลลดา และ อินิซิโอ รวมประมาณ 4,000 หลัง บริษัท ควอลิตี้เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ QH ส่ ง โครงการบ้ า นจั ด สรรเข้ า ร่ ว มโครงการฯ 30 โครงการ ประมาณ 3,000 หลัง บริษัท อารียา พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ A ส่งโครงการบ้านจัดสรรเข้าร่วมโครงการฯ 10 โครงการ ประมาณ 1,000 หลัง บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SENA ส่งโครงการบ้านจัดสรรทัง้ บ้านเดีย่ ว และทาวน์โฮมเข้าร่วมโครงการฯ 10 โครงการ ประมาณ 1,000 หลัง อาทิ โครงการเสนาพาร์ควิลล์ รามอินทรา, เสนาทาวน์ 1 รามอินทรา, เสนาช็อปเฮาส์ บางแค-เทิดไท และ เสนาอเวนิว บางกะดี ฯลฯ ส่วน บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) และ บริ ษั ท เอ็ น .ซี . เฮ้ า ส์ ซิ่ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) หรื อ NCH ส่งโครงการบ้านจัดสรรเข้าร่วมโครงการฯ บริษัทละประมาณ 10 โครงการ

โดย กานดา พร็อพเพอร์ตี้ ได้ส่งโครงการบ้านจัดสรร ประเภทบ้านเดี่ยว 3 โครงการ รวม 1,084 ครัวเรือนเข้าร่วม โครงการฯ ประกอบด้วย โครงการไอลีฟ พาร์ค พระราม 2 กม. 14 จ�ำนวน 379 หลัง โครงการสยามเนเชอรัลโฮม พระราม 2 กม.17.5 จ�ำนวน 283 หลัง และ โครงการไอลีฟ พาร์ค วงแหวน-รังสิต คลอง 4 จ�ำนวน 422 หลัง ที่ ผ ่ า นมา กานดา พร็ อ พเพอร์ ตี้ ได้ ติ ด ตั้ ง เสาไฟฟ้ า Solar Cell ในพื้นที่ส่วนกลางของหมู่บ้านจัดสรรร่วมกับกังหันลม

นิทรรศการเคลื่อนที่ Solar Move น�ำเสนอความรู้ด้านพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อใช้ ไฟฟ้าภาคครัวเรือน ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

51

Engineering Today March - April

2020


IT Update • กองบรรณาธิการ

เอปสันชูกลยุทธ์

‘Double LEAD’ หวังครองผู้นำ� ตลาดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ B2B ฉลองครบรอบ 30 ปีในไทยปี’63

“จากสถานการณ์ดังกล่าว เอปสัน ประเทศไทย คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2562 ยอดขายผลิตภัณฑ์พรินเตอร์ทั้งหมดของบริษัทฯ จะปรับตัวลดลง 6% เมื่อเทียบกับ ปี พ.ศ. 2561 โดยพรินเตอร์ซง่ึ เป็นตลาดขนาดใหญ่ทสี่ ดุ มีสดั ส่วน 70% ปรับตัวลดลง 6% ขณะทีต่ ลาดโดยรวมติดลบ 2 Digit ส่วนกลุม่ พรินเตอร์เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรม เติบโต 9% โปรเจกเตอร์ตดิ ลบ 22% และหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมเติบโต 12%” ยรรยง กล่าว ยืนหนึ่งผู้นำ� ตลาดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ B2B ของไทยในปี’62 ทั้งมูลค่าและจ�ำนวนยูนิต ยรรยง มุนีมงคลทร ผู้อ�ำนวยการ บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด

อปสั น ประเทศไทยวางกลยุ ท ธ์ ธุรกิจ ‘Double LEAD’ ตัง้ เป้าครอง ต�ำแหน่งผู้น�ำตลาดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์เพื่อ องค์กรธุรกิจในปี พ.ศ. 2563 อีกครั้ง หลัง จากบริษัทฯ ยังคงสามารถยืนต�ำแหน่งผู้น�ำ ตลาดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ B2B ของไทยใน ปี พ.ศ. 2562 ได้ทั้งในเชิงมูลค่าและจ�ำนวน ยูนติ ด้วยสัดส่วนการตลาด 38% และ 44% ตามล� ำ ดั บ เชื่ อ ภายใน 3-5 ปี เทรนด์ พรินเตอร์จะเปลี่ยนไป โดยองค์กรจะหันมา ซื้ อ บริ ก าร (Service) พริ น เตอร์ ม ากขึ้ น เตรียมศึกษาและตั้ง Print Center รองรับ ยรรยง มุ นี ม งคลทร ผู ้ อ� ำ นวยการ บริษทั เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2562 ถือเป็นปีที่มีความท้าทาย อย่างมากต่อเอปสัน ประเทศไทย เช่นเดียว กับอีกหลายบริษทั ไอทีในตลาด เพราะจะต้อง ปรั บ กลยุ ท ธ์ รั บ มื อ กั บ สภาพตลาดไอที ใ น ประเทศโดยรวมที่หดตัวลง 5.5% ซึ่งเป็น ผลมาจากภาวะเศรษฐกิ จ ชะลอตั ว ทั้ ง ผล กระทบจากปั ญ หาทั้ ง ในประเทศและต่ า ง ประเทศ ประกอบกับงบประมาณรายจ่าย รั ฐ บาลไม่ ส ามารถเบิ ก จ่ า ยได้ ต ามก� ำ หนด ซึง่ ส่งผลกระทบต่อโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ แผนการลงทุนและจัดซื้อจัดจ้าง รวมไปถึง แผนการด�ำเนินธุรกิจของภาคเอกชนอีกด้วย ท�ำให้องค์กรภาครัฐและเอกชนลงทุนในสินค้า กลุ่มไอทีลดลง

Engineering Today March - April

2020

อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังคงสามารถยืนต�ำแหน่งผู้นำ� ตลาดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ B2B (Business-to-Business) ของไทยได้ทงั้ ในเชิงมูลค่าและจ�ำนวนยูนติ ด้วยสัดส่วน การตลาด 38% และ 44% ตามล�ำดับ โดยช่วงที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ปรับกลวิธีในการ จ�ำหน่าย โดยเพิ่มความส�ำคัญกับช่องทางออนไลน์เพื่อเข้าถึง SME ทั่วประเทศได้ มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เมื่อต้นปีที่ผ่านมา เอปสันได้มี Official Store ใน Lazada และ Shopee เพือ่ ท�ำโปรโมชัน่ ทางการตลาดและจัดระเบียบ ซือ้ สินค้ากับร้านทีม่ ี Certified และจะจัดกิจกรรมทางการตลาดในเร็วๆ นี้ อีกทั้งยังโฟกัสในตลาด Replacement โดยเฉพาะในองค์กรที่ต้องการเปลี่ยนจากเลเซอร์พรินเตอร์และพรินเตอร์ที่ใช้ตลับ หมึกมาใช้อิงค์แทงก์พรินเตอร์ เพื่อประหยัดต้นทุนการพิมพ์และค่าไฟ รวมถึงลูกค้า ที่ต้องการเพิ่มจ�ำนวนพรินเตอร์เอปสันในองค์กรเป็นหลัก ยรรยง กล่าวต่อว่า ในปีทผี่ า่ นมา ยอดขาย ของอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ประเภทต่างๆ ของ บริษทั ฯ ประกอบด้วย อิงค์เจ็ทพรินเตอร์ความเร็วสูง ส�ำหรับองค์กรธุรกิจ Epson WorkForce ซึ่ง เป็นกลุม่ ผลิตภัณฑ์ทสี่ ร้างรายได้เติบโตมากทีส่ ดุ เพิ่มขึ้น 79% เนื่องจากสามารถเข้าไปแย่งส่วน แบ่งตลาดจากกลุม่ เครือ่ งถ่ายเอกสาร รองลงมา หุ่นยนต์และแขนกล คือ กลุม่ พรินเตอร์เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเติบโต มากกว่า 10% ที่มียอดขายเพิ่มขึ้น 10% ได้แก่ พรินเตอร์ ฉลากอุ ต สาหกรรม พริ น เตอร์ ห น้ า กว้ า งใช้ ภายในองค์กร พรินเตอร์เพื่ออุตสาหกรรมสิ่งทอ และพรินเตอร์ป้ายโฆษณา ส่วน กลุ่ม Epson EcoTank อิงค์เจ็ทพรินเตอร์รุ่นประหยัดเพื่อองค์กรธุรกิจทุกขนาด และ กลุ ่ ม ดอทเมทริ ก ซ์ พ ริ น เตอร์ คาดว่ า จะสามารถรั บ รู ้ ร ายได้ จ ากยอดขาย ณ สิ้นปีงบประมาณนี้ (31 มีนาคม 2563) ซึ่งไม่ต่างจากปีงบประมาณก่อนหน้านั้น ตั้งเป้ารักษาต�ำแหน่งผู้น�ำตลาดพรินเตอร์ของไทย ผ่านกลยุทธ์ ‘Double LEAD’ ทั้งนี้ เอปสัน ประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสู่ปีที่ 30 ของการก่อตั้งบริษัทใน ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งบริษัทฯ มีเป้าหมายในการรักษาต�ำแหน่งผู้น�ำตลาด พรินเตอร์ของประเทศไทย ผ่าน กลยุทธ์ ‘Double LEAD’ ประกอบด้วย LEAD ที่ 1 การน�ำเสนอคุณค่า (Value Proposition) 4 ประการ ที่สามารถแก้ไข Pain Point และตอบโจทย์ความต้องการด้านการพิมพ์งานภายในองค์กรธุรกิจต่างๆ ได้แก่

52


Low Total Cost of Ownership, Ecofriendly Environment, Advanced performance และ Digital Transformation ส่วน LEAD ที่ 2 คือกลยุทธ์การด�ำเนินงาน ผ่าน 4 กระบวนการ เพือ่ ถ่ายทอดคุณค่าที่ได้ กล่าวมาไปสู่ธุรกิจของลูกค้า ได้แก่ Launch, Educate, Assist และ Drive ส�ำหรับคุณค่าทั้ง 4 ประการ ประกอบ ด้วย Low Total Cost of Ownership หรือ ต้นทุนการเป็นเจ้าของที่ถูกลง ซึ่งเป็นสิ่งที่ ผู้ประกอบการทุกรายต้องการ เพราะท�ำให้ ต้นทุนการผลิตหรือรายจ่ายในองค์กรถูกลง ยกตัวอย่างเช่น อิงค์เจ็ทพรินเตอร์เอปสันทีใ่ ช้ เทคโนโลยีหัวพิมพ์ไมโครปิเอโซ และหัวพิมพ์ รุ่นใหม่ PrecisionCore Line สามารถพิมพ์ งานคุณภาพสูงในความเร็วสูงได้อย่างต่อเนือ่ ง และไม่มีขั้นตอนหรือชิ้นส่วนอุปกรณ์ในการ พิมพ์มากมายเหมือนเลเซอร์พรินเตอร์ ส่งผล ให้ราคาเครื่องและค่าพิมพ์ต่อแผ่นถูกกว่า ทั้งยังช่วยประหยัดค่าไฟได้มากกว่าการพิมพ์ ด้วยเลเซอร์พรินเตอร์ถึง 90% ด้านการบ�ำรุง รักษาก็ยงั ท�ำได้งา่ ยและถูกกว่า รวมไปถึงอายุ การใช้งานยังนานกว่าอีกด้วย ด้าน Eco-friendly Environment อิงค์เจ็ทพรินเตอร์ความเร็วสูงของเอปสันถูก พัฒนาให้ใช้พลังงานทีน่ อ้ ยลง และเป็นมิตรต่อ สุ ข ภาพของผู ้ ใ ช้ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มในองค์ ก ร นอกจากนี้ ยังเป็นเครื่องที่ไม่ใช้ความร้อน ในกระบวนการพิ ม พ์ Heat Free ด้ า น ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานขององค์กรที่ ดีขึ้น (Advanced Performance) เอปสันมี ไลน์ผลิตภัณฑ์อิงค์เจ็ทพรินเตอร์ที่ครบครัน มีจ�ำนวนรุ่นจ�ำหน่ายในท้องตลาดมากที่สุด ช่วยเพิม่ ความเร็วและให้ผลงานพิมพ์คณ ุ ภาพ สูง รวมไปถึงรองรับการพิมพ์บนวัสดุทมี่ คี วาม หลากหลายทัง้ ประเภท ขนาด และความหนา ท�ำให้บริษทั ต่างๆ สามารถยกระดับประสิทธิภาพ การพิมพ์งานในองค์กรและธุรกิจการพิมพ์ สามารถสร้างรายได้จากไลน์ธุรกิจ และด้าน Digital Transformation ปัจจุบัน 3 ใน 4 ของ SME ทัว่ ภูมภิ าคอาเซียนได้นำ� เทคโนโลยี ดิจทิ ลั เข้ามาใช้ในองค์กร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การด�ำเนินธุรกิจและสร้างการเติบโตอย่าง ยั่ง ยืน และเพื่อสอดรับกับกระแสดังกล่าว เอปสันจึงมีองิ ค์เจ็ทพรินเตอร์ประสิทธิภาพสูง ออกสู ่ ต ลาดอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ สนั บ สนุ น

กระบวนการ Digital Transformation ทางธุรกิจ หนึง่ ในอุตสาหกรรมทีไ่ ด้นำ� พรินเตอร์ เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมของเอปสันไปใช้เสริมในกระบวนการผลิตมากทีส่ ดุ ได้แก่ อุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอ ซึ่ง Epson SureColor F-Series ได้ถูกน�ำเข้าไปใช้ใน โรงงาน เพื่อเพิ่มไลน์การพิมพ์แบบ Print on Demand รองรับการผลิตสินค้าตาม ดีไซน์และออเดอร์ของลูกค้าในจ�ำนวนจ�ำกัด ช่วยลดปริมาณสินค้าในสต็อกและลด ค่าใช้จ่ายและปริมาณของเสียจากการผลิตลงได้ ยรรยง กล่าวว่า ในส่วนของ LEAD ที่ 2 เอปสันได้วางกลยุทธ์การด�ำเนินงาน เพื่อน�ำเสนอคุณค่าทั้ง 4 ด้านให้แก่ลูกค้าองค์กรธุรกิจของบริษัทฯ ประกอบด้วย 1. Launch การเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่สู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครอบคลุมการ พิมพ์ทุกประเภทงาน ในองค์กรและทุกธุรกิจการพิมพ์ โดยผ่านช่องทางตัวแทน จ�ำหน่ายและอีคอมเมิร์ซ 2. Educate ให้ความรู้แก่ลูกค้าและตัวแทนจ�ำหน่าย เกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมถึงคุณค่าในด้านต่างๆ ทีเ่ อปสันสามารถมอบให้แก่ลกู ค้า ได้อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ รักษาระดับความมัน่ ใจและความคุน้ เคยในเทคโนโลยีของเอปสัน รวมถึงการให้ความรู้ เพือ่ เพิม่ ความช�ำนาญแก่ทมี งานของตัวแทนจ�ำหน่ายในการดูแล และซ่อมแซมผลิตภัณฑ์ของเอปสัน ผ่านการจัดอบรม และสัมมนาอย่างต่อเนื่อง ภายใต้สถานการณ์เชื้อไวรัส COVID-19 มีการจัดสัมมนาทางออนไลน์ 3. Assist ให้ความช่วยเหลือลูกค้า ทั้งในด้านการติดตั้งและการบ�ำรุงรักษา รวมไปถึงการให้ ค�ำแนะน�ำในการขยายแพลตฟอร์มการพิมพ์ภายในองค์กร ผ่านการใช้งานแบบเช่า เครือ่ งและคิดค่าบริการแบบรายแผ่นภายใต้ชื่อ Epson EasyCare 360 ส�ำหรับกลุ่ม ลูกค้าที่ใช้เครือ่ งพิมพ์ Epson WorkForce และบริการเหมาจ่ายแบบรายเดือนภายใต้ ชื่อ Epson EasyCare Mono ส�ำหรับกลุ่มลูกค้า Epson EcoTank M-series ที่ สามารถเช่าเครื่องพร้อมหมึกแบบเหมาจ่ายรายเดือน โดยมีแพ็กเกจกลาง สัญญา 2-3 ปี ซึ่งเป็น 2 โมเดลทางธุรกิจใหม่ ที่เพิ่งเปิดตัวไปเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา รวมทัง้ มีการให้เช่าเครือ่ งพิมพ์ผา้ หน้ากว้างขนาดใหญ่เป็นม้วนในปีนี้ โดยคาดว่าจะท�ำ ยอดขายได้ 50% ของพรินเตอร์ในปี พ.ศ. 2563 นี้ “ในอนาคต เอปสันมีแนวคิดที่จะจัดตั้ง Print Center เพื่อให้บริการด้านการ พิมพ์โดยเฉพาะด้วยเชือ่ ว่าภายใน 3-5 ปี เทรนด์ของพรินเตอร์จะเปลีย่ นไป โดยองค์กร จะหันมาซื้อบริการ (Service) พรินเตอร์มากขึ้น” ยรรยง กล่าว และ 4. Drive กระตุ้นลูกค้าเดิมและลูกค้ากลุ่มเป้าหมายให้เกิดความสนใจ ในการลงทุนกับเอปสันในอนาคต ผ่านโปรโมชั่นและกิจกรรมทางการตลาดต่างๆ และมีแผนจะปรับเปลี่ยนโชว์รูมในปลายปีนี้ เผยยอดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ ในจีนเติบโต ท่ามกลางวิกฤต COVID-19 ส�ำหรับภาวะการแพร่ระบาดของ COVID-19 นั้น ถึงแม้จะไม่ได้ส่งผลกระทบ ต่อธุรกิจของบริษัทฯ โดยตรง แต่อาจท�ำให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคลดต�่ำลงและ ส่งผลต่อบรรยากาศการลงทุนในภาคธุรกิจโดยรวม อย่างไรก็ตาม จากสถานการณ์ COVID-19 ในจีน ท�ำให้ยอดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์เติบโต เนื่องจากมีการปิดโรงเรียน เรียนที่บ้าน ไม่สามารถแชร์พรินเตอร์ แต่ละบ้านจะต้องซื้อพรินเตอร์ ท�ำให้ยอดขาย เติบโต ซึ่งเป็นตัวอย่างของการเปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาสอย่างแท้จริง “ในปี พ.ศ. 2563 นี้ เป็นปีครบรอบ 30 ปีการก่อตัง้ เอปสัน ประเทศไทย บริษทั ฯ ตัง้ เป้าทีจ่ ะรักษาต�ำแหน่งผูน้ �ำตลาดอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ B2B ของประเทศไทยให้ได้ไว้ อีกครั้ง พร้อมกับขยายฐานลูกค้าให้กว้างออกไปสู่กลุ่มธุรกิจและอุตสาหกรรมใหม่ๆ ผ่านกลยุทธ์และคุณค่าของเอปสันทีส่ ามารถสร้างความแตกต่างให้กบั ธุรกิจของลูกค้า ได้อย่างชัดเจน ทัง้ นีเ้ ราต้องการให้ยอดขายเติบโตเท่ากับปี พ.ศ. 2561 คือเติบโตราว 6% และยังเชื่อว่าสถานการณ์ต่างๆ จะกลับมาสู่ภาวะปกติในไม่ช้า” ยรรยง กล่าว ทิ้งท้าย

53

Engineering Today March - April

2020


IT Update • *สุภัค ลายเลิศ

วิถี ไอที ปี พ.ศ. 2563

วิถีสู่โลกยุคอัตโนมัติ ดู

เ หมื อ นว่ า บริ ษั ท ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ และให้ค�ำปรึกษาด้านไอที อาทิ การ์ทเนอร์ ฟอเรสเตอร์ ต่างคาดการณ์ ทิ ศ ทางของโลกนั บ จากปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ก�ำลังเดินหน้าสู่ยุคของระบบ อั ต โนมั ติ (The Age of Automation) อย่างเต็มรูปแบบมากขึ้น ไฮบริ ด คลาวด์ (Hybrid Cloud) เอดจ์ คอมพิวติ้ง (Edge Computing) IoT (Internet of Things) AR (Augmented Reality) ML (Machine Learning) ปัญญา ประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence) หุน่ ยนต์ (Robot) ดิจทิ ลั ทวิน (Digital Twin) บล็อกเชน (Blockchain) ระบบจัดการและ วิเคราะห์ข้อมูล ระบบความปลอดภัยด้าน ไอที แ ละข้ อ มู ล ยั ง คงทรงอิ ท ธิ พ ลต่ อ การ พั ฒนาระบบไอที อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ว่ า กั นว่ า หากองค์ ก รสามารถบู ร ณาการการใช้ ง าน เทคโนโลยีข้างต้น ในการเข้าถึงความต้องการ ของมนุษย์ (เช่น ลูกค้า และ พนักงาน) และ ครอบคลุมพื้นที่ในการด�ำรงชีวิต (เช่น บ้าน สถานที่ท�ำงาน) ซึ่งการ์ทเนอร์เรียกกลยุทธ์ นี้ว่า People-centric Smart Space จะช่วย เพิ่ ม โอกาสทางธุ ร กิ จ ได้ อี ก มากมาย โดย เฉพาะการพั ฒนาระบบงานที่ มี ค วามเป็ น อัตโนมัติ (Autonomous) ทีท่ ำ� ให้เราสามารถ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีได้มากขึ้น และ ง่ายขึ้น โดยไม่จ�ำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญ สูงมากนัก ตลอดจนการออกแบบแพลตฟอร์ม การน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ บริการ หรือกิจกรรม การตลาดได้ตามคาดหวังและประสบการณ์ ซึ่งส่งตรงถึงตัวกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่าง

มีประสิทธิภาพ โดยทิศทางการพัฒนาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่เราจะได้เห็น มากขึ้นในปีนี้ ได้แก่ การบูรณาการทางเทคโนโลยีหลายรูปแบบเพื่อมุ่งสู่ความเป็น ไฮบริด อินเทล ลิเจนท์ (Hybrid Intelligence: HI) มากขึ้น เช่น คลาวด์แบบไฮบริด ซึ่งเป็นตัวอย่าง หนึ่งที่เปิดกว้างให้องค์กรสามารถผสมผสานการใช้งานหลายรูปแบบ ทั้งคลาวด์ ส่ ว นตั ว และคลาวด์ ส าธารณะ จากหลากหลายผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารไอที ใ ห้ เ หมาะกั บ ความต้องการเฉพาะด้าน ผสมกับพลังของ เอดจ์ คอมพิวติ้ง (Empowered Edge) ผู้ช่วยคนส�ำคัญที่จะท�ำให้อุปกรณ์ใช้งานปลายทางมีความฉลาดในการประมวลผล ด้วยตัวเอง ซึ่งจะช่วยลดปริมาณงานของคลาวด์ส่วนกลาง ทั้งสนับสนุนให้แนวคิด การสร้างคลาวด์กระจายออกไปตามจุดต่างๆ (Distributed Cloud) มีความเป็นไป ได้มากขึน้ ซึง่ จะท�ำให้ระบบไอทีโดยภาพรวมท�ำงานได้รวดเร็วขึน้ ประกอบกับองค์กร ธุรกิจหรือผูใ้ ช้งานต่างต้องการแอพพลิเคชัน่ ทีป่ รับเปลีย่ นได้ตามทีต่ นเองต้องการมาก ขึน้ เรือ่ ยๆ ถึงกว่า 40% เมือ่ ถึงปี พ.ศ. 2567 ซึง่ ไม่เพียงจะท�ำให้องค์กรต้องเร่งพัฒนา โซลูชนั่ หลักในการด�ำเนินธุรกิจแล้ว ยังต้องเพิม่ แอพพลิเคชัน่ ในลักษณะ คอนเทนเนอร์ (Container) และ ไมโครเซอร์วิส (Microservice) แยกออกเป็นส่วนๆ ส�ำหรับงาน หรือบริการบางประเภท เพื่อให้องค์กรสามารถสร้างและปรับปรุงบริการการใช้งาน ได้เร็ว ทันการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจและทันใจผู้ใช้มากขึ้น นอกจากนี้ ความนิยมในการเข้าถึงบริการและแอพพลิเคชั่นจากที่ไหนก็ได้ โดยอิสระผ่านสมาร์ทโฟน หรือ อุปกรณ์ BYOD (Bring Your Own Device) โดยยัง คงรักษาประสิทธิผลของงานได้เหมือนเดิม หรือดียิ่งกว่าเดิม เป็นสิ่งที่การ์ทเนอร์คาด การณ์ว่า จนถึงปี พ.ศ. 2566 กว่า 30% ขององค์กรธุรกิจก�ำลังปรับเปลี่ยนนโยบาย ในการติดตามผลการท�ำงานของพนักงาน หรือติดตามพฤติกรรมลูกค้าที่ใช้บริการ ผ่านอุปกรณ์ BYOD ต่างๆ มากขึ้น อย่างไรก็ตาม องค์กรก็ต้องมีแนวทางควบคุม การใช้งานอุปกรณ์เหล่านี้ เพื่อการใช้งานเฉพาะในขอบเขตที่เป็นประโยชน์และ เหมาะสมกับธุรกิจไว้ด้วย ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence) จะถูกพัฒนาให้เป็นไฮบริด มากขึ้นในมิติต่างๆ เช่น การเติมเต็มความเป็นอัตโนมัติให้กับระบบงาน ใช้เป็น ตัวตรวจจับพฤติกรรมเสี่ยงต่อระบบความปลอดภัย หรือพัฒนาให้ฉลาดพอที่จะ

*กรรมการอ�ำนวยการ และประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด

Engineering Today March - April

2020

54


สุภัค ลายเลิศ กรรมการอ�ำนวยการ และประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ บริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด

ประเมินพฤติกรรมหรือสิ่งที่มนุษย์รู้สึก ซึ่ง การ์ทเนอร์เรียกสิง่ นีว้ า่ Artificial Emotional Intelligence: AEI ทั้งยังท�ำนายต่ออีกว่า ในปี พ.ศ. 2567 ปัญญาประดิษฐ์ที่สามารถ จับอารมณ์ความรู้สึกของมนุษย์อย่างลึกซึ้ง และแม่นย�ำ จะมีผลต่อการสร้างสรรค์โฆษณา สินค้าออนไลน์เกินกว่าครึ่ง รวมถึงมีผลต่อ การตัดสินใจซือ้ ของลูกค้า ขณะเดียวกัน 28% ของนักการตลาดทั้งหลายต่างจัดอันดับให้ ทั้ ง AI และ ML มี ผ ลต่ อ การขั บ เคลื่ อ น การตลาดในอนาคต เพิ่มเติมด้วยเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) โดย ฟอร์เรสเตอร์ กล่าวว่า นับจากปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป IoT จะเดิน เครื่ อ งเต็ ม ที่ สู ่ ยุ ค 5G ด้ ว ยศั ก ยภาพใน การรั บ -ส่ ง ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ เ วลาน้ อ ยลงเรื่ อ ยๆ (Low-Latency) โดยเฉพาะการใช้งานในภาค อุตสาหกรรม ส�ำหรับการเก็บและแชร์ข้อมูล ผ่ า นอุ ป กรณ์ เ ซ็ น เซอร์ ใ นการเชื่ อ มโยงการ บริ ห ารงานโรงงานกั บ เครื่ อ งจั ก รในสาย การผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจ ติดตาม หรือตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งทีม่ า ที่ไปของสินค้าในระบบซัพพลายเชน หรือ ระบบขนส่งได้ในแบบเรียลไทม์ หรือการเก็บ รวบรวมและเชือ่ มโยงระบบข้อมูลจากอุปกรณ์ IoT ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตนับเป็นพันๆ ล้ า นชิ้ น ในการสร้ า งระบบนิ เ วศด้ า นไอที (Ecosystem) เพื่ อ การจั ด การในองค์ ก ร การด�ำเนินธุรกิจ การสือ่ สารกับลูกค้า ได้อย่าง เหมาะสมและคุ ้ ม ค่ า กั บ การลงทุ น ทาง เทคโนโลยี การบริหารจัดการข้อมูลเพื่อประโยชน์ ในการตั ด สิ น ใจทางธุ ร กิ จ หรื อ บิ ส ซิ เ นส

อินเทลลิเจนท์ (ฺBusiness Intelligence) จะยังคงอยู่ต่อไป แต่จะมีประสิทธิภาพสูง ขึ้นกว่าเดิม ด้วยการเติมเทคโนโลยีด้าน AI เพื่อช่วยจัดการกับข้อมูลระดับ บิ๊กดาต้า (Big Data) การสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกและรอบด้าน (Data Analytics) ให้ สามารถตอบโจทย์ธุรกิจได้จริง หรือ การออกแบบ ระบบจัดการชุดข้อมูล (Data Catalog) เพื่อแก้ปัญหาการจัดเก็บข้อมูลที่ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ใช้งาน หรือไม่ สร้างมูลค่าใดๆ ให้กบั ธุรกิจ ข้อมูลทีเ่ ก็บมาเฉพาะใช้งานในหน่วยงานเดียว ไม่สามารถ ปรับเปลี่ยนหรือขยายรูปแบบการเก็บข้อมูลออกไปได้ เป็นต้น ส่วนเทคโนโลยี บล็อกเชน ซึ่งถึงแม้มาตรฐานความปลอดภัยในการดูแลบัญชี ธุรกรรมออนไลน์จะยังไม่นิ่ง แต่ผู้ใช้ก็ไม่รีรอที่จะซื้อขายใช้จ่ายเงินในตลาดออนไลน์ ผ่านสมาร์ทโฟน หรือแพลตฟอร์มการเงินต่างๆ อาทิ กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ หรือ คิวอาร์โค้ด โดยคาดว่าจะเพิ่มสูงถึง 50% ในปี พ.ศ. 2568 เลยทีเดียว ขณะเดียวกัน การแก้ไขปัญหาเชิงเทคนิคของบล็อกเชนยังคงด�ำเนินต่อไป เช่น การกระจายข้อมูล ให้เข้าถึงได้ การเข้ารหัสด้วยชุดข้อมูลเสมือนแบบโทเคน (Token) เพื่อให้หลายๆ บล็อกเชนสามารถท�ำงานร่วมกัน หรือปรับขยายระบบเพือ่ รองรับข้อมูลหรือผูใ้ ช้ทเี่ พิม่ ขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม เหรียญย่อมมีสองด้าน และด้านมืดของไอทีที่ยังเป็นปัญหาใหญ่ คือ การโจมตีจากอาชญากรไซเบอร์ การละเมิดสิทธิและข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึง ชั้นความลับของข้อมูลทางธุรกิจโดยบุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาต การขโมยรหัสผ่าน เพื่อเข้าถึงบัญชีธุรกรรมออนไลน์ การเจาะช่องโหว่ของระบบเพื่อก่อกวนการท�ำงาน รวมถึงการปล่อยไวรัสแรนซัมแวร์ บนโลกดิจิทัลจะยังคงเกิดอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น องค์กรควรให้ความใส่ใจกับการสร้างปราการ ความปลอดภัยไอที เครือข่ายและข้อมูล ให้ครอบคลุมทั้งด้านเทคนิคและนโยบาย ในเชิงเทคนิค เช่น ระบบป้องกันไวรัส เกตเวย์ ไฟร์วอลล์ ซึ่งถือเป็นระบบพื้นฐานที่ต้องมีอยู่แล้วภายใน ทุกองค์กร หรือบนคลาวด์ทกุ ประเภท การพัฒนาระบบพิสจู น์ตวั ตน (Authentication) เมื่อเวลามีการร้องขอข้อมูลเชิงลึก หรือเข้าใช้งานในระบบ การเฝ้าระวังการรับ-ส่ง ข้อมูลที่ได้มาจากการใช้งาน AI ML หรือ IoT เนื่องจากเป็นเป้าโจมตีที่อาชญากร ไซเบอร์ชื่นชอบ เป็นต้น ส่วน ในเชิงนโยบาย ก็เช่น การวางมาตรฐานด้านจริยธรรมทางเทคโนโลยี ที่ซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ (Transparency and Traceability) เพื่อไม่ให้ก้าว ล่วงความเป็นส่วนตัวของผู้คนจนเกินไป เพราะทุกคนต่างฉลาดพอที่จะเดาได้ว่า ข้อมูลของเขาก�ำลังถูกเก็บและน�ำไปใช้อย่างไร รวมถึงหมั่นติดตามและคอยปรับปรุง นโยบายด้านความปลอดภัยให้เป็นไปตามข้อบังคับ หรือกฎหมายความปลอดภัยจาก ในและนอกประเทศ เช่น พ.ร.บ. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ GDPR (General Data Protection Regulation) มาตรฐานทางบัญชีใหม่ ฉบับที่ 9 (International Financial Reporting Standards: IFRS 9) หรืออื่นๆ เพื่อให้ระบบความปลอดภัย มีความทันสมัย ทันเหตุการณ์ และเป็นไปตามมาตรฐานสากลอยู่เสมอ เป็นเรื่องน่ายินดีที่ การ์ทเนอร์ คาดว่า การใช้จ่ายด้านไอทีทั่วโลกจะโตเพิ่มขึ้น อีก 3.7% ในปี พ.ศ. 2563 จากยอดใช้จ่ายรวม 3.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ในปี พ.ศ. 2562 และถึงแม้ตัวเลขส่วนใหญ่ถูกใช้จ่ายไปกับเรื่องซอฟต์แวร์ส�ำหรับองค์กร ธุรกิจ แต่ตัวเลขใช้จ่ายด้านความปลอดภัยก็สูงถึง 10.5% ในปี พ.ศ. 2562 ทั้งนี้ ตัวเลขที่ใช้จ่ายไปกับการรักษาความปลอดภัยบนคลาวด์ คาดว่าจะโตถึง 41.2% ในอีก 5 ปีข้างหน้า ทัง้ หมดนี้ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ทีส่ ะท้อนให้เห็นว่า วิถโี ลกยุคระบบอัตโนมัตทิ มี่ ี ศักยภาพและเสถียรภาพนัน้ ช่วยให้มนุษย์มอี สิ ระในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี แต่ก็ต้องเป็นระบบที่ต้องตอบสนองวิถีชีวิตทั้งในโลกความเป็นจริง และชีวิตใน เวอร์ชนั่ ดิจทิ ลั ได้อย่างชาญฉลาด มีคณ ุ ภาพ และมีความปลอดภัยสูงเป็นส�ำคัญ

55

Engineering Today March - April

2020


Logistics • รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

บทวิพากษ์ภูมิศาสตร์โลจิสติกส์

กรณี OBOR-คลองไทย-สะพานเกาะสมุย

ณาจารย์มกั จะสอนนิสติ นักศึกษาไทย ให้พึงระลึกเสมอว่า ในเรื่องราวต่างๆ ของข้อมูลข่าวสาร บทความ บทวิจัย หรือแม้แต่ ค�ำสอนของครูบาอาจารย์เองก็ตามนัน้ จะประกอบ เป็น 2 ส่วน 1) ฐานข้อมูลที่เป็นแหล่งข่าวสารนั้น จะเป็น “ข้อมูลดิบ” ที่เป็นความจริง เป็นตัวเลขจริง ที่พิสูจน์ได้นั้น อาจสามารถเชื่อถือได้ในระดับหนึ่ง จากการอ้ า งอิ ง หรื อ พิ สู จ น์ แ ล้ ว และ 2) การ วิเคราะห์ การแปลความหมาย วิจารณ์หรือแม้แต่ ค� ำ สอนทางวิ ช าการที่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ ง แยกแยะและพิ จ ารณาเองอย่ า งรอบคอบหรื อ “โปรดใช้วิจารณญาณ” เพราะอาจเกิดความเอน เอียงได้เสมอไม่ว่าจะเกิดจากความไม่รู้จริง หรือ บิดเบือนเพื่อเกิดผลประโยชน์แก่ตนเองก็ตาม บทความครั้งนี้มีความแตกต่างจากบทความ เดิมๆ ของผูเ้ ขียนทีอ่ าจเกิดประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ บ้างไม่มากก็น้อย แม้อาจจะตรงไปตรงมาเกินไป แต่ดว้ ยความทีไ่ ด้ศกึ ษาด้วยทุนหลวงทุนแผ่นดินจาก ต่างประเทศทางด้านนี้โดยตรง จึงต้องขอแสดงบท วิพากษ์นี้โดยจะเน้นในเรื่องภูมิศาสตร์โลจิสติกส์ ที่ เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงทางทะเลของประเทศไทย โดยมิได้มีวัตถุประสงค์จะขัดขวางความร่วมมือใดๆ ของชาติมหาอ�ำนาจ แต่อยากขอให้ภาครัฐบาลมี การพิจารณารายละเอียดโครงการอย่างรอบคอบ ในหลายมิติด้วย ในปัจจุบันเป็นโลกของ IoT (Internet of Things) ที่ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารแผ่ ก ระจายไปทั่ ว โลก

ดังตัวอย่างปีก่อนๆ นี้มีหน่วยงานบรรษัทชั้นน�ำแห่งหนึ่ง Corporation ของ ต่างประเทศ บรรษัทแห่งนี้ได้ค้นพบทีมวิจัยของไทยจากข่าวสารบทความ ในวารสารวิ ศ วกรรมและสถาปั ต ยกรรมไทยเหล่ า นี้ จึ ง ได้ ติ ด ต่ อ มายั ง ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เพื่อขอให้ร่วมมือเป็นคณะวิจัยในโครงการ “Kra Canal” เพื่อ ท�ำ Proposal Project เสนอต่อรัฐบาลไทยต่อไป จากการประสานงานกัน เบื้องต้นกว่า 3 เดือน จนได้รูปแบบแนวทางการวิจัยแล้ว ทางบรรษัทก็เตรียม จะเซ็นสัญญาแบบเจาะจงกับทีมวิจยั ของมหาวิทยาลัยนี้ แต่ทางทีมวิจยั ฯ ก็ตอ้ ง ปฏิเสธไป เพราะพบว่ามันไม่ใช่เป็นงานวิจยั ทางวิชาการธรรมดาหรือ “งานวิจยั ในห้องสมุด” เพื่อวิชาการเพื่อการศึกษาความรู้เท่านั้น แต่ครั้งนี้เป็น “โครงการ ของจริง” เป็นโครงการ Mega Project จริง ที่บรรษัทแห่งนี้มีศักยภาพที่จะ สร้างโครงการนีใ้ ห้เป็นจริงได้ จากการสนับสนุนของรัฐบาลประเทศมหาอ�ำนาจ ของเขา จึงปฏิเสธไปด้วยไม่ต้องการที่จะเกี่ยวข้องกับ Mega Project ที่ ด�ำเนินการโดยต่างชาติ และปัจจุบันก็ยังไม่ทราบว่าจะเกิดผลกระทบกับ ประเทศชาติต่อไปอย่างไร (ดังได้เคยลงพิมพ์เรื่องราวในบทความเดิมมาแล้ว) ด้ ว ยสาระส� ำ คั ญ ของโครงการหนึ่ ง แถบหนึ่ ง เส้ น ทาง One Belt One Road (OBOR) นั้น เคยมีการวิเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ Maritime Transportation หลายท่านว่า เกี่ยวข้องอย่างยิ่งยวดกับโครงการ “Kra Canal” อย่างยิง่ ด้วยเส้นทางขนส่งทางทะเลของช่องแคบมะละกานัน้ เป็นเส้นทางเดิน เรือพาณิชย์สากลของทุกชาติผ่านได้ตามกฎการเดินเรือสากล แต่กองทัพเรือ จี น จะไม่ ส ามารถผ่ า นช่ อ งแคบนี้ เ พื่ อ ขยายแสนยานุ ภ าพทางทะเลออกสู ่ มหาสมุทรอินเดียและตะวันออกกลางหรือยุโรปได้ อีกทั้งยังมีกองทัพเรือ สหรัฐอเมริกาประจ�ำการที่สิงคโปร์ขวางอยู่ กองทัพเรือจีนจึงประหนึ่งถูกขังอยู่ ด้านทะเลจีนใต้เพียงด้านเดียว แต่หากประเทศจีนสามารถขุดคลองไทยลัดทะเล ได้ ดังมีข้อเขียนปรากฏชัดเจนในร่างสัญญาเดิมว่า ประเทศจีนสามารถบริหาร จัดการคลองลัดได้เองและสามารถใช้คลองลัดเป็นเส้นทางของกองทัพเรือจีน ผ่านออกด้านมหาสมุทรตะวันตกได้

การส�ำรวจเบื้องต้นของโครงการด้วยเฮลิคอปเตอร์ รถโมบาย และโดรนทหารของบรรษัทจีน

Engineering Today March - April

2020

56


ด้ ว ยเหตุ นี้ ท ่ า นผู ้ อ ่ า นคงจะเข้ า ใจในความ วิตกกังวลของทีมวิจยั ไทย ในเรือ่ งการบริหารจัดการ ของคลองลัดแห่งนีไ้ ด้อย่างชัดเจน และหากตัง้ กฎว่า ให้คลองไทยเป็นคลองลัดทะเลส�ำหรับเรือพาณิชย์ เท่านัน้ ประเทศจีนคงไม่ยอมขุดคลองให้ฟรีหรืออาจ ใช้เทคนิคยุทธวิธใี ดๆ ทีจ่ ะสามารถน�ำกองเรือรบจีน ผ่านได้เองโดยสะดวก

“ระเบียงเศรษฐกิจ” ที่จีนสนับสนุนอาจ น�ำอุปสรรคทางการเงินมาสู่ปากีสถาน”

(เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล, 2020) ...ขณะที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ระหว่ า งจี น กั บ ปากีสถานเริ่มต้นขึ้นแล้วนั้น เอเชียใต้กลับยังคง ไม่ได้รับประโยชน์ที่สัญญาไว้ นักวิเคราะห์เกรงว่า มูลค่าของต้นทุนจะมากกว่าผลตอบแทน จีนได้ ขยายสินเชื่อหลายพันล้านเหรียญไปยังปากีสถาน ภายใต้เงื่อนไขส่วนใหญ่ที่ไม่เปิดเผยของ OBOR โดยจะเชือ่ มต่อเมืองคัชการ์ของจีนกับท่าเรือกวาดาร์ ของปากีสถานรวมถึงถนน ทางรถไฟ ท่อน�้ำมัน “รัฐบาลปากีสถานเสี่ยงต่อการล่มสลายทางการเงิน จากการกูย้ มื เงินจากจีนมากเกินไปในขณะทีม่ หี นีส้ นิ มากมายอยู่แล้ว” ผู้เชี่ยวชาญบอกว่าจีนให้สินเชื่อแก่ศรีลังกา แต่ศรีลังกาผิดนัดจ่ายสินเชื่อ (มีหนี้สาธารณะ 88% ต่อ GDP) บริษทั รัฐวิสาหกิจจีนจึงเข้าควบคุมท่าเรือ ฮัมบันโตตาที่ตนให้เงินสนับสนุน... ขอเกริ่นน�ำเนื้อหางานวิจัยที่มีความเชื่อมโยง กับหัวข้อบทความคือ ได้มีการเสนองานวิจัยทาง ผังเมืองโลจิสติกส์เรือ่ ง Navy Station Center NSC: Samui Island, The Gulf of Thailand ที่ได้รับ การตอบรับให้นำ� เสนอผลงานในการประชุมวิชาการ ACEAIT: The 7 th Annual Conference on Engineering and Information Technology March 24-26, 2020 Osaka, Japan Conference Theme: Sustainable Energy http://www.aceait. org/index.php ซึ่งในเนื้อหาสาระเป็นการวิเคราะห์ เชิงภูมิโลจิสติกส์ ในความเหมาะสมทางภูมิศาสตร์ ของเกาะสมุยที่อยู่กึ่งกลางครอบคลุมอาณาบริเวณ ทั้งหมดของอ่าวไทย การวิเคราะห์ส่งเสริมความ เหมาะสมที่จะมีโครงการศูนย์สถานีของกองทัพเรือ เพื่ อวั ต ถุ ป ระสงค์ 3 ประการ คื อ 1) บรรเทา สาธารณภัยทางทะเล 2) ส่งเสริมกิจกรรมโลจิสติกส์ ทางทะเล 3) รักษาความมั่นคงทางทะเล

แสดงเส้นทางที่แท้จริงของโครงการ One Belt One Road (Land-Sea)

อิทธิพลและอาณาเขตพิพาททางทะเลจีน-เอเชียในทะเลจีนใต้

กองทัพเรือจีนถูกจ�ำกัดอาณาเขตในทะเลจีนใต้ แต่จะมีทางออกมหาสมุทรอินเดียจากคลองไทย

57

Engineering Today March - April

2020


Navy Station Center NSC: Samui Island, The Gulf of Thailand

Nowadays the world is facing with many natural disasters, earthquakes, droughts, floods, Tsunami even Typhoon and other sea disasters. Nothing can force against nature, however reduction of the impacts occurred from disasters are what we expect. Since Thailand is one of the countries that have faced with disaster especially sea disaster because of its location lying upon Indian Ocean and Chinese Ocean. So, with the corporation of Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR) and Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study (SEAC4RS) from NASA, U.S.A., the Royal Thai Navy aims to study on location of Sea Rescue center. Form pilot study location the east coast of the Gulf of Thailand. Samui Island, Surat Thani Province is an appropriated place to set up the multipurpose facility for 3 major aspects; 1) Disaster relief of disasters effect. 2) Government Policy for Sea-Logistics Transportation. 3) Marine security to protect Thailand territorial water. The research has started at this point with a question “when The Royal Thai Navy set up Navy Station Center NSC at Samui Island, Surat Thani Province for multipurpose facilities, what is a sustainable project planning which is suitable for Thailand?” The conclusion is that the suitable Navy Station Center NSC which a corporation from HADR and SEAC4RS could be considered under the roles of Thailand’s strategy in terms of: 1) Administration of the center 2) Intercorporation 3) National Security 4) Logistics Management 5) Urban and Engineer Planning 6) Maritime Planning and 7) Port Planning. ในส่ ว นนี้ จ ะขอเสนอบทวิ พ ากษ์ ที่ อ าจเกิ ด ประโยชน์ แ ก่ ป ระเทศชาติ บ ้ า งไม่ ม ากก็ น ้ อ ย เป็นล�ำดับขั้นตอนโดยแบ่งเป็นส่วนๆ ตามเนื้อหา สาระต่อไปนี้

1. “ยุคสงครามเศรษฐกิจ Economic War”

ปัจจุบันประเทศจีนและสหรัฐอเมริกาก�ำลังท�ำสงครามเศรษฐกิจการค้า และโลจิสติกส์ ซึง่ สงครามนีก้ ำ� ลังเคลือ่ นไหวไปทัว่ โลกรวมทัง้ ประเทศไทยด้วย ในปัจจุบนั ยุคสมัยของโลกเปลีย่ นไปแล้วจาก “ยุคโลกาภิวตั น์ Globalization” ที่ประเทศทั่วโลกหากจะมีพฤติกรรมกิจกรรมอะไรโดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้อง ระหว่างประเทศนัน้ จะต้องเคารพกฎเกณฑ์ขอ้ บังคับของนานาชาติทสี่ ง่ ผลมายัง ประเทศต่างๆ รวมทัง้ ประเทศไทยด้วย ต่อมากลายเป็น “ยุคสงครามเศรษฐกิจ Economic War” ของการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ การค้ า และโลจิ ส ติ ก ส์ ที่มหาอ�ำนาจสองขั้วเช่นจีนและสหรัฐอเมริกา จะก�ำหนดนโยบายของตนออก มาอย่างไรก็ได้ เพือ่ ได้เปรียบคูแ่ ข่งขันในทุกวิถที าง โดยไม่สนใจโลกาภิวตั น์หรือ ความคิดเห็นของประชาคมโลกอีกต่อไป สถานการณ์เหล่านี้จึงท�ำให้ประเทศ ต่างๆ ต้องปรับตัวกันอย่างมากมาย เพื่อที่จะสามารถรอดพ้นจากการคุกคาม หรือเป็นเครื่องมือของมหาอ�ำนาจเหล่านี้ โดยเฉพาะประเทศทั้งหลายในแถบ อาเซียนที่ด้อยกว่าประเทศมหาอ�ำนาจทั้งเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง

2. บทบาทของโครงการหนึง่ แถบหนึง่ เส้นทาง One Belt One Road

ประเทศจีนเริ่มโครงการหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง One Belt One Road (OBOR) แผ่กระจายไปทั่วโลก และอาจก�ำลังจะมีความร่วมมือในโครงการ ร่วมกับประเทศไทยในสองอภิมหาโครงการคือ โครงการคลองไทยและโครงการ สะพานเชื่อมเกาะสมุยที่จะขออธิบาย ดังนี้ 1) ปัจจุบันทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านที่เคยทะเลาะเบาะแว้งกันใน ทุกเรือ่ งแม้แต่เรือ่ งเล็กน้อย เช่น เพียงการนัง่ เก้าอีป้ ระชุมทีใ่ ดก็สามารถท�ำลาย บรรยากาศการประชุมนั้นได้ แต่กลับมีการเสนอโครงการคลองไทยอย่าง เร่งด่วนในปัจจุบัน ที่มีความเห็นตรงกันทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านอย่างเห็น ได้ชัด และต้องการความร่วมมือกับประเทศจีนในการสร้างโครงการ Mega Project Kra Canal เพราะประเทศไทยไม่มศี กั ยภาพในการก่อสร้างด้วยตนเองได้ 2) โครงการสะพานเชื่อมเกาะสมุย (พังกา) กับจังหวัดนครศรีธรรมราช ทีอ่ อกแบบและน�ำเสนอต่อกระทรวงคมนาคม โดย (อาโกผูห้ นึง่ ...ขอสงวนนาม) และทีมงาน ที่ไม่เคยมีใครรู้จักชื่อมาก่อนเลยจะรับเป็น ผู้ก่อสร้างสะพาน ยาว 18 กิโลเมตร ราคา 30,000 ล้านบาท ซึ่งมีงบประมาณสูงมาก https:// www.youtube.com/watch?v=jsJDqIpPwCo ฉะนั้น Mega Project งบประมาณมหาศาลนีจ้ ะเกิดขึน้ ได้อย่างไร แต่อาจจะเกิดมีตลกร้ายทีม่ ปี ระเทศ มหาอ�ำนาจจะให้เงินกู้มหาศาลดอกเบี้ยต�่ำ จนสามารถสร้างสะพานแห่งนี้ได้ และท�ำการก่อสร้างโดย “อาโก” ผู้นี้จนส�ำเร็จ มีตัวอย่างเหมือนในประเทศจีน สะพาน Donghai Bridge ที่ยาว 36 กิโลเมตร เชื่อมเกาะ Yangshang Port Island ที่เป็นเกาะท่าเรือกับเมือง Shanghai จนกลายเป็นแหลม Yangshang Cape แทนสร้างศักยภาพและเพิ่มปริมาณสินค้าทางทะเล เกือบสองเท่าต่อปี เป็นต้น

สะพาน Donghai Bridge 36 กิโลเมตร เชื่อมเกาะยางชางกับเมืองเซี่ยงไฮ้

Engineering Today March - April

2020

58


3. ความส�ำคัญของเกาะสมุยในยุคสงครามเศรษฐกิจการค้าและ โลจิสติกส์

สะพานข้ามเกาะสมุย 18 กิโลเมตร เชื่อมเกาะสมุยกับนครศรีธรรมราช

เคยมีการศึกษาและตัง้ ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยทางทะเล Sea Rescue Center ทั้งที่จังหวัดระยองและจังหวัดสงขลาที่สอดคล้องกับความเจริญและ กิจกรรมทางทะเลของภาครัฐบาลและเอกชน พร้อมกับความช่วยเหลือจาก องค์การ NASA และกองทัพเรือของสหรัฐอเมริกา ที่ต้องการเข้ามาตั้งศูนย์ ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR) และ สถานีสำ� รวจภูมอิ ากาศอาเซียน Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study (SEAC4RS) ทีจ่ ะท�ำให้การช่วยเหลือและบรรเทาภัยพิบตั มิ คี ณ ุ ภาพและประสิทธิภาพมากขึน้

NASA Location Analysis, 2010

แม้ในการประชุมนานาชาติด้านกลไกด้านการบรรเทาสาธารณภัยของ ประชาคมอาเซียน ก็ก�ำหนดการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการ บรรเทาภัยพิบัติ (Humanitarian Assistance and Disaster Relief) เป็น 1 ใน 5 ข้อหลักด้านความมั่นคงอาเซียนด้วย ด้วยสภาวะด้านการเมืองการ ปกครองของประเทศไทยในขณะนั้นความช่วยเหลือจากองค์การ NASA ของ สหรัฐอเมริกาก็ล้มเลิกไป อย่างไรก็ตามอาจมีการพิจารณาที่ตั้งใหม่ที่มีสภาพ ภูมศิ าสตร์กงึ่ กลางอ่าวไทยทีเ่ กาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในแผนก�ำหนดการ ขององค์การ NASA เพื่อขออนุญาตจัดตั้งสถานีนี้ในอนาคตด้วย

59

Engineering Today March - April

2020


1) สมมุติฐานของการก�ำหนดท�ำเลที่ตั้งทาง ด้ า นของสหรั ฐ อเมริ ก าคื อ ศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ด้ า น มนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR) และ สถานีส�ำรวจภูมิอากาศอาเซียน Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study (SEAC4RS) จากเดิมทีก่ ำ� หนดที่ (1) อู ่ ต ะเภา จั ง หวั ด ระยอง แล้ ว ไม่ ไ ด้ รั บ การ อนุ มั ติ จ ากประเทศไทยนั้ น อาจถู ก ปรั บ มาเป็ น (2) เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามการวิเคราะห์ ของ NASA, 2010 2) สมมุติฐานของการก�ำหนดท�ำเลที่ตั้งทาง ด้านของประเทศจีนคือ การจัดตั้งสถานีควบคุม โครงการคลองไทย ที่ในครั้งแรกพิจารณาท�ำเลที่ (1) ปากคลองไทยด้านจังหวัดชุมพร (อ่าวไทย) วิเคราะห์จากการประเมินของบรรษัทจีนได้เลื่อน มาเป็ น (2) ปากคลองไทยด้ า นจั ง หวั ด สงขลา วิเคราะห์จากการกระแสการสนับสนุนคลองไทยทาง ภาคใต้ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และการ ประชุม Belt & Road Initiative (BRI) Conference, Vietnam, 2018 จนมาก�ำหนดที่ (3) เกาะสมุย วิ เ คราะห์ จ ากการเสนอตั้ ง โครงการสะพานข้ า ม เกาะสมุ ย ที่ ต ้ อ งมี ก ารให้ ก ารสนั บ สนุ น จากต่ า ง ประเทศและการวิเคราะห์ความส�ำคัญของเกาะสมุย จากนักวิจัยไทย

4. ความส� ำ คั ญ ทางภู มิ ยุ ท ธศาสตร์ ข องเกาะสมุ ย จั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี

จากความต่อเนื่องของความส�ำคัญของเกาะสมุยวิเคราะห์โดย NASA & USA Army และทีมวิจยั ไทยพบว่าเกาะสมุยมีศกั ยภาพอย่างมาก ทัง้ ด้านท�ำเล ที่ ตั้ ง กลางอ่ า วไทยที่ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ทั้ ง หมดทั้ ง ปฏิ บั ติ ก ารพาณิ ช ยนาวี ด้านความช่วยเหลือสาธารณภัยทางทะเล หรือแม้แต่ความมั่นคงทางทะเล ในอ่าวไทย รวมทั้งมีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค สนามบิน ท่าเรือ และ สาธารณู ป การต่ า งๆ ครบครั น จะขาดเพี ย งอย่ า งเดี ยวที่ เ ป็ น ปั ญ หาทาง สถาปัตยกรรมผังเมืองคือ “สภาพการเป็นเกาะ” ทีไ่ ม่เชือ่ มโยงกับแผ่นดินใหญ่ แต่หากเกิดมีโครงการ “สะพานเชื่อมเกาะสมุย” จะท�ำให้เกาะแห่งนี้มีความ สมบูรณ์แบบทีส่ ดุ โดยเฉพาะทางยุทธศาสตร์ความมัน่ คงทางทะเลของประเทศ

5. ความเชื่อมโยงของโครงการ One Belt One Road (OBOR) คลองไทย และสะพานเชื่อมเกาะสมุย

สรุ ป การวิ เ คราะห์ ทั้ ง หมดนี้ ใ นความคิ ด เห็ น ของสถาปนิ ก ผั ง เมื อ ง โลจิสติกส์ต่อโครงการ One Belt One Road (OBOR) อภิมหาโครงการ ระดับโลกนั้น จะต้องมีการขุดคลองลัดทะเลอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ เพราะจะเป็น เสมือนสวิทช์ที่จะเปิดกระแสการเดินเรือให้เคลื่อนที่ไปได้ และด้วยศักยภาพ ของเกาะสมุยก็จะต้องมีการสร้างสถานีควบคุมคลองไทยของต่างชาติ รวมทั้ง สะพานเชื่อมเกาะสมุยนั้นเขาก็จะต้องสร้างให้จงได้ ความเชื่อมโยงของอภิมหาโครงการทั้งหมดนี้ อาจท�ำให้ต่างชาติอาจ ยินดีลงทุนก่อสร้างโครงการให้เปล่า หรือกลายเป็นการให้เงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำ เหมือนกับที่ศรีลังกาหรือปากีสถานประสบอยู่ในปัจจุบัน จึงขอเสนอความ คิดเห็นเล็กน้อยนี้ให้แก่ภาครัฐบาล หากมีการพิจารณารายละเอียดโครงการนี้ อย่างรอบคอบที่สุดเพื่อผลประโยชน์ของชาติต่อไป

หมายเหตุ บทความนี้มีความเป็นกลางทางการเมือง มิได้สนับสนุนหรือขัดขวางความร่วมมือของโครงการทั้งประเทศ สหรัฐอเมริกาหรือจีนแต่อย่างใด เพียงขอให้มีการพิจารณารายละเอียดอย่างรอบคอบเท่านั้น

Engineering Today March - April

2020

60


บทความ

• *ดร.ศรายุทธ ตั้นมี, ดร.ชนรรค์ เอื้อรักสกุล, อุกฤษฎ์ ฤทธิหงส์

การวิจัยและพัฒนาฟิล์มคาร์บอนเสมือนเพชร

ด้วยเทคนิคแสงซินโครตรอน

ฟิ

ล์มคาร์บอนเสมือนเพชร (Diamond-Like Carbon: DLC) เป็น ฟิล์มที่ได้รับความนิยมและถูกน�ำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม ได้แก่ ด้านยานยนต์ เช่น น�ำไปเคลือบผิวผลิตภัณฑ์กระบอกสูบ ก้านลูกสูบ ข้อเหวี่ยง ด้านอิเล็กทรอนิกส์ เช่น น�ำไปเคลือบผิวผลิตภัณฑ์หัวอ่านฮาร์ดดิสก์ ด้านการแพทย์ เช่น น�ำไปเคลือบผิวผลิตภัณฑ์ขอ้ สะโพกเทียม หลอดเลือดเทียม เครื่องปั๊มเลือดแบบหมุนเหวี่ยง ด้านผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม เช่น น�ำไปเคลือบผิว ภายในขวดบรรจุน�้ำผลไม้ และด้านบรรจุภัณฑ์อาหาร การใช้งานที่หลากหลาย ของฟิล์มชนิดนี้ แสดงให้เห็นถึงคุณสมบัติที่โดดเด่นของฟิล์มดังกล่าว เช่น มีความเฉื่อยต่อปฏิกิริยาทางเคมีโดยไม่ท�ำปฏิกิริยาที่ก่อเกิดอันตรายใดๆ ต้านทานการกัดกร่อนสูง มีความแข็งสูง การเข้ากันทางชีวภาพสูงโดยไม่เป็น พิษกับร่างกายหรือสิง่ แวดล้อม และแรงเสียดทานต�ำ่ ท�ำให้สามารถยืดอายุการ ใช้งานผลิตภัณฑ์ได้ ดังนัน้ การได้มาซึง่ คุณสมบัตทิ ดี่ เี ยีย่ มของฟิลม์ ขึน้ กับปัจจัย ต่างๆ ได้แก่ วิธีการสังเคราะห์ ส่วนผสม อุณหภูมิ เวลาในการเคลือบ อีกทั้ง วิธีการในการสังเคราะห์ฟิล์มที่ต่างกันก็ให้ได้โครงการสร้างเคมีของฟิล์มที่ต่าง กันด้วย

ดร.ศรายุทธ ตั้นมี โครงสร้ า งทางเคมี ข องฟิ ล ์ ม DLC มี 4 ประเภท ได้แก่ 1. Tetrahedral Amorphous Carbon (ta-C) 2. Tetrahedral Amorphous Hydrogenate Carbon (ta-C:H) 3. Amorphous Carbon (a-C) 4. Hydrogenated Amorphous Carbon (a-C:H) ตามล�ำดับ

*สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

61

Engineering Today March - April

2020


อย่างไรก็ตาม โครงสร้างทางเคมีของฟิล์ม DLC มี ค วามซั บ ซ้ อ นจึ ง ต้ อ งอาศั ย เทคนิ ค การ วิเคราะห์ขั้นสูงอย่างเทคนิคแสงซินโครตรอนในการ วิเคราะห์โครงสร้างทางเคมี นั้นคือ เทคนิคการ ดูดกลืนรังสีเอกซ์ย่านพลังงานต�่ำ (Near Edge X-ray Absorption Fine Structure, NEXAFS) โดยเทคนิคนี้สามารถวิเคราะห์โครงสร้างทางเคมีใน เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) และเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ได้ ท�ำให้สามารถบ่งชี้ ถึงพันธะเคมีและปริมาณสัดส่วนผสมที่อยู่ในฟิล์ม ชนิดนี้ได้ อีกทั้งฟิล์ม DLC มีคุณสมบัติในการต้าน การซึมผ่านของแก๊สบางชนิด จึงถูกน�ำไปประยุกต์ ใช้จริงในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของอาหาร จึงน�ำ ไปสู่การสร้างความร่วมมืองานวิจัยและพัฒนาร่วม กับบริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จ�ำกัด ถือเป็นการบูรณาการงาน วิจยั และพัฒนาระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ร่วมกัน

แสดงความหลากหลายของการใช้งานของฟิล์ม DLC

คุณสมบัติที่หลากหลายของฟิล์ม DLC

Engineering Today March - April

2020

62


@Engineering Today Vol. 2 No. 176

คมนาคม จับมือ อว.

และพันธมิตรภาครัฐ-เอกชน รวม 15 หนวยงาน มุงขับเคลื่อน อุตสาหกรรมรางไทยทุกมิติ ลลิล ฉีกดี ไซนแบบบาน 2020 ใหเปนบานสไตลฝรั่งเศส ผสานฟ�งกชั่นกับสถาปตย ของ ‘เลอ กอรบูซีเย’ สถาปนิกระดับโลก การบร�หารโครงการอยางมืออาชีพ : การบร�หารโครงการเชิงกลยุทธ ดานการศึกษาความเปนไปไดโครงการ


Construction • กองบรรณาธิการ

คมนาคม จับมือ อว. และพันธมิตรภาครัฐ-เอกชน รวม 15 หน่วยงาน

มุ่งขับเคลื่อนอุตสาหกรรมรางไทยทุกมิติ

ระทรวงคมนาคม โดย กรมการขนส่งทางราง (ขร.) และ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) บูรณาการความร่วมมือพันธมิตรระบบรางภาครัฐ/สถาบัน การศึกษา รวม 15 หน่วยงาน สร้างสรรค์อุตสาหกรรมระบบรางไทย ครอบคลุมด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี วิจัยและพัฒนา มาตรฐาน ระบบราง อุตสาหกรรมระบบราง ทดสอบและการทดลอง พัฒนา ทรัพยากรบุคคล หวังช่วยเสริมประสิทธิภาพระบบขนส่งทางรางและ ความปลอดภั ย ในการให้ บ ริ ก ารเดิ น รถไฟ ยกระดั บ มาตรฐาน อุตสาหกรรมชิน้ ส่วนและผลิตภัณฑ์ระบบรางให้เป็นไปตามมาตรฐาน ระบบรางของประเทศและมาตรฐานสากล ช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ด้านการทดสอบวิเคราะห์ดา้ นระบบราง สนับสนุนการผลิตชิน้ ส่วนใน ประเทศ (Local Content) ทดแทนการน�ำเข้า สนับสนุนการผลิต บุคลากรและผู้เชี่ยวชาญวิจัยด้านระบบราง ตลอดจนวิจัยและพัฒนา แก้โจทย์ปัญหาด้านระบบรางของประเทศ สร้างความยั่งยืนให้ระบบ รางของไทย

15 หน่วยงาน ร่วมมือพัฒนาอุตสาหกรรมระบบราง ของไทย อย่างเป็นรูปธรรม ใน 5 ด้าน ส� ำ หรั บ การลงนามความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. และ สุชาติ

Engineering Today March - April

2020

64

ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว.

โชคชัยวัฒนากร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำคมนาคม ร่วมเป็น สักขีพยานในการลงนาม โดยมี ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู ้ ว ่ า การ สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) และ สรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์ อธิบดี กรมการขนส่ ง ทางราง พร้ อ มด้ ว ยผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง


13 หน่วยงาน ประกอบด้วย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บริษทั รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จ�ำกัด บริษทั ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ส� ำ นัก งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแ ห่ง ชาติ กรมวิทยาศาสตร์บริการ ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุ รี มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลอี ส าน วิ ท ยาเขตขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลธั ญ บุ รี และสภาอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทย ร่วมลงนามอย่างเป็นทางการ โดยทั้ง 15 หน่วยงาน จะท�ำความตกลงร่วมมือกันด้านวิชาการ การถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา การจัดท�ำมาตรฐานการ ทดสอบและทดลอง และการพัฒนาบุคลากร เพือ่ ให้เกิดการส่งเสริมการ ประกอบรถไฟ การผลิตชิ้นส่วน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานด้านระบบราง ในประเทศรวมทั้งผลักดันให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรม ระบบรางของ ประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม ใน 5 ด้าน ได้แก่ 1. การถ่ายทอด เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา (Technology Transfer Research & Development) 2. มาตรฐานระบบราง (Railway Standard) 3. อุตสาหกรรมระบบราง (Rail Industry) 4. การทดสอบและการ ทดลอง (Testing and Laboratory) และ 5. การพัฒนาทรัพยากร บุคคล (Human Resource Development)

สุชาติ โชคชัยวัฒนากร ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

คมนาคมหนุนลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานขนส่งระบบราง พร้อมส่งเสริมการผลิตรถไฟ - ราง และอุปกรณ์ ในประเทศ สุชาติ โชคชัยวัฒนากร ผู้ช่วยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม กล่าวว่า จากแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) และแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ได้ ก�ำหนดเป้าหมายการพัฒนาระยะยาวให้มคี วามยัง่ ยืนและมัน่ คง รวมทัง้ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน และเสริมศักยภาพคนให้มคี ณ ุ ภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในขณะที่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบคมนาคมขนส่งของไทยตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ คมนาคมขนส่งของไทยระยะ 20 ปี เน้นการเชือ่ มต่อการคมนาคมขนส่ง ทั้งในประเทศและในภูมิภาค เพื่อเสริมความสามารถในการแข่งขันขับ เคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตอย่างมั่นคง การพัฒนาระบบ คมนาคมขนส่งท�ำให้อุตสาหกรรมรางในประเทศและในภูมิภาคขยาย ตัวอย่างรวดเร็ว ระบบรางของประเทศจะยัง่ ยืนได้นนั้ ต้องอาศัยรากฐาน ของอุตสาหกรรมรางในประเทศที่เข้มแข็ง ในขณะที่ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมรางไทยยังมีน้อยรายและมีความสามารถในการแข่งขันใน ระดับต�่ำ นโยบายส่งเสริมการผลิตชิ้นส่วนระบบรางในประเทศ (Local Content) ในสัดส่วนที่เหมาะสมต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมรางใน ประเทศอย่างยัง่ ยืนจึงเป็นปัจจัยแรกเริม่ ทีส่ ำ� คัญต่อความมัน่ คงของระบบ รางไทยในอนาคต

65

สรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)

Engineering Today March - April

2020


พัฒนาขีด ความสามารถของผู้ให้บ ริการภาคขนส่งและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรีได้ย�้ำถึงความส�ำคัญของ การส่งเสริมการผลิต รถไฟ รางรถไฟ และอุปกรณ์ประกอบ ส� ำ หรั บ ระบบรางในประเทศ ในพิ ธี ท ดลองให้ บ ริ ก าร โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต จ�ำนวน 1 สถานี จากสถานีหมอชิต-สถานีหา้ แยกลาดพร้าว ในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา ด้วยหลักการ Thai First คือ ไทยท�ำ ไทยใช้ คนไทย ต้องได้รับประโยชน์ก่อน ซึ่งเป็นนโยบายของกระทรวง คมนาคม ทีจ่ ะท�ำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ ง ในโครงการก่อสร้างของกระทรวงคมนาคม รวมถึงการใช้ วัสดุทดแทนทีผ่ ลิตจากยางพารา ในโครงการของหน่วยงาน ต่างๆ เพือ่ ช่วยยกระดับราคายางพารา แก้ปญ ั หารายได้ของ เกษตรกร เป็นต้น

สร้างอุตสาหกรรมสนับสนุนระบบราง โดยใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

เครื่องเหนี่ยวรางชนิดพิเศษที่ศทร.- วว. ให้บริการ ทดสอบและรับรองให้สิงคโปร์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม มีนโยบายในการสนับสนุน การขับเคลือ่ นนโยบายของรัฐบาลทีไ่ ด้ให้ความส�ำคัญกับการขนส่งระบบ รางเป็นอย่างยิ่ง โดยได้มีการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ รถไฟ ทางคู่ ให้มโี ครงข่ายครอบคลุมทัว่ ประเทศ โดยได้ดำ� เนินการก่อสร้างแล้ว 993 กิโลเมตร และอยู่ระหว่างการขับเคลื่อนรถไฟทางคู่ ระยะที่ 2 จ�ำนวน 7 เส้นทาง 1,483 กิโลเมตร และรถไฟสายใหม่ 2 เส้นทาง 678 กิโลเมตร รถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจ�ำนวน 14 สายทาง ระยะทาง 559 กิโลเมตร ระบบขนส่งมวลชนทางรางในเมืองภูมิภาค 6 จังหวัด รวมถึงรถไฟความเร็วสูง ส่งผลให้จ�ำเป็นต้องมีการซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษาโครงสร้างพืน้ ฐานเหล่านัน้ ในอนาคตอีกหลายสิบปี กอปร กับรัฐบาลได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมือ่ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ข้อ 5.6 การพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน โดยให้ความส�ำคัญในการ

Engineering Today March - April

2020

66

ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า โครงสร้ า งพื้ น ฐานถื อ เป็ น พื้ น ฐานส� ำ คั ญ ในการพั ฒนา ประเทศ จะเห็นได้ว่าจีนมีโครงการ One Belt One Road แสดงให้เห็นศักยภาพด้าน Connectivity ของเอเชีย ในจีน มี 10 อุตสาหกรรมส�ำคัญ หนึ่งในนั้นคืออุตสาหกรรมราง ท�ำอย่างไรจึงจะเกิด Regional Connect กับอาเซียน ส�ำหรับประเทศไทย การทีจ่ ะ Connectivity สุดท้าย เป็นเรือ่ ง Physical Connectivity คือ ระบบราง โดย Plug in Local Connectivity และเชือ่ มโยงกับ Global Connectivity “การสร้างอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนระบบรางมี ทั้ง Core Industry Related Industry และ Supporting Industry ซึง่ ใช้องค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการสร้างอุตสาหกรรมราง ให้กลายเป็น Competitive Industry ซึง่ จะเป็นการปักหมุด ของ สอท.และ อว.ภายใต้ยุทธศาสตร์ 20 ปี ของกระทรวง คมนาคม โดยจะผลักดันให้ระบบรางเป็น 1 ในอุตสาหกรรม แห่งอนาคตของประเทศ” ดร.สุวิทย์ กล่าว นอกจากการมีระบบรางแล้วจะต้องมีโ ครงสร้าง พื้นฐานคุณภาพระบบรางรองรับ ที่เรียกว่า National Quality Infrastructure ของระบบราง ซึง่ จะช่วยสร้าง Local Content ท�ำให้ Made in Thailand ภายใต้นโยบาย Thai First คือ ไทยท�ำ ไทยใช้ คนไทยต้องได้รับประโยชน์ ก่อนเกิดขึ้นให้ได้


กรมการขนส่งทางรางตั้งเป้าจัดซื้อจัดจ้าง อุปกรณ์รถไฟ ภายในประเทศ 40% ในปี พ.ศ. 2566

และความพร้อมในการลงทุนและการผลิตของหน่วยงานเอกชน รวมถึ ง การมี ส ่ ว นร่ ว มในการสนั บ สนุ น ของชุ ม ชนในฐานะผู ้ มี ส่วนได้ส่วนเสียและการใช้บริการรถไฟ “การร่วมมือกันของหน่วยงานภาครัฐในครัง้ นีจ้ ะเป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ ำ� คัญในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือแบบ 4 ฝ่าย ในระยะ ต่อไปขยายผลสร้างผลกระทบต่อเนื่องให้แก่อุตสาหกรรมรางใน ประเทศ ให้ก้าวไปสู่การเป็นฐานการผลิตรถไฟในภูมิภาคที่มี ศักยภาพสูง สามารถผลิตชิ้นส่วนระบบรางทดแทนลดการน�ำเข้า รถไฟได้ทุกระบบรวมทั้งเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงในอนาคต” ผู้ว่าการ วว. กล่าว

สรพงศ์ ไพฑู ร ย์ พ งษ์ อธิ บ ดี ก รมการขนส่ ง ทางราง กล่าวว่า กรมการขนส่งทางรางได้ตงั้ เป้าหมายในการวางมาตรฐาน เพื่ อ ก� ำ หนดชิ้ น ส่ ว นของรถไฟ และก� ำ หนดการจั ด ซื้ อจั ด จ้ า ง อุปกรณ์รถไฟ ภายในประเทศสัดส่วน 40% ในปี พ.ศ. 2566 สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศได้มากกว่า 7,000 ล้านบาท ทัง้ นีก้ ารใช้ชนิ้ ส่วนภายในประเทศ ช่วยลดค่าใช้จา่ ยการซ่อมบ�ำรุง ซึ่งปัจจุบันมีการใช้งบประมาณซ่อมบ�ำรุงรถไฟทุกสาขา 9,600 ล้านบาทต่อปี และคาดว่าใน 5 ปีข้างหน้า จะใช้ค่าใช้จ่าย ซ่อมบ�ำรุงถึง 15,000 ล้านบาทต่อปี ภายหลั ง จากการลงนามในครั้ ง นี้ จะมี ก ารจั ด ตั้ ง คณะ กรรมการเพื่อขับเคลื่อนการด�ำเนินงานภายใต้บันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ ตลอดจนวางกรอบความร่วมมือในการพัฒนาและ ใช้วัสดุอุปกรณ์ ตั้งแต่งานซ่อม ไปสู่งานสร้าง เพื่อให้ผู้ใช้งาน สามารถต่ อ ยอด และขอรั บ ความร่ ว มมื อด้ า นการตรวจสอบ คุณภาพของชิ้นส่วนวัสดุระบบราง โดยผู้วิจัย และสถาบันการ ศึกษา สามารถรับไปทดลอง ตรวจสอบคุณภาพ น�ำไปสู่การ สร้างสรรค์ ค้นคว้าและวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางเพื่อ ให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

วว.สั่งสมองค์ความรู้ด้านรถไฟมากว่า 20 ปี น�ำร่องจัดหลักสูตรพัฒนาคนร่วมกับมหาวิทยาลัย ดร.ชุติมา กล่าวว่า วว.ท�ำงานด้านรถไฟมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว สามารถผลิตเครือ่ งยึดเหนีย่ วราง (Fastener) ทีม่ คี วาม ต้องการใช้งานสูงได้ ส่วนการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสูผ่ ผู้ ลิต ผูผ้ ลิต บางรายสามารถส่งชิ้นส่วนรางมาทดสอบที่ วว.ได้ ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ถูกกว่าต่างประเทศ ด้านงานวิจัยและพัฒนา วว.มีงานวิจัยพร้อม ใช้ให้ผู้ประกอบการสามารถผลิต รวมทั้งขอรับรองมาตรฐาน ได้ด้วย ภายใต้การท�ำงานของทีมนักวิจัยทางด้านระบบราง ซึ่งมี พื้นฐานทางด้านยานยนต์อยู่แล้ว จึงมีความพร้อมที่จะสนับสนุน อุตสาหกรรมรางของประเทศ ส�ำหรับการพัฒนาบุคลากรระบบราง ทาง ดร.อาณัติ หาทรัพย์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) พร้อมรับ นักศึกษาปริญญาโทเข้ามาช่วยท�ำ โปรเจ็กต์ท างราง เพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ของไทย วว. ได้ทำ� งานร่วมกับ 5 มหาวิทยาลัย ในการพัฒนาบุคลากรด้านรางทั้ง Reskill และ Upskill และจัด Workshop ขนาดใหญ่ให้นักศึกษาด้วย

เผยการผนึกก�ำลังของ 15 หน่วยงาน ยกระดับอุตฯ รางในประเทศ สู่ฐานการผลิตรถไฟในภูมิภาค ดร.ชุตมิ า เอีย่ มโชติชวลิต ผูว้ า่ การ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กล่าวว่า วว.ร่วมกับ กรมการขนส่งทางราง (ขร.) บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงาน รวมทั้งสิ้น 15 หน่วยงาน ร่วมแสดงพลังในการเป็นพันธมิตร สนับสนุนนโยบาย Local Content ระบบราง โดยหน่วยงาน ภาครัฐร่วมกันส่งเสริมภาคเอกชนทั้งด้านมาตรฐาน ข้อบังคับ การทดสอบ การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี และส่ ง เสริ ม การผลิ ต บุคลากรสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมระบบราง ตลอดจนการวิจยั และพัฒนาระบบราง ซึง่ เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญในการส่งเสริมการผลิต Local Content ระบบราง ผ่านการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ แบบ 4 ฝ่าย (Quadruple Helix) ทัง้ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และประชาสังคม โดยอาศัยการประสานจุดแข็ง ของหน่วยงานแต่ละประเภท อาทิ องค์ความรู้ต่อยอดการวิจัย พัฒนา (Research & Development) และการพัฒนาทักษะก�ำลัง คน (Manpower Skill) ของภาคการศึกษา ความพร้อมในการ สนับสนุนทางโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพทางระบบราง (National Quality Infrastructure: NQI) และการแบ่ ง ปั น ทรั พ ยากร (Infrastructure Sharing) ของหน่วยงานรัฐ พื้นฐานที่แข็งแกร่ง

ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง ให้บริการทดสอบได้ตามมาตรฐาน - ราคาถูกกว่า ดร.อาณัติ หาทรัพย์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ทดสอบมาตรฐาน ระบบขนส่ ง ทางราง (ศทร.) วว. กล่ า วว่ า วว.จั ด ท� ำ Lab ด้านระบบรางมา 10 ปี เมื่อประมาณ 2 ปีที่ผ่านมาได้จัดตั้ง ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) โดยได้รับการ สนั บ สนุ น งบประมาณจากทางภาครั ฐ ท�ำ ให้ มี เ ครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์พร้อม และต้นทุนค่าใช้จ่ายลดลง ส่งผลให้ค่าบริการ ทดสอบถูกลง ส�ำหรับราคาศูนย์ทดสอบต่อหน่วยจะเท่าหรือ ถู ก กว่ า ที่ สิ ง คโปร์ แต่ คุ ณ ภาพดี กว่ า เนื่ อ งจากได้ ม าตรฐาน ISO 17065 ที่ผ่านมา สิงคโปร์ได้ส่งอุปกรณ์รางที่ลด Vibration ขณะผ่านโรงพยาบาล พระราชวัง มาซ่อมบ�ำรุงที่ศูนย์ทดสอบ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพและความพร้ อ มของอุ ป กรณ์ ใ นการ ให้บริการ

67

Engineering Today March - April

2020


Property • กองบรรณาธิการ

ลลิล ฉีกดี ไซน์แบบบ้าน 2020

ให้เป็นบ้านสไตล์ฝรั่งเศสผสานฟังก์ชั่นกับสถาปัตย์ของ ‘เลอ กอร์บูซีเย’ สถาปนิกระดับโลก

ริษัท ลลิล พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรื อ LALIN จุ ด ประกายดี ไ ซน์ แ บบบ้ า น ยุ ค 2020 กั บ การเป็ น บริ ษั ท ผู ้ พั ฒ นาโครงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ายแรกของไทย ที่ น� ำ เสนอแบบบ้ า น สไตล์ ฝ รั่ ง เศสเสนอเป็ น ทางเลื อ กที่ ส มบู ร ณ์ แ บบทั้ ง ความงดงามและฟังก์ชั่นที่สอดคล้องกันอย่างลงตัว “เลอ กอร์บูซีเย (Le Corbusier)” แรงบันดาลใจ ครั้งใหม่ กับแนวคิด Modern Geometry ซึ่ง ลลิล พร็ อ พเพอร์ ตี้ ได้ น� ำ แนวคิ ด ในการออกแบบของ เลอ กอร์บูซีเย เน้น “ฟังก์ชั่นหรือการใช้งาน” เป็นหัวใจส�ำคัญ ของการออกแบบ บ้านจึงควรสนองประโยชน์ใช้สอยได้ อย่ า งแท้ จริ ง เมื่ อ ใดก็ ต ามที่ บ ้ า นสร้ า งขึ้ น จากชิ้ น ส่ ว น ที่ท�ำหน้าที่ของตัวเอง เช่น มีแสงส่องผ่านเพื่อสุขอนามัย จัดสรรพื้นที่เพียงพอต่อไลฟ์สไตล์ หรือล�ำดับความส�ำคัญ ของเฟอร์นิเจอร์ได้อย่างดีเยี่ยมแล้ว บ้านหลังนั้นย่อมให้ ความสะดวกสบายและสิ่ ง จ� ำ เป็ น ต่ อ ผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย ได้ โ ดย ที่ไม่ต้องปรุงแต่งใดๆ อีก และฟังก์ชั่นภายในที่ลงตัวนี้เอง จะส่ ง เสริ ม สถาปั ต ยกรรมโดยใช้ ก ารก่ อ สร้ า งด้ ว ยวั ส ดุ ที่เรียบง่าย ดูโดดเด่นขึ้นมาอย่างชัดเจน

Engineering Today March - April

2020

อีกหนึ่งแนวคิดของ เลอ กอร์บูซีเย ที่ลลิล พร็อพเพอร์ตี้ น�ำมา ประยุกต์ใช้คอื ทฤษฎี Le Modulor หรือหลักความสอดคล้องของสัดส่วน มนุ ษ ย์ (Human Scale) เพื่ อ ก� ำ หนดสเกลของสิ่ ง ต่ า งๆ ในงาน สถาปัตยกรรมให้เกิดความพอดี ตั้งแต่ขนาดของบ้านที่เหมาะสมกับ ผูอ้ ยูอ่ าศัย ระยะการหยิบจับสิง่ ของหรือต�ำแหน่งของเฟอร์นเิ จอร์ภายใน บ้าน ไปจนถึงการก�ำหนดสัดส่วนของพื้นที่เพื่อให้เกิดฟังก์ชั่นที่ตอบ วัตถุประสงค์การใช้งานของสถานที่นั้นและการอยู่ร่วมกันในสังคม

68


น�ำร่องแบบบ้านใหม่ในโครงการ ลลิล ทาวน์ แลนซีโอ คริป และ ไลโอ บลิสซ์ ในปี พ.ศ. 2563 ลลิล พร็อพเพอร์ตี้ ได้ปรับรูปโฉม โครงการบ้านเดี่ยวและทาวน์โฮมให้มีดีไซน์ที่ทันสมัยและ แตกต่างจากโครงการอื่นๆ ในปัจจุบัน โดยน�ำแนวคิด สถาปัตยกรรมสมัยใหม่มาผสานดีไซน์ที่ตอบโจทย์ความ ต้องการของคนรุ่นใหม่ มีเนื้อที่ใช้สอยให้เลือกหลายขนาด เหมาะแก่การอยู่อาศัยของครอบครัวขนาดกลาง ไปจนถึง ครอบครัวขนาดใหญ่ ขับมนต์เสน่ห์ของธรรมชาติกับงาน สถาปัตยกรรมอย่างลงตัว พร้อมคลับเฮาส์ สระว่ายน�้ำ ห้องออกก�ำลังกาย และสวนส่วนกลางสไตล์ Modern Geometry รูปทรงเลขาคณิตร่วมสมัย ลลิล พร็อพเพอร์ตี้ เชื่อมั่นว่า บ้านที่สวยที่สุด ไม่ใช่ แค่เพียงการออกแบบ หรือการตกแต่งเท่านั้น แต่บ้าน ต้องให้ความส�ำคัญกับการใช้ชีวิต เป็นที่ที่ทุกคนสามารถ ใช้ได้ทกุ พืน้ ที่ ซึง่ ท�ำให้พนื้ ที่นนั้ ๆ เต็มไปด้วยความอบอุน่ สามารถเติมพลังให้กับทุกคนในบ้าน

เพราะนี่ คื อ ต้ น ก� ำ เนิ ด แรงบั น ดาลใจอั น ยิ่ ง ใหญ่ ใ ห้ กั บ ลลิ ล พร็อพเพอร์ตี้ ให้กา้ วเข้ามาเป็นผูพ้ ฒ ั นาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เรามุง่ มัน่ สร้างที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพ รูปลักษณ์ทันสมัย บนท�ำเลที่โดดเด่น และ การบริการทีป่ ระทับใจ ในราคาทีค่ มุ้ ค่า ภายใต้ปณิธาน “บ้านทีป่ ลูกบน ความตั้งใจที่ดี”

Poul Due Jensen Foundation

to donate 200m DKK to help fight COVID-19 In celebration of Grundfos' 75th anniversary, the Poul Due Jensen Foundation (Grundfos Foundation) has expanded its budget for donations from planned 125m DKK to 200m DKK. The main donation areas remain water, research, and inclusion, but the Foundation will move its attention to the fight against COVID-19 this year. “In 2020, Grundfos turns 75. This is a good occasion for expanding the donation activities significantly, and we plan to commit 200m DKK to donations this year. The funds will primarily support our existing donation areas where we support mission-driven research and learning, sustainable solutions, humanitarian aid through access to drinking water and inclusion of the socially vulnerable through public-private collaboration. There's plenty of worthy causes to support, and our donations should help bring about new, groundbreaking solutions.”, said Kim Nøhr Skibsted, Executive Director, Poul Due Jensen Foundation.

COVID-19 means a change of focus

“There’s a lot we can do with our knowledge, technologies and donations for people who are often overlooked. Water is a source of life and a prerequisite for improving quality of life and economic development. WASH (Water, Sanitation, Hygiene) is also a core tool to shield humans against the corona pandemic, and we are following the situation closely to see how we can be of assistance. Within research, we will support changed priorities that can help mitigate the consequences of the COVID-19 outbreak now and in future. We will remain true to our partnerships, but we will adapt to the new reality in Denmark, and globally”, explains Kim Nøhr Skibsted.

69

Engineering Today March - April

2020



Project Management • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

การบริหารโครงการอย่างมืออาชีพ (Professional Project Management) :

การบริหารโครงการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Project Management)

ด้านการศึกษาความเป็นไปได้ โครงการ (Feasibility Study)

ารบริหารงานโครงการ (Project Management) ถือเป็นงานส�ำคัญประเภทหนึ่งที่ก�ำหนดขึ้น เพื่อให้ สอดคล้องกับกลยุทธ์ทวี่ างไว้ในการบริหารการพัฒนาขององค์กร (Organization Development) หรือช่วยให้เกิดความเจริญเติบโต ทางธุรกิจอย่างยั่งยืน (Business Growth and Sustainability) ตามการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Business Plan) เพือ่ ผลัก ดันให้เกิดความส�ำเร็จตามเจตนารมณ์ในเชิงกลยุทธ์ (Strategic Intent) ได้แก่ วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าหมาย (Goal) และประเด็นกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Strategy) ของผู้บริหาร ระดับสูง ซึง่ เป็นการด�ำเนินการเพือ่ การแก้ไขปัญหาหรือการสร้าง โอกาสทางธุรกิจในการด�ำเนินการ

การก�ำหนดความต้องการของโครงการ (Objective and Goal of Project Requirement) ความหมายของโครงการทีพ่ จนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ลงวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของ โครงการ ว่าตรงกับค�ำภาษาอังกฤษคือค�ำว่า Project โดยโครงการเป็นค�ำ ประสม ประกอบด้วยค�ำว่า “โครง” ซึ่งหมายถึงร่างของสิ่งต่างๆ ที่คุมกันอยู่เป็นรูปและ “การ” ซึ่งหมายถึงงานหรือสิ่งที่ท�ำ ค�ำว่า ”โครงการ” จึงหมายถึงงานที่มุ่งหมายจะท�ำโดยมีการก�ำหนด

71

Engineering Today March - April

2020


การบริหารโครงการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Project Management)

วัตถุประสงค์ ระยะเวลา งบประมาณ กระบวนการ และกิจกรรม เป็นล�ำดับอย่างชัดเจน โครงการต้องมีผู้รับผิดชอบ บริหารงาน เพือ่ ให้กจิ กรรมต่างๆ เป็นไปตามแผนงาน เหมาะสมกับเวลาและ งบประมาณที่ตั้งไว้องค์ประกอบของโครงการ โครงการทุ ก โครงการจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละ เป้าหมายเป็นเครื่องชี้แนวทางในการด�ำเนินงานของโครงการ โดยวัตถุประสงค์จะเป็นข้อความที่แสดงถึงความต้องการที่จะ กระท� ำ สิ่ ง ต่ า งๆ ภายในโครงการให้ ป รากฏผลเป็ น รู ป ธรรม ซึ่งข้อความที่ใช้เขียนวัตถุประสงค์จะต้องชัดเจนไม่คลุมเครือ สามารถวัดและประเมิน ผลได้ โครงการแต่ละโครงการสามารถ มีวัตถุประสงค์ได้มากกว่า 1 ข้อ ลักษณะของวัตถุประสงค์ขึ้นอยู่ กับระดับและขนาดของโครงการ ความหมายในเชิงการบริหาร ทีส่ ามารถสรุปได้ดี คือ Project management is the application of knowledge, skills, tools and techniques to project activities to meet project requirement. ซึ่งเป็นการประยุกต์ ความรู้ ทักษะ เครื่องมือ และเทคนิค เพื่อให้กิจกรรมโครงการ ส�ำเร็จตามเป้าหมายโครงการที่วางไว้ ซึ่งการบริหารโครงการมี พืน้ ฐานความต้องการ 3 ประการ (Three Fundamental Criteria) กล่าวคือ 1. The project must be completed on Time โครงการ ต้องมีความส�ำเร็จตามเวลาที่ก�ำหนด 2. The project must be accomplished within the Budgeted Cost โครงการต้ อ งอยู ่ ใ นงบประมาณ ที่ตั้งไว้ 3. The project must be meet the prescribed Quality Requirements โครงการต้องตอบสนองความต้องการ คุณภาพตามที่กำ� หนด ความหมายในเชิงคุณภาพ (Quality) นั้น อาจใช้ค�ำว่า สมรรถนะ (Performance) ได้ด้วยเช่นกัน แต่ทั้งนี้ความต้องการ ของการด�ำเนินการ (Operational Requirements) จะต้องอยู่ บนพื้นฐานของของกรอบความปลอดภัย (Safety) ทั้งสิ้น

Engineering Today March - April

2020

ความหมายการบริหารงานโครงการเชิงกลยุทธ์คือความ สามารถในการน� ำ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมายของโครงการ (to meet Project Requirement) ไปสู่การก�ำหนดกลยุทธ์ (Strategic Plan) ของผู้บริหารโครงการและกลวิธี (Tactic Plan) ในการจั ด การของหน่ ว ยงานระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร (Operational Management) บรรลุผลส�ำเร็จในการบริหารโครงการ ซึ่งในที่นี้ ผู ้ เ ขี ย นขอน� ำ เสนอหลั ก การวางแผนโครงการเชิ ง กลยุ ท ธ์ ของ รศ. ดร.ปกรณ์ ปรียากร อดีตคณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒนบริ ห ารศาสตร์ มาอธิ บ ายในการบริ ห าร โครงการงานวิศวกรรม หลักการบริหารโครงการเชิงกลยุทธ์ มี แบ่งแนวทางการด�ำเนินการเป็น 4 ระยะการบริหารโครงการ เชิงกลยุทธ์ (4 Steps of Strategic Project Management) ดังนี้ 1. Environmental Scanning การสแกนสิ่งแวดล้อม 2. Strategic Formulation การก�ำหนดกลยุทธ์ 3. Strategic Implementation การด�ำเนินการเชิงกลยุทธ์ 4. Evaluation and Control การประเมินและการควบคุม ซึ่งแนวทางการในการบริหารโครงการทั้ง 4 ระยะเป็นภาพ ใหญ่ ข องการบริ ห ารโครงการ มี ร ายละเอี ย ดที่ จ ะน� ำ เสนอใน บทความต่อไป ทั้งนี้ขอย่อหัวข้อเพื่อทราบในเบื้องต้นดังนี้

การสแกนสิ่งแวดล้อมโครงการ (Project Environmental Scanning) การบริหารโครงการให้ประสบความสําเร็จ เป้าหมายหลัก คือผลงานคุณภาพ ใช้เวลาน้อยและมีกาํ ไร ต้นทุนค่าใช้จา่ ยจึงเป็น ปัจจัยสําคัญ การบริหารงานผิดพลาดและไม่สามารถควบคุม ติดตามผลงานและค่าใช้จ่ายอย่างสม�่ำเสมอ จะส่งผลกระทบ ต่ อ สภาพคล่ อ งของโครงการ การวางแผนก่ อ นเริ่ ม โครงการ ผู้บริหารจําเป็นต้องติดตาม วิเคราะห์แนวโน้มความต้องการวัสดุ และแรงงาน การประมาณการทั้งทางด้านเวลาและต้นทุนต้อง ถูกต้องเที่ยงตรงแม่นยํา งบประมาณที่ได้ตั้งไว้ก็เหมาะสมกับ

72


ความเป็นจริง ในระหว่างดําเนินการโครงการต้องติดตามควบคุม ด้านเวลาและค่าใช้จ่ายเกิน การขาดสภาพคล่องทางการเงินย่อม ส่งผลให้งานล่าช้าสะสมจนกระทบถึงต้นทุนโครงการและสภาวะ ขาดทุนในทีส่ ดุ การวางแผนโครงการ (Project Planning) จึงเป็น สิง่ แรกทีก่ ารบริหารโครงการด้วยการก�ำหนดเงือ่ นไขของโครงการ ติดตามด้วยการด�ำเนินการศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของ โครงการด้านต่างๆ หลังจากนั้นจึงเสนอผลการประเมินโครงการ ให้ผู้บริหารตัดสินใจว่าควรจะลงทุนในโครงการต่อไปในการวาง รายละเอียดด้านต่างๆ ในขัน้ การวางแผนด�ำเนินงาน ซึง่ การริเริม่ เป็นโครงการโดยท�ำการศึกษาและการวิเคราะห์ผล ซึ่งเป็นการ สแกนสิ่งแวดล้อมโครงการ โดยวิเคราะห์ทั้งปัจจัยภายในและ ปัจจัยภายนอก (Internal and External Environment Analysis) การสแกนสิ่งแวดล้อมโครงการ (Project Environmental Scanning) คือรูปแบบการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) โดยมีประเด็นที่ควรศึกษาความเป็นไปได้ ตามมุมมองจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ทงั้ ปัจจัยภายนอก ( External Environment Analysis) เป็นการวิเคราะห์ตามหลัก P-E-S-T +E & L Analysis ดังนี้ 1.1 Political การวิเคราะห์เชิงนโยบาย เป็นการศึกษา ด้ า นนโยบายภาครั ฐ (Government Study) เป็นการศึกษาเพือ่ การประเมินและคาดการณ์แนว นโยบายทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อโครงการทัง้ ทางตรง และทางอ้อม โดยเฉพาะข้อก�ำหนดนโยบายด้าน ภาษี อัตราการแรงงานขั้นต�่ำ แรงงานต่างประเทศ 1.2 Economic การวิ เ คราะห์ ด ้ า นเศรษฐศาสตร์ เป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ การประเมิ น และคาดการณ์ อนาคต ความเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ หรื อ ถดถอยด้าน GDP นโยบายด้านการเงิน อัตรา แลกเปลี่ยน อัตราเงินเฟ้อ 1.3 Social การวิเคราะห์ด้านสังคมและวัฒนธรรม เป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ การประเมิ น และคาดการณ์ อนาคตที่มีผลกระทบกับสังคม วัฒนธรรม ศาสนา เป็ น การจั ด ท� ำ ผลกระทบโครงการด้ า นสั ง คมที่ เรี ย กว่ า Environmental Social Impact Assessment (ESA)

1.4 Technology เป็นการศึกษาด้านเทคนิคหรือด้าน วิ ช าการ (Technical Study) เป็ น การตอบ วัตถุประสงค์โครงการด้วยของการวิเคราะห์ด้าน เทคนิค เพื่อก�ำหนดขอบเขตการวิเคราะห์ด้าน เทคนิค ข้อมูลจากการวิเคราะห์ด้านเทคนิค โดย สรุปภาพรวมคืองานเชิงวิศวกรรม ที่จะต้องน�ำ เทคโนโลยี ที่ ดี ที่ สุ ด ในปั จ จุ บั น มาตอบโจทย์ ใ น อนาคตหลั ง ส่ ง มอบโครงการไม่ ใ ห้ ล ้ า สมั ย และ น� ำ เทคโนโลยี ม าช่ ว ยงานวิ ศ วกรรมโครงการ จุ ด ประสงค์ ส� ำ คั ญ คื อ ความเปลี่ ย นแปลงด้ า น นวัตกรรมและเทคโนโลยี 1.5 Environmental การวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อม เป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ การประเมิ น และคาดการณ์ อนาคตทีมีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน เป็ น จั ด ท� ำ ผลกระทบโครงการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ที่เรียกว่า Environmental Impact Assessment (EIA) 1.6. Legal การพิจารณาด้านกฎหมาย เป็นการศึกษา ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงการ โดย เฉพาะการบริหารสัญญา (Contract Management) รวมถึงการศึกษาด้านภาษีสรรพากร และที่ส�ำคัญ คือกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ในการพิจารณาปัจจัยภายนอก จะมีส่วนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ของการท�ำ S-W-O-T Analysis นั้นคือ 1.7 Threats วิเคราะห์ถึงความเสี่ยง, ภัยคุกคาม, ข้อจ�ำกัด หรืออุปสรรคต่างๆ ทีม่ ตี อ่ การด�ำเนินการ ขององค์กร เงื่อนไขส�ำคัญที่อาจท�ำให้โครงการล้ม การวิเคราะห์ความเสีย่ งโครงการ (Risk Management) แผนการแก้ไขสภาวะวิกฤต (Crisis Management) 1.8 Opportunities การวิ เ คราะห์ ถึ ง โอกาสที่ จ ะ สามารถด�ำเนินการได้ โดยเฉพาะเรื่องของการ บริหารเวลา ทีต่ อ้ งท�ำให้ทนั ตามแผนทีก่ ำ� หนดหรือ เร็วกว่าเพือ่ เพิม่ โอกาสทีส่ ามารถน�ำเสนอโครงการ ก่อนธุรกิจอื่นจะพัฒนาทัน

73

Engineering Today March - April

2020


2. การวิเคราะห์ทั้งปัจจัยภายใน (Internal Environment Analysis) เป็นการวิเคราะห์ตามหลัก S-W-O-T Analysis การน�ำ Balance Score Card and KPI มาก�ำกับและควบคุม คือ 2.1 Strengths and Weaknesses การวิเคราะห์หา จุดแข็งและจุดอ่อน หรือข้อได้เปรียบภายในและ ข้อเสียเปรียบของเรา โดยพิจารณาถึงหลัก 4Ms ดังนี้ • Man การจัดการด้านทรัพยากรบุคคล (Human Resource) การวางแผนโครงสร้างโครงการ (Project Organization) โดยน�ำผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะ (Personal Competency) ในแต่ละด้าน มาร่วมปฏิบัติภารกิจในแต่ละกิจกรรมโครงการ • Management การบริหารโครงการ การจัดเก็บ ข้อมูลสารสนเทศ (Management Information System) และทีส่ ำ� คัญคือการได้รบั การสนับสนุน จากผู้บริหารระดับสูงในองค์กร • Money ความสามารถทางเงิน ทุน (Capital Ability) • Machine การวิเคราะห์ถึงเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักรกล (Machines) ทั้งที่มีอยู่ และการจัดหา • Material วัตถุดิบ การบริหารสินทรัพย์ (Asset) 2.2 Balance Score Card-Finance Perspective การวิเคราะห์ด้านการเงิน โดยมุ่งเน้นการก�ำกับ ด้านงบประมาณโครงการ (Budgetary Cost) ที่ เราจะเรียกกันว่าการท�ำ Finacial Model เพื่อ เป็นการวิเคราะห์วตั ถุประสงค์ดา้ นการเงิน ขัน้ ตอน การวิ เ คราะห์ ด ้ า นการเงิ น สรุ ป เงิ น ลงทุ น ใน โครงการโดยใช้เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการตัดสินใจลงทุน ในโครงการ เพื่อหา • ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) • มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value) • อัตราผลตอบแทนลดค่า (Internal Rate of Return) • ดัชนีการท�ำก�ำไร (Profitability Index)

Engineering Today March - April

2020

• อัตราผลตอบแทนลดค่าปรับค่า (Modified Internal Rate of Return) • การวิเคราะห์เปรียบเทียบ NPV และ IRR • แผนการบริหารการเงินและงบประมาณ 2.3 Balance Score Card-Customer Perspective หมายถึงลูกค้าในโครงการ โดยมุ่งเน้นการก�ำกับ ด้านบริหารเวลา (Time Schedule) หากเป็น โครงการที่แก้ไขปัญหา ลูกค้าก็หมายถึงผู้ที่รับและ น�ำโครงการไปด�ำเนินการใช้แก้ไขปัญหาที่ตั้งไว้ แต่ถ้าเป็นโครงการลงทุน ก็ต้องมีการวิเคราะห์ ด้านตลาด ดังนี้ • วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ด้านตลาด • ขั้นตอนการวิเคราะห์ด้านตลาด • ข้อมูลจากแผนการตลาดและการขาย 2.4 Balance Score Card-Innovation and Learning Perspective มุมมองด้านนวัตกรรม และการเรียนรู้ เป็นการน�ำหรือสร้างนวัตกรรม สมัยใหม่ การสร้างองค์ความรู้โครงการเพื่อการ ปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้อง โดยมุง่ เน้นการก�ำกับด้านคุณภาพ (Quality Control) 2.5 Balance Score Internal Process Perspective เป็นกระบวนการพัฒนาภายในการท�ำงานโครงการ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ กระบวนการทีด่ ี (Good Practices) ในการด�ำเนินการให้มีทั้งมาตรฐานและคุณภาพ โดยมุง่ เน้นการก�ำกับด้านสมรรถนะ (Performance) และความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safety and Health) ในตอนนี้ ผู้เขียนได้น�ำเสนอการบริหารโครงการเชิงกล ยุทธ์ (Strategic Project Management) ด้านการศึกษาความ เป็นไปได้โครงการ (Feasibility Study) เพื่อให้มีความเข้าใจใน เบื้องต้นและเป็นหัวข้อในการศึกษาและวิเคราะห์ ให้ครบตาม หลักการสแกนสิ่งแวดล้อมโครงการ (Project Environmental Scanning) ซึ่งเป็นส่วนแรกของขั้นตอนการบริหารโครงการ (Project Management Process) ปัจจัยที่ส�ำคัญของการ บริหารโครงการ

74


ใบสมัครสมาชิก 2020

เลขที่.................. หมูที่........ หมูบาน................................... อาคาร............................ ชั้น............... หอง............ ตรอก/ซอย...................... ถนน............................... แขวง/ตำบล........................... เขต/อำเภอ............................ จังหวัด................................ รหัสไปรษณีย....................... โทรศัพทที่ทำงาน....................................................... โทรศัพทมือถือ............................ โทรสาร................................. E-mail.............................................................

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

สมัครสมาชิกประเภท

Corporaeter Memb 3 เลม

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

แถม YG Directory

2018/2019

มูลคา 400.-

สมาชิกใหม ตออายุสมาชิก

แซอึ้ง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

1 ป 6 ฉบับ 300 2 ป 12 ฉบับ 600

1 ป 1,260 บาท 1 ป 1,100 บาท

2 ป 2,520 บาท 2 ป 2,200 บาท

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX ADVERTISING March - April 2020

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

ASSEMBLY & AUTOMATION TECHNOLOGY

-

-

79

www.assemblytechnexpo.com

MANUFACTURING EXPO

-

-

6

www.manufacturing-expo.com

PROPAK ASIA

-

-

80

www.propakasia.com

VEGA

0-2700-9240

0-2700-9241

81

www.vega.com

กุลธร บจก.

0-2282-2151

0-2280-1444

11

www.kulthorn.com

0-2642-9209-11

0-2246-3214

3, 35

-

-

82

-

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

2

www.bay-corporation.com E-mail: bayinsu01@gmail.com

โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.

081-592-4456

-

7

www.promach.co.th

เลอโนโว (ประเทศไทย) บจก.

02-689-6400

-

83

www.lenovo.com/th/th

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

0-4421-7040 ต่อ 1607-9

0-4421-7047

ปกหลังนอก

www.slri.or.th/bdd E-mail : bds@slri.or.th

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

9

www.virtus.co.th E-mail: welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

5

E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

อาทิตย์เวนติเลเตอร์ หจก.

0-2509-3085

0-2943-1814

11

www.artith.com

คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก. ธนาคารกรุงไทย

Engineering Today March - April

2020

76

Website/E-mail

www.kanitengineering.com




ASEAN’s Most Comprehensive Exhibition on Industrial Automation Systems & Solutions and Assembly Technology – 21st Edition

24 27 (Wed - Sat) 10.00 - 18.00 hrs.

JUNE

BITEC • BANGKOK

A part of:

Co-located with:

Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 assemblytechnologypage assemblytech@reedtradex.co.th www.assemblytechexpo.com

Organized by:






Õ¦¨Ì²Ö£¼ij¼Å²Ô·ÏÜÅÅÐijÂÊà ¼¼º 2XMBGQNSQNM +HFGS ENQ (MCTRSQX ǰ ÿëćïĆîüĉÝ÷Ć ĒÿÜàĉîēÙøêøĂîǰ ĂÜÙŤÖćøöĀćßî ǰ ÿà ǰđðŨîĀîŠü÷Üćîõć÷ĔêšÖĞćÖĆï×ĂÜÖøąìøüÜÖćøǰĂčéöýċÖþćǰüĉì÷ćýćÿêøŤǰüĉÝ÷Ć ǰĒúą îüĆêÖøøöǰēé÷öĊóîĆ íÖĉÝđóČĂę ÖćøüĉÝ÷Ć đÖĊ ę÷üÖĆïĒÿÜàĉîēÙøêøĂîĒúąǰÖćøĔßšðøąē÷ßîŤÝćÖĒÿÜàĉîēÙøêøĂîǰÖćøĔĀšïøĉÖćøĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ĒúąđìÙēîēú÷ĊìĊęđÖĊę÷üךĂÜǰ ĂĊÖìĆĚÜǰ éĞćđîĉîÖćøÿŠÜđÿøĉöÖćøëŠć÷ìĂéĒúąÖćøđøĊ÷îøĎšđìÙēîēú÷ĊĒÿÜàĉîēÙøêøĂîǰ ìĆĚÜîĊĚǰ ÿëćïĆîöčŠÜöĆęîĔîÖćø éĞćđîĉîÜćîüĉÝĆ÷đóČęĂĔĀšÿĂéÙúšĂÜÖĆïîē÷ïć÷ÖćøóĆçîć×ĂÜðøąđìýǰ öĊđðŜćĀöć÷ĔîÖćøóĆçîćýĆÖ÷õćóđÙøČęĂÜÖĞćđîĉéĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ĀøČĂǰ ĶđÙøČęĂÜÖĞćđîĉéĒÿÜÿ÷ćöķǰ đóČęĂÿćöćøëéĞćđîĉîÖćøĕéšĂ÷ŠćÜđêĘöðøąÿĉìíĉõćóǰ ēé÷öĊÙüćöóøšĂöĔîÖćøĔĀšïøĉÖćøĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ǰ øąïïúĞćđúĊ÷ÜĒÿÜǰ Ēúąǰ ǰ ÿëćîĊìéúĂÜǰ àċęÜÙøĂïÙúčöđìÙîĉÙêŠćÜǰ ėǰ ĕéšĒÖŠǰ đìÙîĉÙÖćøÖøąđÝĉÜøĆÜÿĊđĂÖàŤǰ đìÙîĉÙÖćøéĎéÖúČîøĆÜÿĊ đĂÖàŤǰ đìÙîĉÙÖćøðúéðúŠĂ÷ĂĉđúĘÖêøĂîǰ đìÙîĉÙÖćøđøČĂÜøĆÜÿĊđĂÖàŤǰ đìÙîĉÙÖćøĂćïøĆÜÿĊđĂÖàŤǰ ĒúąđìÙîĉÙÖćøđúĊ÷Ě üđïîøĆÜÿĊđĂÖàŤǰ îĂÖÝćÖîĊǰĚ ÿëćïĆî÷ĆÜĔĀšïøĉÖćøéšćîĂČęîǰ ėǰ ĕéšĒÖŠǰ ïøĉÖćøüĉÝĆ÷ǰ ïøĉÖćøìĊęðøċÖþćǰ ïøĉÖćøđìÙîĉÙĒúąüĉýüÖøøöǰ ïøĉÖćøđÙøČęĂÜöČĂüĉì÷ćýćÿêøŤóČĚîåćî ĒúąïøĉÖćøëŠć÷đìÙēîēú÷Ċǰ ēé÷đîšîÖćøĔĀšïøĉÖćøĒïïđïĘéđÿøĘÝǰ 5PUBMǰ4PMVUJPO ǰđóČĂę ߊü÷ĒÖšðŦâĀćĔîÖøąïüîÖćøñúĉêǰÖćøÙĉéÙšîǰĒúą óĆçîćñúĉêõĆèæŤĒÖŠÖúčŠöÜćîüĉÝĆ÷êŠćÜǰėǰđߊîǰÖćøđÖþêøǰĂćĀćøǰ÷ćǰĒúąđÙøČęĂÜÿĞćĂćÜǰ÷ćÜĒúąóĂúĉđöĂøŤǰ ēúĀąǰĂĉđúĘÖìøĂîĉÖÿŤǰ Öćøñúĉê ßĉĚîÿŠüîÝčúõćÙǰ ßĉĚîÿŠüî×îćéÝĉĜü ǰĂĆâöèĊǰĒúąéšćîÖćøĒóì÷ŤǰđóČęĂÿîĆïÿîčîǰÜćîüĉÝĆ÷ĒúąóĆçîćĔĀšĒÖŠĀîŠü÷ÜćîõćÙøĆåĒúąđĂÖßîǰîĞćĕðÿĎŠ ÖćøÿøšćÜÿøøÙŤîüĆêÖøøöǰĒúąÿøšćÜöĎúÙŠćđóĉęöǰìćÜđýøþåÖĉÝĔĀšÖĆïðøąđìý ¾Ðĉº¦Ê²ÀÌĶɻԷÏÜÅÅÐijÂÊà ¼¼º ¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼º»Ê Õ¾ÈÔ£¼ÏÜŦÂĻÊÅʦ

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÌÔ¾Û °¼Å²Ì Âčč

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÊÃʼ Õ¾È Ê¼Ô Áij¼

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÕºĉ·Ìº·č ¡²ÊIJĶо¹Ê£ ¡²ÊIJĶÌßÀ

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÖ¾ÃÈ Õ¾ÈÔ¨¼ÊºÌ

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÂÌܦ°Å Õ¾ÈÔ£ºÍ¹É®­č

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼º»Ê¦ վȷžÌԺżč

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÉ©º®Í

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼º»Ê²»²ijč

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÏܲ Ú

¡ÉݲijŲ ʼ¡Å¼É³³¼Ì ʼÀÌĶÉ» 1

2

»Ïܲճ³¸Å¼čº¡Å¼É³ ³¼Ì ʼ

3

´¼ÈԺ̲վÈÔ²Š¼Ê£Ê

4

ij¼ÀĶÂų׳ÔÂ²Å¼Ê£Ê Ã¼ÏÅ ÅŠ׳ÂÉܦ¨ÏÝÅ ÂÉܦĶĊʦ Âĉ¦ºÊ°ÍÜ !##

5

Ô¼Ìܺ×ÃĊ³¼Ì ʼÀÌĶÉ» ÀÌÔ£¼ÊÈÃ č µ¾Ìij§Ìݲ¦Ê²

6

¼Ê»¦Ê²µ¾ÀÌÔ£¼ÊÈÃč ÀÌĶÉ» Âĉ¦ºÅ³¦Ê²

Ô Û³£ĉʳ¼Ì ʼÀÌĶÉ» ÅŠ׳ÕĶĊ¦Ã²ÍÝ ×³Ô¼ÛĶ

ijÌIJijĉÅ

ÿŠüîóĆçîćíčøÖĉÝǰòść÷Öú÷čìíŤĒúąóĆçîćíčøÖĉÝĂÜÙŤÖø ÿëćïĆîüĉÝĆ÷ĒÿÜàĉîēÙøêøĂîǰ ĂÜÙŤÖćøöĀćßî

đú×ìĊęǰ ǰĀöĎŠìĊęǰ ǰĂćÙćøÿĉøĉîíøüĉßēßìĆ÷ǰë öĀćüĉì÷ćúĆ÷ ê ÿčøîćøĊǰĂ đöČĂÜǰÝ îÙøøćßÿĊöćǰ

ēìøýĆóìŤ ǰ ǰ ǰ ǰêŠĂ ǰ ǰ ēìøýĆóìŤđÙúČęĂîìĊę ǰ ǰ ǰ ēìøÿćø ǰ ǰ ǰ ǰ ĂĊđöú ǰCET!TMSJ PS UI

XXX TMSJ PS UI CEE

4-3*ǰJOEVTUSJBMǰVTFS


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.