สารสองล้อ มิถุนายน 2559

Page 1


จั ก รยานพลังงานแสงอาทิตย์

2 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


Maxun One คือชื่อของจักรยานพลังแสง

อาทิตย์ ซึ่งถูกพัฒนาและออกแบบโดยนายอัลเบิร์ต แวน ดาเลน จากเนเธอร์แลนด์ ซึง่ เป็นหนึง่ ในประเทศ ที่ประชาชนใช้จักรยานมากที่สุด ด้ ว ยแนวความคิ ด ที่ จ ะหาพลั ง งานทดแทน มาช่วยเสริมประสิทธิภาพ ในการใช้งานจักรยานได้

ดียิ่งขึ้น ส�ำหรับการเดินทางสัญจรอย่างเหมาะสม และไม่ต้องการแบกน�้ำหนักของแบตเตอรี่หรือระบบ ขับเคลือ่ นแบบจักรยานไฟฟ้า และไม่ตอ้ งการทีจ่ ะต้อง คอยชาร์จพลังงานไฟฟ้าก่อนออกเดินทาง การน�ำแผงโซล่าเซลล์เพื่อสร้างพลังงานไฟฟ้า จากแสงแดด จึงเป็นทางเลือกที่ถูกน�ำมาใช้

สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 3


แผงโซล่ า เซลล์ นี้ ถู ก ออกแบบให้ มี ข นาดพอ เหมาะ ทั้งในด้านของการสร้างประจุไฟฟ้าที่เพียงพอ มีขนาดเล็ก สามารถจัดเก็บไฟฟ้าไว้ในแบตเตอรีข่ นาด ก�ำลังพอดี มีน�้ำหนักเพียง 17 กิโลกรัม เหมาะสมกับ การใช้งานตามถนนหนทาง สามารถท�ำความเร็วได้ถึง 25 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง แต่ถ้าปั่นไปด้วย จะสามารถเพิ่มความเร็วได้ ถึงระดับ 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นอกจากไม่ตอ้ งค่อยชาร์จไฟฟ้าเอาไว้กอ่ นออก ปัน่ ยังสามารถปัน่ ไปชาร์จไปตลอดเส้นทาง หรือจอด

4 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

ไว้กลางแดดเพื่อชาร์จไฟฟ้าได้อีกด้วย ใช้ ม อร์ เ ตอร์ ไ ฟฟ้ า ที่ ดุ ม ล้ อ หน้ า ส� ำ หรั บ การ ขับเคลือ่ น ด้วยก�ำลังไฟฟ้า 250 วัตต์ เพียงพอต่อการ ใช้ที่ระดับความเร็ว 27 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อย่างไรก็ตาม จักรยานไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์นี้ ก�ำลังอยู่ในระหว่างมองหาผู้ลงทุนสนับสนุน เพื่อการ ผลิตและจัดจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ J ที่มา maxun.cc



สารสองล้อ ฉบับที่ 300 / มิถุนายน 2559 ISSN 1513-6051

ภาพ ชานล เพ็ชรฉ�ำ่

2 จั ก รยานพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ 7 แวดวงสองล้อ 14 ตารางกิจกรรม 2559 16 ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำ ปี 2559 18 สนาม TC100 22 วัย 72 ปี ... ยั ง ขี่ จั ก รยานได้ อ ย่ า งไร? 26 AUDAX 1500 28 AUDAX 200 TEST RUN 30 การกู้ชีพ... ฉบับชาวบ้าน 34 ปั่นเที่ยวยูนนาน ตอนที่ 14 38 Fitness Life Style 42 VeloPal แอพฟรีมีดีเหลือเฟือ 46 บริ จ าคจั ก รยาน 47 สิ น ค้ า สมาคม

บทบรรณาธิการ

สองสามเดือนที่ผ่านมา ประเทศไทยเราประสบกับ สภาวะแล้ง อากาศร้อนมาก และกลายเป็นอุปสรรคต่อ การปั่นจักรยานของบรรดานักปั่นไม่น้อย จนถึงกับว่า สนามปั่นบางแห่ง มีนักปั่นต้องล้มป่วย จนบางรายถึงกับ เสียชีวิต ในข้อเท็จจริงแล้วไม่ได้มีสาเหตุจากสนามหรือ สถานที่ แต่มี “ความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง” ที่ตัวนักปั่นเองนั้น ควรจะต้องเข้าใจและเรียนรู้ตัวเอง ด้วยการปั่นจักรยาน อย่างเหมาะสมกับสภาพร่างกาย และสภาพแวดล้อม ณ ขณะนั้น การปั่นจักรยานเพื่อออกก�ำลังกายนั้น ย่อมเกิดการ เสียน�ำ้ หรือเหงือ่ ในร่างกายค่อนข้างมาก ดังนัน้ การดืม่ น�ำ้ บ่อยๆ ตลอดการปั่นจักรยานหรือการออกก�ำลังกาย เป็นสิง่ จ�ำเป็นและไม่ควรละเลยเป็นอย่างยิง่ ประกอบกับ การไม่ปั่นจักรยานเกินขีดจ�ำกัดของร่างกาย อาจจะด้วย เพราะสภาวะ ณ ขณะนั้น ที่จิตใจผู้ปั่นก�ำลังสนุกกับการ ท�ำความเร็วเพิม่ ขึน้ จนเกินขีดความสามารถของร่ายกาย และหัวใจจะรับไหว ผลดีของการออกก�ำลังกายจึงตีกลับ เป็นผลเสียต่อร่างกายอย่างไม่รู้ตัว ขอเตือนสติใ ห้ทุกท่าน ปั่นจักรยานอย่างรอบรู้ ไม่เกินก�ำลัง มุ่งหวังเพื่อสุขภาพ และการเดินทางอย่าง พอเหมาะพอดี เท่านี.้ .ชีวกี จ็ ะเป็นสุขทัง้ กายทัง้ ใจแล้วครับ บรรณาธิการสารสองล้อ

สารสองล้อ ได้รับการสนับสนุนโดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) วัตถุประสงค์ของสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย 1. ส่งเสริมการใช้จักรยานในทุกกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ อาทิเช่น เพื่อสุขภาพและพลานามัย การคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และนันทนาการ 2. ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาจราจรด้วยการใช้จักรยานทั่วประเทศ 3. เป็นองค์กรประสานงานระหว่างผู้ใช้จักรยานทั่วประเทศและในระดับสากล 4. อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม 5. ร่วมกันท�ำกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ และสันติภาพของมวลมนุษยชาติ 6. เป็นศูนย์กลางในการสื่อสาร ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี ยกย่อง ให้ก�ำลังใจ และให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันในหมู่สมาชิก ที่ประกอบคุณงามความดี ช่วยเหลือ สังคมและส่วนรวม 7. ไม่ด�ำเนินกิจกรรมทางการเมือง เจ้าของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา มงคล วิจะระณะ บรรณาธิการ วรวุฒิ วรวิทยานนท์ พิมพ์ที่ บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จ�ำกัด โทร. 02-214-4660, 02-214-4370 โทรสาร 02-612-4509 ส�ำนักงาน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 22 (สาธุประดิษฐ์ 15 แยก 14) ถนนนราธิวาส-ราชนครินทร์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 โทรสาร 02-678-8589 เวบไซต์ www.thaicycling.com Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล์ tchathaicycling@gmail.com สนใจสมัครสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เพื่อสิทธิพิเศษในการร่วมกิจกรรมและรับสารสองล้อฟรี สมาชิกรายปี 200 บาท ( ต�่ำกว่า 15 ปี 80 บาท ) สมาชิกตลอดชีพ 2,000 บาท ติดต่อได้ที่ โทร. 02-678-5470 โทรสาร 02-678-8589 หรือสมัครออนไลน์ได้ที่ http://www.thaicycling.com/member อีเมล tchamember@gmail.com ขอบคุณฟอนต์ ซูเปอร์มาร์เก็ต จาก f0nt.com


แวดวงสองล้อ

สามารถส่งข่าวประชาสัมพันธ์ของท่านมาได้ที่ กองบรรณาธิการสารสองล้อ email: tchathaicycling@gmail.com หรือโทรสาร 02-678-8589

กิจกรรมจักรยานเขื่อนพ่อ สู่เขื่อนแม่ 17-19 มิถุนายน 2559

การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย (ททท.) ส�ำนักงานตาก การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) ส� ำ นั ก งานแพร่ ร่ ว มกั บ หอการค้ า จั ง หวั ด ตาก หอการค้าจังหวัดอุตรดิตถ์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิต์ิ ก�ำหนดจัดกิจกรรมจักรยานเขื่อนพ่อ สู่เขื่อนแม่ ภายใต้โครงการ “เทีย่ วตากหัวใจสีเขียว” ในระหว่าง วันที่ 17-19 มิถุนายน 2559 เส้นทางเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก - เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ จะได้ปน่ั จักรยานชมตรอกบ้านจีน วัดสีตลาราม ริ ม แม่ น�้ ำ ปิ ง หั ต ถกรรมหมวกสานจากใบลานที่ บ้านปากร้องห้วยจี้ ชมไม้กลายเป็นหิน และปั่น จักรยานชมบ้านไม้เก่า อ�ำเภอบ้านตาก นอกจากนี้ ยั ง จะได้ ร ่ ว มงานแห่ ผ ้ า ขึ้ น ธาตุ เดือน 9 เหนือ วัดพระบรมธาตุบ้านตาก นั่งรถราง

น�ำเที่ยวชมเมืองลับแล และความสนุกสนานอื่นๆ อีกมากมาย อัตราค่าสมัคร - ผู้ใหญ่ท่านละ 1,500 บาท - เยาวชนอายุไม่เกิน 12 ปี ท่านละ 1,000 บาท ช่องทางการสมัคร - สมัครผ่านทางหอการค้าจังหวัดตาก โทร. 088-2781299 หรือ 086-448113 สอบถามเพิ่มเติมที่ หอการค้าจังหวัดตาก โทรศัพท์ 055-564132 และ 088-2781299 หรือ 086-4481231 J สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 7


ความส�ำเร็จ บุรีรัมย์ ไบค์ เฟสต์ 27 มีนาคม ที่สนามช้าง อินเตอร์ เนชั่ น แนล เซอร์ กิ ต จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ นายเสรี ศรีหะไตร ผู้ว่าราชการจังหวัด บุรีรัมย์ (คนกลาง) เป็นประธานในพิธี เปิ ด มหกรรมการแข่ ง ขั น จั ก รยาน ร่วมปั่นสร้างประวัติศาสตร์ เฉลิมฉลอง การสถาปนาเมืองแปะ (บุรีรัมย์) ครบ 240 ปี “บุรีรัมย์ ไบค์ เฟสต์ 2016” (BURIRAM BIKE FEST 2016) โดย มี นางเสียงรัตน์ กีรติมาต ประธาน หอการค้าจังหวัดบุรีรัมย์, นายวิทยา จันทร์ฉลอง รองผู้ว่าราชการจังหวัด บุรีรัมย์, พ.ต.อ.สุรพล มุ่งมา รองผู้ บังคับการต�ำรวจภูธร จังหวัดบุรีรัมย์ ร่ ว มด้ ว ย ท่ า มกลางนั ก ปั ่ น จากทั่ ว สารทิศกว่า 2,000 คน จากทั่วประเทศ ร่วมสร้างประวัติศาสตร์ เฉลิมฉลอง การสถาปนาเมืองแปะ (บุรีรัมย์) ครบ 240 ปี “บุรีรัมย์ ไบค์ เฟสต์ 2016” โดยจังหวัดบุรีรัมย์ ร่วมกับ กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา และหอการค้า จังหวัดบุรีรัมย์ หวังให้การแข่งขันช่วย ส่งเสริมและกระตุ้นการท่องเที่ยวเพิ่ม ขึ้นอีก J 8 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

บุคคลในภาพข่าว (จากซ้าย) 1. นางวิมล ชอบสุข ผู้อ�ำนวยการการท่องเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์ 2. นายวิทยา จันทร์ฉลอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ 3. นายเสรี ศรีหะไตร ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ 4. พ.ต.อ.สุรพล มุ่งมา รองผู้บังคับการต�ำรวจภูธร จังหวัดบุรีรัมย์ 5. นางเสียงรัตน์ กีรติมาต ประธานหอการค้าจังหวัดบุรีรัมย์


โครงการ “แคมเปญ เปิดตัวขอบคุณลูกค้า” LA GROUP กลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการธุรกิจจักรยาน ผู้ผลิตจักรยานแบรนด์ LA BICYCLE และ จักรยาน HIGH-END แบรนด์ INFINITE โดยแบรนด์ INFINITE เป็นแบรนด์ที่ผลิต รถจักรยานระดับ PREMIUM ไปจนถึงระดับ ULTRA PREMIUM ได้ จั บ มื อ ร่ ว มกั บ AIS ในการทํ า รถจั ก รยานรุ ่ น พิ เ ศษ ชื่ อ AIS INFINITE LIMITED EDITION BICYCLE สําหรับโครงการ “แคมเปญ เปิดตัวขอบคุณลูกค้า” จักรยาน AIS INFINITE LIMITED EDITION BICYCLE นี้ ผลิตเพียง 85 คันทัว่ โลกเท่านัน้ และจะไม่มวี างจําหน่ายในร้านค้า ได้รบั ออกแบบเป็นพิเศษเพือ่ โครงการนีโ้ ดยเฉพาะ ทัง้ ตัวถังรถที่ ออกแบบสีและดีไซน์มาเป็นพิเศษ รวมไปถึงการเลือกใช้พาร์ทระดับ PREMIUM โดยมีรายละเอียดดังนี้ • จักรยานเสือภูเขา พร้อมชุดแต่งระดับพรีเมียม • เฟรมจักรยานเป็นเฟรม Hyper light ALUMINIUM ALLOY 650B • ชุดเกียร์ SHIMANO 30 สปีด • SHIMANO HYDRAULICS DISC BRAKE • LIGHT WEIGHT RIM J

สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 9


OPTIMA เปิดตัวจักรยาน TESLA R3000 เมือ่ วันที่ 28 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2559 OPTIMA ได้เปิดตัวจักรยาน TESLA R3000 ในงาน International Bangkok Bike ครั้งที่ 7 ซึ่งจัดขึ้นที่อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี สาหรับ Hi-Light ของบูท OPTIMA ในครัง้ นีถ้ อื ว่าเป็นครัง้ ทีพ่ เิ ศษมากครัง้ หนึง่ เนือ่ งจากครัง้ นี้ ไม่ได้น�ำเอาสินค้าที่แพงที่สุดมาเป็นตัวชูโรง แต่น�ำเอาตัวที่ใหม่ที่สุดมาโชว์ให้ชาวไทยได้เห็น เป็นอันดับต้นๆ ของโลกเลยทีเดียว ด้วยการเปิดตัวจักรยาน TESLA รุน่ R3000 ทีใ่ ช้ชดุ ขับเคลือ่ น Shimano SORA ปี 2017 ตัวใหม่ล่าสุด นอกจากนี้ OPTIMA ยังได้ก็ได้เปิดตัวเฟรม TESLA สีใหม่ Mid-Year Color อย่างสีแดงด้านมาเปิดจ�ำหน่ายในงานด้วย ต้นแบบเฟรม OPTIMA ประเภท TIME TRIAL/TRIATHLON รุน่ OMEGA ทีจ่ ะเปิดตัว จริงอย่างเป็นทางการในเดือนตุลาคม 2559 นี้ สาหรับนักกีฬาจักรยานและสายไตรกีฬา เรียกได้ว่าพลาดไม่ได้จริงๆ ด้วยเทคโนโลยีเฟรมสุดล�้ำ งานที่บูธ OPTIMA มีการพูดคุยพบปะอย่างเป็นกันเองกับลูกค้า ทั้งเรื่องการแนะน�ำ จักรยานในรุน่ ต่างๆ เทคนิคในการปัน่ น�ำเสนอ Accessory สินค้าต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นกระติกน�ำ้ ขาตั้งจักรยาน ล้อ คาร์บอน และสินค้าอีกมากมายภายในบูธ และสุดท้ายมีการปั่นบน เทรนเนอร์เพื่อฝึกฝนการทรงตัว ท�ำให้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.optima.bike หรือ Facebook Fanpage: www.facebook.com/OptimaBike/ J

10 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


OPTIMA THULE Cycling Team จักรยาน TESLA R3000 คว้าอันดับ 1! คว้าอันดับ 1 มาได้สาเร็จ ในรุน่ Fixed Gear Men Elite โดย “เจ้าแท่ง” นักกีฬาทีม OPTIMA THULE Cycling Team รายการ Phuket Criterium เมื่อวันที่ 23 เมษายน ที่ผ่านมา ซึ่งในรูปเกมทั้ง 15 รอบ ที่กลุ่มหน้าค่อยๆ Break และทยอยทิง้ กลุม่ ใหญ่มาเรือ่ ยๆ จนกระทัง่ เหลือ 6 คนสุดท้าย ในรอบหลังๆ และช่วยกันขี่หนีกลุ่มหลัง พร้อมดูเชิงกันไป เรือ่ ยๆ จนกระทัง่ เหลือ 2 โค้งสุดท้าย ก่อนเข้าทางตรง เส้นชัย รอบสุดท้าย “เจ้าแท่ง” ที่ฉวยโอกาสเปิดเกมส์ก่อน ใน 2 โค้ง สุดท้าย เพื่อวัด ไม่ต้องไปลุ้น Sprint หน้าเส้น และสามารถ ท�ำได้ตามแผนทีว่ างไว้ เข้าเส้นชัยเป็นอันดับ 1 ได้ ส�ำเร็จ!!! เรียก ได้ว่า มาแรงแซงโค้งจริงๆ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถ ติดตามได้ที่เว็บไซต์ www.optima.bike หรือ Facebook Fanpage: www.facebook.com/OptimaBike/ J

เฟรม OPTIMA ประเภท TIME TRIAL/TRIATHLON รุ่น OMEGA

สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 11


น�้ำขาวชวนปั่นครั้งที่ 2 วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม 255 ชมรมศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย น ชุมชนวัดน�้ำขาว ร่วมกับองค์การ บริหารส่วนต�ำบลน�้ำขาว ชมรม ก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน ชมรมจักรยาน ต� ำ บลน�้ ำ ขาว น�้ ำ ขาวไบค์ และ กลุ่มองค์กรต่างๆ ในต�ำบลน�้ำขาว ร่วมกันจัดกิจกรรม น�ำ้ ขาวชวนปัน่ ครั้งที่ 2 ณ สนามโรงเรียนชุมชน วัดน�้ำขาว อ�ำเภอจะนะ จังหวัด สงขลา โดยใช้เส้นทางการแข่งขัน จากน�้ำขาว คูนายสังข์ ควนขี้แรด ควนยาง ควนไม้ไผ่ หว้าหลัง โดยประเภทเสือหมอบระยะทาง 80 กิโลเมตร และเสือภูเขาระยะทาง 60 กิโลเมตร สอบถามรายละเอียดได้ที่ ครูทวีบ แก้วยอด โทร. 089-8696473 หรือ ครูอ�ำนวย โทร.​087-2992815 J Tour of Bandung 2016 วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฏาคม 2559 การแข่งขันจักรยานทางเรียบ เทิดพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพื่อหารายได้สมทบทุนจัดซื้อครุภัณฑ์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ให้กับมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช สาขาบ้านดุง ณ สนามทุ่งศรีเมือง อ�ำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ประเภทเสือหมอบและเสือภูเขา ระยะทาง 85 กิโลเมตร และ VIP ระยะทาง 39 กิโลเมตร สอบถามรายละเอียดได้ที่ ID LINE - tourofbandung J

12 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)



ตารางกิจกรรมประจ�ำปี 2559

สมาคมจักรยานเพื่อสุขภา พไทยจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการออกก�ำลังกายด้วยจักรยานและการใช้จักรยาน เพื่อให้เกิดความรู้ควา มเข้าใจในการใช้จักรยานอย่างถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อผู้ขี่จักรยานทั่วไป สามารถ ติดตามรายละเอียดและสอบถามเกีย่ วกับกิจกรรมต่างๆ ได้ที่ โทร. 02-678-5470 หรือทาง Facebook.com/ TCHAthaicycling J เดือนพฤษภาคม เสาร์ที่ 7 TESTRUN จังหวัดนครสวรรค์ อาทิตย์ที่ 8 ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี (ที่เลื่อนมา) อาทิตย์ที่ 15 AUDAX อัมพวา และปั่นสายตรวจต้นไม้ เสาร์/อาทิตย์ที่ 21-22 ปั่นลุยสวนปราจีน

เดือนสิงหาคม อาทิตย์ที่ 7 ทริปย่อย เสาร์ที่ 27 AUDAX 300BRM ชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี

เดือนกรกฏาคม อาทิตย์ที่ 3 ทริปย่อย เสาร์ที่ 16 AUDAX 200BRM สะพานข้ามแม่น�้ำแคว จังหวัดกาญจนบุรี อาทิตย์ที่ 24 ทริปย่อย

เดือนพฤศจิกายน อาทิตย์ที่ 6 ทริปย่อย

เดือนกันยายน อาทิตย์ที่ 4 ทริปย่อย อาทิตย์ที่ 11 ทริปย่อย เสาร์ที่ 24 AUDAX 600BRM เดือนมิถุนายน เสาร์ที่ 4 AUDAX 200TESTRUN จังหวัดชุมพร ไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี อาทิตย์ที่ 25 CAR FREE DAY 2016 อาทิตย์ที่ 5 ปั่นซ่อมTC 100 สนามที่ 1 ร.ร.นายร้อย ฯ เดือนตุลาคม อาทิตย์ที่ 12 TC100 สนามที่ 2 พุทธมณฑล อาทิตย์ที่ 2 ทริปย่อย วัดไร่ขิง ตลาดน�้ำล�ำพญา เสาร์ที่ 30 AUDAX 200BRM อาทิตย์ที่ 19 AUDAX 20OBRM จอมบึง อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดราชบุรี

14 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)



สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย Thai Cycling For Health Association

ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559 ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร เวลา 09.00 – 13.00 น.

ไทย นเพื่อสุขภาพ สมาคมจักรยา Association For Health Thai Cycling 2559 ามัญประจําป ส  ใหญ ม ชุ ประ ะสิงห มประกอบ หุต ณ หองประชุ ทาพระจันทร ธรรมศาสตร มหาวิทยาลัย นคร กรุงเทพมหา – 13.00 น. เวลา 09.00 ั้งที่ 3/2559 ื ฉบับแกไขคร รม สามารถย่น กไขขอบังคับ เภทกลุม/ชม สรุปผลการแ ชิกสามัญ ประ สามัญ ที่ สมา ภาพ ก ชิ มสมา ยง และสมาชิก ไดมีการเพิ่มเติ กเสียงได 1 เสี ก ชิ รออ ถือวา นกา สมา ใ บ ธิ ท ิ วกั ส เกี่ย เนียมรายป ให โดยมี ื่อชําระคาธรรม ชิกสมาคมได สมา ไปเม น อ  ป ต  เ งค ในป ป ความประส นเวลาครบ 10 ําปติดตอกันเป เปนสมาชิกประจ าชิกตลอดชีพ าธรรมเนียมสม เปนการชําระค กสมาคมไม 1 คน และอุปนาย าธิการสมาคม เลขาธิการสมาคม เกี่ยวกับ เลข กสมาคม 1 คน ใหเลือกตั้งนาย มาคม เปน ในที่ประชุมใหญ ิหารกิจการของส ารบร ในก กสมาคม เกิน 3 คน หารกิจกรรม ที่ชวยเหลือนาย ๆ ทําหนาที่บริ ธิการ ทําหนา อ หนวยงานอื่น บทบาทเลขา กับ สถาบัน หรื มในการติดตอ ผูแทนของสมาค ทั้งหมด ที่ได เลิกสมาคม หลืออยูหลังจาก งคับ และการ ของสมาคมที่เ ลงแกไขขอบั เ ห็นชอบ ตาม ทรัพยสิน การเปลี่ยนแป ยเหตุผลใดๆก็ ่ ติที่ประชุมใหญ ล ตามทีม  งเลิกไมวาดว ดองคกรการกุศ เมื่อสมาคมตอ อบแ ม ให ว  ยแล ที่เรียบรอ ชําระบัญชีเปน ยแลว ให ูใชจักรยานไท ่อเปนสมาคมผ าที่ คณะ บทเฉพาะกาล ญาตใหเปลี่ยนชื ดและมีวาระเท สมาคมไดรับอนุ อ ่ ั ิหนาที่ตอไปไ เมื ขอที่ ๔๒. ที่อยูใหปฎิบต มที่ปฎิบัติหนา  อยู มาค อ หลื องส ชการ คณะกรรมการข แหงประเทศไทยเ ญาตจากทางรา ภาพ อนุ ข บ ั สุ ร  อ ่ เพื มได มจักรยาน บตั้งแตวันที่สมาค กรรมการสมาค เริ่มใชบังคับ นั บังคับฉบับนี้ ให วาสมาชิก ย อ ถื ว นไท ล ขอที่ ๔๓. ขอ แ รยา รได ก ั จ างราชกา น สมาคมผูใช ภาพ ่อสมาคมจากท ใหเปลี่ยนชื่อเป ั รยานเพื่อสุข ญาตใหเปลี่ยนชื สมาคมจก สมาคมไดรับอนุ และทรัพยสินของ ขอที่ ๔๔. เมื่อ วมทั้งกิจกรรม ามัญของสมาคมร ่ นชื่อดวย ปลีย สามัญ และวิส งคกรที่ไดรับการเ ในอ ม ิ าพเด ไทยใหคงสถานะภ 2 2559 - 256 หารชุดใหม ป ะกรรมการบริ มยินดีกับคณ ขอแสดงควา นายกสมาคม ะระณะ นายมงคง วิจ เลขาธิการสมาคม าสปกรณกิจ นายสันติ โอภ อุปนายก 1 ทร น งจั งแส ันท สอ นางสาวสาภิน อุปนายก 2 รฉ่ํา นายชานล เพ็ช อุปนายก3 ณสิน ร บู ร ต ั พ ปริ นาย

ส ัง คม น กัน สรา งสร รค ลอ หมุน เกื้อ หนุ ้ ิ่มเติมไดเร็วๆ นี สอง ขาป น สอง รายละเอียดเพ ติดตาม

สรุปผลการแก้ไขข้อบังคับ ฉบับแก้ไขครัง้ ที่ 3/2559 เกี่ยวกับสมาชิก ได้มีการเพิ่มเติมสมาชิกภาพ สมาชิ ก สามั ญ ประเภทกลุ ่ ม /ชมรม สามารถยื่ น ความประสงค์เป็นสมาชิกสมาคมได้ โดยมีสทิ ธิในการ ออกเสียงได้ 1 เสียง และสมาชิกสามัญ ที่เป็นสมาชิก ประจ�ำปีติดต่อกันเป็นเวลาครบ 10 ปี ในปีต่อไปเมื่อ ช�ำระค่าธรรมเนียมรายปี ให้ถือว่าเป็นการช�ำระค่า ธรรมเนียมสมาชิกตลอดชีพ เกี่ยวกับ เลขาธิการสมาคม ในทีป่ ระชุมใหญ่ให้เลือกตัง้ นายกสมาคม 1 คน เลขาธิการสมาคม 1 คน และอุปนายกสมาคมไม่เกิน 3 คน บทบาทเลขาธิการ ท�ำหน้าที่ช่วยเหลือนายกสมาคม ในการบริ ห ารกิจ การของสมาคม เป็นผู้แ ทนของ สมาคมในการติดต่อกับ สถาบัน หรือ หน่วยงานอื่นๆ ท�ำหน้าที่บริหารกิจกรรมทั้งหมด การเปลีย่ นแปลงแก้ไขข้อบังคับ และการเลิกสมาคม เมือ่ สมาคมต้องเลิกไม่วา่ ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม ทรัพย์สินของสมาคมที่เหลืออยู่หลังจากที่ได้ช�ำระ บัญชีเป็นที่เรียบร้อยแล้วให้มอบแด่องค์กรการกุศล ตามที่มติที่ประชุมใหญ่เห็นชอบ


บทเฉพาะกาล ข้อที่ 42. เมือ่ สมาคมได้รบั อนุญาตให้เปลีย่ นชือ่ เป็นสมาคมผู้ใช้จักรยานไทยแล้ว ให้คณะกรรมการ ของสมาคมทีป่ ฎิบตั หิ น้าทีอ่ ยูใ่ ห้ปฎิบตั หิ น้าทีต่ อ่ ไปได้ และมีวาระเท่าที่ คณะกรรมการสมาคมจักรยานเพื่อ สุขภาพแห่งประเทศไทยเหลืออยู่ ข้อที่ 43. ข้อบังคับฉบับนี้ ให้เริ่มใช้บังคับ นับตัง้ แต่วนั ทีส่ มาคมได้รบั อนุญาตจากทางราชการให้ เปลี่ยนชื่อเป็น สมาคมผู้ใช้จักรยานไทย ข้อที่ 44. เมือ่ สมาคมได้รบั อนุญาตให้เปลีย่ นชือ่ สมาคมจากทางราชการได้แล้ว ถือว่าสมาชิกสามัญ และวิสามัญของสมาคมรวมทัง้ กิจกรรมและทรัพย์สนิ ของสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทยให้คงสถานภาพเดิม ในองค์กรที่ได้รับการเปลี่ยนชื่อด้วย ขอแสดงความยินดีกบั คณะกรรมการบริหารชุดใหม่ ปี 2559 - 2562 นายมงคล วิจะระณะ นายกสมาคม นายสันติ โอภาสปกรณ์กิจ เลขาธิการสมาคม นางสาวสาภินันท์ ส่องแสงจันทร์ อุปนายก 1 นายชานล เพ็ชรฉ�่ำ อุปนายก 2 นายปริพัตร บูรณสิน อุปนายก 3

สองขาปั่น สองล้อหมุน เกื้อหนุนกัน สร้างสรรค์สังคม ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้เร็วๆ นี้ J

คุณมงคล วิจะระณะ นายกสมาคม

คุณสันติ โอภาสปกรณ์กิจ เลขาธิการสมาคม

คุณสาภินันท์ ส่องแสงจันทร์ อุปนายก 1

คุณชานล เพ็ชรฉ�่ำ อุปนายก 2

สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 17


เรือ่ ง ชานล เพ็ชรฉ�ำ่

สนาม TC100

เพื่ อ นั ก ปั ่ น รุ ่ น ใหม่

นาม TC100 ออกแบบสนามเพือ่ ให้เกิดการสร้าง นักปัน่ รุน่ ใหม่ๆ ขึน้ มา จากกระแสความนิยมการ ปั่นจักรยานเพิ่มขึ้นทั่วประเทศไทย เริ่มจากการปั่น จักรยานไปกินลมชมวิวกับเพื่อนในกลุ่ม หรือขอออก มาร่วมกลุ่มกับนักจักรยานคนอื่นๆ ระยะทางเพิ่มขึ้น ไกลออกไปมากขึน้ จาก 10 - 20 กิโลเมตร เป็น ระยะ 40 - 70 กิโลเมตรบ่อย ๆ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทยแลเห็นว่า ถ้า เราจัดหาและท�ำสนามให้สวยงามปลอดภัย น�ำกลุ่ม

18 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

คนเหล่านี้มาลงสนามกันอย่างเป็นระบบ ให้เรียนรู้ ได้จากการจัดการกับตัวเองให้ปั่นผ่าน 100 กิโลเมตร ภายใน 1 วันได้อย่างไร ทั้งมีเหรียญและใบประกาศ เป็นที่ระลึก ท�ำให้เกิดแนวคิดสนาม TC100 โดยมุ่ง เอาระยะ 100 กิโลเมตรเป็นจุดหลัก เริ่มต้นครั้งแรกที่งาน กองทุนส่งเสริมนักปั่น ระดับ Super Randonneurs ชุดแรกของเมืองไทย ที่ได้สมัครลงปั่น PBP 2015 ยังประเทศฝรั่งเศส จัดงาน Fundraising To PBP 2015 ระยะ 100


กิโลเมตร เรียกว่า Audax 100 ครั้งแรกในเมืองไทย ที่อ�ำเภอสัตหีบ ประสบความส�ำเร็จอย่างล้นหลาม มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงานในครั้ ง นั้ น มากกว่ า 1,800 คน และระบบการจั ด การกั บ คนจ� ำ นวนมากที่ ไ ด้ รั บ ความชื่ น ชมอย่ า งสู ง จากเพื่ อ นนั ก ปั ่ น ที่ ม ากั น จาก ทั่วประเทศ จึงท�ำให้เกิดโครงการ TC100 ขึ้นมา โครงการตั้งการจัดงานเป็น 3 สนามต่อเนื่อง เริ่มที่ สนามที่ 1 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า นครนายก ใช้ระบบการรับสมัครผ่าน ThaiMTB และ การจัดการกับเพื่อนนักปั่นร่วมกับเพื่อนนักปั่นสาย Audax นักปัน่ ทีม่ งุ่ พิชติ รางวัลจ้าวอินทรี ของสมาคมฯ ที่มากประสบการณ์ อ�ำนวยความสะดวกและความ ต้ อ งการได้ ค รบสมบู ร ณ์ แ บบ ให้ กั บ เพื่ อ นนั ก ปั ่ น มีผู้สนใจเข้ามาร่วมสมัครมากกว่า 2,300 คน สนามที่ 2 พุทธมณฑล วัดไร่ขิง ล�ำพญา เป็น สนามที่ 2 เปิดตัวเพียง 7 วัน มีผสู้ มัครเข้ามามากกว่า 1,000 คน จนทีมงานต้องพิจารณาเปิดเส้นทางทีส่ อง

ให้ในวันเดียวกัน เพือ่ ลดการแออัดของการสัญจรของ ผู้ใช้ทางปกติ ณ วั น ที่ เ ขี ย นบทความนี้ มี ผู ้ ส มั ค รเข้ า ร่ ว ม กิจกรรมแล้ว 2,190 คน ยังเหลือเวลาการรับสมัคร อีก 24 วัน คาดว่าเต็มในระบบแน่นอน เมือ่ มีสนามสองเกิดขึน้ คนทีไ่ ม่ได้ไปสนาม 1 แต่ ได้ลงทะเบียนช�ำระเงินไปแล้ว เราได้เปิดโอกาสให้ปน่ั ซ่อมได้ โดยทีมงานจะเป็นผูน้ ำ� ปัน่ ในสนามเดิม โดยนักปัน่ ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มแต่อย่างใด นี่คือปรากฏการณ์ใหม่ ของผู้จัดที่ให้โอกาสเพื่อนนักปั่นที่ติดธุระในวันงาน มีโอกาสแก้ตวั ได้ และยังท�ำให้มผี สู้ นใจสมัครสนามสอง และขอสมัครสนาม 1 ใหม่ โดยช�ำระเงินค่าสมัครเข้า มาเป็นปกติ เหมือนนักปั่นทั่วไป ท�ำให้เกิดการสร้าง โอกาสและมีการปั่นจักรยานในแบบที่สมาคมฯ จัด มากขึน้ คาดว่าเป็นผลดีตอ่ ชือ่ เสียงและการด�ำเนินการ ของสมาคมฯ สนามที่ 3 สัตหีบ พัทยา มาบประชัน จะเป็น โจทย์ที่ต่อเนื่องของสมาคมฯ ที่ต้องด�ำเนินการสร้าง สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 19


20 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


ฐานข้อมูลของนักปัน่ พร้อมท�ำความเข้าใจและสือ่ สาร กับนักปั่นอย่างต่อเนื่อง เพราะมีการแจกเสื้อที่ระลึก เพิ่มด้วยอีก 1 ตัว และคาดว่าจะมีคนลงทะเบียนปั่น สนามที่ 3 นี้มากเท่าจ�ำนวนเต็มที่สนามจะรับได้ รอดู กันต่อไปครับ ด้วยความมีชอื่ เสียงของ Super Randonneurs ท�ำให้มีผู้ติดตามเป็น Fan Page ใน Facebook กัน อย่างมากมาย เพจของ TCHA Randonneurs มี ผู้ชมอย่างต่อเนื่องมากกว่า 120,000 Like จนต้อง เปิดหน้าเพจใหม่ เพราะกิจกรรมหลักของ TCHA Randonneurs ไม่มีช่องว่างให้เสนอข่าวสารได้ เปิด เป็นหน้าเพจ TC Randonneurs ขณะนี้มีแฟนเพจ ติดตามกันสุดท้ายของบทความนีค้ อื มากกว่า 80,000 คน จากการเปิดเพจมาเพียง 15 วัน การบริหารหน้า เพจนี้จะต้องท�ำอย่างต่อเนื่องและมีการสื่อสารกับ แฟนๆ นักปั่นอย่างใกล้ชิด สมาคมฯ ตั้งเป้าไว้ส�ำหรับการปั่นในปีหน้าคือ

5 สนามหลักของ TC100 และสนามรองระยะ TC60, TC160 อีกระยะละ 2 สนาม TC 100 จ�ำนวน 5 สนามหลักได้แก่ นครนายก สระบุรี นครปฐม พัทยา สมุทรปราการ เน้นการเดินทาง ไปเริ่มต้นสนามไม่ไกลจาก กรุงเทพฯ มากนัก ไกลสุด คือสนามสัตหีบ พัทยา TC 60 ระยะ 60 กิโลเมตร เป็นระยะสัน้ เน้นการ ท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ และมีคา่ ใช้จา่ ยทีอ่ ดุ หนุน เศรษฐกิจพื้นบ้านอย่างเต็มที่ TC 160 เป็นระยะท้าทายก่อนขึ้นไปปั่นระยะ ท�ำการเต็ม Audax มาตรฐานต่อไป จัดท�ำที่ นครปฐม และนครนายก ผมในนามของกรรมการสมาคมที่ได้รับมอบหมาย จากนายกสมาคมให้เป็นผู้ดูแลกิจกรรมเหล่านี้ ขอ อุทิศก�ำลังกายและก�ำลังความสามารถที่มีอยู่ ให้ กิจกรรมเพื่อสังคมนี้ลุล่วงไปด้วยดี เป็นประโยชน์แก่ ประเทศชาติและสังคมต่อไป J สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 21


แบ่งปันประสบการณ์ เรื่อง แสงโสม ริ้วตระกูล

72

วัย ปี... ยังขีจ่ ก ั รยานได้อย่างไร?

ริ่มขี่จักรยานจริงจังตั้งแต่อายุประมาณ 50 ปี เพราะชอบมานานแล้ว แต่ไม่คอ่ ยมีโอกาส ช่วงนัน้ ไปตัดมดลูกและไม่สามารถกินฮอร์โมนทดแทน ได้เนื่องจากแพ้ยา มีอาการไมเกรน หมอก็เกรงจะกระดูกผุเร็วจึงต้อง หันมาออกก�ำลังกาย อีกทั้งเคยอ่านเรื่องในนิตยสารเขียนโดยหญิงวัยห้าสิบ เหมือนกันว่าเขาเป็นโรคปวดเข่า พอหันมาขี่จักรยานทุกวันอาการก็หาย เลยเชื่อว่าการขี่จักรยานน่าจะดีเป็นแน่

22 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


เริม่ ต้นจากไปเข้าห้างสรรพสินค้าเลย ซือ้ เสือภูเขา ราคาประมาณหมื่นบาทมา 2 คัน ขี่กัน 2 คนกับสามี ตอนนั้นยังไม่มีร้านจักรยานมากมายเหมือนปัจจุบัน เริ่มขี่บนทางเท้าใกล้บ้านก่อน (อย่าเรียกว่า “ปั่น” เพราะอัตราเร็วในการขี่ไม่เกิน 10 ก.ม.ต่อ ช.ม.) แล้วเลีย้ วไปตามใต้ทางด่วนผ่านสวนชาวบ้านไปโผล่ที่ กระทรวงสาธารณสุขเมืองนนท์ ได้เห็นเสน่หจ์ กั รยาน ว่าท�ำให้เราได้เปิดตามองเห็นสิ่งที่รถยนต์ไม่สามารถ พาเราเข้าไปได้ และชาวบ้านเป็นมิตรกับเรามากเมื่อ เราขี่ผ่านเขาก็จะทักทาย สั ก พั ก หนึ่ ง ก็ ไ ปเข้ า ชมรมจั ก รยาน ได้ รู ้ จั ก อาจารย์ธงชัย ซึ่งท่านก็มีเมตตาให้ค�ำแนะน�ำต่างๆ ได้เห็นคุณบ๊อบฝรั่งอายุเจ็ดสิบ ยังปั่นได้อย่างเก่ง ตอนนั้นรู้สึกชื่นชมว่าเก่งจัง อายุขนาดนั้นแล้ว ยัง

คล่องแคล่วว่องไวประสบการณ์ปั่นตามพรรคพวก ในชมรมครั้ ง แรกพอปั ่ น จากถนนขึ้ น ทางเท้ า แถว สวนจตุจักร ยังขึ้นไม่เป็น ไม่รู้เทคนิค ขี่แบบเฉียงๆ จั ก รยานก็ แ ฉลบล้ ม ไม่ เ ป็ น ท่ า หน้ า กระแทกพื้ น อย่างแรง อาศัยพอมีความรูเ้ รือ่ งปฐมพยาบาลบ้างเลย นั่งประคบน�้ำแข็งอยู่ครึ่งชั่วโมงแล้วเอาจักรยานขึ้น สามล้อเครื่องกลับมานอนที่บ้านอีก 3 วัน ไม่ยักเข็ด หายดีแล้วก็ปั่นอีก รอบทีจ่ ำ� ไม่ลมื คือปัน่ ไปกับชมรมในวันสงกรานต์ สักประมาณสิบกว่าปีมาแล้ว ปั่นจากสวนรถไฟ ไป เข้าเขตทหารแถวสะพานแดง ผ่านหมู่บ้านทหารซึ่ง

สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 23


คล้ายเมืองๆ หนึ่งเลย ผู้คนก็สาดน�้ำกันสนุกสนาน ไปโผล่ออกแถวถนนพิชัยแล้วปั่นต่อไปสนามหลวง ขากลับผ่านถนนราชด�ำเนิน ตกใจเพราะไม่เคยมาเจอ แบบนี้ รถเต็มแน่นทั้งถนนเลย ส่วนมากเป็นรถกะบะ บรรทุกน�ำ้ เล่นสาดกัน ต้องขีจ่ กั รยานไปตามถนนทีร่ ถ แออัดอย่างนั้น ยอมรับว่ากลัว แต่ก็ผ่านไปได้ กว่าจะ ไปถึงพระบรมรูปทรงม้าแล้วได้นั่งพักก็ปวดขามาก อย่างไรก็ตาม ก็ไปกับเขาจนครบรอบ ขอบคุณชมรมฯ ที่ท�ำให้ได้มีประสบการณ์การ ปั่นหลายแห่ง หลังๆ นี้ไม่ค่อยได้ไปกับชมรม หลังสุด ไปร่วมปัน่ ส�ำรวจทางจักรยานรอบกรุงเทพฯ ตอนแรก ก็ฝันหวาน นึกว่าเป็นทางจักรยานจริงๆ แต่ความจริง ก็คือทางถนนรถขับทั้งหมด เริ่มจากสวนลุมพินีออก ถนนพระรามสีเ่ ลีย้ วเข้าถนนรัชดาฯ ยิงยาวข้ามสะพาน ทั้งสะพานข้ามแยกและสะพานข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา กัดฟันปั่นข้ามมารวม 7 สะพาน แล้วเลิกที่สะพาน พระปิน่ เกล้าฯ ปล่อยพวกชมรมไปต่อ แต่ตวั เองพอแล้ว เพราะส่วนหนึ่งคือถนนน่ากลัวมาก รถเต็มไปหมด รถไฟฟ้าก�ำลังสร้าง ดูไม่ปลอดภัยเลย พรรคพวก วัยเดียวกันอีกสามคนที่มาด้วยกันจบการปั่นไปก่อน หน้านั้นนานแล้ว การปัน่ จักรยานท�ำให้เราได้พบสัจธรรมอย่างหนึง่ คือ ความแก่ไม่เข้าใครออกใคร เวลาเราไปไหน ไม่ว่า จะมีใครชมว่า โห! ดูหน้าอายุยังไม่ถึงเลย แต่เวลาปั่น ผู้คนชาวบ้านข้างทางเขาจะทักเราตามความเป็นจริง เริ่มจาก “ป้าๆ “ ก็เริ่มฉุนแล้ว เราก็ขี่แบบปิดหน้า ปิดตากันแดดขนาดนั้นแล้ว รู้ได้ไงว่าเราวัยป้า ต่อมา ก็ตอ้ งปลง เพราะเริม่ มีเสียง “ยายๆ ” แว่วเข้ามาแล้ว ทางปั่นจักรยานที่คิดว่าเป็นสวรรค์ของสอง คนตายายคือทางปั่นแถวแกลง ระยอง เริ่มจาก ที่พักใกล้แหลมแม่พิมพ์ เราสามารถเลือกทางเลียบ ชายทะเลคือเลียบหาดแม่พิมพ์ก็ได้ หรือตัดเข้าไปใน สวนผลไม้ก็ได้ ผลไม้ข้างทางในช่วงเดือนพฤษภาคม ออกลูกดกล่อตา ทั้งลองกอง เงาะ มังคุด และทุเรียน ทางปั่นด้านใน (in land) มีให้เลือกลัดเลาะมากมาย 24 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

บางตอนเป็นสวนยางร่มรื่น บางตอนเป็นนาข้าว มีวิว ภูเขาด้านหลังเป็นพาโนรามา ได้เห็นต้นข้าวในระยะ ต่างๆ ช่วงออกรวงมีนกเยอะแยะ ช่วงทีย่ งั ไม่ออกรวง ก็มีนกยางพันธุ์ต่างๆ ทางปั่นบางตอนก็เป็นหนองน�้ำ เป็นแบบป่าชุ่มน�้ำ เมื่อก่อนยังเป็นทางลูกรังอยู่มาก แต่เดีย๋ วนีม้ ี อบต. มาบริหาร ทางทัง้ หลายก็กลายเป็น ทางลาดยางหรือคอนกรีตเป็นส่วนใหญ่แล้ว จากอนุสาวรียส์ นุ ทรภูจ่ ะเป็นทางจักรยานแบบ แท้ๆ ไปถึงแยกร็อก การ์เด้นท์ จากนี้จะแยกขวาไป อ่าวมะขามป้อม ไปท่าเรือประมง ดูเขาขึ้นปูขึ้นปลา กันก็ได้ หรือจะแยกซ้ายไปแหลมสนปากน�้ำประแส ก็ได้ เมื่อก่อนยังไม่มีสะพานข้ามแม่น�้ำ ต้องใช้บริการ เรือรับจ้างเอาจักรยานลงเรือข้ามไปตลาดประแส แม่น�้ำกว้าง ลมเย็นสบาย แต่เดี๋ยวนี้มีสะพานข้าม แม่น�้ำแล้ว ยาว 2 กิโลกว่า เรือข้ามฟากของลุงดาบ ก็ ห ายไป ตลาดประแสยั ง เป็ น ตลาดแบบโบราณ ห้องแถวไม้ น่ารักมาก ผู้คนที่นั้นถามว่าจะไปไหน ก็ บ อกมาเที่ ย วแถวนี้ แ หละ เขาก็ แ นะน� ำ ให้ ไ ป


ป่าชายเลนแสมผู้ เราไปไม่ถกู เขาก็ขบั รถมอเตอร์ไซค์ น�ำเราไปเลย จะหาน�้ำใจอย่างนี้ได้ที่ไหนอีก ไปเดิน ในป่าได้ทกั ทายกับลุงแก่ๆ ก�ำลังอยูใ่ นน�ำ้ ซ่อมสะพาน ไม้ไผ่ที่ใช้เดินในป่าโกงกาง คุยกันได้ทราบว่าเป็น ผู้น�ำชุมชน ท�ำน�้ำหมักชีวภาพอาไว้ใส่ในป่าเพื่อรักษา สิง่ แวดล้อม แกชือ่ ลุงชโลม ออกทีวมี าหลายรายการแล้ว เรื่ อ งน�้ ำ หมั ก ชี ว ภาพนี้ ภ ายหลั ง ตอนช่ ว งน�้ ำ ท่ ว ม ซอยในบ้านทีก่ รุงเทพเน่าเหม็นแสบจมูก ก็ได้นำ�้ หมัก ของลุงชโลมไปสาดใส่ 2 ชั่วโมงกลิ่นหายเลย เมื่อสองวันนี้ได้ไปปั่นแถวแกลงอีก ตอนนี้ผู้คน เริม่ เอ็นดูเราสองคนมากขึน้ เริม่ จากมักจะถามว่าอายุ เท่าไหร่แล้ว สามีตอ้ งพักนวดยาทีข่ าหลังจากปัน่ ได้สบิ กว่า กิโล พอซื้อโค้กและขอเกลือเขาเติมเพื่อเพิ่มเกลือแร่ ในร่างกาย พักเสร็จพอจะจ่ายเงิน เขาบอกไม่ต้อง ไม่คิดเงิน โห! หาได้ที่ไหนอีกในโลกนี้ ที่ร้านกาแฟ บอกเขาว่าเอาแบบหวานน้อยๆ นะ เขาก็บรรจงชง พอเราดูดเข้าไปเขาก็ถามว่า เป็นไง เราบอกยังหวาน มากอยู่ เขาบอกไม่เป็นไร เดี๋ยวชงให้ใหม่ เราก็บอก

ไม่ต้องหรอก กินได้ เขาก็ไม่ยอม บอกแก้วเก่าเดี๋ยว ให้ลูกชายกิน อย่างนี้หาได้ที่ไหนอีกถ้าไม่ใช่น�้ำใจ คนแกลง สามีเดินไปซื้อกล้วย เราไม่ได้เดินไปด้วย เขาก็ถามว่า วันนี้มาคนเดียวเหรอ ทั้งๆ ที่เราก็ไม่ เคยทักทายกันเลย แสดงว่า ชาวบ้านเขาเห็นเราอยู่ ตลอดเวลา ใครยังไม่เคยไปแถวนัน้ ลองไปดูนะคะ จะติดใจ แต่ครัง้ นี้ ปากทางเข้าป่าโกงกางเปลีย่ นไปแล้ว เพราะ คนไปเทีย่ วมากขึน้ ใครเอารถยนต์ไปต้องจอดก่อนถึง แล้วนั่งสามล้อเครื่องเข้าไป ปากทางเข้าก็มีของกิน ขายเยอะแยะ ป่ า โกงกางที่ นั่ น มี บ อร์ ด วอล์ ค ยาว ประมาณ 2 กิโล ไปถึงทะเลเลย แล้วแยกขวาไปได้อกี ไปอีกประมาณ 1 - 2 กิโลจะถึงเรือรบประแสที่ ปลดระวางแล้ว เขาให้ขนึ้ ไปเทีย่ วบนเรือได้ ต้นโกงกาง ที่นี้อายุน่าจะเกินร้อยปี เป็น unseen เลยค่ะ ขอขอบคุณชมรมจักรยาน (ชือ่ ในสมัยนัน้ ) ทีท่ ำ� ให้เราสองคนตายายได้มีประสบการณ์มาจนถึงบัดนี้ ได้เข้าใจแล้วว่า วัยเจ็ดสิบสองยังขีจ่ กั รยานได้อย่างไร J สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 25


AUDEX 1500

ตรียมความพร้อม เพือ่ พิชติ Super Randonneurs 1,500 km. 16-22 กรกฎาคม 2559 กิจกรรม Bangkok-Phrae-Bangkok Gran Turismo (AU, NZ) หรือ Brevet week, Hell week (US) หรือ Heaven week (JP, TW) คือการปั่น BRM 200, 300, 400, 600 ครบชุดระยะ 1,500 กิโลเมตร เพื่อ พิชิต Super Randonneurs ภายใน 7-9 วัน นิยม จัดในฤดูกาลเดียวกันกับ PBP เพื่อใช้สอบ SR แบบ เร่งรัด ยกตัวอย่างกรณีของเราในช่วงเดือนกรกฎา ที่ วางแผนจัดไว้เบื้องต้นดังนี้ 16July 200km: กรุงเทพฯ-ชัยนาท 17July 300km: ชัยนาท-พิษณุโลก-สุโขทัย 26 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

19July 600km: สุโขทัย-แพร่-อุตรดิตถ์เลย-หล่มสัก 22July 400km: หล่มสัก-เพชรบูรณ์กรุงเทพฯ พวกเราน�ำรูปแบบ Gran Turismo ที่ง่าย กว่าการปั่นรวดเดียวจบ เปิดกว้างให้นักปั่นวางแผน เข้าร่วม ทั้งหมด หรือบางส่วน มาประยุกต์ใช้เพื่อ พาท่านไปท่องเที่ยวในระยะทางไกล ส�ำรวจ ทดลอง เส้ น ทาง 1,400 km (Grande Randonnèe) ซึ่งจะปั่น 116 ชั่วโมง 40นาที ต่อเนื่องไม่มีหยุด (สั้น-กระชับกว่า GT 100 กิโลเมตร) ที่วางแผนจะจัด ตอนสิ้นปี 2016 (ฤดูกาล 2017) และจะจัดต่อเนื่อง


เป็นประเพณีทุกๆ 4 ปี ส�ำหรับกิจกรรม Gran Turismo ที่จะจัดใน เดือนกรกฎาคมนี้ จะเป็นกิจกรรมในลักษณะเดียวกัน กับ Testrun (non-BRM) ไม่มีสิทธิซื้อเหรียญของ ACP โดยมีก�ำหนดจัดเป็น BRM ในช่วงสิ้นปี 2018 (ฤดูกาล 2019) เพื่อเป็นสนามสอบ SR แบบเร่งรัด ส�ำหรับ PBP2019 และจะจัดต่อเนื่องเป็นประเพณี ทุกๆ 4 ปี

Dec 2016, GR Dec 2018, GT (BRM) Dec 2020, GR Dec 2022, GT (BRM) ข้อมูลรายละเอียดเส้นทาง รูปแบบเหรียญ รางวัล/ของที่ระลึก จะประกาศให้ทราบในล�ำดับ ถัดไป กิจกรรมนีจ้ ดั โดยความร่วมมือของผูจ้ ดั ออแด๊กซ์ ทั่วประเทศ ทั้งผู้จัดในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้จัดใน สรุป Timeline ของแผนกิจกรรม Bangkok-Phrae- ภูมิภาคอื่นๆ ขอบคุณข้อมูลจาก https://www.facebook. Bangkok ได้ดังนี้ com/AudaxThailand J Jul 2016, GT (non-BRM) สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 27


AUDAX 200 TESTR เ

ปิดตัวเส้นทางใหม่ 200 km ชุมพร (Chumphon) โดยผูจ้ ดั TCHA Randonneurs กิจกรรมจัดขึน้ ใน วันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน เส้นทางนีเ้ ป็นส่วนต่อขยายภาคใต้ ทีต่ งั้ ใจไว้วา่ ซักวันจะเชือ่ มต่อกับชาวออแด๊กซ์กว๊ นใหญ่ที่ หาดใหญ่

28 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

ตรัง ปัตตานี โครงการนี้เริ่มโดยการติดต่อเข้ามา ของเพื่อนนักปั่นชาวชุมพร ผ่านสมาคมจักรยานเพื่อ สุขภาพไทย ที่เป็นผู้ช่วยเหลือและเป็นพี่เลี้ยงในการ จัดกิจกรรม เสนอแนะน�ำเส้นทางโดยนักปั่นในพื้นที่ รับรองได้ถึงความสวยงามเชิงลึก โชว์ศักยภาพของ


RUN / CHUMPHON 4 มิถุนายน 2559

เครือข่ายถนนรองทีเ่ รียบ เงียบ ปลอดภัย ของจังหวัด ชุมพร ไม่มีการปั่นย้อนทางเดิม มั่นใจว่าสวยหมด ท่านจะได้รจู้ กั ชุมพร (ตอนบน) ได้อย่างถึงแก่นกระดูก ในกรอบเวลาเวลา 13 ชั่วโมง 30 นาที พอเห็นร่าง เส้นทางแล้วแอดมินก็ขอร่วมด้วยช่วยเชียร์เช่นกันครับ

แต่ก่อนก็ปั่นกุ้งๆ กิ้งๆ มาหลงเสน่ห์ของการปั่นทัวริ่ง ที่ เ ส้ น ประจวบ-ชุ ม พรนี่ ห ละครั บ หลั ง จากนั้ น จึ ง ค่อยเตลิดมาเล่นยาแรงแบบออแด๊กซ์ ถ้ามีโอกาสก็ ลงทะเบียนร่วมกิจกรรมได้เลยครับ ไม่ผดิ หวังแน่นอน เช่นเดียวกับเส้นทางอืน่ ๆ เส้นทางนีไ้ ม่สงวนสิทธิ์ ท่านสามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลเส้นทาง แผนที่ ข้อมูล GPS ได้ที่ http://www.audaxthailand. com/…ท่านจะใช้ข้อมูลเอาไว้เตรียมตัวปั่น Audax หรือ จะเอาไว้วางแผนปั่นท่องเที่ยวในแบบอื่นๆ ของ ท่านได้ตามอัธยาศัย รับประกันความปลอดภัยจาก การจราจรกระแสหลักความเร็วสูง J

เครดิตภาพถ่าย: คุณ Kanentertain เพื่อนนักปั่น จากจังหวัดชุมพร ภาพถ่ายจากกิจกรรม Bike For Dad บริเวณเส้นทางเลียบคลองโครงการพระราชด�ำริหนองใหญ่ (โครงการแก้มลิงชุมพร) หรือช่วงกิโลเมตรที่ 20 ของ เส้นทาง Audax ครับ ขอบคุณข้อมูลจาก https:// www.facebook.com/AudaxThailand สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 29


เรียบเรียงจากข้อมูลของ มูลนิธิหมอชาวบ้าน (Folk Doctor Foundation) www.doctor.or.th นักเขียนหมอชาวบ้าน: นพ.พินิจ ลิ้มสุคนธ์

การกูช้ พ ี

ฉบับชาวบ้าน “การกู้ชีพ” หรือ “การช่วยฟื้นคืนชีพ” คือ ปฏิบัติการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นและหยุด หายใจกะทันหัน โดยใช้แรงมือกดหน้าอก และเป่าลม เข้าทางปาก ซึ่งไม่ต้องใช้อุปกรณ์การแพทย์ใดๆ คนส่วนใหญ่มกั คิดว่า “การกูช้ พี ” เป็นเรือ่ งยาก และเกี่ยวข้องกับบุคลากรทางการแพทย์หรือหน่วย กู้ภัยเท่านั้น ซึ่งที่จริงแล้วทุกคนสามารถเรียนรู้และ ฝึกฝนกันได้ ผู้เขียนเคยท�ำโครงการฝึกกู้ชีพให้กับ อสม. โดยประดิษฐ์หุ่นราคาถูก ประยุกต์จากหุ่นโชว์เสื้อผ้า วางแท่นสปริงในทรวงอกเพือ่ ให้กดแล้วยุบลงได้ ปาก ก็ต่อท่อเข้ากับลูกโป่งเพื่อจ�ำลองเป็นทางเดินหายใจ 30 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

และปอด ชาวบ้านก็รสู้ กึ เหมือนปฏิบตั จิ ริง ถือว่าได้ผล ดีระดับหนึ่ง แต่ก็ท�ำได้บางจังหวัดที่ผู้เขียนสะดวกไป อบรมให้เท่านั้น หากหน่วยงานของรัฐน�ำไปขยายผล ต่อก็คงจะเกิดประโยชน์มากขึ้น ช่วงหน้าร้อนแล้ว คนนิยมไปเที่ยวทะเล หรือ เล่นน�้ำตามชายหาด แม่น�้ำ ล�ำคลอง ซึ่งเรามักจะ ได้ยินข่าวการสูญเสียจากการจมน�้ำ บางครั้งช่วยขึ้น มาได้แต่หยุดหายใจ หรือการปั่นจักรยานท่ามกลาง ความร้ อ นจั ด ท� ำ ให้ ร ่ า ยกายสู ญ เสี ย น�้ ำ จนเกิ ด อาการหมดสติ หยุดหายใจ ก็ไม่รู้ว่าจะท�ำอย่างไรต่อ จนผู้ประสบเหตุต้องตายไปต่อหน้าต่อตา แต่ถ้าท่าน รู้วิธีกู้ชีพเบื้องต้นก็จะช่วยชีวิตไว้ได้ เพราะเมื่อหัวใจ


หยุดเต้น เราจะมีเวลา 4 นาทีทองในการช่วยให้ฟื้น ส่วนสาเหตุการตายเฉียบพลันที่พบบ่อย ได้แก่ จมน�ำ้ ไฟฟ้าช็อต ฟ้าผ่า ขาดอากาศ ศีรษะถูกกระแทก รุนแรง เสียเลือดมาก ได้รับสารพิษ ส�ำลักอาหาร โรคหัวใจ หลอดลมตีบ เป็นต้น การสอนกู้ชีพนั้น ปัจจุบันได้ขยายไปยังบริษัท และโรงงานต่างๆ ถ้าจะให้ดีควรกระจายไปถึงระดับ ชาวบ้านและครอบครัวด้วย แต่ควรเป็นวิธที เี่ ข้าใจง่าย ท�ำได้จริง อิงหลักการและสภาพความเป็นจริง เพราะ ถ้าอิงทฤษฎีและวิธีตามแบบฝรั่งมากไป จะจ�ำยาก สับสน แล้วก็เลยท�ำไม่เป็นกันสักที

ผู้เขียนจึงอยากเสนอวิธีการกู้ชีพฉบับชาวบ้าน ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ตรวจสภาพและจัดท่า - ดูว่าหมดสติหรือไม่... ให้ปลุก เรียก เขย่าตัว - ดู ว ่ า หายใจหรื อ ไม่ . .. ดู ก ารขยั บ ของ หน้าอก ฟังเสียงหายใจ แก้มสัมผัสลมหายใจ (ตาดูหูฟัง-แก้มสัมผัส) - ดูวา่ หัวใจหยุดเต้นหรือไม่... ให้จบั ชีพจร ที่คอด้านข้าง - จั ด ท่ า (ท่ า กู ้ ชี พ -นอนหงาย ท่ า พั ก นอนตะแคง) สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 31


2. ขอความช่วยเหลือ เช่น ตะโกนหรือโทร เรียกคนช่วย 3. กู้ชีพ 3.1 เปิดช่อง-หน้าเชิด-เชยคาง - เอาสิ่งแปลกปลอมออกจากปาก - กดหน้าผากลงให้หน้าเชิด - ใช้นิ้วมือช้อนคางให้แหงนขึ้น 3.2 เป่าปอด ตามสภาพความเป็ น จริ ง ถ้ า ใช้ วิ ธี เป่าปากตามทฤษฎีซงึ่ เป็นการเอาปากประกบกันแล้ว เป่าลมเข้าไปในปอด หากไม่ใช่ญาติสนิทอาจท�ำให้ รู้สึกรังเกียจและเกิดความระแวงเรื่องโรคติดต่อได้ ท�ำให้ไม่กล้าช่วยเหลือ ดังนั้น ผู้เขียนจึงประยุกต์จาก “เป่าปาก” มาเป็น “เป่าปอด” โดยใช้มือของเรา

32 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

จีบนิว้ เข้าหากันท�ำให้มชี อ่ งตรงกลาง วางบนปากผูป้ ว่ ย ให้สนิท แล้วเป่าลมผ่านมือแทนการใช้ปากสัมผัสกัน โดยตรง แต่ถ้าหากเป็นญาติสนิท คนในครอบครัว สามี ภรรยา ลูก ก็ให้ใช้วิธีประกบปากกัน แล้วเป่าลม เข้าปอด จะมีประสิทธิภาพดีกว่า 3.3 ปั๊มหัวใจ - หาต�ำแหน่งที่กระดูกซี่โครง 2 ข้าง มาชนกันตรงกลาง วางนิ้วชี้และนิ้วกลางลงไป แล้ว วางสันมืออีกข้างถัดขึ้นมาจาก 2 นิ้วนั้น - ประสานมือ 2 ข้าง เหยียดแขนตรง โน้มตัวตัง้ ฉากกับอก ทิง้ น�ำ้ หนักลงบนแขนกดลงฝ่ามือ ห้ามยกมือขึ้นจากอก (กดให้หน้าอกยุบลงประมาณ 1.5-2 นิ้ว) - นับ 1... และ 2... และ 3... และ 4...


จนครบ 30 ครั้ง แล้วเป่าปอด 2 ครั้ง (ท�ำติดต่อกัน 4 รอบ) 4. ประเมินผล ดูวา่ รูส้ กึ ตัวหรือไม่ มีการหายใจ และมีชีพจรหรือไม่ ส�ำหรับผูเ้ ขียนเอง จะเน้นทีก่ ารปัม๊ หัวใจมากกว่า การเป่าปอด โดยเฉพาะ 1 นาทีแรกหลังหัวใจหยุดเต้น ให้รีบปั๊มหัวใจก่อนเลยเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของ เลือด อย่ารีรอหรือมัวกังวลเรื่องการเป่าลมเข้าปอด ถ้าปั๊มหัวใจได้เร็ว โอกาสรอดก็จะสูงขึ้น การช่วยกู้ชีพนั้นไม่ใช่เรื่องไกลตัว เพราะวันใด วันหนึ่งท่านอาจจะพบเห็นและมีโอกาสได้ช่วยเหลือ คนอื่นหรืออาจเป็นคนที่ท่านรักเอง ลองเรียนรู้และ ฝึกฝนกันดู ถ้าเป็นไปได้อยากเห็นคนไทยกู้ชีพกันได้ ทุกบ้าน บ้านละ 1 คนก็ยังดี J

ตรวจสภาพและจัดท่า: ดูว่าหมดสติหรือไม่... ดูว่าหายใจ หรือไม่... ดูวา่ หัวใจหยุดเต้นหรือไม่... จัดท่า (ท่ากูช้ พี -นอนหงาย ท่าพัก-นอนตะแคง)

เปิดช่อง-หน้าเชิด-เชยคาง: เอาสิ่งแปลกปลอมออกจากปาก, กดหน้าผากลงให้หน้าเชิด, ใช้นิ้วมือช้อนคางให้แหงนขึ้น

เป่ า ปอด: โดยใช้ มื อ ของเราจีบนิ้วเข้าหากัน ท� ำ ให้ มี ช ่ อ งตรงกลาง วางบนปากผู ้ ป ่ ว ยให้ สนิท แล้วเป่าลมผ่านมือ แทนการใช้ปากสัมผัส กันโดยตรง

ปัม๊ หัวใจ: หาต�ำแหน่งทีก่ ระดูกซีโ่ ครง 2 ข้างมาชนกันตรงกลาง วางนิว้ ชี้ และนิ้วกลางลงไป แล้ววางสันมืออีกข้างถัดขึ้นมาจาก 2 นิ้วนั้น ประสานมือ 2 ข้าง เหยียดแขนตรง โน้มตัวตัง้ ฉากกับอก ทิง้ น�ำ้ หนัก ลงบนแขนกดลงฝ่ามือ ห้ามยกมือขึน้ จากอก (กดให้หน้าอกยุบลง ประมาณ 1.5-2 นิ้ว)นับ 1... และ 2... และ 3... และ 4... จนครบ 30 ครั้ง แล้วเป่าปอด 2 ครั้ง (ท�ำติดต่อกัน 4 รอบ) สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 33


เรื่องเล่าชาวสองล้อ

เรื่อง/ภาพ จารึก หลังสวน

ปั่นสองเดือนเที่ยวยูนนาน ตอนที่ 14

34 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


ปั่

นจากเมื อ งคุ น หมิ ง Kunming ( 昆明 ) สู่ทะเลสาบลูกู้ Lugu lake ( 泸沽湖 ) เป้าหมายหลักการปัน่ เทีย่ วช่วงนี้ ของผม อยู่ที่ทะเลสาบลูกู้ ผมไม่แน่ใจ นะครับ รู้ชัดแน่ว่าชื่อทะเลสาบคือ..ลูกู้ แต่ไม่แน่ใจ ไม่แน่ใจว่าผมตาฝาด หรือ พีจ่ นี เขียนป้ายชือ่ ผิด เขียนไม่เหมือนกัน ในหลายที่ๆ เจอ แบบว่าผมเจอป้ายที่ พีจ่ นี เขียน ใช้ภาษาอังกฤษก�ำกับคูค่ ำ� จีน เป็น Lugu Hu ก็มี ทีเ่ ขียนเป็น Lugu Fu ก็มี ผมคุยกับชาวจีน..ผมออกเสียงว่า ลูกู้ฮู่ คนจีนบางคนฟังผมก็ช่วยแก้.. บอกผมต้องออกเสียงเป็นลูกู้ฟู่ แต่ไป เจออีกบางคน บางคน..ผมออกเสียง ให้เขาได้ยินเป็นลูกู้ฟู่ เขาโบกมือ..บอก ไม่ใช่ ต้องออกเสียง ลูกู้ฮู่ ให้ ท ่ า นเลื อ กออกเสี ย งเอาเอง ก็ แ ล้ ว กั น ว่ า จะชอบฮู ่ ห รื อ ฟู ่ ซึ่ ง ความหมายแปลว่าทะเลสาบ ผมเอง ก็ไม่ได้สอบถามท่านผู้รู้อื่นใด ที่พอจะ รู้เรื่องภาษาจีน ว่าควรจะเลือกเอาฮู่ หรือจะเอาฟู่ ด้วยความมั่วแบบนี้ จึงเป็นเหตุ ท� ำ ผมจ� ำ เรี ย กชื่ อ สถานที่ แ ม่ น ..จน ติดปาก อยู่สองค�ำคือลูกู้ฮู่ หรือลูกู้ฟู่ ที่พูดถึงแล้ว กะ..พันชัววา เพราะพอผมบอก ตอบที่พี่จีน แต่ละคนถามผม ยามเห็นผมปั่น ใน ช่วงนี้..ว่าจะไปไหน ผมตอบจะไปลูกู้ฮู้ ผมขอเรียกเป็นฮู่..นะครับ แทบทุกคน บอกผม..ต้องปั่นผ่านพันชัววา พอปั่น ถึงจริงถึงร้องอ๋อ อ้อ...เมือง Panzhihua ตอนเห็นป้ายเบ้อเริม่ เทิม่ เขาเขียนเป็น ภาษาอังกฤษครับ พอถึงพ้นพันชัววา สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 35


ค่อยไปคล�ำ หาเส้นทางปั่นมุ่งลูกู้ฮู่ แกะระยะจากแผนที่ รูต้ วั ล่วงหน้าพอประมาณ ว่าจากคุนหมิงถึงพันชัววา ประมาณสามร้อยกิโลเมตร ปั่นต่ออีกซักเกือบสี่ร้อยกิโลเมตร ก็จะถึงลูกู้ฮู่ ผมรูจ้ กั ชือ่ ลูกฮู้ ู่ ตัง้ แต่นงั่ คล�ำดูแผนทีอ่ ยูก่ ะบ้าน มองหาเส้นทาง ที่คิดอยากปั่นเที่ยวจีนในถิ่นยูนนาน ให้ถงึ เมืองจงเตีย้ น หรือทีจ่ นี มณฑลยูนนานเขาเปลีย่ น ชื่อ..เรียกเป็นแชงกริ-ล่า ผมไม่อยากจะปั่นเข้าหา จงเตีย้ น ในเส้นทางทีอ่ าจซ�ำ้ ทับกองขี.้ .รอยเยีย่ วทีเ่ คย อ่านเจอ ว่ามีหลายท่านที่ปั่นเดี่ยวและหลายกลุ่มใน หมู่นักปั่นไทยเรา ย�่ำกระไดลากวงล้อผ่านเที่ยวเยอะ คนกันแล้ว ครั้นนั่งดูในแผนที่ๆ ฝรั่งท�ำขาย..ผมซื้อ เก็บไว้นานแล้วกว่าสิบปี แค่เห็นเป็นจุดแนะน�ำ ลูกฮู้ .ู่ . ท�ำเลทีต่ งั้ อยูเ่ ยือ้ งถ่างออกข้างทางขวามือ อยูต่ ำ� แหน่ง เกือบระนาบเดียวกับจงเตี้ยน ที่จูงใจคือมีดาวก�ำกับ บอกลูกู้ฮู่..เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ขอสารภาพเลย ว่าอีตอนแรกความอยากปัน่ อยากปัน่ ให้ผา่ ทะเลสาบ ลูก่ ู้ เพียงไม่อยากปัน่ ซ�ำ้ ทางท่านอืน่ แค่นนั้ เอง นอกเหนือ จากนี.้ .ไม่รอู้ ะไรเลย ก่อนจะมาปัน่ ทัง้ ทีต่ งั้ ใจ แบบตัง้ ใจ จะไป..ลูกู้ฮู้ ใช้วิธีหาข้อมูลจากเน็ตเพิ่ม ช่วงอยู่ใน จีนแล้ว โธ่...เอ้ย....ยยย แต่เอาจริง..ที่ได้ปั่น พอใจจริงๆ นอกเหนือจาก ที่ได้ กายตนทนย�่ำกระได ปั่นลุถึงลูกู้ฮู่ดังตั้งใจ ยังได้ อานิสงค์ทางฝึกอยู่สงบเป็นของแถม ภูมิประเทศ ระหว่างปั่นช่วงนี้สุดอ�ำนวย แค่ปั่นพ้นไปสี่ห้าวัน ปรับระดับราบจากรอบเมืองคุนหมิง ถัดที่เหลือที่ปั่น ต่อเริ่มไต่หนืด หนืดขึ้นไปทีละสิบยี่สิบกว่ากิโลเมตร ถึงสามสิบกิโลเมตรก็ยังมี เส้นทางปั่นเป็นขนาดพอ กระดกยกระนาบ ปั่นหนืดเพลิน ไม่สาหัสถึงขั้นจะ หืดหอบ ผ่านชัน้ คลืน่ เทือกเขาเหลือ่ มสลับบังทับซ้อน ในพื้นที่สูงเกินสองพันเมตรใกล้สามพัน สบายจมูก อากาศโล่ง แม้นเจอฝนก็ไม่ถึงขั้นตัวพังหวัดจับหัวตัว จับไข้ สบายกายทุกวัน สบายตาทุกขณะด้วยสีเขียว ของต้นไม้อุดมสมบูรณ์ เป็นสีสวยถูกโฉลกกะดวงตา 36 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)

ทั้งสวยสงบ สบายใจ ตกเย็นของทุกวันที่รอนแรม ได้ที่เหมาะเป็นท�ำเลที่กางเต็นท์ เหมาะเจาะนอน คนเดียว เป็นโอกาสฝึกตนอยู่สงบโดดเดี่ยว ได้ความ สงบจนอยากบอก อยากพูดด้วยค�ำสูง ว่าได้ถึง..ซึ่ง นิพพาน จากการปั่นในช่วงนี้ ความสงบทีไ่ ด้รบั เป็นผลจากเรือ่ งเล่น หัดเล่น.. เล่นนั่ง นั่งตามดูลมหายใจ หัดเล่นกว่าสามสิบปี แต่ ออกตัวก็คงเป็นเพราะมัวแต่..เล่น เลยได้แค่นั่งเล่น.. นั่งเฝ้าดู ตามดูลมหายใจเข้าและออก แค่รับรู้ว่ามัน เข้า-มันออก ทุกขณะที่หายใจ ฝึกจนคุ้นการคุมจิต ไม่ปล่อยใจ ให้ว่ิงหลุด...จากการเกาะ เกาะดู...ลม แต่ก็ไม่อายที่จะบอก ท�ำเป็นได้ผลเพียงแค่ใช้เป็น อุบายให้จิตมีที่เกาะและเฝ้าดู พอที่จะไม่มีเบื่อหรือ ว้าวุ่นในเวลาที่ผ่านไปตอนนั่งเล่น แต่ไม่ได้ขยับขยาย ไม่เคยได้มากขึ้นซึ่งการเล่นที่คืบหน้า ทั้งใจไม่ได้หวัง การบรรลุ...ญาณ บรรลุ...มรรค เรือ่ งนีเ้ คยถามพระ... พระปลอบ บอกบุญคนไม่ถึงจะบรรลุ..ความคืบหน้า เลยก้มหน้า..ก้มตาปั่นจักรยาน เพียงหวังหาที่สงบ ใช้นั่งเล่น นั่งเล่นตามดูลม..ลมหายใจเข้าออก เอา พอเพลิน พอได้ใช้มันเป็นอุบายชักน�ำตัวเองให้สงบ จัดเป็นเครือ่ งเล่นสุดวิเศษยามอยูโ่ ดดเดีย่ ว จ�ำเพาะยิง่ ..อยู่ในเต็นท์ อยู่คนเดียว ในความสงบมืดสนิทของ ราตรี ใช้วิธีนี้นั่งเล่น ความเหงา..เศร้า ความห่วงตัว.. กลัวภัย ไม่เกาะกิน..ในความคิด กายและจิตมีแต่ ความสงบ มี แ ต่ ค วามคิ ด ถึ ง เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ที่ ค บหา รวมทั้งที่เคย..เคยคบหา หน้าตาเพื่อน หน้าตาคน ที่จิตตวัดรัดคิดถึง ลอยโดดเด่นในมโนสัมผัส ได้ใช้ เวลานึ ก ภาวนา ขอเหล่ า เพื่ อ นที่ สั ม ผั ส ในมโนได้ เจอความสงบ แบบเราประสบเจออยู่เช่นนี้ ภาวนา สิ่ ง ดี ๆ พึ ง เกิ ด แก่ ทุ ก คน ความคิ ด ถึ ง ในทางร้ า ย.. ไม่มีเลย แปลกจริงๆ..ภาวะจิตที่สงบในช่วงนี้ มั น จึ ง เป็ น ช่ ว งวิ เ ศษสุ ด ของการด� ำ รงตน ณ ขณะนั้น ทั้งได้ค�ำตอบ ใช้ตอบ..ต่อคนถาม ปั่นเดี่ยว เที่ยวคนเดียว มันได้อะไร ครับได้คำ� ตอบๆ เพือ่ นฝูง มันได้ถงึ ซึง่ ความสงบ


ได้ถึงสุดความเย็น..เย็นสงบ หมดความวิตก ความ กังวล ความรุ่มร้อนในอารมณ์ตัว ในแต่ละคืนที่ปั่น แต่ละวัน ความรู้สึกผม ผมขอเลือกค�ำ..ค�ำนิพพาน มาบรรยาย ให้ท่านรู้ถึงความสงบที่ผมได้รับ จากการ ปั่นในช่วงนี้ ผมขออ้าง อ้างครูที่สอนผม ท่านสั่งสอน สอนผม..ให้กล้าใช้ ใช้คำ� ..ค�ำนิพพาน บอกภาวะความ สงบ แก่คนอื่นให้รู้ความ ยามอารมณ์สงบ..สุดร�ำงับ ในทุกสิ่ง ได้ถึงสุดของความเย็นเกิดแก่จิตเกิดแก่กาย ท่านบอกผม..ใช้ไปเถอะ ใช้ให้แพร่หลายให้ใช้ค�ำ จิตเรากายเรา..มันนิพพาน ก็ ภ าวะสรรพสิ่ ง ที่ มั น เย็ น ลงจากที่ เ คยร้ อ น ข้าวสุกร้อนคดใส่จานวางทิง้ มันเย็นลง ถ่านไฟ ก้อนฟืน สุมในเตา ติดไฟคุโชน ร้อนแดงฉาน ชักออกจากเตา ปล่อยวางทิ้งให้เย็น มือจับได้ ครูท่านสอน คนอินเดีย มีค�ำเรียกถ่านก้อนนั้น ไม้ฟืนดุ้นนั้น..มันนิพพาน ข้าว สุกในจานนี้..มันนิพพานแล้ว ท่านเน้นผม นิพพาน เป็นแค่ภาษาอินเดียโบราณ มีความหมาย..ภาวะเย็น

ลงจากภาวะเดิมที่เคยร้อน ท่านบ่นบอกผม บ้านเรา ยกเป็นค�ำความหมายสูงเกิน จนคนไม่กล้าใช้ ท่านจึง ย�้ำเน้นสอนผม สั่งผมชักชวนใช้กันเถอะ และหมั่นหัด ฝึกจิตตนฝึกตัวตน ให้ได้ลิ้มรสความเย็น..ถึงนิพพาน ผมจึงถือโอกาสนี้ ใช้ค�ำนิพพานสื่อความหมาย ในโอกาสที่ตัวเองโชคดี ที่ได้ผ่านภาวะที่อยากท�ำ การฝึ ก ตั ว หั ด ปั ่ น คนเดี ย ว ยิ่ ง ช่ ว งเที่ ย วลู กู ้ ฮู ่ ผ ่ า น ปั น ชั ว วา เป็ น ช่ ว งได้ สั ม ผั ส ความสงบในอารมณ์ ได้ ค วามร� ำ งั บ สิ้ น หมดความร้ อ นของอารมณ์ . . เกิดนิพพาน ในความหมายค�ำนิพพาน ที่ครูผมท่าน สอนมา นานเนิ่นแล้ว ส่วนความเป็นปุถุชน..ตัวตนผม ท�ำตนเป็น ถ่านเย็นได้..แค่ชวั่ คราว โดนไฟจุดลนซ�ำ้ มันเกิดวนร้อน ขึ้นอีก ก็เป็นเรื่องกรรมจิตของตน มีบุญแค่ฝึกเย็นได้ ชั่วคราว เป็นแบบเรื่องก�ำแน่นไม่แบแท้ ยังด�ำรงเป็น คนขี้เหม็น นั้น..แน่นอน J สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 37


Fitness Lifestyle 65 เรื่อง วชิรุฬ จันทรงาม

จักรยาน..วิถีชีวิตในอินเดีย และพระพุทธศาสนา (2)

1

2 อนประเทศอินเดียและเนปาล 4 สังเวชนียสถาน 4 ต�ำบล เดินตามรอยพระพุทธเจ้าในครัง้ นี้ ได้ไปประสบพบเห็นวิถชี วี ติ ของคน ใอินนการไปเยื เดีย และการใช้รถจักรยานในชีวติ ประจ�ำวันของคนอินเดียกันทัง้ เด็ก

ผู้ใหญ่ ผู้ชรา และการประยุกต์ท�ำ 3 ล้อเพื่อค้าขายและใช้บรรทุกของ แต่สว่ นทีบ่ รรทุกจะอยูด่ า้ นหลังของคนขี่ ส่วนของไทย ส่วนทีบ่ รรทุกของ จะอยู่ด้านหน้า แต่ 3 ล้อบรรทุกคนนั้น จะเหมือนๆ กัน เป็นข้อสังเกต ที่ได้พบเห็น เริ่มจาก Fitness Lifestyle 64 จึงขอแบ่งปันภาพที่ได้บันทึกมา พร้อมทั้งอธิบายภาพและเรื่องราวต่างๆ ที่ได้ประสบพบมาเล่าสู่กันฟัง ในฉบับนี้เราจะเดินทางออกจากเมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย ไปยังลุมพินี ประเทศเนปาล สถานที่ประสูติ ซึ่งตามแผนเป็นระยะทาง 180 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 4-5 ชั่วโมง 38 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


3

4

5 เราแวะที่ชายแดนอินเดีย-เนปาล รับประทาน อาหารเที่ยงกันที่วัดไทยนวราชรัตนาราม 960 (ภาพ 1 และ 2) หน้าวัดไทยฯ มีป้ายสถานพยาบาลเป็น ภาษาไทย ได้รับค�ำอธิบายว่าตัวเลข 960 ก็เพื่อเฉลิม ฉลอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ครองราชย์ครบ 60 ปี (ภาพ 3) อาหารเทีย่ ง น�ำ้ พริกหนุม่ บริษทั ทัวร์นำ� ไปจากไทย ผักสดทางวัดปลูกเอง (ภาพ 4) สังเกตข้าว อินเดียเมล็ดเล็กผอมยาว ไม่นุ่มไม่ค่อยคุ้นเท่าไรนัก หลังจากรับประทานอาหารกลางวันเสร็จ ก็ไป แวะซุ้มกาแฟ (ภาพ 5) และซุ้มโรตีอันโด่งดัง นวด แป้งกันสดๆ แล้วน�ำลงทอดในน�้ำมันท่วม รอให้สุก

6

7 จนเหลืองกรอบได้ที่ ก็ตักขึ้นพักไว้ให้เสด็จน�้ำมัน แล้ ว เสริ ฟ ในภาชนะที่ ท� ำ ด้ ว ยใบสาละ (ภาพ 6) ราดด้วยนมข้นหวานมัน อร่อยเหาะ เป็นที่ติดใจกัน ทุกคน ทั้งชากาแฟและโรตี เราน�ำเงินใส่ตู้บริจาคกัน ตามแต่ศรัทธาครับ จากนัน้ ก็กราบลาและออกเดินทางต่อ หน้าวัดฯ มีหนุ่มอินเดียปั่นจักรยานมาดักดูพวกเรา (ภาพ 7) อย่างสนใจ คนนี้ไม่ได้มาขอเงิน การที่เด็กมาขอเงิน เป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปในอินเดีย หากเราให้เงิน เด็กคนหนึ่ง อีกหลายๆ คนก็จะตามมาขอเงินด้วย เยอะแยะไปหมด แต่เราต้องมีวธิ กี ารบริหารจักการให้ เป็นระเบียบ ซึ่งจะเล่าในตอนต่อๆ ไป สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 39


8

9

11

10

12

13

14

40 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


15

16 ระหว่ า งทางไปถึ ง ชายแดน ได้ เ ห็ น วิ ถี ชี วิ ต ชาวบ้านกับการใช้จักรยานในชีวิตประจ�ำวันอย่าง หลากหลาย (ภาพ 8-13) โดยเฉพาะการใช้ภมู ปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ ท�ำสามล้อจากไม้ (ภาพ 14) ซึง่ ดูแปลกตาไป อีกแบบ แต่ใช้งานได้จริงๆ ลุมพินีวัน เป็นสถานที่พระนางสิริมหามายา ประสูติ เจ้าชายสิทธิธตั ถะกุมาร เมือ่ วันศุกร์ เพ็ญเดือน 6 ปีจอ 80 ปีก่อนพุทธศักราช บริ เ วณวิ ห ารมหามายาซึ่ ง สร้ า งโดยพระเจ้ า อโศกมหาราช ภายในประดิ ษ ฐฐานงานแกะสลั ก พระนางสิริมหามายาประสูติพระกุมาร และรอย พระบาทน้อยบนแผ่นหินตรงทีเ่ ชือ่ ว่าเป็นจุดทีป่ ระสูติ การพระกุมารน้อย ซึ่งภาพค่อนข้างถูกลบเลือน และ มีการห้ามถ่ายภาพภายในวิหาร จึงได้แต่ถ่ายภาพ ภายนอกวิหารมาให้ชมกัน (ภาพ 15)

17 กว่าจะออกมาจากวิหารก็เป็นเวลา 19:50 น. ท้องฟ้ามืดแล้ว แต่กย็ งั มีโอกาสได้ชม เสาพระเจ้าอโศก (ภาพ 16) ที่มีความสูง 22 ฟุต 4 นิ้วและมีข้อความ จารึกไว้เป็นหลักฐานว่า ณ ที่นี้คือสถานที่ประสูติของ พระพุทธเจ้าศากยมุนี ซึง่ พระเจ้าอโศกได้เสด็จมาบูชา ในปีที่ 20 แห่งรัชกาลของพระองค์ จากนั้ น เราก็ มุ ่ ง สู ่ โ รงแรม Buddha Maya Garden เพื่อรับประทานอาหารค�่ำและพักผ่อนหลัง จากที่เหนื่อยล้าจาการเดินทางแสวงบุญมาทั้งวัน ภาพทีเ่ ห็นอยูใ่ นโถงของโรงแรม เป็นภาพทีง่ าม มากที่สุดภาพหนึ่งที่ได้เคยพบเห็นมา (ภาพ 17) ในตอนหน้าเราจะพาไปยังสถานที่ตรัสรู้ พระ มหาโพธิเจดีย์พุทธคยา นมัสการต้นพระศรีมหาโพธิ์ ขึ้นเขาคิชกูฏ ชมแม่น�้ำเนรัญชราที่พระพุทธองค์ทรง อธิฐานลอยถาดฯ แล้วพบกันฉบับหน้านะครับ J สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 41


App for Bike

เรื่อง @zangzaew

VeloPal แอพฟรีมีดีเหลือเฟือ

ป็นการระดมความคิดสร้างสรรค์ จนกลายมาเป็น แอพเทพๆ อีกตัวซึ่งนักปั่นขาแรงทั้งหลายไม่ควร มองข้าม เพราะเป็นการดึงความสามารถของสมาร์ทโฟน ออกมาใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คุณสมบัตทิ เี่ กีย่ วข้องกับการออกก�ำลังกายและสุขภาพ สิ่งที่ส�ำคัญคือการออกแบบกราฟิคบนหน้าจอ ที่เรียบหรู ดูดี และเข้าใจง่าย แสดงข้อมูลส�ำคัญถึง 8 รูปแบบด้วยกัน นอกจากสามารถอ่านค่าได้อย่าง สะดวกง่ายดายในขณะก�ำลังปั่นจักรยาน ยังสามารถ ช่วยประหยัดพลังงานได้เป็นอย่างดี มีคณ ุ สมบัตใิ นการเชือ่ มต่อกับอุปกรณ์เซ็นเซอร์ อาทิ ฮาร์ตเรทมอนิเตอร์ หรืออืน่ ๆ ซึง่ สามารถเชือ่ มโยง ข้อมูลเข้าสู่ระบบในแอพ และยังถ่ายโอนเชื่อมโยงไป ยังเว็บไซต์ VeloPal.com ได้อกี ด้วย โดยมีหลากหลาย คุณสมบัตขิ องโลกสังคมออนไลน์ เพือ่ การแลกเปลีย่ น ข้อมูลการปัน่ จักรยาน เส้นทาง ตลอดจนการจัดอันดับ 42 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


ความสามารถได้หลายรูปแบบ สามารถเปรียบเทียบข้อมูลการปั่นจักรยาน ซ�ำ้ ๆ ในเส้นทางเดียวกัน น�ำไปสูก่ ารเปรียบเทียบและ ปรับปรุงการฝึก หรือการปั่นจักรยานของคุณให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนการไปให้ถึงเป้าหมาย ของการฝึกฝนที่ก�ำหนดไว้ มีความอิสระในการก�ำหนดหรือสร้างเส้นทาง ของตัวเอง ระบบถูกออกแบบให้ทำ� งานอย่างต่อเนือ่ ง แม้ว่าจะมีการใช้ระบบอื่นๆ ของสมาร์ทโฟน เช่น รับโทรศัพท์ เช็คอีเมล์ ส่งข้อความ แชทกับเพื่อน หรือฟังเพลงไปในเวลาเดียวกัน ที่น่าสนใจสุดๆ คือ เป็นแอพฟรีที่ไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่าย สามารถดาวน์โหลดได้ทั้งระบบ iOS และ Android J ที่มา velopal.com

สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 43


เชิญทุกท่านทีส่ นใจจักรยาน รวมถึง ความสนใจในการดูแลสุขภาพ และ ออกก�ำลังกาย ด้วยการขี่จักรยาน มาสมั ค รเป็ น สมาชิ ก ของสมาคม จั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพไทย เพื่ อ โอกาสในการรับข่าวสาร ตลอดจน สิทธิประโยชน์มากมาย.. หรือสมัคร ผ่านระบบออนไลน์..​ดังนี้ J สมาชิกประเภทบุคคล 1. อัตราค่าสมาชิกแบบรายปี 200 บาท 2. อัตราค่าสมาชิกแบบตลอดชีพ 2,000 บาท (รับวารสาร สารสองล้อ แบบรูปเล่มทางไปรษณีย์) * กรณีต่ออายุสมาชิก ใช้อัตราเดียวกับแบบรายปี

J การช�ำระค่าสมัครสมาชิก สามารถช�ำระได้สองวิธีคือ 1. สมัครแบบออนไลน์ ด้วยการกรอกแบบฟอร์มผ่านทางเว็บไซต์ ได้ ที่ http://www.thaicycling.com/tcha/ member_register/ J สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ หรือใช้สมาร์ทโฟน สแกน 1. ช�ำระค่าทริปในราคาสมาชิก QR Code ที่ปรากฏนี้ 2. ช�ำระค่าสินค้าสมาคมฯ ในราคาสมาชิก และท�ำการโอนเงินไปยัง.. 3. แสดงบัตรเพื่อรับส่วนลดร้านค้าร่วมรายการ ธนาคารกสิกรไทย สาขาเทสโก้ โลตัส พระรามที่ 3 เช่น ร้านจักรยาน ร้านอาหาร ฯลฯ ชือ่ บัญชี สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย บัญชีเลข 4. มีสิทธิในการเข้ารับเลือกเป็นคณะผู้บริหาร ที่ 860-2-14222-2 กิจกรรมสมาคมฯ 5. มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งคณะบริหารกิจกรรม 2. ช�ำระด้วยเงินสด ณ ที่ท�ำการสมาคมฯ ของสมาคมฯ 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 22 (สาธุ ป ระดิ ษ ฐ์ 15 แยก 14) ถนนนราธิ ว าสราช นครินทร์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-678-5470 โทรสาร : 02-678-8589 เวลาท�ำการ 09:00 น. – 18:00 น. email: membertcha@gmail.com 44 │ สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559)


ขอบคุณสมาชิกทุกท่าน

áÃç¤ËÅѧ¤Ò áÃ礨ѡÃÂÒ¹

Tel : 02 589 2614 , 02 591 5220-2

ที่ร่วม

ประชุมสามัญประจ�ำปี 2559 กับ สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม 2559 พิเศษ! บัตรสมาชิกสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ใช้สิทธิส่วนลดได้ที่

PRO BIKE ส่วนลด 15% โทร. 02-254-1077 WORLD BIKE ส่วนลด 20% โทร. 02-944-4848 THONGLOR BIKE ส่วนลด 10% ค่าอาหาร เครื่องดื่ม ยกเว้นเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ โทร. 02-712-5425 ZIP COFFEE (หมู่บ้านสัมมากร) ส่วนลดกาแฟ 10 บาท ส�ำหรับผู้ถือบัตรฯ และลด 20 บาท ส�ำหรับผู้สวมเสื้อจักรยาน TCHA ลายธงชาติ Steve Café & Cuisine ส่วนลด 10% ส�ำหรับค่าอาหาร โทร. 081-904-8444

จองด่วน!

สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ได้จัดกิจกรรมเชิญชวนนักปั่นจักรยาน ผู้รักสุขภาพทุกท่าน มาร่วมสมัครเป็นสมาชิกของสมาคมฯ ทั้งแบบรายปี หรือตลอดชีพ โดยได้น�ำรายชื่อสมาชิกที่สมัครตั้งแต่ ช่วงเดือนมกราคม - เมษายน 2559 มาจับสลาก เพื่อมอบรางวัลที่ระลึกเป็น กระติกน�้ำจาก THULE ขอบคุณสมาชิกที่ให้ความสนใจมา ณ ที่นี้

โฆษณาที่ตรงกลุ่มเป้าหมายเหล่านักปั่นมากที่สุด!

เปิดพื้นที่โฆษณาย่อยเป็นพิเศษ ส�ำหรับร้านค้าย่อยที่จ�ำหน่าย จักรยาน บริการซ่อมบ�ำรุง จ�ำหน่ายอะไหล่ รับประกอบจักรยาน เสื้อผ้า ร้านอาหารสินค้ามือสอง ของส่วนตัว บริการท่องเที่ยว หรืออื่นๆ เชิญจับจองด่วน พื้นที่ขนาด 3 คูณ 6 เซนติเมตร ราคาพิเศษในโอกาส เปิดพื้นที่ใหม่เพียง 1,000 บาทต่อครั้งต่อเล่มเท่านั้น ติดต่อด่วน โทร. 02-678-5470 หรือทางเวบไซต์ที่ http://bit.ly/TCHAminiAD

6 ซม. 3 ซม. โฆษณาตรงเป้าหมายและยังได้ร่วมสนับสนุนสมาคมฯ อีกด้วย! สารสองล้อ 300 (มิถุนายน 2559) │ 45


บริจาคจักรยาน

โครงการต่อเนือ่ งทีส่ มาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย TCHA จัดขึน้ เพือ่ น�ำจักรยานเก่ามาบูรณะใหม่ และ น�ำไปมอบให้กับน้องๆ เยาวชนตามที่ห่างไกล เพื่อใช้ ในการเดินทางสัญจรไปโรงเรียน หรือส�ำหรับ ภารกิจอื่นๆ ตลอดจนออกก�ำลังกายในครอบครัวได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาพลังงานสิ้นเปลืองด้านอื่น ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมบริจาคจักรยานที่ไม่ ใช้แล้ว และยังอยู่ ในสภาพที่สามารถซ่อมแซมขึ้นมา ใหม่ได้ โดยสมาคมฯ มีกิจกรรมนัดซ่อมจักรยานเพื่อน้อง จากบรรดาอาสาสมัครมาช่วยกันซ่อมบ�ำรุง ให้จักรยานที่ได้รับบริจาคเหล่านี้ ฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่ สามารถน�ำไปใช้งานได้อย่างเช่นปกติดังเดิม โดยมี โครงการน�ำจักรยานเหล่านี้ไปส่งมอบให้กับเยาวชน ณ โรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ ถนนนราธิวาส

ติดตอสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย รถไฟฟา BTS หรือประสงครวมโครงการรีไซเคิลจักรยานไดที่ ศาลาแดง รถไฟฟา BTS สำนักงาน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ชองนนทรี ถนนสาทร 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร 22 รถไฟฟา BTS BRT ชองนนทรี (สาธุประดิษฐ 15 แยก 14) สุรศักดิ์ ถนนนราธิวาสราชนครินทร แขวงชองนนทรี แมคโคร BRT เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 ถนนจันทน รร.เซนยอเซฟฯ โทรสาร 02-678-8589 ซอย 15 นราธิวาสฯ 22 ที่ทำการสมาคมฯ BRT ถนนจันทน เว็บไซต www.thaicycling.com (นราธิวาส ซอย 22) ถนนสีลม

ทางลงสาธุประดิษฐ

ุประดิษฐ

ถนนสาธ

สาธุประดิษฐ 15 แยก 14

ทางดว

โลตัสพระราม 3

ถนนพระราม 3

Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล tchathaicycling@gmail.com


ÊÔ¹¤ŒÒÊÁÒ¤Á¨Ñ¡ÃÂÒ¹à¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾ä·Â

เปนสินคาที่จำเปนสำหรับผูใชจักรยาน จัดจำหนายในราคามิตรภาพ ผลิตจากวัสดุคุณภาพดี สามารถเลือกซื้อไดที่ สมาคมจักรยาน เพื่อสุขภาพไทย 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร 22 ถนนนราธิวาสราชนครินทร แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 หรือสั่งซื้อทางไปรษณีย ดวยการโอนเงินเขาบัญชีของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ประเภทบัญชีออมทรัพย ธนาคารกสิกรไทย สาขาโลตั ส พระราม 3 เลขที ่ 860-2-14222-2 แล ว กรุ ณ าแฟกซ ส ำเนาใบโอนไปที ่ โทรสาร 02-678-8589 หรื อ ส ง ทาง email: tchathaicycling@gmail.com

02

01

05 03

04

06 09

08

10

07 01 หมวกคลุมหนา 02 แถบเสื้อ 03 เสื้อจักรยาน 04 เสื้อจักรยาน 05 กางเกงขาสั้น SDL (สีฟาและสีเขียว) สะทอนแสง TCHA แขนสั้น TCHA แขนยาว รุนมาตรฐาน ใบละ 130 บาท ตัวละ 250 บาท ตัวละ 750 บาท ตัวละ 950 บาท ตัวละ 950 บาท 06 กางเกงขายาว 07 ถุงแขน 08 กางเกง 09 กางเกง 10 พวงกุญแจ SDL รุนมาตรฐาน สีดำ ขาสั้น รุนใหม ขายาว รุนใหม โปรดระวังจักรยาน ตัวละ 1,100 บาท คูละ 120 บาท ตัวละ 450 บาท ตัวละ 690 บาท ชิ้นละ 30 บาท



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.