Prachid-TQF-Arti3319 Visual Communication Assesstive Technology

Page 1

มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 1

มคอ.3 วิชา ARTI3319 เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์

สาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชามนุษย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร

ภาคเรียนที่ 2/2555 ประจาปีการศึกษา 2555

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 2

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อวิชา ARTI3319 ชื่อรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ Visual Communication Design Assistive Technology 2.จานวนหน่วยกิต(ทฤษฏี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) หน่วยกิต 3(2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเอกบังคับ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร อาจารย์ผู้สอน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2/2555. ชั้นปีที่ 3 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) สอบผ่านวิชา ARTI3318 คอมพิวเตอร์กราฟิกเบื้องต้น 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ 2555

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 3

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1.จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักรู้ในคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ในการใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการ ออกแบบนิเทศศิลป์ (Ethical and Moral Development) 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในทฤษฎี หลักการ และกระบวนการดาเนินงานและกระบวนวิธี ปฏิบัติการงานเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ (Knowledge Skills) 1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล การสื่อแสดงออกซึ่งทักษะทางปัญญาในการ ใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ (Cognitive Skills) 1.4 เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะการทางานเป็นทีม ด้วยการมีส่วนร่วมและมีบทบาทในการรับผิดชอบใน โครงงานสร้างสรรค์ผลงานกลุ่ม การปฏิบัติตนและความรับผิดชอบในภาระงานที่ได้รับมอบหมายร่วมคิดร่วมใช้ ร่วมแบ่งปัน ร่วมสร้างสรรค์ สรรสาระ ด้วยการปรับประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ได้อย่าง เหมาะสมตามศักยภาพ (Interpersonal Skills and Responsibility) 1.5 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ ในการประมาณการค่าใช้จ่าย สามารถคิดคานวณทวนสรุป ต้นทุนการสร้างสรรค์ การผลิต การนาเสนอและหรือการจาหน่ายผลงานด้านการออกแบบนิเทศศิลป์ โดยวิธีการ สรุปรายงานผลและการนาเสนอเผยแพร่ผลงานด้วยตนเอง หรือเป็นหมู่คณะ ด้วยการใช้ทักษะทางการสื่อสาร รูปแบบ วิธีการ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสมตามวิถีทางการดาเนินการ ประกอบวิ ช าชี พ และรู ป แบบความก้ า วหน้ า ทางด้ า นเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารร่ ว มสมั ย (Analytical and Communication Skills) 1.6 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ ในเทคนิควิธี กระบวนการ สามารถสร้างสรรค์ผลงานและ นาเสนอแฟ้มสะสมผลงานได้ ด้วยการพึ่งพาเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อการสร้างโอกาสในการประกอบวิชาชีพทั้ง อิสระส่วนตัวและหรือในองค์กร ด้วยการใช้ระบบสื่อสาร รูปแบบ วิธีการ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ได้ อย่างสอดคล้องตามวิถีทางการประกอบวิชาชีพและความต้องการของตลาดแรงงาน (Psychomotor Skills) 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย อย่างสากล ที่สามารถสอดรับกับ องค์ความรู้ใหม่ การฝึกทักษะและ เทคนิคกระบวนการใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ได้สอดคล้องกับ ตลาดแรงงานจริงปัจจุบัน หรือ บูรณาการใช้กับรายวิชาปฏิบัติการในหลักสูตรสถานศึกษาอื่นๆได้ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต 2.2 เพื่อสามารถบูรณาการสื่อการสอน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์สนับสนุนเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนได้หลากหลายวิธี ให้มีความสอดคล้อง ยืดหยุ่น เหมาะสมกับศักยภาพและความเป็นจริงปัจจุบันหรือ อนาคตของการวางแผนพัฒนา ผู้สอน ห้องเรียนห้องปฏิบัติการ นักศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมและความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไป มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 4

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาทฤษฎีความรู้ กระบวนการ ทักษะวิธีการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศต่างๆที่มี มาแต่เดิม(Legacy)ที่กาลังใช้อยู่ปัจจุบัน(Core) และที่กาลังพัฒนา(Emerging) เพื่อนามาช่วยในกระบวนการคิด วิเคราะห์ การสร้างสรรค์และการนาเสนอผลงานออกแบบนิเทศศิลป์ โดยคานึงถึง การปรับประยุกต์ใช้ทักษะ กระบวนการให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน ระบบเศรษฐกิจพอเพียงและความต้องการของ2. จานวนชั่วโมง ที่ใช้ต่อภาคการศึกษา การฝึกปฏิบัติ/งาน บรรยาย สอนเสริม การศึกษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/การฝึกงาน บรรยาย 24 ชั่วโมงต่อ การฝึกปฏิบัติ 25 ชั่วโมง ใช้ระบบอีเลิร์นนิ่ง 24x7 5 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ภาคการศึกษา ต่อภาคการศึกษา 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล อาจารย์ผู้สอนจัดระบบและเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มเรียนไว้ทั้งแบบโดยตรงและโดย อ้อม(Direct and Indirect Advice Method)ดังนี้คือ 3.1 ใช้ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา(Mentor)ในชั้นเรียนชั่วโมง Home Room ทุกวันพุธ เวลา13.00-16.30 น. 3.2 ใช้ระบบอีเลิร์นนิ่งของสาขาวิชา ArtChandra : Art and Design e-Learning Port เป็นระบบบริหาร จัดการห้องเรียนเสมือน(Virtual Classroom) ให้นักศึกษาสามารถเข้าศึกษาเรียนรู้ ทากิจกรรม การมีส่วนร่วม อภิปราย-ซักถามและทบทวนบทเรียนที่ผ่านมาด้วยตนเอง(Self-Paced Learning) แบบทางไกลผ่านเว็บไซต์ของ รายวิชา ได้จากทุกสถานที่ ทุกเวลา 3.3 ใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์สากลที่ร่วมสมัยและเป็นปัจจุบัน(Real Time Social Network Media) ด้วย Google+, GoogleDrive, Facebook ,Twitter และอื่นๆ เพื่อให้คาปรึกษา คาแนะนาและการติดตามผล ตามช่องทาง-ข้อตกลงเบื้องต้นของอาจารย์ผู้สอนหรือของสาขาวิชาที่ตั้งขึ้นใช้เฉพาะกลุ่มเรียน และเชื่อมโยงแบบ ส่วนบุคคล ด้วยการติดต่อผ่านทางระบบอีเมลโดยตรงทุกคนตามที่อยู่แจ้ง

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 5

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม (Ethical and Moral Development) 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรณยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้ อมูลส่วนบุคคล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางการออกแบบและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติ หลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 การตระหนักรู้ในคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพนักออกแบบ 1.1.2 การมีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในการนัดหมายรับส่งผลงานที่ออกแบบ 1.1.3 การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพการรักษาผลประโยชน์ในคุณค่า ของผลงานการสร้างสรรค์ของตนเองและผู้อื่น และยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย 1.1.4 การเคารพและใช้กฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆทางกฏหมายขององค์กรและสังคม ที่ต้อง รับผิดชอบ ร่วมรักษาสิทธิทางปัญญาที่เกี่ยวข้องและนามาใช้ประกอบในผลงานออกแบบนิเทศศิลป์ หลักจรรยา มารยาทการนาเสนอเผยแพร่ทางการพิมพ์ และการโฆษณาประชาสัมพันธ์ออกสู่สาธารณะผ่านทางระบบออนไลน์ 1.2 วิธีการสอน โดยการให้ ผู้ เรี ย นได้ ศึกษาเรี ยนรู้ และได้ ฝึ กปฏิบัติ การให้ครอบคลุม กระบวนวิธีการคิด วิธีการศึกษา วิเคราะห์ วิธีการสร้างสรรค์และการพัฒนารูปแบบผลงานโครงสร้างและกราฟิกการออกแบบนิเทศศิลป์ สินค้า ประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับให้เข้าใจถึงหลักการ แนวคิดและสามัญทัศน์ที่สาคัญเกี่ยวกับ การออกแบบการผลิต 1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบด้วยทักษะ ฝีมือพื้น ฐาน เพื่อการสื่อสารผสานแนวความคิด การประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศ เทคโนโลยีเพื่อ สนับสนุนกระบวนการออกแบบกราฟิก เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทางการออกแบบ เช่น การใช้งานระบบ บริการทางอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นกรณีศึกษาอย่างมีหลักวิชาการ เพื่อการนาเสนอแนวความคิดที่หลากหลาย ทางเลือก การรับข้อมูลป้อนกลับและการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ เป็นต้น 1.2.2 กาหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง และศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะด้านในสถาน ประกอบการตามกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน 1.2.3 การมีส่วนร่วมในเวทีการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน และ/หรือใช้เวทีสาธารณะออนไลน์ผ่าน ระบบสื่อสังคม (Social Network Media) 1.2.4 การสร้าง/แบ่งปันใช้ข้อมูลร่วมกันผ่านทาง Free Google Blogger สาธารณะ เพื่อสรุปสาระ การเรียนรู้ แสดงวิธีการคิด สร้างสรรค์ แสดงผลงานทางระบบออนไลน์ร่วมกัน และ/หรือส่วนบุคคล ในลักษณะ มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 6

แฟ้มสะสมงานเพื่อใช้ก้าวสู่ โลกอาชีพ (Professional Port Folio) เพื่อการยอมรับหรือใช้เป็นฐานอ้างอิง ประสบการณ์และการพัฒนาทักษะที่สูงขึ้นต่อไป 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 ตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียนและพฤติกรรมการมีส่วนร่วม การส่งผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามขอบเขต ระยะเวลาที่มอบหมายภาระงาน และการตรงต่อเวลา 1.3.2 การนาเสนอผลงาน วิธีการคิดวิเคราะห์ตามกระบวนวิธีของวิชาชีพนักออกแบบ คุณภาพการ นาเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตรงโจทย์ 1.3.3 ประเมิน ผลการวิเคราะห์ กรณีศึกษาในโครงการออกแบบส่ วนบุคคล(Individual Design Project)และการนาเสนอเผยแพร่สู่สาธารณะ 2. ความรู้ (Knowledge Skills) 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหา กระบวนการคิด การ สืบค้น การวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนวิธีการสร้างสรรค์และการพัฒนาผลงานออกแบบนิเทศศิลป์ ให้สอดคล้องตรง กับ วัตถุป ระสงค์ของการผลิ ต ด้ว ยการใช้ เครื่องมือ วั ส ดุ อุปกรณ์ วิทยาการทางคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยี ความก้าวหน้าต่างๆ มาช่วยส่งเสริม สนับสนุนวิธีการคิด เทคนิควิธีการออกแบบ-เขียนแบบ การผลิตผลงาน ให้ สามารถบริหารจัดการ ทรัพยากร การสื่อสาร การนาเสนอและเผยแพร่ผลงานส่วนบุคคลหรือกระบวนการทางาน กลุ่ม ได้ตามเกณฑ์ทักษะวิชาชีพที่คาดหวัง 2.2 วิธีการสอน วิธีการสอน เน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลาง โดยบูรณาการวิธีการเรียนการสอนต่างๆมาใช้คือ 2.2.1 บรรยาย-สาธิตวิธีการสร้างแผนผังความคิด (Concept Design Mapping or Mind Mapping) เพื่ออวางแผนการผลิตผลงานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป โดยเน้นพฤติกรรมให้นักศึกษามีการวางแผน มี บทบาทในจัดระบบความคิดของตนให้ชัดเจน เห็นความสัมพันธ์ในกระบวนการออกแบบ(Design Process)ของ ตนเอง และกระบวนการบริหารจัดการงานวิชาชีพ(Design Carreer Performance) 2.2.2 ใช้แบบบรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ มอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนามาสรุปและนาเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และ โครงงาน Problem or Project-based 2.2.3 ใช้การสอนแบบการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง(Self-Paced Learning) โดยให้นักศึกษาเรียนรู้ การนาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ด้วยตนเอง ตามความสนใจ แล้วนาเสนอในชั้นเรียน โดยผู้สอน เป็นผู้ชี้แนะ กากับ ควบคุม และตรวจสอบ 2.2.4 ใช้สื่อการสอนแบบ การจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้หลากหลายภายใต้ภาวะแวดล้อมและเกิดทักษะสัมพันธ์ในการใช้เครื่องมือ อัน มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 7

ประกอบด้วย ระบบบริการการเรียนการสอนออนไลน์ e-learning ของสาขาวิชาศิลปกรรม ระบบ Claroline LMS, และระบบบริการติดต่อสื่อสารและการมีส่วนร่วมแบ่งปันความรู้ ของ Google+ และ GoogleBlogger ร่วม สนับสนุนและติดตามให้คาปรึกษา การวิจารณ์ผลงานการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา โดยเป็นสื่อเสริมการ เรียนรู้นอกชั้นเรียน เน้นพฤติกรรมให้ นักศึกษามีการซักถาม ตอบคาถาม การแก้ปัญหาโจทย์ การนาความรู้และ ตัวอย่างไปใช้ประโยชน์ การเรียนรู้ที่ต้องการผลการเรียนรู้ทันที หรือให้เกิดการเรียนรู้ตามลาดับขั้น ตอนเป็น ระยะ โดยใช้วิธีการให้นักศึกษามีบทบาทในเรียนรู้ด้วยตนเองตามระดับความรู้ความสามารถของตน มีการแก้ไข ฝึกซ้า ทาตามวิดีโอบันทึกการสอน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความเชี่ยวชาญทางทักษะ ฝึกการคิดวิเคราะห์ และรู้จักบูรณาการความรู้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ใช้การทดสอบก่อนเรียนและหลังการเรียน การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วย ข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี ทั้งในชั้นเรียนและการทดสอบในระบบออนไลน์ 2.3.2 การตรวจผลงานตามเกณฑ์ ก ารประเมิ น ผลงานที่ น าเสนอและรายงานการสรุ ป ผลงาน สร้างสรรค์โครงการออกแบบส่วนบุคคลในชั้นเรียน 2.3.3 แบบประเมินความก้าวหน้าและความสาเร็จของการจัดทา Free GoogleBlogger เผยแพร่ แฟ้มสะสมผลงานส่วนบุคคลสู่สาธารณะ 3. ทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนานักศึกษาให้มีความสามารถในการคิดจัดกระทาอย่างเป็นระบบ มีการแสดงวิธีคิดวิเคราะห์ และสื่อ แสดงการแก้ปัญหาและทางเลือกเป็นขั้นตอนตามกระบวนออกแบบด้วยทักษะฝีมือ (Manual Design Skill) ที่ ผสานสัมพันธ์กับการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง (Tools & Related Technology Manipulation) มาปรับประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับโจทย์หรือภาระงานที่ รับผิดชอบ 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 แบบปฏิบัติการเรียนรู้จากการทางานจริง ด้วยการมอบหมายให้นักศึกษาทาโครงงานออกแบบ ผลิตผลงานส่วนบุคคล(Individual Design Project) 3.2.2 การมีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสินผลงานและการอภิปรายกลุ่ม (Design Focus Group) 3.2.3 การสรุปผลกรณีศึกษา การนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานออกแบบนิเทศ ศิลป์ 3.3 วิธีการประเมินผล

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 8

3.3.1 ใช้แบบทดสอบสอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีโจทย์ให้ต้องมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือแสดงหลักฐาน การสรุปทฤษฎีและหลักการ การคิดวิเคราะห์แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานตาม วิถีทางของนักออกแบบ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา คือ 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายให้ครบถ้วนตาม กาหนดเวลา 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มรายงาน การศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา เช่นการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตด้วย เครื่องมือหรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ สาหรับการผลิตผลงานด้านออกแบบนิเทศศิลป์ 4.2.2 มอบหมายโครงงานการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแบบกลุ่ม และแบบรายบุคคล เช่น โครงงาน กลุ่มการออกแบบผลิตของที่ระลึกสาหรับมหาวิทยาลัย โดยมอบหมายภาระงานให้ดาเนินการจริง โดยสามารถ อ้างอิงข้อมูลจากผู้ประกอบการจริงตามรูปแบบการวิจัยแบบมีส่วนร่วม(Participatory Reseaerch)ให้แล้วเสร็จ ออกมาจริงและเคร่งครัดตามกาหนดเวลา 4.2.3 การนาเสนอผลงานออกแบบและการทาแฟ้มสะสมผลงาน โดยมอบหมายให้มีการนาเสนอ ผลงานเป็นนิทรรศการย่อยในชั้นเรียนหรือภายนอกชั้นเรียนของแต่ละกลุ่ม โดยการจัดทา Mood Board ทั้งแบบ กลุ่มและรายบุคคล เพื่อแสดงสรุปภาระงานที่ร่วมรับผิดชอบ และจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มรายงาน และส่งไฟล์แสดง เผยแพร่เป็นเอกสารออนไลน์ไว้ในเว็บไซต์ Issuu.com และ ที่ Free GoogleBlogger ของรายวิชา และเว็บไซต์ ของแต่ละรายบุคคล 4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 แบบประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด 4.3.2 แบบบันทึกพฤติกรรมการทางานเป็นทีมและบุคคล 4.3.3 แบบประเมินผลโครงงานการเรียนรู้จากการทางานจริงของกลุ่มและรายบุคคล 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตั วเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Analytical and Communication Skills) 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา เช่น 5.1.1 ทักษะการคิดคานวณ เชิงตัวเลข เช่นการประมาณราคาค่าบริการออกแบบและการผลิตชิ้นงาน มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 9

5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพู ด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน และ นาเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษาด้วยตัวเอง 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลด้านเทคโนโลยีการออกแบบ ทางอินเทอร์เน็ต 5.1.5 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร 5.1.6 ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 ใช้การสอนแบบฝึกอบรมทักษะการใช้งานเครื่องมือออนไลน์ (Web Tools) และโปรแกรม ส าเร็ จ รู ป เชิ งพาณิช ย์ และโปรแกรมฟรี ที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบนิเทศศิล ป์ เพื่อ นามาปรับประยุ กต์ใช้ กั บ กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานในขั้นตอนของ Pre- Design , Designing และ Post-Design 5.2.2 จัดกิจกรรมการฝึกทักษะการประยุกต์ใช้เครื่องมือออนไลน์และโปรแกรมฟรีของ Google เพื่อ สนับสนุนการเรียนรู้ภาคทฤษฏี ภาคปฏิบัติการและการนาเสนอเผยแพร่แฟ้มผลงานออกแบบของนักศึกษา 5.2.3 สร้างระบบเครือข่ายการสังคมออนไลน์ไว้รองรับการสื่อสารและการติดต่อเฉพาะกลุ่มเรียน เพื่อ การสอนเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาและคณาจารย์ โดยมีการฝึกอบรมทักษะ การใช้งานจริง เช่นให้สามารถส่งไฟล์งานทางระบบบริการอินเตอร์เน็ต ทางอีเมลล์ หรือการสร้างข่าวสารสาระ การเรียนรู้ การตรวจแสดงความคิดเห็น การติดตาม การเผยแพร่แสดงผลงานทางออนไลน์ได้จริง เช่น การใช้ Weblog, Google+ การสื่อสารการทางานในกลุ่มผ่านห้องสนทนาด้วย Chat Room, ทาง Social Media Network เช่น FaceBook, หรือ Twitter เป็นต้น 5.3 วิธีการประเมิน 5.3.1 แบบประเมินทักษะการนาเสนอผลงาน การจัดทารายงานและการนาเสนอผ่านทางระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.2 แบบบันทึกประวัติการมีส่วนร่วมในการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.3 แบบประเมินผลงานเชิงประจักษ์ โครงงานออกแบบกลุ่มและรายบุคคลที่เผยแพร่แสดงออนไลน์ ในระบบอินเตอร์เน็ตที่เข้าถึงได้จริง 6.ทักษะปฏิบัติการทางวิชาชีพศิลปกรรม (Psychomotor Skills) 6.1 ทักษะปฏิบัติการทางวิชาชีพที่ต้องพัฒนา คือ 6.1.1 พัฒนาทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อใช้เป็นเครื่องมือและแนวทางสาหรับการ สร้างสรรค์ จัดเก็บ แสดงผลและค้นคืน ผลงานออกแบบนิเทศศิลป์ ได้อย่างเหมาะสมกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงและความ ต้องการของตลาดแรงงาน 6.1.2 พัฒนาทักษะทางการบริหารจัดการงานเทคโนโลยีเพื่อการผลิต การรู้จักปรับประยุกต์ใช้เครื่องมือ และวิทยาการเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานออกแบบนิเทศศิลป์ได้เหมาะสมตามศักยภาพและความพร้อม มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 10

6.1.3 พัฒนาทักษะการนาเสนอและสร้างแฟ้มสะสมผลงานได้ โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 6.2 วิธีการสอน 6.2.1 ฝึกอบรมทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดา้ นคอมพิวเตอร์อาร์ต ที่สอดคล้องตรงกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน เทคโนโลยีการผลิต เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.2.2 จัดกิจกรรมและประสบการณ์จริง การนาเสนอและสร้างแฟ้มสะสมผลงานของนักศึกษา 6.3 วิธีการประเมินผล 6.3.1 ผลงานแสดงในเล่มเอกสารรายงานผลกระบวนการคิดวิเคราะห์และสื่อแสดงวิธีการสร้างสรรค์ ผลงานออกแบบด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 6.3.2 การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานที่เกิดจากการจัดเก็บ การแสดงผล การค้นคืนไฟล์ตาม กระบวนการทางเทคโนโลยีและผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปรากฏ 6.3.2 แบบประเมินผลการนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์สรุปผลงานสร้างสรรค์(Mood Board)

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 11

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1.แผนการสอน สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด ที่ 1 แนะนาวิชา - คาอธิบายรายวิชา - ธรรมชาติวิชา - ข้อตกลงและการเตรียมตัวก่อน เรียน - วิธีการเรียนรู้ - ระบบสื่อ ระบบการสื่อสารและ ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน ในชั้นเรียนและนอกเวลาเรียน - หัวข้อเนื้อหาและบทเรียน - การวัดผลและการประเมินผล

จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน ชั่วโมง สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) 3.50 - การปฐมนิเทศวิชา ผศ. - ปฏิบัติการฝึกทักษะการบริหารจัดการ ประชิด ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศส่วน ทิณบุตร บุคคลและระบบเครือข่ายทางสังคม ใน ฐานข้อมูลและผลิตภัณฑ์มาตรฐาน บริการของ Google.com และระบบ อื่นๆ - การสมัครสมาชิกระบบเครือข่ายสื่อ สังคมข่าวสารออนไลน์ - การสมัครเรียนในระบบอีเลิร์นนิ่ง ระบบคลาโรไลน์หรือโดคีออส -การทดสอบก่อนการเรียน สื่อที่ใช้ -แผนการสอน - คอมพิวเตอร์ /อินเตอร์เน็ต - วิดีทัศน์/วิดีโอคลิปออนไลน์ ประเภทต่างๆ - บทเรียนออนไลน์วิชา - แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test) - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการผลิต - เว็บไซต์รับส่งข่าวสารด้าน Technology -เว็บไซต์เครือข่ายสื่อสังคมออนไลน์ ของ ”ArtChandra”, ”Prachid007” Google, Facebook, Twitter ,Academia, ที่ผู้สอนตั้งขึ้น

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 12

สัปดาห์ จานวน หัวข้อ/รายละเอียด ที่ ชัว่ โมง 2 1.สามัญทัศน์เกี่ยวกับเทคโนโลยี 3.50 เพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ - กระบวนการทางเทคโนโลยีและ การออกแบบ - ความหมาย และความสาคัญของ เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศ ศิลป์ - วิวัฒนาการของเทคโนโลยีและ ผลกระทบต่อวิถีวิธีการประกอบอัพ ทางการออกแบบนิเทศศิลป์ - จรรยาบรรณ บทบาทและหน้าที่ ทางเทคโนโลยี ของนักออกแบบ นิเทศศิลป์

กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) - บรรยาย-สาธิต ผศ. - การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน ประชิด เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ทิณบุตร หน้าชั้นเรียน/การอภิปรายกลุ่มย่อย - มอบหมายงาน การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง - การมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สาระ ในเว็บไซต์การจัดการความรู้อย่าง พอเพียงของวิชา -การสร้างแฟ้มสะสมความรู้และผลงาน (Portfolio) แบบออนไลน์ส่วนบุคคล สื่อที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ /อินเตอร์เน็ต - เว็บไซต์สื่อแสดงผลงานและแฟ้ม สะสมผลงาน - บทเรียนออนไลน์ - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี การออกแบบ - Google+ , GoogleDrive - GoogleDocs - Free Web Application

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 13

สัปดาห์ จานวน หัวข้อ/รายละเอียด ที่ ชัว่ โมง 3-4 2.ชนิดและประเภทของเทคโนโลยี 7 เพื่อการออกแบบ 2.1 เทคโนโลยีช่วยในกระบวนการ คิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ (Creativity Assistive tools) - MindMapping,Concept Draw - Social Network Media Apps

กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) - การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน ผศ. เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ประชิด หน้าชั้นเรียน ทิณบุตร -ทบทวนซักถามและติดตามผลกิจกรรม การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง - บรรยาย – สาธิต - อภิปรายกลุ่มย่อย - การวางแผนและแผนที่ความคิด ทางการออกแบบนิเทศศิลป์ -ฝึกปฏิบัติการออกแบบนิเทศศิลป์ โดย มอบหมายวางแผนออกแบบโครงงาน กลุ่มร่วมกัน ไม่เกิน 3 คน สื่อที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ /อินเตอร์เน็ต - วิดีทัศน์/วิดีโอคลิปกระบวนการใช้งาน เทคโนโลยีจาก Youtube.com - บทเรียนออนไลน์ - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการผลิต - Google+, GoogleDrive - Google Apps Products - Free MindMap Applications

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 14

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด ที่ 5-6 3. Visual Communication Design : Creativity Assistive tools - Free Online Application -Free WebSite Hosting -หลักการเขียนภาษา Html เบื้องต้น -Webserver Applications - CMS,LMS,Weblog

จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน ชั่วโมง สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) 7 -การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน ผศ. เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ประชิด หน้าชั้นเรียน ทิณบุตร -ให้คาปรึกษา การนาเสนอและติดตาม การทากิจกรรมกลุ่ม -ฝึกปฏิบัติการสืบค้นและแบ่งปันความรู้ ทางการออกแบบนิเทศศิลป์ด้วยเว็บ เทคโนโลยี -กิจกรรมกลุ่มในการร่วมกันวิเคราะห์ กรณีศึกษา การแก้ปัญหาโจทย์และ ภาระงานที่รับมอบ -ฝึกปฏิบัติการออกแบบเว็บไซต์จัดการ จัดการความรู้วิชาเรียนด้วยเครื่องมือ ออนไลน์และใช้พื้นที่ฟรี GoogleBlogger -ฝึกปฏิบัติการออกแบบเว็บไซต์จัดการ จัดการความรู้วิชาเรียนด้วยเครื่องมือ ออนไลน์และใช้พื้นที่ฟรีของ wordpress.com สื่อที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ /อินเตอร์เน็ต - คอมพิวเตอร์/โปรแกรมเสริมบริการ ฟรี ร่วมใช้งานกับอีเมลของ Google - บทเรียนออนไลน์ - Free Hosting @ wordpress.com - Portable USB Wordpressthai Blog

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 15

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด ที่ 7 4. Visual Communication Design Assistive Technology - Productivity Assistive tools -Web Technology - Web Browser Plugins tool - Free Online Tool - Free Vector Program - Free Raster Program

8

สอบกลางภาคเรียน

9-10

6. Visual Communication Design Assistive Technology - Productivity Assistive tools - CAD/CAM Tools

จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมง สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) 3.50 - การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ หน้าชั้นเรียน - บรรยาย/สาธิตการออกแบบกราฟิก การออกแบบนิเทศศิลป์ประเภทต่างๆ สื่อที่ใช้ - ตัวอย่างงานต้นแบบและผลงาน จาลองเหมือนของจริง -ตัวอย่างการออกแบบนิเทศศิลป์สินค้า มาตรฐาน -โปรแกรมสาเร็จรูปด้านการออกแบบ กราฟิกประเภทเวคเตอร์และแรสเตอร์ -กล้องดิจิตัลและโต๊ะไฟในสตูดิโอ - Google+ , GoogleDrive -การนาเสนอผลงานกลุ่ม -สอบกลางภาคเรียน สื่อที่ใช้ -แบบทดสอบในระบบออนไลน์ 7 - การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ หน้าชั้นเรียน - ฝึกปฏิบัติการออกแบบและการพัฒนา ต้นแบบผลิตภัณฑ์ สื่อที่ใช้ คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์/โปรแกรมช่วยออกแบบ เขียนแบบทางการผลิต เช่น - Google Sketchup, 3D Canvas - Packmage.com Online Tools

ผู้สอน ผศ. ประชิด ทิณบุตร

ผศ. ประชิด ทิณบุตร

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 16

สัปดาห์ จานวน หัวข้อ/รายละเอียด ที่ ชัว่ โมง 11-12 Visual Communication Design 7 Assistive Technology - Presentation Assistive tools - Filing & Storage Management - Output Technology

13

8.เทคนิคการนาเสนอผลงาน 3.50 - การนาเสนอเผยแพร่ผลงานและ แฟ้มสะสมงานแบบออนไลน์ - การจัดทาภาคนิพนธ์สรุปผลการ ดาเนินงานโครงงานออกแบบส่วน บุคคล -การจัดทาแผ่นภาพ Mood Board อธิบายสรุปย่อประกอบการ นาเสนอผลงานต้นแบบจริง -Free Presentation Technology - Open Office Impress

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) - การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ หน้าชั้นเรียน -บรรยาย/สาธิตการใช้งานโปรแกรม นาเสนอผลงานออกแบบนิเทศศิลป์ -ฝึกปฏิบัติการจัดการไฟล์สาหรับการ จับเก็บและการส่งออก -การผลิตงานต้นแบบ และการพิมพ์ผล ออกทางอุปกรณ์ต่อพ่วง สื่อที่ใช้ - ตัวอย่างงานต้นแบบ และผลงาน จาลองเหมือนของจริง - โปรแกรมประเภทการนาเสนอ - เว็บไซต์บริการจัดเก็บและเชื่อมโยงส่ง ต่อบริการไฟล์ - เครื่องฉายดิจิตัลโปรเจคเตอร์ - เครื่องพิมพ์เลเซอร์สี - การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ หน้าชั้นเรียน -เทคโนโลยีการนาเสนอผลงานด้วย โปรแกรมประเภท OpenSource -บรรยาย/ยกตัวอย่างแฟ้มแสดงผลงาน การออกแบบนิเทศศิลป์ -ฝึกปฏิบัติการออกแบบรวบรวมแฟ้ม สะสมผลงานส่วนบุคคลและกลุ่ม

ผู้สอน ผศ. ประชิด ทิณบุตร

ผศ. ประชิด ทิณบุตร

สื่อที่ใช้ -คอมพิวเตอร์/โปรแกรมประยุกต์

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 17

สัปดาห์ ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

จานวน ชั่วโมง

14-15

9.การนาเสนอผลงานโครงงานการ 7 ออกแบบนิเทศศิลป์ส่วนบุคคล -การทดสอบหลังการเรียน

16

สอบปลายภาคเรียน รวมชั่วโมงบรรยายและปฏิบัติการ

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) สาร็จรูปทางการนาเสนอ -ตัวอย่างภาพผลงานการนาเสนอจาก -Picasa Gallery ,Facebook Photo Album ของผู้สอน - Open Office Impress

ผู้สอน

- การรายงานแปลสรุปข่าวสารด้าน ผศ. เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ประชิด หน้าชั้นเรียน ทิณบุตร - การนาเสนอผลงานโครงการออกแบบ ส่วนบุคคลของนักศึกษา สื่อที่ใช้ -คอมพิวเตอร์/เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ -เว็บไซต์แสดงและเผยแพร่ผลงานส่วน บุคคลทาง GoogleSite, Issuu.com - Mood Board, Prototype, Paper/CD - Google+ , GoogleDrive สอบปลายภาคเรียน

49

2.แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการ กิจกรรมที่ วิธีการประเมิน เรียนรู้* 1.3.2 ความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมใน 1 1.3.3 ชั้นเรียน 2 1.3.1 การแต่งกาย บุคลิกภาพ กาละเทศะ 3 5.3.1 การศึกษาค้นคว้าและการนาเสนอ

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการ ประเมินผล

ตลอดภาคเรียน

5%

ตลอดภาคเรียน สัปดาห์ที่ 2-3

5% 5%

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 18

กิจกรรมที่

4 5 6 7

ผลการ เรียนรู้* 5.3.2 5.3.3 2.3.1 4.3.3 3.3.1 4.3.1 5.3.1, 6.3.1, 6.3.2

วิธีการประเมิน

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการ ประเมินผล

เผยแพร่ผลงานส่วนบุคคล พัฒนาการทักษะวิชาชีพและกิจกรรม กลุ่ม แบบฝึกหัดทักษะย่อย การทดสอบทักษะเชิงปฏิบัติการ

สัปดาห์ที่ 8, สัปดาห์ที่ 15 สัปดาห์ที่ 7 สัปดาห์ที่ 14

โครงงานออกแบบส่วนบุคคล

สัปดาห์ที่ 14-15

10% 10% 10% 15%

รวมคะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน 65 % 8 3.3.1 สอบกลางภาคเรียน สัปดาห์ที่ 9 15 % 9 3.3.1 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่16 20 % รวมคะแนนทั้งสิ้น 100% การพิจารณาเกณฑ์ผ่านในรายวิชาผู้เรียนจะต้อง 1.มีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด หากเวลาเรียนไม่พอตามที่กาหนดจะ พิจารณาผลเป็นตกเนื่องจากเวลาเรียนไม่พอ ไม่มีสิทธิ์สอบ โดยได้รับค่าระดับคะแนน F (Failed, Insufficient Attendance) 2. ผู้เรียนจะต้องมีคะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวมทั้งหมด 3.ผู้ที่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้ค่าระดับคะแนน A คะแนนร้อยละ 75-79 จะได้ค่าระดับคะแนน B+ คะแนนร้อยละ 70-74 จะได้ค่าระดับคะแนน B คะแนนร้อยละ 65-69 จะได้ค่าระดับคะแนน C+ คะแนนร้อยละ 60-64 จะได้ค่าระดับคะแนน C คะแนนร้อยละ 55-59 จะได้ค่าระดับคะแนน D+ คะแนนร้อยละ 50-54 จะได้ค่าระดับคะแนน D คะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 จะได้ค่าระดับคะแนน F

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 19

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1.เอกสารและตาราหลัก บุญทรัพย์ วิชญางกูร.easy Sketchup7.นนทบุรี:ไอดีซีพรีเมียร์ จากัด ,2553 ประชิด ทิณบุตร. การออกแบบกราฟิก. กรุงเทพ:สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2531 ------------------.เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีเ พื่ อการออกแบบนิเ ทศศิลป์ . สาขาวิช าศิล ปกรรม ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2.เอกสารและข้อมูลสาคัญ 2.1 ไฟล์บันทึกข้อมูลเพื่อการประมวลและประเมินผลประจารายวิชา( Course–Class-EvaluationForm.xls) 2.2 ไฟล์แบบฟอร์มการจัดทาบันทึกผลการออกแบบด้วยมือ (Manual Design Sheets Form.xls) 2.3 เนื้อหาบทเรียนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์. ในระบบอีเลิร์นนิ่ง สาขาวิชาศิลปกรรม URL1: http://art.chandra.ac.th/claroline URL2: http://chandraonline.chandra.ac.th/claroline 3.เอกสารและข้อมูลแนะนา 3.1.เว็บไซต์ระบบอีเลิร์นนิ่ง ภายในมหาวิทยาลัย ของสาขาวิชาศิลปกรรม 3.1.1 เว็บไซต์สนับสนุนการเรียนรู้ออนไลน์ สาขาวิชาศิลปกรรม Artchandra e-Learning Portal Site : URL : http://art.chandra.ac.th 3.1.2 เว็บบล็อกศูนย์รวมข่าวสารของสาขาวิชาศิลปกรรม URL:http://artnet.chandra.ac.th 3.1.3 ระบบคลาโรไลน์อีเลิร์นนิ่งสาหรับการเรียนการสอนประจาวิชา URL: http://art.chandra.ac.th/efront 3.2 เว็บไซต์สนับสนุนการติดต่อสื่อสาร การติดตามผลและแสดงผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา อย่างพอเพียงและสากล 3.2.1 เว็บไซต์การรับ-ส่งข้อความสั้นผ่านทาง URL : http://www.twitter.com/prachid007 3.2.2 หน้าเว็บสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟสบุ๊ค URL : https://www.facebook.com/pages/artchandraศิล ปกรรมจัน ทรเกษม/ 112898348813 3.2.3 เว็บไซต์เครือข่ายการจัดการความรู้สู่สาธารณะอย่างพอเพียงและสากลประจาวิชา arti3319 แห่งแรก URL : http://sites.google.com/site/arti3319 3.2.3 เว็บไซต์เครือข่ายการจัดการความรู้ สู่สาธารณะอย่างพอเพียงและสากลประจาวิชา arti3319 แห่งที่ 2 URL : http://arti3319.blogspot.com มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 20

3.3. เว็บไซต์สากลเพื่อการนาเสนอเผยแพร่และแสดงผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา URL : http://www.issuu.com/designtech 3.4. เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง 3.4.1 http://www.designandtech.com 3.4.2 http://www.designtech2010.wordpress.com 3.4.3 http://www.design-technology.info 3.4.4 http://www.chanderakasem.info 3.4.5 http://www.thaifont.info 3.4.6 http://www.prachid.com 3.4.7 http://www.wittycomputer.com 3.4.8 htp://www.chandraonline.info 3.4.9 http://www.clarolinethai.info 3.4.10 http://www.efrontthai.info 3.4.11 http://www.novice-reserchers.net 3.4.12 http://www.researchchandra.net 3.4.13 http://www.thaianimation.info 3.4.14 http://www.thaiteachers.info

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 21

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1.กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมิน ประสิ ทธิผลในรายวิช าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมเพื่อส ารวจแนวคิดและความเห็ นจาก นักศึกษาได้โดยมีวิธีการดังนี้คือ 1.1 ใช้การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและนักศึกษา 1.2 ใช้แบบบันทึกคะแนนกิจกรรมการเรียนรู้และการรายงานผลการสังเกตการณ์พฤติกรรมของนักศึกษา 1.3ใช้ระบบสื่อสารและเทคโนโลยีร่วมสมัย เพื่อเป็นเวทีแสดงออกและรวบรวมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ผ่านระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ ผ่านการรับ-ส่งข่าวสารแบบกลุ่มของ Google+, การวิพากษ์ วิจารณ์ และการ ติดตามให้คาปรึกษาด้านการเรียนรู้ด้านการสร้างสรรค์ผลงานทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคลผ่านทาง GoogleDrive และผ่านทางกระดานสนทนา(Discuss Board)ในระบบ e-Learning สาขาวิชาศิลปกรรม ในรายวิชาของอาจารย์ ผู้สอนที่ได้กาหนดและจัดทาไว้เพื่อรองรับเป็นช่องทางสาหรับการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษาตลอด 24 ชั่วโมง ตลอด 7 วัน 1.4 ใช้แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ที่คณะฯเป็นผู้ดาเนินการ 2.กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้ 2.1 ใช้วิธีการซักถาม การสังเกตการณ์ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและพฤติกรรมของนักศึกษา จากผู้สอน ร่วม 2.2 ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ของรายวิชา 2.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์จากผลการสอบก่อน-หลังเรียน และผลสอบภาคทฤษฏีความรู้ 2.4 ผลสรุประดับพัฒนาการตามเกณฑ์พฤติกรรมทักษะวิชาชีพ : ทักษะการปฏิบัติที่คาดหวังของนักศึกษา (Career Criterias : Performance Expectations Achievement) 3.การปรับปรุงการสอน ในระหว่างดาเนินการสอน/หลังจากทราบผลการประเมินการสอนในแต่ละคราว/ภาคเรียนแล้ว มีวิธีการ ปรับปรุงการสอนโดยวิธีการดังนีค้ ือ 3.1 สรุปประเด็นสภาพปัจจุบันและปัญหาเพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงเฉพาะหน้าระยะสั้นและระยะยาว 3.2 มีการทาวิจัยในชั้นเรียนควบคู่ไปกับการเรียนการสอน เพื่อหาข้อสรุป เผยแพร่ ตั้งประเด็นดาเนินการ สอนและทวนสอบ ในการสอนคราวต่อไป มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 22

3.3 นาผลสรุปจากแบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา ที่คณะฯเป็นผู้ดาเนินการ มาทวนสอบร่วม วางแผนปรับปรุง และจัดแผนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3.4 ปรับปรุงประสิทธิภาพของสื่อหลัก สื่อเสริมและสื่อเติมให้มีประสิ ทธิภาพขึ้นกว่าเดิม ให้มีทางเลือก หลากหลายระดับ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้ให้ นักศึกษาสามารถเข้าถึง เข้าใช้ได้เต็มศักยภาพ ตามทักษะ วาระโอกาส ช่องทางการติดต่อสื่อสารและด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 3.5 แบ่งปัน พัฒนาความรู้และฝึกฝนทักษะตนเองร่วมกับผู้รู้หรือผู้ร่วมงานท่านอื่นๆอย่างสม่าเสมอ 3.6 ประชุมกลุ่มผู้สอน/สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่ างกระบวนการสอนและหลั งการสอนรายวิช า มี การทวนสอบผลสั มฤทธิ์ใ นรายหั ว ข้อตามที่ คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมทั้งการ พิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาได้ดังนี้คือ 4.1 มี ก ารทวนสอบการให้ ค ะแนนจากการสุ่ ม ตรวจผลงานของนั ก ศึ ก ษา โดยอาจารย์ ท่ า นอื่ น หรื อ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการจัดตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังมาตรฐานการเรียนรู้ของสาขาวิชา เพื่อทวนสอบการประเมินผลการ เรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบหลักเกณฑ์-วิธีการให้คะแนนกิจกรรม ข้อสอบ คะแนนผลสอบ วิธีการให้ คะแนนสอบ การให้คะแนนพฤติกรรม รายงานหรืองานที่มอบหมาย 4.3 มีการทาวิจัยในชั้นเรี ยน เรื่องการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการนาเสนอผลงานของ นักศึกษาที่เรียนในวิชา 4.4 ใช้แบบสารวจความคิดเห็น -การรวบรวมข่าวสาร ค่าสถิติผลงานเชิงประจักษ์ และมีหลักฐานจริง อัน เป็นผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา จากกิจกรรมการส่งผลงานประกวดแข่งขัน จากเกียรติยศ รางวัลที่ได้รับ จากการ ส่งผลงานเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการจริง หรือแบบออนไลน์สู่สาธารณะในเว็บไซต์สากลหรือภายในหน่วยงานที่ สามารถตรวจสอบ ติดตาม อ้างอิงและเข้าถึงได้

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


มคอ.3 ARTI3319 : หน้า 23

5.การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิ ทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอนและรายละเอียดของวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ดังนี้ 5.1 จัดให้มีการวิพากษ์เพื่อการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสรุปที่ได้จากการ ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 มีการเชิญวิทยากรพิเศษ การศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง หรือการจัดประสบการณ์จริง เพื่อให้นักศึกษามีวิสัยทัศน์ในเรื่องการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนในรายวิชามากขึ้น 5.3 มีการให้ความร่วมมือทาวิจัยร่วมกันในหน่วยงาน หรือทาวิจัยแบบบูรณาการกับผู้สอนหรือนักวิจัยจาก ภายนอกสถาบัน

มคอ3.วิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.