Prachid-CRU-CID-Research-Article-2-7-2011

Page 1

1

การออกแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม The Standards Corporate Graphic Identity Design for Chandrakasem Rajabhat University ประชิด ทิณบุตร ( Prachid Tinnabutr) 1

บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1)เพื่อออกแบบและพัฒนากราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม 2)เพื่อออกแบบชุดตัวอักษรเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และ 3)เพื่อออกแบบจัดทํา ตนแบบ ตัวอยางผลงาน และแนวทางการใชกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ไปใชงานหรือ การปรับประยุกตใช กับองคกรและกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กระบวนการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ เปนการวิจัยเชิงพรรณนา โดยมีการดําเนินงานเปน 2 ระยะคือ การดําเนินการออกแบบและพัฒนา ตามกระบวนการสรางสรรค ผลงานออกแบบ และระยะที่สอง เปนการตรวจสอบสมมติฐาน โดยใชวิธีการกลุมรวมพิจารณาผลงานออกแบบและนําไปพัฒนา เครื่องมื อที่ ใชในการวิจัย ในครั้งนี้คือ แบบสัมภาษณ และแบบสอบถาม โดยกลุมประชากรที่ใชคือ กลุม ผูเชี่ยวชาญดานการ ออกแบบ และนักวิชาการดานการออกแบบเอกลักษณ จากภายนอกองคกร จํานวน 12 คน และจากกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โดยวิธีการสุมแบบเจาะจงเลือก และการสุมเลือกแบบบังเอิญ รวมจํานวน 56 คน รวมทั้งสิ้น 68 คน การเก็บรวบรวมขอมูลใชการสัมภาษณและใชแบบสอบถามโดยตรงและสอบถามทางระบบออนไลน สถิติที่ใช ในการ วิเคราะหขอมูลไดแกคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ทําใหไดผลงานชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ประกอบดวย 1)ชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานมีจํานวนแบบ 3 แบบอันไดแกแบบ ตราสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม( Chandra Seal) แบบอักษรยอจันทรา(Chandra Logotype)และแบบ เครื่องหมายจันทรา(Chandra Mark) ที่สามารถบงบอกรูปลักษณะของตราสัญลักษณที่มีความแนนอน แสดงความเชื่อมโยงแหง ความเปนราชภัฏสัญลักษณเดิม มีบุคลิกเฉพาะที่โดดเดน แตกตาง และงายในการจดจํา นําสูการนําไปใชใหเกิดความเปนเอกภาพ เดียวกันขององคกรได 2)ชุดแบบตัวอักษรและตัวพิมพเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่มีสัดสวน โครงสรางตามมาตรฐานของตัวอักษรไทย โดยใชชื่อตระกูลแบบตัวพิมพเฉพาะวา ซีอารยู(CRU) อันไดแกแบบตัวอักษรและ ตัวพิมพชื่อ CRU-Chandrakasem,CRU-LanChand. และ CRU-Rajabhat ที่สามารถติดตั้งใชงานไดจริงทั้งในระบบคอมพิวเตอร แบบพีซีและแมคอินทอช และ3)ชุดตนแบบไฟลงานออกแบบกราฟกสิ่งพิมพทั่วไป ผลิตภัณฑของที่ระลึก และเครื่องแตงกาย ที่ใช เปนแบบอยางเพื่อแสดงถึงการนําเอากราฟกเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ซึ่งทั้งหมดไดบันทึก จัดเก็บ รวบรวมเปนแหลงขอมูล แสดงไวเปนคูมือการใชงานกราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จํานวน 36 หนา พรอมแผนดีวีดีที่บันทึกไฟลตนแบบและไฟลประกอบ โดยจัดเก็บเปนชนิดไฟลตามมาตรฐานสากล ที่สามารถนําไปใช ในการผลิตจริงไวทั้งหมด

คําสําคัญ(Keywords) การออกแบบกราฟก,กราฟกเอกลักษณมาตรฐาน,แบบตัวอักษรตระกูลซีอารยู มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1 ผูชวยศาสตราจารย สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


2

Abstract The research objective is 1) to design and redesign the Standards Corporate Graphic Identity for Chandrakasem Rajabhat University. 2) to design the corporate Identity typefaces set for Chandrakasem Rajabhat University. And 3) to design the original artworks and prototypes of collateral prints, products and services, sampling and guideline to use and apply for serving the university and activity. This research processing is a descriptive research which operates in two stages. The first step followed by the creativity and design process, and the second is to examine the hypothesis which designed and developed by the associated considerations of participants in the process of design focus groups. Research tools are interviewing and questionnaire. The population was a group of corporate identity design experts from outside and a group of stakeholders of Chandrakasem Rajabhat University. Specific selection of 68 data was collected by direct interview, questionnaire, and online directly questionnaires. The statistics used for data analysis included percentage, mean and standard deviation. Following is the design result from the research which consists of 1) A set of standard graphic identity for Chandrakasem Rajabhat University are University Seal (Chandra Seal), Logotype (Chandra Logotype), and Mark (Chandra Mark) can indicate the appearance of a certain brand. It shows the connection to the old Rajabhat University Symbol, that outstanding personalities differ, and easy to remember. It can be used to make the same unity of the organization. 2) a set of unique typeface for Chandrakasem Rajabhat University, named in CRU-font family, i.e. CRU-Chandrakasem, CRU-Rajabhat and CRU-LanChand. It designed to fit the proportion and the structure of standard Thai characters. It can install the program actually works with both systems and applications, PC and Macintosh systems. And 3) a set of master files, design sampling of publications, souvenirs, corporate products and services, dressing forms and other related media. And the design guidelines to use as a template for implementing the standards graphic identity of the University uniqueness. All of which are recognized as the source collection. It presented as a standards corporate graphic identity manual for Chandrakasem Rajabhat University within 36 pages attaches with a DVD recorded all the original files that can be used to produce all original documents.

Keywords : Graphic Design,Standards Corporate Graphic Identity,CRU-Fonts Family,Chandrakasem Rajabhat University ความสําคัญและความเปนมาของปญหา นั บ แต ใ นป พ .ศ.๒๕๔๗ เป น ต น มา ได มี ก ารประกาศใช พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ อันมีผลใหสถาบันราชภัฏ ทุกแหงทั่วประเทศไดยกฐานะเปน "มหาวิทยาลัยราชภัฏ" และมี ผลทําใหมีระบบการบริหารงานเปนแบบนิติบุคคล แยกอิสระ เฉพาะแตละแหงมีสถานะเทียบเทามหาวิทยาลัยของรัฐเดิมที่เคย มีมาแตกอน(จันทรเกษม,2552:3) และในความเปลี่ยนแปลงใหม ในสถานะดั ง กล า วสิ่ ง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ มี จุ ด เริ่ ม ต น เป น ทุนเดิมยังคงตองใชเหมือนกันและยังคงเปลี่ยนแปลงไดนอย นั่น ก็ คื อ การที่ มี ภ าพลั ก ษณ ข ององค ก รในประเด็ น ของการเป น ที่ ยอมรั บ ของสั ง คมประเทศ อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ในชื่ อ เสี ย งและ ภารกิจเดิม ที่เคยมีและคงใชรวม กันตลอดมา โดยจะเห็นไดวามี การใชชื่อนําหนาเหมือนกันทุกแหง แลวใชชื่อเฉพาะของแตละ แห ง ตามหลั ง เฉกเช น เดี ย วเช น เดี ย วกั บ ชื่ อ ของมหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏจันทรเกษมนั่นเอง

ความเปลี่ ย นแปลงดั ง กล า ว บุ ค คลทั่ ว ไป บุ ค ลากร และ ผูบริหาร ทั้งภายในและภายนอกองคกร มักมองเห็นวาเปนการ เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอย มีการเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอย ไป ใชทรัพยากรที่มีอยูเดิมไปพลางกอน แลวจึงปรับเปลี่ยนให เหมาะสมในภายหลัง ทั้งนี้เพราะภาพลักษณที่เปนอยูดังกลาว ต อ งอาศั ย เวลาและการประชาสั ม พั น ธ ตามระยะเวลาของ แผนงานและความพรั่งพรอมที่ตองสั่งสมขึ้นมาใหม ทั้งนี้เพราะ ภาพลักษณองคกร(Corporate Image) นั้นจะเกิดขึ้นไดจะตอง อ า ศั ย ภา พร วม ทั้ ง ห ม ด ข อ ง อ ง ค ก าร ที่ บุ ค ค ล รั บ รู จ า ก ประสบการณ หรือมีความรูความประทับใจ ตลอดจนความรูสึก ที่ มี ต อ หน ว ยงานหรื อ สถาบั น โดยการกระทํ า หรื อ พฤติ ก รรม อ ง ค ก า ร ก า ร บ ริ ห า ร ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ก า ร ประชาสัมพันธ ที่จะตองเขามามีบทบาทตอภาพลักษณองคการ ดวย ภาพลักษณขององคกรจึงมีความสําคัญ เพราะสามารถทํา ใหสถาบัน หรือหนวยงานมีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับเชื่อถือศรัทธา จากบุคคลที่เกี่ยวของและจะทําใหองคกร หนวยงานหรือสถาบัน


3 นั้นๆ มีความเจริญกาวหนาได ดังนั้นคําวาภาพลักษณขององคกร จึงมีนัยแหงความเปนนามธรรมคอนขางสูง เปนความเขาใจที่ ตองอาศัยสื่อที่เปนรูปธรรมมารวมแสดงเอกลักษณเฉพาะแทน ความเปนนามธรรมอยางมีหลักฐาน แลวนําสูการเกิดความเขาใจ มั่นใจ เชื่อใจ เลื่อมใส ศรัทธา ในภาพรวมขององคกร เชน การ รับรูหลักฐานของสื่อ วัตถุ หรือสิ่งแทนองคใดที่เปนรูปธรรม จับ ต อ งได เช น เมื่ อ มองเห็ น ตราสั ญ ลั ก ษณ สั ญ รู ป ภาพกราฟ ก สิ่งของ เครื่องใช ที่ไดระบุความมีเอกลักษณเฉพาะแลวจะเกิด การรับรูลัดหรือรับประกันไปสูถึงขั้นเขาใจรวมไดทันทีได เชน เดียวกันกับการเห็นถึงภาพพจนมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม นับวาเปนสถาบันการศึกษาเกาที่มีชื่อเสียงมานานนับ 69 ป ใน ปจจุบัน(2552) มีเกียรติคุณตอเหลาบรรดาลูกศิษย และบุคคลใน สั ง คมมานานานั ป การ เป น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คมประเทศ และ ภายนอกประเทศมากมาย นับวามีภาพลักษณขององคกรที่ดีและ เปนที่นาภาคภูมิใจของบุคลากรที่เกี่ยวของกันทุกคน อีกทั้งยัง นับวาเปนมหาวิทยาลัยของรัฐแหงใหมท่ีตองสรางเสริม ขยาย และพัฒนาคุณภาพภารกิจขององคกรที่ตองเปลี่ยนแปลงใหม และกาวไกลไปตออีกในอนาคต ดังนั้นการที่จะอาศัยตนทุนเดิม ภาพพจนเดิมที่มีอยูเดิมคงจะไมเพียงพอแลว ซึ่งควรตองมีการ สรางภาพพจนขึ้นมาใหปรากฏชัดยิ่งขึ้นและรวดเร็วยิ่งขึ้น ทั้งนี้ เพราะในป จ จุ บั น เกิ ด สภาวะการแข ง ขั น กั น ในเชิ ง ธุ ร กิ จ ทาง การศึกษามากขึ้น ที่ตองแขงขันกันเองในสถานศึกษาภาครัฐและ สถาบันการศึกษาเอกชน และเปนสิ่งที่ตองกระทําเพื่อใหอยูใน เกณฑมาตรฐานตางๆ ที่เปนขอกําหนดของสํานักงานมาตรฐาน ตางๆอีกมากมาย ซึ่งการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงและพัฒนาองคกร ในสวนตางๆภายในมหาวิทยาลัย จึงเปนสิ่งจําเปนที่ตองไดรับ ความรวมมือเปนอยางดี เพื่อชวยกันสรางภาพลักษณใหเปนไปสู ทิศทางเดียวกัน และสอดคลองกับปรัชญา วิสัยทัศนและภารกิจ ของมหาวิทยาลัยที่ไดกําหนดแนวทางไว ผูวิจัยในฐานะที่เปนบุคลากรดานการสอนดานการออกแบบ ของมหาวิทยาลัย ไดเห็นความสําคัญดานการสรางภาพลักษณ ขององคกร ซึ่งจําเปนจะตองมีการเปลี่ยนแปลงใหม จึงไดทําการ ออกแบบตราสัญลักษณของมหาวิทยาลัยใหใหมเปนการชั่วคราว อยางไมเปนทางการและยังไมครบสมบูรณ ดังแบบตราและแบบ ตัว อัก ษรที่ กํ าลั ง ใช อ ยูใ นปจ จุ บัน นี้ ซึ่ ง จากการติด ตามผลการ นําไปใชแลว ทําใหทราบวามีการนําตราสัญลักษณไปใชอยางไม ถูกตอง ไมเขาใจ ไมยอมรับและมีการนําไปเปลี่ยนแปลงใหมที่ ไมเหมาะสม ไมบังควรใช(ตามที่มาคือเปนตราประจํารัชกาลที่9) ไมสมควรปรับ และทําใหไมมีมาตรฐานเดียวกัน จึงทําใหเกิด ความหลากหลายไรมาตรฐานทั้งที่ใชเปนทางการและไมเปน ทางการ ทั้ ง นี้ เ พราะทางมหาวิ ท ยาลั ย ยั ง ไม มี ก ารกํ า หนด

มาตรฐานเอาไว อีกทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมนั้นถือวา เปนองคกรที่จัดตั้งมานาน และจัดวาเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นใหม มีคูแขงที่มีเปนจํานวนมาก จึงควรตองสรางเอกลักษณเฉพาะตัว สําหรับองคกร(สุมิตรา ศรีวิบูลย 2546:13) จากสภาพป จ จุ บั น และป ญ หาดั ง กล า ว ทํ า ให ผู วิ จั ย เห็ น ว า สมควรที่จะตองทําการศึกษาวิจัยและดําเนินการออกแบบกราฟก เอกลักษณมาตรฐานเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ขึ้ น ใหม ให ถู ก ต อ งตามหลั ก การทางศิ ล ปะและการออกแบบ เอกลักษณองคกร เพื่อการนําเสนอใหมีการยอมรับ เกิดนําไปใช อย า งเป น มาตรฐาน และข อ ตกลงร ว มกั น ในสั ง คมชาวจั น ทร เกษมและหรือผูออกแบบในลําดับถัดไป อันจะเปนการสงเสริม ภาพลักษณที่ดีและมั่นคงของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ตลอดไป

วัตถุประสงคของการวิจัย 1.เพื่อออกแบบและพัฒนากราฟกเอกลักษณมาตรฐานเฉพาะ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2.เพื่ อ ออกแบบชุ ด ตั วอั ก ษรเอกลั ก ษณ เ ฉ พ าะขอ ง มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 3)เพื่อออกแบบจัดทําตนแบบ ตัวอยางผลงาน และแนวทาง การใชกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม ไปใชงานหรือการปรับประยุกตใช กับองคกรและ กิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ขอบเขตของการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้มุงศึกษา วิเคราะห ออกแบบสรางสรรคและ พั ฒนาผลงานออกแบบกราฟ กสื่ อแสดงลั กษณะเอกลั กษณ เพื่ อ นํามาใชเปนตนแบบมาตรฐานเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร เกษม ในประเด็นที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคผลงานชุด 1.ออกแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานเฉพาะของมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม 2.ออกแบบตัวอักษรเอกลักษณเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม 3.ออกแบบและจัดทําตนแบบกราฟกเอกลักษณเฉพาะสําหรับ การประชาสัมพันธองคกรและหนวยงานหลักของมหาวิทยาลัย

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดชุดผลงานตนแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานเฉพาะ ของมหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ จันทรเกษมเช นตราสัญ ลั ก ษณ ระดั บ หลั ก และระดั บ รอง อั น ได แ ก 1).แบบตราสั ญ ลั ก ษณ ป ระจํ า มหาวิทยาลัยอยางเปนทางการ 2).แบบเครื่องหมาย/อักษรยอจาก ชื่อของมหาวิทยาลัยและ 3).แบบตราเครื่องหมาย


4 2.ได ชุ ด แบบตั ว อั ก ษรเอกลั ก ษณ ม าตรฐานเฉพาะของ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมที่สามารถนําไปติดตั้งใชพิมพแสดงผลไดทั้งในเครื่องคอมพิวเตอรระบบแมคอินทอชและพีซี ใช กั บ ระบบการพิ ม พ เ อกสารและงานออกแบบกราฟ ก สื่ อ โฆษณาประชาสัมพันธของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่สื่อ แสดงเอกลักษณเฉพาะในภารกิจ กิจการงานของมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม และหรือเผยแพรรวมใชเปนเอกลักษณใน นามของมหาวิทยาลัยราชภัฏไดทั่วประเทศ 3.ไดชุดผลงานตนแบบงานกราฟกเอกลักษณเฉพาะสําหรับ การนําไปใชหรือปรับประยุกตใชกับหนวยงาน กิจการที่เกี่ยว ข อ งทั้ ง ภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย อาทิ เ ช น ต น แบบ สิ่งพิมพงานเอกสารราชการและหรืองานพิมพสํานักงานทั่วไป เปนตน 4.มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีคูมือกํากับการใชงาน กราฟ ก เอกลั ก ษณ ม าตรฐาน เพื่ อ ใช เ ป น เครื่ อ งมื อ กํ า กั บ และ กําหนดแนวทางสําหรับการสรางภาพลักษณที่ดีใหเกิดแกองคกร ตอไป

การรวมคัดเลือกแบบเอกลักษณโดยคณะหรือกลุมประชากรโดยใช สถิติการวิเคราะหคารอยละ คาเฉลี่ย ของความคิดเห็น เพื่อใชเปน แนวทางสรุ ป ผลงานต น แบบผลงานกราฟ ก ตราสั ญ ลั ก ษณ เครื่องหมายและแบบตัวอักษร ที่จะใชเปนแนวทางกําหนดเปนแบบ มาตรฐาน แล วสรุ ปเป นต นแบบสํ าหรั บการนํ า เสนอตั วอย าง รูปแบบผลงานกราฟ กเอกลั กษณและผลงานที่ เกี่ ยวของ ไว เป น รู ปเล มคู มื อการใช งานให เกิ ดการนํ าไปใช และการพั ฒนาจาก ตนแบบจริงเปนเอกลักษณมาตรฐาน

กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดดําเนินกิจกรรมตามกรอบแนวคิดของการศึกษาวิจัย เป น 4 ขั้ น ตอนหลั ก ดั ง แสดงเป น แผนภู มิ ส รุ ป ภาพรวมวิ ธี ดําเนินการวิจัยไวดังนี้คือ

วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวิธีดําเนินการ 2 วิธีคือ 1.เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Descriptive Research) ตาม กระบวนวิธีการสรางสรรคผลงานดานการออกแบบ โดยการศึกษา เอกสาร การเก็บรวบรวมขอมู ลและการวิ เคราะหสภาพป จจุ บั น ปญหาที่เกิดจากการนําคุณลักษณะกราฟกเอกลักษณไปใชจริงของ องคกร และจากหลักฐานขอมูลที่ปรากฏในสังคมและสากล เพื่อ นํ า มาตั้ ง เป น โจทย แ ละความต อ งการจํ า เป น ในการออกแบบ สร างสรรค แล วนํ าเสนอเป นรู ปแบบลั กษณะผลงานชุ ดกราฟ ก เอกลักษณเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ตามระเบียบ วิธีและกระบวนวิธีทางการสรางสรรคผลงานออกแบบ(The Design Process) เปน 4 ขั้นตอนหลักใหญ โดยสรุปคือ 1.1 การศึกษาขอมูลและการนําเสนอแนวความคิดเบื้องตน (Preliminary Research and Preliminary Ideas) 1.2 การออกแบบและพัฒนาปรับแกไขแบบ (Design and Refinement) 1.3 การร วมพิ จารณาคั ดเลื อกแบบที่ เหมาะสม(Decision Making/Focus Group) 1.4 การผลิตตนแบบจริงและการนําเสนอแบบใชงานจริง (Original Artwork & Implementation) 2. เปนการศึกษาความคิดเห็นของกลุมผูเชี่ยวชาญภายนอกและผู มีสวนไดสวนเสียขององคกร ที่มีตอผลงานกราฟ กเอกลักษณ ที่ นําเสนอเปนทางเลือก(Alternative Design Solutions) หรือกระบวน

แผนภูมิที่1 แสดงกรอบแนวคิดและขั้นตอนวิธีการวิจัย

การเก็บรวบรวมขอมูล ใชวิธีดําเนินการดังนี้คือ 1.การศึกษารวบรวมขอมูลเบื้องตน จากหลักฐานเอกสาร สื่อ สิ่งพิมพปฐมภูมิและทุติยภูมิ ดวยการบันทึกรวบรวมหลักฐานที่ ปรากฏจากสภาพปจจุบันปญหาที่เกิดจากการนําเอาคุณลักษณะ กราฟกเอกลักษณตางๆที่เปนของเดิมไปใชจริงและการปรับแก ใหม หลัง จากที่อ งค ก รมี ก ารปรั บ ปรุ งเปลี่ ย นแปลงฐานะเป น มหาวิทยาลัยใหม ทั้งภาพรวมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งหมด และเฉพาะของมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ จั น ทรเกษม รวมทั้ ง การ รวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึกแบบมีโครงสรางความ


5 ต อ งการด า นการใช ง าน และข อ มู ล จากภาระงานที่ ต อ งร ว ม รับผิดชอบงานดานการออกแบบกราฟกเอกลักษณในฐานะเปน บุ ค ลากรในหน ว ยงานโดยตรง เพื่ อ ใช เ ป น ข อ มู ล สรุ ป ความ ตอ งการเบื้อ งต น ในการออกแบบ(Design Briefs)และการ ออกแบบจัดทําแบบทางเลือก(Alternative Design) 2.การพิ จ ารณาคั ด เลื อ กแบบเพื่ อ การกํ า หนดเป น ต น แบบ มาตรฐานโดยการประชุมดวยการนําเสนอผลงานและใหมีสวน ร ว มในการตั ด สิ น ใจและการเสนอแนะข อ คิ ด เห็ น ทั้ ง แบบ โดยตรง เป น กลุ ม ย อ ย และผ า นทางระบบออนไลน ด ว ย แบบสอบถามแบบประเมินคา 5 ระดับ

ผลการวิจัย ผลการวิ จั ย ทํ า ให ไ ด ผ ลงานชุ ด แบบกราฟ ก เอกลั ก ษณ มาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ประกอบ ดวย 1)ชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานมีจํานวนแบบ 3 แบบ อันไดแกแบบตราสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร เกษม( Chandra Seal) แบบอักษรยอจันทรา(Chandra Logotype) และแบบเครื่องหมายจันทรา(Chandra Mark) ที่สามารถบงบอก รู ป ลั ก ษณะของตราสั ญ ลั ก ษณ ที่ มี ค วามแน น อน แสดงความ เชื่อมโยงแหงความเปนราชภัฏสัญลักษณเดิม มีบุคลิกเฉพาะที่ โดดเดน แตกตาง และงายในการจดจํา นําสูการนําไปใชใหเกิด ความเปนเอกภาพเดียวกันขององคกรได 2)ชุดแบบตัวอักษรและ ตัวพิมพเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่มีสัดสวนโครงสรางตามมาตรฐานของตัวอักษรไทย โดยใชชื่อ ตระกูลแบบตัวพิมพเฉพาะวา ซีอารยู(CRU) อันไดแกแบบ ตัวอักษรและตัวพิมพชื่อ CRU-Chandrakasem,CRU-LanChand. และ CRU-Rajabhat ที่สามารถติดตั้งใชงานไดจริงทั้งในระบบ คอมพิวเตอรแบบพีซีและแมคอินทอช และ3)ชุดตนแบบไฟล งานออกแบบกราฟกสิ่งพิมพทั่วไป ผลิตภัณฑของที่ระลึก และ เครื่องแตงกาย ที่ใชเปนแบบอยางเพื่อแสดงถึงการนําเอากราฟก เอกลั กษณม าตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ซึ่ง ทั้งหมดไดบันทึก จัดเก็บ รวบรวมเปนแหลงขอมูล แสดงไวเปน คูมือการใชงานกราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม จํานวน 36 หนา พรอมแผนดีวีดีที่บันทึกไฟล ต น แบบและไฟล ป ระกอบ โดยจั ด เก็ บ เป น ชนิ ด ไฟล ต าม มาตรฐานสากล ที่สามารถนําไปใชในการผลิตจริงไวทั้งหมด ภาพที่1.ภาพสรุปรวมผลงานออกแบบกราฟกเอกลักษณ มาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


6

อภิปรายผล การอภิปรายผลวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้คือ 1. จากสรุ ป ผลการวิ จั ย ที่ พ บว า ชุ ด แบบกราฟ ก เอกลั ก ษณ มาตรฐานมี จํ า นวนแบบ 3 แบบอั น ได แ ก แ บบตราสั ญ ลั ก ษณ ประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม( Chandra Seal) แบบ อักษรยอจันทรา(Chandra Logo)และแบบเครื่องหมายจันทรา (Chandra Mark) ซึ่งการที่ผลงานออกแบบที่เปนขอสรุปตาม สมมติฐานประเด็นแรกออกมา มี 3 แบบคือตราสัญลักษณ แบบ อัก ษรยอ และเครื่องหมายดังภาพแสดงข างตนนั้น ไดมีความ สอดคลองตามแนวคิ ดและหลั ก การของการออกแบบกราฟ ก เอกลักษณ ดังที่ไดตั้งเปนสมมติฐานเอาไวแตตน ตามที่ผูวิจัยได ทําการศึกษา วิเคราะห สังเคราะห ขึ้นจากคุณลักษณะของแบบ ตราสัญ ลักษณเดิม ที่ปรากฏลั กษณะการนําไปใชงานหรือการ นํ า ไปใช ใ นกิ จ การงานต า งๆของมหาวิ ท ยาลั ย โดยที่ ต รา สัญลักษณที่มีมาตรฐานนั้น จะเปนเครื่องมือสื่อบงชี้และนําทางสู การสรางภาพลักษณที่ดีใหแกองคกร ดังนั้นจึงควรออกแบบใหมี ไว อ ย า งน อ ย 3 รู ป แบบเพื่ อ ให เ หมาะสมกั บ การนํ า ไปเป น ตนแบบมาตรฐานหรือแนวทางการออกแบบประยุกตตอไปคือ 1.1 ตราสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัย (University Seal) ควรเขีย นและพั ฒนาแบบตราขึ้น ใหมใ หถู กต อ ง และกํ าหนด แบบไวเปนมาตรฐาน เพื่อเปนตัวแทนที่บงบอกฐานะความเปน องคกร กิจการ และใชสื่อสารการรับรูที่เปนทางราชการอยาง เครงครัด ใหเหมาะสมกับ ความเปน “ราชภัฏสัญลักษณ”หรือ แบบตราพระราชลัญจกร ในรัชกาลที่ 9 ที่ไดรับพระราชทานมา และเปนอั ตลัก ษณที่ยั งไมส ามารถเปลี่ ย นแปลงได ตราบใดที่ มหาวิทยาลัยยังไมเปลี่ยนแปลงชื่อใหมที่แตกตาง 1.2 แบบอั ก ษรย อ ประจํ า มหาวิ ท ยาลั ย (University Logotype) ควรออกแบบไวใหใชเปนมาตรฐานที่แสดงใหเปนถึง ความเป น กลุ ม มี พ ลั ง ที่ ใ กล ตั ว เพื่ อ แสดงแทนความมี บุ ค ลิ ก เฉพาะที่แตกตางจากตนกําเนิดที่เหมือนกัน เปนรหัสสําหรับการ สื่อสารภายในแบบกึ่งทางการ ใหเกิดการจดจําไดไวและรับรูได งาย อานไดเปนมาตรฐานสากล 1.3 แบบเครื่องหมายหรือสัญลักษณ(University Mark) ควรออกแบบใหใชเปนแบบมาตรฐานกลางระดับกิจกรรมและ การมีสวนรวมของบุคคลภายในองคกร เปนสื่อแสดงแทนสารที่ จะเชื่อมโยงใหเกิดการรับรูอยางงายๆ รวดเร็วทั้งระหวางองคกร กับบุคคลภายในสังคม หรือสาธารณะ สามารถการนําไปปรับ ประยุกตใชไดงายภายใตเงื่อนไขแหงการใชสัญลักษณเชื่อมโยง รวมหรือยังคงแสดงถึงที่มาเดิม ซึ่งผลงานดังกลาว ก็ไดรับการ ยอมรับจากกลุมผูเชี่ยวชาญทางการออกแบบ กลุมนักวิชาการ

จากภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย และกลุ ม ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย ของ มหาวิทยาลัย อันไดแกกลุมผูบริหาร ผูแทนหนวยงาน อาจารย ขาราชการ พนักงานเจาหนาที่ ศิษยเกาและนักศึกษาปจจุบันวา โดยภาพรวมของคุณลักษณะกราฟกชุดนี้มีความเปนเอกลักษณ มาตรฐานอยู ใ นระดั บ มาก ซึ่ ง การทํ า วิ จั ย แบบสนทนากลุ ม ทางการออกแบบเฉพาะเรื่ อ งนี้ก็นับ วาเปนวิธีที่ส อดคลองกั บ แนวคิดของ Morgan D.L.(2001) ที่กลาววาเปนวิธีวิจัยทางการ ตลาด โดยการเลื อ กใช ตั ว แทนกลุ ม แบบเจาะจงของกลุ ม ผูเชี่ยวชาญ และใชการสนทนากลุมยอยมาใชซึ่งอาจใชรวมกับ แบบสอบถามเพื่อสามารถรวบรวมขอสรุป เชิงลึกในประเด็น ป ญ หาที่ เ ฉพาะเจาะจงในการสนทนาแต ล ะครั้ ง และผลงาน ออกแบบที่ ไ ด เ ป น ข อ สรุ ป นี้ ก็ ยั ง สอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ Askegaard & Chirstensen,(2001) ที่กลาววา การที่ผลงานกราฟก เอกลัก ษณ ที่ส ร า งสรรค ขึ้ น มาไดรั บ การยอมรั บ และถู กนํ า ไป สรางสรรคใหเปนสื่อเอกลักษณองคกร นั้น ยอมจะมีบทบาทใน การสรางความแตกตางในการรับรูถึงภาพลักษณองคกร ซึ่งการมี ภาพลักษณองคกรที่เหมาะสม จะสามารถสรางความแตกตาง ใหกับสินคาและบริการ, เสริมสรางความภักดีใหแกองคกร, กระตุนการลงทุน, ดึงดูดบุคคลที่มีความสามารถเขามารวมงาน, และเปนการสรางแรงจูงใจใหกับพนักงานไดเปนอยางดี และ ผลงานจากการที่ มี ก ารออกแบบพั ฒ นาคุ ณ ภาพใหม ด ว ยการ ปรับปรุงแบบกราฟกที่ดีกวา โดยมีจัดทําขอกําหนดมาตรฐาน ตางๆทางคุณลักษณะขนาดสัดสวนและโครงสรางและเสนอแนะ หรือกํากับวิธีการใชน้ัน ก็นับเปนสิ่งที่องคกรที่ตั้งมานาน เมื่อชื่อ และสัญลักษณที่ใชอยูนั้นลาสมัย เพราะสัญลักษณขององคกรมี การใช ง านมานานพอสมควร ดั ง นั้ น จึ ง มี ค วามความจํ า เป น ที่ จะตองมีการพัฒนารูป แบบ CI เสีย ใหม(สุมิ ตรา ศรีวิบู ลย 2540:20-21) ทั้งนี้ก็เพื่อใหเหมาะสมกับยุคสมัยและเทคโนโลยี ของการออกแบบ มีความเหมาะสมกับระบบการผลิต ระบบการ สื่อสาร ระบบการผลิตภัณฑสินคาและบริการ และที่สําคัญที่สุด ก็คือ เพื่อการนําไปใชใหเกิดเปนมาตรฐานเดียวกันภายในของ องค ก รได ส ะดวก ถู ก ต อ ง อย า งเข า ใจในความหมายและ ก อ ให เ กิด กิ จ กรรมเสริม ภาพลั กษณ เกิด การตีค วามที่ดี มี ก าร นําไปพัฒนาตอเนื่องไดอยางเปนระบบ 2. จากผลการวิ จั ย และการออกแบบสร า งสรรค ชุ ด แบบ ตัวอักษรและตัวพิมพเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราช ภัฏจันทรเกษม ทําใหไดชุดแบบตัวอักษรที่มีสัดสวนโครงสราง ตามมาตรฐานของตั ว อัก ษรไทย โดยไดกํ า หนดใชชื่อ ตระกู ล แบบตัวพิมพ(Font Family)เฉพาะวา ซีอารยู(CRU) อันไดแก แบบตัวพิมพชื่อ CRU-Chandrakasem, CRU-LanChand และ CRU-Rajabhat.Version 1.0 ซึ่งไดติดตั้งและทดสอบรวมกับ


7 ระบบปฏิบัติการวินโดวสและระบบแมคอินทอช มีการทดสอบ ซ้ํ า และได ร ว มทดลองใช ง านร ว มกั บ โปรแกรมประยุ ก ต สํานักงานและโปรแกรมดานคอมพิวเตอรกราฟกโดยไดรับความ รวมมือในการนําไปใชทดสอบและไดผลตอบรับกลับเปนอยางดี จากผูบริหารของหนวยงาน อาจารย นักศึกษา ศิษยเกาพนักงาน เจ า หน า ที่ ภ ายในมหาวิ ท ยาลั ย ตลอดทั้ ง ผู เ ชี่ ย วชาญและนั ก ออกแบบ จากภาคเอกชน โดยมีเริ่ มมีการนําแบบตัวอักษรไป ทดลองใช ง านจริ ง ตามวั ต ถุ ป ระสงค เ ชิ ง ประจั ก ษ จ ริ ง ในการ นําไปใชงานคือ แบบตัวอักษร CRU-Chandrakasem และCRURajabhat เป น แบบตั ว อั ก ษรประเภทตั ว ตกแต ง (Display Typeface) ที่นําไปใชเพื่อการตกแตงขาวสาร เชนการนําไปใช เปนตัวเนนขอความสวนพาดหัวขาว ใชเปนชื่อหรือหัวขอสําคัญ เพื่อการเนน ย้ํา สื่อแสดงและการเชื่อมโยงถึงที่มาเดิมและการ รักษาบุคลิกที่เปนเอกลักษณเฉพาะของความเปน ราชภัฏ ในการ รับรูของสังคมไดอยางตอเนื่อง โดยที่มีแบบตัวอักษรชื่อซีอารยูลานจันทร(CRU-LanChand) ใหใชรวมเปนตัวจัดเรียงเนื้อหาที่ เปนเอกลักษณเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ดังที่ ผูวิจัยไดนํามาใชเปนแบบตัวเรียงพิมพแสดงเนื้อหาทั้งหมดใน รายงานผลการวิจัยเลมนี้ และดังที่มีการนําแบบอักษรชุดดังกลาว นี้ไปใชงานเพื่อสื่อถึงเอกลักษณขององคกรแลวดังเชนในงาน ประเภทกราฟกสื่อ-สิ่งพิมพตางๆ อาทิเชน วารสารจันทรเกษม สาร,จดหมายขาวจันทรกระจางฟา จดหมายขาวประจําคณะแผน พับจากหนวยงานสาขาวิชา คูมือประกันคุณภาพการศึกษา และ เว็บไซตตางๆเกี่ยวของกับภารกิจในวัตถุประสงคตามประกาศ ของมหาวิทยาลัย 3. ผลจากการที่ ไ ด วิ จั ย เพื่ อ ออกแบบพั ฒ นาต น แบบตรา สัญลักษณ แบบตัวอักษรหรือตัวพิมพชุดซีอารยู-ราชภัฏสําเร็จ นั้น ทําใหการออกแบบสรางสรรคผลงานกราฟกมีองคประกอบ ครบสมบูรณเปนชุดมาตรฐานเดียวกัน ใชเปนองคประกอบหลัก ในการบงชี้ถึงลิขสิทธิ์ในตัวผลงาน และทําใหสามารถนําไปเปน องค ป ระกอบหลั ก ในการสร า งสรรค ต น แบบไฟล ดิ จิ ตั ล ที่ มี ลิขสิทธิ์ถูกตองตามกฏหมาย สามารถนําไปใชสราง จัดเก็บ คน คื น และเผยแพร เ ป น ผลงานออกแบบด า นกราฟ ก (เรขศิ ล ป ) สิ่งพิมพ ผลิตภัณฑของที่ระลึก และเครื่องแตงกาย ฯลฯ เพื่อใช สื่อแสดงถึงการนําเอากราฟกเอกลักษณมาตรฐาน เพื่อเปนสื่อ สร า งเสริ ม เอกลั ก ษณ แ ละภาพลั ก ษณ ใ ห แ ก อ งค ก ร โดยได รวบรวมผลงานที่ไดออกแบบสรางสรรคทั้งหมดไวเปนรูปเลม เอกสารคูมือเอกลักษณองคกร ซึ่งก็สอดคลองกับผลการวิจัยของ ชลธิศา เที่ยวประดิษฐ(2550) ที่ไดสรุปผลออกแบบผลงานการ ออกแบบเอกลักษณองคกรสําหรับโครงการโฮมสเตยมาตรฐาน ไทย เปนรูปเลมเอกสารคูมือเอกลักษณองคกร เพื่อเปนแบบอยาง

การนําไปใชงาน พรอมทั้งคําอธิบาย อยูในลักษณะแฟมหวงปก แข็ง บรรจุเนื้อหา 52 หนา และแผนซีดีรอม จํานวน 1 เลม และ ในการนํ า เสนอเอกสารคู มื อ การใช ง านกราฟ ก เอกลั ก ษณ มาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม นั้น ผูวิจัยได ออกแบบจั ด ทํ า เป น ต น แบบไฟล อ าร ต เวิ ร ค สํ า เร็ จ รู ป ที่ พ ร อ ม นําไปดําเนินการพิมพออกมาเปนรูปเลมจํานวนนอยดวยระบบ การพิมพแบบดิจิตัลสี่สี(Color Digital Print Proof) และแยกสี แมพิม พ เขาแทนพิมพจํานวนมากไดดวยระบบการพิมพออฟ เซทสี่สี(Color Offset Press) ในรูปเลมขนาดมาตรฐาน A4 (210 มม.x297 มม.) จํานวน 36 หนา หรือจํานวน 4 หนายก แยกปก หนา-หลัง อีกทั้งไดนําเสนอเผยแพรไวเปนไฟลการพิม พผาน ระบบอินเตอรเน็ต(Digital e-Publishing) ดวยไฟลมาตรฐาน ประเภท.pdf และไฟลภาพ .jpegไวใหผูเขาใชงานดวยระบบ สมาชิกของเว็บไซต www.chandrakasem.info สามารถดาวนไห ลดไฟล ม าตรฐานเหล า นี้ ล งไปใช ง าน เพื่ อ การติ ด ตั้ ง พิ ม พ เผยแพร และใชอางอิงประกอบใชในเชิงวิชาการไดอีกชองทาง หนึ่ง

ภาพที่ 2 .หนั ง สื อ คู มื อ การใช ง านกราฟ ก เอกลั ก ษณ ม าตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะอันเปนผลจากการวิจัยและหรือสาระสืบเนื่อง ในครั้งนี้ มีดังนี้คือ


8 1. ภาพลักษณที่ดีขององคกร คือเปาหมายที่ทุกองคกรอยากมี และอยากได และเมื่อเกิดมีห รือไดแ ลวก็ตองหมั่นบํารุงรัก ษา สถานภาพใหคงไวในภาวะความเปนปจจุบัน และทําใหดียิ่งๆขึ้น ในกาลอนาคต ซึ่ ง สิ่ งที่ ซึ ม ซับ เอาภาวะความเป นจริ ง อัน เป น คุณลักษณะและความดีที่ปรากฏ หรือเปนสื่อกลางแทนคาการ ตีความที่เปนนามธรรมเหลานี้ไดดีที่สุดก็คือ ตราสัญลักษณของ องค ก ร ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะเป น วรรณกรรมทางการรั บ รู ( Visual Literacy) ที่ ทํ า ให ม องเห็ น คุ ณ ค า แห ง ความคงที่ (Consistency)ความลงตั ว (Firmness)ที่ เ ป ย มด ว ยความหมาย (Meaningful)ผ า นทางเส น สายสี สั น ลวดลายอั น เป น วั จ น และอวัจนสัญลักษณ หรือที่มักเรียกวาเปนคุณลักษณะกราฟก เอกลักษณเฉพาะขององคกรนั่นเอง ผลงานออกแบบสรางสรรค ใดๆอั น เกิ ด จากการวิ จั ย เรื่ อ งการออกแบบกราฟ ก เอกลั ก ษณ มาตรฐานมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ จั น ทรเกษมนี้ นั บ เป น ผลการ ดําเนินงานสวนหนึ่ง ซึ่งผูวิจัยในฐานะที่เปนบุคลากรในองคกร แห ง นี้ ไ ด เ ริ่ ม ต น สรรค สร า งและพั ฒ นา เพื่ อ ให เ กิ ด มี ก าร ออกแบบอย า งเป น ระบบ(Design System)เกิ ด มี ต น แบบ มาตรฐาน(Master Blueprint)เกิ ดแบบแผนตั วอยาง(Design Pattern) และไดวางแนวทาง(Roadmap) ดวยการใหผูที่มีสวนได สวนเสียขององคกร ที่เปนตัวแทนประชากรสวนหนึ่ง ไดเขามามี ส ว นร ว มในกระบวนการพิ จ ารณาตั ด สิ น ใจ โดยได ผ า นการ ทดสอบและทดลองใช ต ามกระบวนวิ ธี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย และ ออกแบบสรางสรรคมาเปนระดับหนึ่ง และสรุปออกมาไวเปน รูปแบบคูมือการใชงานและเอกสารเผยแพรประเภทตางๆในทุก ช อ งทางการสื่ อ สารให พ ร อ มแล ว กระบวนการอื่ น ที่ ค วร ดําเนินการตอเนื่องนับแตนี้ไป ผูวิจัยขอฝากใหทุกคนในองคกร นับตั้งแตผูบริหาร คณะกรรมการที่มีอํานาจระดับสั่งการ หัวหนา งาน และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการกระทําหนาที่ รักษองคกร ทุกทาน ควรตองมองเห็นคุณคา เห็นความสําคัญหรือเรงทําความ เขาใจและการเอาใจใสตอการนําไปใชงานกันอยางจริงจัง ใชกัน อยางถูกตอง ตามแนวทางแบบแผน ชวยกันระแวดระวังรักษา และพัฒนาแบบตราสัญลักษณหรือกราฟกที่เกี่ยวของกับความ เปนเอกลักษณอยางมีสวนรวม หรือเยี่ยงสินทรัพยอันมีคาของ องคกรสืบไป 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ควรมีการรับรองแบบตรา สัญลักษณและกราฟกเอกลักษณที่นําเสนอหรือมีการคัดกรองใช อย า งเป น ทางการ กึ่ ง ทางการ และไม เ ป น ทางการ โดยควรมี หนวยงานรับผิดชอบติดตามตรวจสอบและพัฒนาโดยตรง หรือ มีการประกาศ แจง จดลิขสิทธิ์(Copyrights) โดยเฉพาะตรา สัญลักษณประจํามหาวิทยาลัย(University Seal)แบบอักษรยอ (University Logotype) ชุดแบบตัวอักษรและตัวพิมพตระกูลซี

อารยูทั้ง 3 แบบ (Corporate Fonts) ซึ่งอาจตราเปนขอกฎหมาย ไว อ ย า งเป น ระบบ ตราเป น ระเบี ย บการใช ใ ห ถู ก ต อ งเป น มาตรฐานเฉพาะไว เชนเดียวกับเปนขอบังคับหรือสินทรัพยของ มหาวิทยาลัย(University Assets) ทั้งนี้ก็เพื่อใหมีผลตอการนําไป ปฏิบัติ การนําไปผลิต การเผยแพรใชงานจริงรวมกับทรัพยสิน และการบริการทั้งหมดทั้งปวง เกิดการบังคับใชทั้งในภาระกิจ หลักภารกิจ รองหรือ กิจกรรมเสริมภาพลักษณใดๆทุกดานทุก ระดั บ ให ส มกั บ ศั ก ดิ์ ศ รี แ ละฐานะความเป น มหาวิ ท ยาลั ย ใน ระบบบริหารราชการแหงรัฐ หรือเปนการเตรียมการที่จะพัฒนา องคกรไปเปนมหาวิทยาลัยนอกระบบในอนาคต ที่ยังคงตอ ง เชื่อ มโยงประวั ติศาสตร ห รือ ที่ มาขององคกร ตามเกีย รติภูมิ ที่ ไดรับนามพระราชทานมาวา ราชภัฏ ที่ยืนยาวและคงเอกลักษณ สืบไป 3. มหาวิทยาลัยควรมีการจัดพิมพแผยแพร ประชาสัมพันธ ใหการสนับสนุนงบประมาณในการผลิตสําเนาจากตนแบบ สื่อ แม แ บบตั ว อย า งเพื่ อ การแจกจ า ยให แ ก ห น ว ยงานทุ ก ระดั บ โดยตรงหรื อ จั ด หาช อ งทางให ส ามารถเข า ถึ ง เข า ใช ไ ด จ าก ระยะไกลผานระบบอินเตอรเน็ต มีการจัดกิจกรรมสงเสริม การ เผยแพรความรูความเขาใจ การจัดฝกอบรม การสรางเครือขาย การจัดประกวด การพัฒนาตนแบบผลิตภัณฑสินคาและบริการ อื่นๆ หรือใหการสนับสนุนการทําวิจัยตอเนื่องและเกี่ยวเนื่องใน การใชกราฟกเอกลักษณองคกร ทั้งในระดับผูเรียน ผูสอนหรือผู มีสวนเกี่ยวของในทุกระดับทั้งภายในและแพรกระจายออกสู สังคม ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการสงเสริม เพิ่มการยอมรับ ใหเกิดการรับรู ในภาพลักษณและเอกลักษณทางสังคมไดอยางตอเนื่องทั่วถึง ให เกิดความเชื่อมั่นรวมกันวา การสํานึกในความเปนเจาของแหง ตราสัญลักษณอันทรงคุณคา ยอมนําพาการทํางานไปสูเปาหมาย แหงตนและองคกรไดในที่สุด

กิตติกรรมประกาศ ผูวิจัยขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ จั น ทรเกษม ที่ ไ ด ใ ห ก ารสนั บ สนุ น และอุ ด หนุ น งบประมาณ รายไดประจําป พ.ศ. 2552 ทําใหการวิจัยในครั้งนั้สําเร็จลุลวงไป ไดดวยดีตามวัตถุประสงค

บรรณานุกรม จันทรเกษม,มหาวิทยาลัยราชภัฏ.รายงานประจําป 2552. กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.มปป. ชลธิศา เที่ยวประดิษฐ.การออกแบบเอกลักษณองคกรสําหรับ โครงการโฮมสเตยมาตรฐานไทย.วิทยานิพนธ ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545. สุมิตรา ศรีวิบูลย. การออกแบบอัตลักษณ.พิมพครั้งที่ 2.


9 กรุงเทพฯ : คอรฟงชั่น, 2547. Askegaard, S., & Chirstensen, L. T. (2001). “Corporate identity and corporate image Revisited : A semiotic perspective”.

European Journal of Marketing, 35(3/4), 292-315. Morgan, C.L. Logos : Logo, Identity, Brand, Culture. Switzerland : RotoVision SA, 1999.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.