รายงานประจำปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561

Page 1


รายงานประจ� ำ ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561

(1 ตุลาคม พ.ศ.2560 - 30 กันยายน พ.ศ.2561)

ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตุลาคม 2561


บทสรุปส�ำหรับผู้บริหาร ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ยุโรปศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังคงสานต่อและ พัฒนาภารกิจหลักในการสนับสนุนการสร้างและ การเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู ้ ด ้ า นยุ โ รปศึ ก ษาแบบ สหสาขาวิชาในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้อย่างต่อเนื่อง ดังที่ได้ด�ำเนิน การมาตลอดกว่าสองทศวรรษ โดยในปีนี้ ศูนย์ฯได้ จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี 1 รายวิชา รับผิดชอบประสานงานการจัดการเรียนการสอน 1 หลักสูตร จัดการอบรมระยะสั้น 1 ครั้ง จัดท�ำ และเผยแพร่สิ่งพิมพ์ 11 รายการ ให้ทุนอุดหนุน โครงการวิจัย 4 โครงการ และจัดกิจกรรมทาง วิชาการ 18 กิจกรรม การด�ำเนินงานของศูนย์ฯ ถือได้วา่ ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี สะท้อนได้ จากผลการประเมินตัวชีว้ ดั ตามข้อตกลงการจัดท�ำ ผลผลิต (SDA) ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่ง ศูนย์ฯได้รับผลการประเมินที่ระดับร้อยละ 100 อั น เป็ น ระดั บ การประเมิ น สู ง สุ ด และมี ห น่ ว ย งานด้านวิชาการในส�ำนักงานมหาวิทยาลัยเพียง 2 หน่ วยงานเท่านั้นที่ได้รับผลการประเมิ นใน ระดับนี้ การด�ำเนิ น งานของศู น ย์ ฯ ได้ รั บ การ สนั บ สนุ น งบประมาณจากส�ำนั ก งานคณะ กรรมการการอุดมศึกษามาโดยตลอด ส�ำหรับ ปีงบประมาณนี้ ศูนย์ฯได้รับจัดสรรงบประมาณ เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 2,500,000.00 บาท ซึ่งได้ ด�ำเนินการเบิกจ่ายไปแล้วร้อยละ 100.00 โดย จ�ำแนกประเภทค่าใช้จ่ายได้เป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ ค่าจ้างชัว่ คราว ร้อยละ 60.29 ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ร้อยละ 30.11 และเงินอุดหนุน โครงการวิจยั ร้อยละ 9.60 การใช้จา่ ยงบประมาณ ของศูนย์ฯตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความคุ้มค่า และหลักประสิทธิภาพ สามารถก่อให้เกิดการ

สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพและปริมาณสูงอย่างได้ สัดส่วนกับทรัพยากรที่ใช้ไป ศู น ย์ ฯ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ หลั ก ข้ า งต้ น ผ่ า น กิจกรรมหลายรูปแบบ เพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการของบรรดากลุ่มเป้าหมายของศูนย์ฯที่ แตกต่างกัน ประการแรก ศูนย์ฯมีบทบาทส�ำคัญ ในการสนั บ สนุ น การสร้ า งผลผลิ ต หลั ก ภายใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านการจัดการเรียน การสอนรายวิชาบูรณาการสหภาพยุโรปเบื้องต้น โดยในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2560 รายวิชาดังกล่าวได้รับความสนใจจากนิสิตอย่าง ล้ น หลาม มี จ�ำนวนผู ้ ล งทะเบี ย นเรี ย น ณ ต้ น ภาคการศึกษา เต็มจ�ำนวนนิสิตสูงสุดที่สามารถ รองรับได้ รวมถึงมีบทบาทผ่านการท�ำหน้าทีเ่ ป็นผู้ ประสานงานในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร โลกศึกษา (Global Studies Program) ซึ่งเป็น ความร่วมมือระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับ มหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค (University of Freiburg) และมหาวิ ท ยาลั ย ฮุ ม โบลท์ (Humboldt University) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีด้วย นอกเหนือจากภารกิจสนับสนุนการสร้างผลผลิต หลักแล้ว ศูนย์ฯยังได้จดั การอบรมระยะสัน้ ส�ำหรับ บุ ค คลภายนอก ในหั ว ข้ อ “สหภาพยุ โ รปกั บ ภูมิภาคนิยมเปรียบเทียบ” เป็นประจ�ำทุกปี ซึ่ง ในปีนี้ ศูนย์ฯได้ขยายระยะเวลาการอบรมเป็น 9 วัน จากเดิมทีเ่ คยจัด 5 วันในปีงบประมาณ 2560 อีกทัง้ ยังริเริม่ เชิญวิทยากรจากหน่วยงานภายนอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่น คณะผูแ้ ทนสหภาพ ยุโรปประจ�ำประเทศไทย มหาวิทยาลัยในต่าง ประเทศ และบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญใน การท�ำงานร่วมกับสหภาพยุโรป เข้ามาร่วมเป็น ผู้บรรยายเป็นครั้งแรก อันจะเป็นการเปิดโอกาส ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้พัฒนาความรู้ความเข้าใจ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | ค


เกี่ยวกับสหภาพยุโรปผ่านมุมมองที่หลากหลาย และกว้างขวางมากขึ้น ประการถั ด มา ศู น ย์ ฯ ได้ จั ด ท�ำและ เผยแพร่ สิ่ ง พิ ม พ์ ห ลากหลายประเภท เพื่ อ ใช้ เป็ น สื่ อ ในการเผยแพร่ แ ละแลกเปลี่ ย นองค์ ความรู้ด้านยุโรปศึกษา ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯได้จัดท�ำและเผยแพร่วารสารยุโรปศึกษา จ�ำนวน 3 ฉบับ เพิ่มขึ้นจากหลายปีงบประมาณ ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง จั ด ท�ำได้ เ พี ย ง 0-1 ฉบั บ ต่ อ ปี เท่านั้น โดยมีการปรับปรุงรูปแบบรูปเล่มให้มี มาตรฐาน อ่านง่าย มีการอ้างอิงที่ชัดเจนและ ได้มาตรฐาน สวยงาม และทันสมัยยิ่งขึ้น ทั้งยัง ได้จัดท�ำและเผยแพร่จดหมายข่าวยุโรปศึกษา จ�ำนวน 4 ฉบับ ซึ่งก็มีการวางโครงสร้างเนื้อหา รู ป แบบบทความและการออกแบบศิ ล ป์ ใ หม่ ทั้ ง หมดด้ ว ยเช่ น กั น นอกเหนื อ จากสิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ออกตามเวลาแล้ว ศูนย์ฯได้จัดท�ำและเผยแพร่ สิ่งพิมพ์อื่น ได้แก่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ใหม่ 1 ฉบั บ สิ่ ง พิ ม พ์ โ ครงการพิ เ ศษ 2 ฉบั บ และ สิ่งพิมพ์ในการประชุม 1 ฉบับ ประการที่สาม ศูนย์ฯได้สนับสนุนการ สร้ า งองค์ความรู้ใหม่ในด้านยุโรปศึก ษา ผ่ า น การพิจารณาให้ทุนอุดหนุนโครงการวิจัยขนาด เล็ก โดยในปีงบประมาณนี้ ศูนย์ฯได้ให้ทุนวิจัย กับโครงการวิจัยใหม่ทั้งสิ้น 4 โครงการ เพิ่มขึ้น จากปี ง บประมาณ 2560 ที่ พิ จ ารณาให้ เ พี ย ง 3 ทุน โครงการวิจัยที่ได้รับการเลือกมีเ นื้อ หา ครอบคลุมประเด็นเศรษฐกิจการเมือง การจัดการ ประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปกับ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ศูนย์ฯยังได้ ติดตามความคืบหน้าของโครงการวิจยั ทีเ่ คยได้รบั ทุนวิจยั ไปในอดีตแต่ด�ำเนินงานล่าช้า จนสามารถ เร่งรัดให้ด�ำเนินการเสร็จสมบูรณ์หรือก้าวหน้าเพิม่ ขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญเป็นจ�ำนวนมาก

ประการสุดท้าย ศูนย์ฯได้จัดกิจกรรม วิชาการส�ำหรับทั้งนักวิชาการ นิสิต นักศึกษา และบุคคลภายนอกถึง 18 กิจกรรม เพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ 2560 ที่จัดเพียง 9 กิจกรรม โดย ประกอบด้วยการบรรยายสาธารณะที่ครอบคลุม ประเด็ นหลากหลาย นิ ท รรศการ การประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ การสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การน�ำเสนอผลงานของนิสิต การเสวนาเกี่ยวกับ นโยบายสาธารณะ และกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม การด�ำเนินงานจัดกิจกรรมเหล่านี้จ�ำนวนหนึ่ง ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก ทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชนของประเทศไทย บรรดา รัฐยุโรปและสหภาพยุโรป ซึ่งเสริมสร้างให้เกิด เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในระยะยาว สืบไป แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการด�ำเนิน งานของศูนย์ฯระหว่างปีงบประมาณ 2560 และ 2561 (แสดงเป็นร้อยละ โดยเปรียบเทียบกับ ปีงบประมาณ 2560)

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | ง


สารจากผู้อ�ำนวยการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในปีงบประมาณ 2561 นี้ ศูนย์ยุโรป ศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนินงาน มาเป็นระยะเวลาครบ 21 ปี และก�ำลังก้าวต่อไป ข้างหน้าเข้าสู่ปีที่ 22 หากเปรียบกับชีวิตมนุษย์ วัย 21 หรือ 22 ขวบปี ก็นา่ จะเป็นช่วงชีวติ ทีห่ ลายคนก�ำลังจะ เรียนจบในระดับการศึกษาขัน้ สูง อย่างปริญญาตรี หรื อ ปวส. เริ่ ม รู ้ จั ก ตั ว เอง เข้ า ใจตั ว เอง มี ประสบการณ์ชวี ติ มามากในระดับหนึง่ พร้อมทีจ่ ะ ใช้ความรูค้ วามเข้าใจและประสบการณ์เหล่านัน้ ใน การริเริม่ ท�ำสิง่ ใหม่ๆและเติบโตงอกงามยิง่ ๆขึน้ ไป ศู น ย์ ฯ เองก็ เ ช่ น กั น ตลอด 21 ปี ที่ ผ่านมา ศูนย์ฯได้เติบโตขึ้นตามล�ำดับ จนกลาย เป็นองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญในการสรรสร้าง พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านยุโรปศึกษา ในประเทศไทยและภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เฉี ย งใต้ มาบั ด นี้ ศู น ย์ ฯ ก็ ไ ด้ ใ ช้ ศั ก ยภาพของ ตนในการต่อยอดภารกิจเดิมให้สามารถบรรลุ เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพมาก ขึ้น ควบคู่กับริเริ่มภารกิจใหม่ซึ่งจะช่วยเติมเต็ม การบรรลุวัตถุประสงค์การด�ำเนินงานของศูนย์ฯ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น รายงานประจ�ำปี ฉ บั บ นี้ เ ป็ น เสมื อ น บันทึกการเติบโตอย่างไม่หยุดยั้งของศูนย์ฯใน ปีงบประมาณ 2561 ที่ผ่านมา ซึ่งศูนย์ฯจัดพิมพ์ เผยแพร่ด้วยความมุ่งหวังว่าจะเป็นประโยชน์ ส�ำหรับผู้ที่สนใจการด�ำเนินกิจกรรมของศูนย์ฯ ต่อไป การเติบโตที่ผ่านมาคงไม่ง่ายนัก หาก ปราศจากการสนั บ สนุ น ของหลายภาคส่ ว นที่ เกี่ยวข้อง ท้ายที่สุดนี้ ศูนย์ฯจึงอยากขอขอบคุณ บรรดาภาคส่วนดังกล่าวด้วยใจจริง และหวังว่า จะได้เพิ่มพูนความร่วมมือในทุกมิติระหว่างกันให้ ลึกซึ้งยิ่งๆขึ้นไปในอนาคต

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | จ


สารบัญ บทสรุปส�ำหรับผู้บริหาร สารจากผู้อ�ำนวยการ สารบัญ คณะผู้จัดท�ำ/รายละเอียดการจัดพิมพ์ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของศูนย์ยุโรป ศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติความเป็นมา วิสัยทัศน์ พันธกิจและ ภารกิจหลัก คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ (1 เม.ย. 59 - 31 มี.ค. 63) โครงสร้างการบริหารงาน / คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ ประจ�ำ

ค จ ฉ ฉ 7 8 9 10 12

ส่วนที่ 2 การจัดสรรงบประมาณใน ปีงบประมาณ 2561 รายได้และรายจ่ายใน งบประมาณจากส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ส่วนที่ 3 ผลการด�ำเนินงานในปี งบประมาณ 2561 การด�ำเนินงานด้านบริการ การศึกษา การด�ำเนินงานด้านสิ่งพิมพ์ การด�ำเนินงานด้านวิจัย การด�ำเนินงานด้านวิชาการ

13 14 15 16 21 33 39

คณะผู้จัดท�ำ/รายละเอียดการจัดพิมพ์ ที่ปรึกษา บรรณาธิการ ผู้เขียน

ณัฐนันท์ คุณมาศ กษิร ชีพเป็นสุข ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ภาวรรณ เรืองศิลป์ วรดร เลิศรัตน์ พิมพร นูมหันต์ วรดร เลิศรัตน์ วิชญ์ วัชรคิรินทร์

ออกแบบรูปเล่ม วรดร เลิศรัตน์ จัดพิมพ์โดย ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม พ.ศ.2561 พิมพ์ท ี่ กรุงเทพฯ ประเทศไทย

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | ฉ


ส่วนที่ 1

ข้อมูลพื้นฐานของศูนย์ยุโรปศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 7


ประวัติความเป็นมา

ด้วยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเล็งเห็นว่า ยุโรปเป็นภูมภิ าคทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั ประเทศไทย มาช้านาน และมีความส�ำคัญต่อประเทศไทย ทั้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง และ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบกั บ สหภาพยุ โ รปได้ ข ยายเครื อ ข่ า ย การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทางวิ ช าการเข้ า มายั ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยและสหภาพยุโรปจึงได้รว่ มกันจัดตัง้ “โครงการยุโรปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”

(Chulalongkorn University European Studies Program, CUESP) ขึ้น โดยเริ่มปฏิบัติ งานตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ.2535 โครงการ ยุโรปศึกษานี้เป็นโครงการอาณาบริเวณศึกษา (area studies) ที่มุ่งสร้างและเผยแพร่องค์ความ รู ้ เ กี่ ย วกั บ ยุ โ รปแบบสหสาขาวิ ช า ครอบคลุ ม สาขาวิชานิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ผ่านการสอน การวิจยั และการ อบรมสัมมนา ทัง้ ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยอื่นในประเทศไทยและภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การด�ำเนิ น งานโครงการในระยะแรก ประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เป็น อย่างดี ต่อมาในปี พ.ศ.2540 สภาจุฬาลงกรณ์ จึงได้มีมติให้ยกฐานะโครงการยุโรปศึกษา จัด ตั้งขึ้นเป็น “ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย” โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างความ เป็นเลิศทางวิชาการด้านยุโรปศึกษา โดยการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล และสนับสนุนการผลิต บัณฑิตที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านยุโรปศึกษา จัดการประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ จัดการ ประชุมอบรมภายในประเทศ เผยแพร่ความรู้สู่ สาธารณชน และเปิดโอกาสให้นักวิชาการชาว ไทย/อาเซียนและยุโรป ได้พบปะแลกเปลี่ยน ความรู้ความคิดเห็นระหว่างกัน รวมทั้งการท�ำ หน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ความรู้ด้าน ยุโรปศึกษาในประเทศไทย และครอบคลุมถึง ภูมิภาคอาเซียนด้วย

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 8


วิสัยทัศน์ พันธกิจและภารกิจหลัก วิสัยทัศน์ ศูนย์ยโุ รปศึกษาฯเป็นศูนย์วชิ าการทีเ่ น้น ความเป็นเลิศทางด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย ในการสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ ยุโรป ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงมายังเอเชียและอาเซียน ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศไทย เอเชีย และยุโรป และเป็นหน่วยงานประสานวิชาการ ระดับชาติทางด้านยุโรปศึกษา พันธกิจ 1. เป็นศูนย์วิชาการที่เน้นความเป็นเลิศ ทางด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย 2. เสริมสร้าง พัฒนาและเผยแพร่องค์ ความรู้ด้านยุโรปศึกษาให้แก่สาธารณชน เพื่อ ประโยชน์ ท างการศึ ก ษาด้ า นยุ โ รปศึ ก ษาทั้ ง ภายในประเทศ และในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉียงใต้ ซึ่งครอบคลุมสาขาวิชาต่างๆ ได้แก่ นิ ติ ศ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์ อั ก ษร ศาสตร์ (ประวัติศาสตร์) และวัฒนธรรม ตลอด จนขยายสาขาวิชาให้หลากหลายยิ่งขึ้นเพื่อให้ทัน กับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป 3. เป็นแหล่งรวบรวมความรู้และพัฒนา องค์ความรู้ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน รวมทั้งเพื่อการวิจัยและส่งเสริมความร่วมมือ ใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศใน ระดับอุดมศึกษา 4. เป็นศูนย์กลางส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศไทย ประเทศในภูมภิ าคเอเชียกับ สหภาพยุโรปและประเทศอื่นๆ ในทวีปยุโรป

5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านยุโรป ศึกษา ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยและสถาบัน อุดมศึกษาในต่างประเทศ ตลอดจนความร่วมมือ กับทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศ

ภารกิจหลัก 1. การจัดอบรม สัมมนา สนับสนุนการ ท�ำวิจัย จัดท�ำฐานข้อมูล เผยแพร่เอกสารและ สิ่งตีพิมพ์ ตลอดจนสร้างเครือข่ายทางวิชาการ ระหว่างสถาบันการศึกษาและบุคคลทั่วไป รวม ทั้งจัดกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ 2. สนั บ สนุ น การจั ด กิ จ กรรมทาง วิชาการแก่หน่วยงานอื่น รวมทั้งเปิดโอกาสให้ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการผลิต ผลงานวิจัย 3. พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการกับ หน่วยงานอื่น ทั้งในและต่างประเทศ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 9


คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ (1 เมษายน 2559 - 31 มีนาคม 2563) คณะกรรมการที่ปรึกษา

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 10


รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 11


โครงสร้างการบริหารงาน / คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ประจ�ำ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 12


ส่วนที่ 2

การจัดสรรงบประมาณใน ปีงบประมาณ 2561

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 13


รายได้และรายจ่ายในงบประมาณจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รายได้ เงินงบประมาณแผ่นดิน

2,500,000.00

รวมรายได้

2,500,000.00

รายจ่าย ค่าจ้างชั่วคราว

1,507,280.00

ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ

752,720.00

เงินอุดหนุนโครงการวิจัย

240,000.00

รวมรายจ่าย

2,500,000.00

แผนภูมิแสดงสัดส่วนรายจ่ายศูนย์ฯ ปีงบประมาณ 2561

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 14


ส่วนที่ 3

ผลการด�ำเนินงานใน ปีงบประมาณ 2561

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 15


การด�ำเนินงานด้านบริการการศึกษา การจั ด การเรี ย นการสอนรายวิ ช าบู ร ณาการ สหภาพยุโรปเบื้องต้น ภาคการศึกษาปลาย ปี การศึกษา 2560 ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด การเรี ย นการสอนรายวิ ช า บูรณาการสหภาพยุโรปเบื้องต้น (0201109) ซึ่ง เป็นรายวิชาการศึกษาทั่วไปในหมวดสหศาสตร์ ที่เปิดโอกาสให้นิสิตระดับปริญญาบัณฑิตจาก ทุกสาขาวิชาสามารถมาลงทะเบียนเรียนได้ เพื่อ เป็นการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยุโรป และการบู ร ณาการยุ โ รปในหมู ่ นิ สิ ต ทั้ ง ในมิ ติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การเมือง-การจัดการ ปกครอง เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ อันถือเป็นพันธกิจส�ำคัญประการหนึ่งที่ ศูนย์ด�ำเนินการมาตลอด ในภาคการศึ ก ษาปลาย ปี ก ารศึ ก ษา 2560 ศูนย์ฯได้จัดการสอนรายวิชาดังกล่าวเป็น ระยะเวลา 18 สัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2561 ถึงวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2561 มี นิ สิ ต ลงทะเบี ย นเรี ย นทั้ ง สิ้ น 59 คน จาก 11 คณะ ได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษร ศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชี คณะครุศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ และคณะ จิตวิทยา โดยเชิญคณาจารย์มาเป็นผู้สอนรวม 5 คน ได้แก่ (1) ผศ.กนิช บุณยัษฐิติ (คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) (2) ผศ.ดร.ภาวรรณ เรืองศิลป์ (คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

(3) ผศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม (คณะ เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) (4) ผศ.ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ (คณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) (5) ผศ.ดร.ทิพรัตน์ บุปผะศิริ (คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง) นิ สิ ต ที่ ล งทะเบี ย นเรี ย นได้ เ ข้ า ท�ำการ ประเมินรายวิชาผ่านระบบ CU-CAS เป็นจ�ำนวน ทัง้ สิน้ 27 คน คิดเป็นร้อยละ 45.76 โดยผูป้ ระเมิน ร้อยละ 40.74 มีความพึงพอใจรายวิชาในภาพรวม

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 16


การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรโลกศึกษา (Global Studies Program) ปีการศึกษา 2560 หลั ก สู ต รโลกศึ ก ษา (Global Studies Program) เป็ น โครงการความร่ ว มมื อ ที่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ล งนามในบั น ทึ ก ความเข้าใจร่วมกับมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค (University of Freiburg) และมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์ (Humboldt University) สหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตกลงที่ จะจัดการเรียนการสอนให้นิสิตในหลักสูตรดัง กล่าวจากทั้งสองมหาวิทยาลัย นิสิตหลักสูตรนี้ จะมาศึกษาที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นระยะ เวลา 1 ภาคการศึกษา ในช่วงเดือนมกราคมถึง เดื อ นพฤษภาคมของทุ ก ปี ซึ่ ง ตรงกั บ ภาคการ ศึ ก ษาปลายในระบบทวิ ภ าคของจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยศูนย์ยโุ รปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยรับหน้าที่เป็นผู้ประงานงานจัดการ เรียนการสอนและดูแลนิสิตตลอดภาคการศึกษา ในปีการศึกษา 2560 มีนสิ ติ หลักสูตรข้าง ต้นลงทะเบียนเรียนกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น 34 คน มาจากมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค 18 คน และมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์ 16 คน โดย ศูนย์ได้ด�ำเนินการจัดให้มีการปฐมนิเทศนิสิตเมื่อ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ.2561

นิ สิ ต เหล่ า นี้ ไ ด้ ล งทะเบี ย นเรี ย นทั้ ง สิ้ น 4 วิชา ได้แก่ 2003677 Seminar in Global Governance, 2200619 Thai and Southeast Asian Peoples and Cultures, 2440602 Globalization and Development in the Asia Pacific และ 2440604 Research Methodology in Development Studies และได้สิ้นสุด การเรียนการสอนเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา การจั ด โครงการอบรมวิ ช าการประจ� ำ ปี ปีงบประมาณ 2561

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 17


ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้จัดโครงการอบรมวิชาการประจ�ำ ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น ภายใต้หัวข้อ “สหภาพ ยุโรปกับภูมิภาคนิยมเปรียบเทียบ” ระหว่างวัน ที่ 14-17 และ 20-24 สิงหาคม พ.ศ.2561 รวม ระยะเวลาทั้งสิ้น 9 วัน ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นการให้ความ รู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการ การรวมตั ว กั น ของกลุ ่ ม ประเทศสหภาพยุ โ รป ตลอดจนความส�ำคัญของสหภาพยุโรปต่อโลก อาเซียน และ ประเทศไทย ทัง้ ยังเป็นการเผยแพร่ กิจกรรมทางวิชาการของศูนย์ฯให้แก่คณาจารย์ นิสติ นักศึกษา บุคลากรในภาครัฐและเอกชน รวม ถึงบุคคลทั่วไปที่สนใจในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ ยุโรปด้วย

โครงการอบรมประกอบด้ ว ยการ บรรยายในหัวข้อย่อยต่างๆ 8 วัน เป็นระยะเวลา 45 ชั่วโมง และการสอบประเมินผลการอบรมใน วันสุดท้าย โดยได้รบั เกียรติจากวิทยากรทัง้ ภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย ดังนี้ 14 สิงหาคม พ.ศ.2561 ช่วงเช้า: “The European Union and its integration” โดย ดร.โคลิน สไตน์บัค (Dr.

Colin Steinbach) หัวหน้าฝ่ายการเมือง สื่อ และสารสนเทศ คณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจ�ำ ประเทศไทย ช่ ว งบ่ า ย: “Central and Eastern Europe: the post-communist transformation and the challenges to European integration” โดย ดร.ราฟาล พันโควสกี (Dr. Rafal Pankowski) จากสถาบั น คอลเลเกี ย ม ซิ บิ ตั ส (Collegium Civitas) กรุ ง วอร์ ซ อ สาธารณรัฐโปแลนด์ 15 สิงหาคม พ.ศ.2561 ช่ ว งเช้ า : “ระบอบนาซี เ ยอรมนี และสงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง” โดย ดร.ตุ ล ย์ อิ ศ รางกู ร ณ อยุ ธ ยา คณะอั ก ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วงบ่าย: “ผลของสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ต่อการเมืองและสังคมของยุโรป” โดย ดร.ตุลย์ อิ ศ รางกู ร ณ อยุ ธ ยา คณะอั ก ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 16 สิงหาคม พ.ศ.2561 ช่วงเช้า: “สหภาพยุโรป: ความท้าทาย ในปัจจุบัน” โดย ผศ.ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ คณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วงบ่าย: กิจกรรม Workshop ในหัวข้อ “สหภาพยุโรปและภูมิภาคนิยมเปรียบเทียบ” โดยคุ ณ วรดร เลิ ศ รั ต น์ ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 17 สิงหาคม พ.ศ.2561 ช่ ว งเช้ า : “ประชาคมอาเซี ย นและ ประชาคมยุโรป: ความเหมือนและความแตกต่าง” โดย ผศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 18


20-21 สิงหาคม พ.ศ.2561 ช่วงเช้าและช่วงบ่าย: “รู้ลึกเรื่องสหภาพ ยุโรป เราจะท�ำงานกับสหภาพยุโรปอย่างไร” โดย ดร.อาจารี ถาวรมาศ ผูบ้ ริหารบริษทั แอสเซสยุโรป (Access-Europe) 22 สิงหาคม พ.ศ.2561 ช่วงเช้า: “ความสัมพันธ์ของสหภาพยุโรป กับต่างประเทศ” โดย ดร.อาจารี ถาวรมาศ ผู้ บริหารบริษัทแอสเซสยุโรป (Access-Europe) ช่วงบ่าย: “ความสัมพันธ์ดา้ นการค้าของ สหภาพยุโรปกับเอเชีย” โดย ดร.อาจารี ถาวรมาศ ผู้บริหารบริษัทแอสเซสยุโรป (Access-Europe)

23 สิงหาคม พ.ศ.2561 ช่วงเช้าและช่วงบ่าย: “การล็อบบี้เพื่อ เข้าถึงตลาดสหภาพยุโรปของภาคธุรกิจไทย” โดย ดร.อาจารี ถาวรมาศ ผูบ้ ริหารบริษทั แอสเซสยุโรป (Access-Europe) การจัดโครงการดังกล่าวประสบความ ส�ำเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดีดงั วัตถุประสงค์ทตี่ งั้ ไว้ โดย มีผเู้ ข้าร่วมโครงการทัง้ สิน้ 70 คน และมีผเู้ ข้าร่วม การสอบประเมินผลการอบรม 30 คน

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 19


ตารางสรุปการด�ำเนินงาน

1.1. การเตรียมการและจัดการเรียน การสอนรายวิ ช าบู ร ณาการสหภาพ ยุโรปเบื้องต้น ภาคการศึกษาปลาย ปี การศึกษา 2560

u

1.2. การเตรียมการและจัดการเรียน การสอนหลั ก สู ต รโลกศึ ก ษา ปี ก าร ศึกษา 2560

u

1.3. การจัดโครงการอบรมวิชาการ ประจ�ำปี ปีงบประมาณ 2561

l

ก.ย. 2561

u

1.4. การเตรียมการและจัดการเรียน การสอนรายวิ ช าบู ร ณาการสหภาพ ยุโรปเบื้องต้น ภาคการศึกษาปลาย ปี การศึกษา 2561

l

1.5. การเตรียมการและจัดการเรียน การสอนหลั ก สู ต รโลกศึ ก ษา ปี ก าร ศึกษา 2561

l

สัญลักษณ์ l u

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 20


การด�ำเนินงานด้านสิ่งพิมพ์ วารสารยุโรปศึกษา (ISSN 0858-7795) ด้วยศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยมีพันธกิจส�ำคัญในการเสริมสร้าง พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านยุโรปศึกษา ให้แก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ด้ า นยุ โ รปศึ ก ษาในประเทศไทยและภู มิ ภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์ฯจึงได้จัดท�ำและ เผยแพร่ “วารสารยุโรปศึกษา” (Journal of European Studies) ส�ำหรับให้นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไปในวงกว้าง สามารถใช้ เป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และความ คิดเห็นในสาขาวิชา อย่างต่อเนือ่ งมายาวนานกว่า สองทศวรรษ ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯในฐานะ กองบรรณาธิ ก ารวารสารยุ โ รปศึ ก ษาได้ จั ด ท�ำ และเริ่มด�ำเนินแผนพัฒนาวารสารรอบใหม่ โดย เริ่มเปลี่ยนแปลงรูปแบบรูปเล่มให้มีมาตรฐาน อ่านง่าย มีการอ้างอิงที่ชัดเจนและได้มาตรฐาน สวยงาม และทั น สมั ย ยิ่ ง ขึ้ น ก่ อ นที่ จ ะมี ก าร ปรับปรุงเกณฑ์และกระบวนการการพิจารณา บทความที่ ส ่ ง เข้ า ตี พิ ม พ์ รวมถึ ง พั ฒ นาช่ อ ง ทางการเข้าถึงวารสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในอนาคตอันใกล้ต่อไป เพื่อยกระดับวารสารให้มี คุณภาพตามมาตรฐานสากลมากขึ้น ภายใต้แผนข้างต้น ศูนย์ฯได้จัดท�ำและ เผยแพร่วารสารโฉมใหม่ในปีงบประมาณนี้ทั้งสิ้น 3 ฉบับ ดังนี้

วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคมธันวาคม 2558) วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558) มี สุธาชัย ยิม้ ประเสริฐ เป็นบรรณาธิการพิเศษ ตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2561 โดยมีบทความที่ได้รับการ พิจารณาให้ตีพิมพ์ 6 บทความ ดังต่อไปนี้ (1) “เปิดโลกวรรณกรรมเช็ก: โบฮุมิล ฮราบัล ความทรงอ�ำนาจแห่งตัวละครไร้อ�ำนาจ ความเป็นการเมืองในความไม่เป็นการเมืองและ สาระแห่งความไร้สาระในกลวิธกี าร “พล่าม/แถ” ของ วริตตา ศรีรัตนา

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 21


(2) “การปฏิ วั ติ กั บ ระยะแรกของ ขบวนการวรรณกรรมแบบโรแมนติกของอังกฤษ” ของ พจี ยุวชิต (3) “หญิงเหล็กบนเวทีละคร: ภาพแทน ความเกลียดชังในการน�ำเสนอนางมาร์กาเร็ต แท็ต เชอร์ในบทละครอังกฤษร่วมสมัย” ของ คารินา โชติรวี (4) “‘Of fine shops and fine shows’: Rethinking Shopping for Pleasure in Eighteenth-Century England” ของตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (5) “ภาพจิ ต รกรรม Les Hasards heureux de l’escarpolette : ภาพโป๊แต่ไม่ เปลือย” ของ พิริยะดิศ มานิตย์ (6) “จะท�ำอย่างไรกัน? : นวนิยายเล่ม โปรดของเลนิน” ของ ดิน บัวแดง

วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (มกราคมมิถุนายน 2559) วารสารยุ โ รปศึ ก ษา ปี ที่ 24 ฉบั บ ที่ 1 (มกราคม-มิ ถุ น ายน 2559) มี ณั ฐ นั น ท์ คุณมาศ เป็นบรรณาธิการ ตีพมิ พ์ครัง้ แรกในเดือน กันยายน พ.ศ.2561 โดยมีบทความที่ได้รับการ พิจารณาให้ตีพิมพ์ 5 บทความ ดังต่อไปนี้ (1) “การปฏิ วั ติ ฝ รั่ ง เศส ค.ศ.1848 กับหนทางการสร้างประชาธิปไตยใหม่ในสมัย สาธารณรั ฐ ที่ ส องของประเทศ” ของ ธิ ติ พ งศ์ มีทอง (2) “Mobility and the geographical factor as reasons for the Jewish assimilation in the Soviet Union” ของ Irena Mostowicz (3) “Front National ภายใต้การน�ำ ของ Marine Le Penn: การปรับเปลี่ยนแนวทาง ปั จ จั ย ต่ อ ความนิ ย มและอนาคตของการเมื อ ง ฝรั่งเศส” ของ สายล�ำภุญชย์ โปธิบาล (4) “เบร็ ก ซิ ท : ความล้ ม เหลวของ ประชาธิปไตยในสหราชอาณาจักร” ของ ธีรวิทย์ วชิรคพรรณ (5) “การเป็ น สมาชิ ก ของอิ ต าลี ในสหภาพยุ โ รป วิ ก ฤตหนี้ ส าธารณะ และ ความเป็ น ไปได้ ข องอิ ต าลี ที่ จ ะออกจาก สหภาพยุโรป” ของ อุทัยพรรณ พรหมขัติแก้ว วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคมธันวาคม 2559) วารสารยุ โ รปศึ ก ษา ปี ที่ 24 ฉบั บ ที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) มี ณัฐนันท์ คุ ณ มาศ เป็ น บรรณาธิ ก าร จั ด ท�ำเสร็ จ สิ้ น ใน

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 22


( 4 ) “ เ บ ร็ ก ซิ ท : ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง โลกาภิวัตน์” ของ นริศ สังข์ไพโรจน์ (5) “The Rise of Illiberal Democracy in Post-Communist Poland” ของ วรดร เลิศรัตน์ การจัดท�ำและเผยแพร่วารสารถึง 3 ฉบับ ภายในหนึ่งปี ส่งผลให้ความล่าช้าในการออก วารสารลดลงในระยะยาว ทั้งนี้ ศูนย์ฯมีแผนที่จะ ออกวารสารทุกฉบับที่ล่าช้าภายในปี พ.ศ.2562 และกลับมาออกวารสารทันตามก�ำหนดอีกครัง้ ใน ปี พ.ศ.2563

เดือนกันยายน พ.ศ.2561 และจะตีพิมพ์ครั้งแรก ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2561 โดยมีบทความที่ได้ รับการพิจารณาให้ตีพิมพ์ 5 บทความ ดังต่อไปนี้ (1) “นั ย ของความหวาดกลั ว อิ ส ลาม ต่อกระแสต่อต้านสหภาพยุโรปในประเทศกลุ่ม วิเชอกราด กรณีศึกษา: ฮังการี” ของ ภานุพงศ์ เพชรพลอย (2) “Catalexit: วิกฤตการณ์รฐั ธรรมนูญ สเปนและท่าทีของสหภาพยุโรปต่อกาตาลุญญา” ของ ณภัทร พุ่มศิริ (3) “ความเปลีย่ นแปลงในฟินแลนด์จาก พรรคประชานิยมฝ่ายขวา: แนวคิดรัฐสวัสดิการ และสมาชิกภาพของของสหภาพยุโรป” ของ ธีธชั ธุระทอง

จดหมายข่าวยุโรปศึกษา (ISSN 0858-6659) นอกจากวารสารยุโรปศึกษาแล้ว ศูนย์ฯ ยั ง ได้ จั ด ท�ำและเผยแพร่ “จดหมายข่ า วยุ โ รป ศึกษา” เป็นประจ�ำทุก 3 เดือน ปีละ 4 ฉบับ เพื่อ ใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่องค์ความรู้ด้าน ยุโรปศึกษาในรูปแบบที่บุคคลทั่วไปสามารถเข้า ถึงได้โดยง่าย แม้มิได้มีพื้นฐานความรู้ในศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องมาก่อน อันจะยังประโยชน์ในการเสริม สร้างความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนกระตุ้นความ สนใจเกี่ยวกับภูมิภาคยุโรปในหมู่สาธารณชน ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯได้ปรับปรุง โครงสร้างและรูปแบบเนื้อหาของจดหมายข่าว ใหม่ โดยในส่วนข่าวภูมภิ าคยุโรป ได้เปลีย่ นแปลง จากการรายงานข่าวรายเหตุการณ์ มาเป็นการ สรุปพัฒนาการของเหตุการณ์ส�ำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมในระยะ 3 เดือน รวมถึงมีการ เพิม่ เนือ้ หาเกีย่ วกับความสัมพันธ์ยโุ รป-ไทย ขณะ ที่ในส่วนของบทความประจ�ำฉบับ ก็มีการปรับ หัวข้อและเนื้อหาให้สอดคล้องกับกระแสความ สนใจในสังคมมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีการปรับ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 23


รูปแบบรูปเล่มให้มีความสวยงาม ทันสมัยและ ดึ ง ดู ด ความสนใจในการอ่ า นยิ่ ง ขึ้ น ด้ ว ย ดั ง ปรากฏผ่านจดหมายข่าวตั้งแต่ฉบับที่ 1 ของปี ที่ 26 (พ.ศ.2561) เป็นต้นมา จดหมายข่ า วยุ โ รปศึ ก ษา ปี ที่ 25 ฉบั บ ที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2560)

โซเชียลมีเดียต่อการก่อการร้ายในยุโรป” ของ สมฤทัย เหรียญตระกูล จดหมายข่ า วยุ โ รปศึ ก ษา ปี ที่ 25 ฉบั บ ที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2560) จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับ ที่ 4 (ตุ ล าคม-ธั น วาคม 2560) มี ณั ฐ นั น ท์ คุณมาศ เป็นบรรณาธิการ ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งสิ้น 500 ชุด โดยนอกเหนือจากข่าวสารในภูมิภาค ยุโรปและข่าวสารของศูนย์ฯในไตรมาสนั้นแล้ว ลงบทความประจ�ำฉบับ เรือ่ ง “แกลลอรีบ่ อร์เกเซ พิพิธภัณฑ์ส่องศิลปะ ณ กรุงโรม” ของ ภาสวิชญ์ บุญคงชื่น

จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับ ที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2560) มี ณัฐนันท์ คุณมาศ เป็นบรรณาธิการ ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งสิ้น 500 ชุด โดยนอกเหนือจากข่าวสารในภูมิภาค ยุโรปและข่าวสารของศูนย์ฯในไตรมาสนั้นแล้ว ลงบทความประจ�ำฉบั บ เรื่ อ ง “บทบาทของ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 24


จดหมายข่ า วยุ โ รปศึ ก ษา ปี ที่ 26 ฉบั บ ที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2561) จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับ ที่ 1 (มกราคม-มี น าคม 2561) มี ตุ ล ย์ อิ ศ รางกู ร ณ อยุ ธ ยา เป็ น บรรณาธิ ก าร ถื อ เป็ น จดหมายข่ า วฉบั บ แรกที่ เ ริ่ ม ใช้ แ นวทาง การปรั บ ปรุ ง ที่ ก ล่ า วมา ตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ทั้ ง สิ้ น 500 ชุด โดยนอกเหนือจากข่าวสารในภูมิภาค ยุ โ รป ข่ า วสารความสั ม พั น ธ์ ยุ โ รป-ไทย และ ข่าวสารของศูนย์ฯในไตรมาสนัน้ แล้ว ลงบทความ ประจ�ำฉบับ เรื่อง “ชาวยุโรปในอยุธยา” ของ วรดร เลิศรัตน์

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 25


จดหมายข่ า วยุ โ รปศึ ก ษา ปี ที่ 26 ฉบั บ ที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2561) จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับ ที่ 2 (เมษายน-มิถนุ ายน 2561) มี ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นบรรณาธิการ ตีพมิ พ์เผยแพร่ทงั้ สิน้ 500 ชุด โดยนอกเหนือจากข่าวสารในภูมิภาค ยุ โ รป ข่ า วสารความสั ม พั น ธ์ ยุ โ รป-ไทย และ ข่ า วสารของศู น ย์ ฯ ในไตรมาสนั้ น แล้ ว ลง บทความประจ�ำฉบั บ เรื่ อ ง “บอลโลกกั บ โลกาภิ วั ต น์ แ ละชาติ นิ ย มในยุ โ รป” ของ วรดร เลิศรัตน์

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯได้ตีพิมพ์ รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ ข องโครงการวิ จั ย ที่ ศูนย์ฯเป็นผูส้ นับสนุนทุนวิจยั ทัง้ สิน้ 1 ฉบับ ได้แก่

รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ เรื่ อ ง “The EU’s Trade and Development Policy as An Aspect of Inter-regional Relations with ASEAN: A Case of Well-being” ของ พงษ์เทพ ประสบโชคชัย ซึ่งได้รับทุนวิจัยเมื่อปีงบประมาณ 2557 นอกจากนี้ ศูนย์ฯยังอยู่ระหว่างเตรียม การจัดพิมพ์เผยแพร่รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์อีก 4 โครงการ ดังต่อไปนี้ (1) รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ เรื่ อ ง “ความคิดรวบยอดและบทบาทภาคประชาสังคม ในการขับเคลือ่ นนโยบายอาหารปลอดภัยในยุโรป กรณี อาหารตัดต่อพันธุกรรม” ของ สุมนมาลย์ สิ ง หะ (คาดว่ า จั ด พิ ม พ์ เ สร็ จ สิ้ น ภายในเดื อ น พฤศจิกายน 2561)

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 26


(2) รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ เรื่ อ ง “มาเฟี ย กั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ กรณี ศึ ก ษา มาเฟียนาโปลี” ของ ธานี ชัยวัฒน์ (3) รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ เรื่ อ ง “การด�ำเนิ น นโยบายบู ร ณาการผู ้ ย ้ า ยถิ่ น ของ สหภาพยุโรป: บทเรียนต่ออาเซียน” ของ โกสุมภ์ สายจันทร์ (4) รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ เรื่ อ ง “คนไร้รัฐชาวโรฮิงญา การเดินทางแสวงหาการ ปกป้องคุ้มครองในประเทศสวีเดน” ของ วิภาวดี พันธ์ยางน้อย หนังสือโครงการพิเศษ วรรณกรรมยุโรปกลางร่วมสมัยในประเทศไทย หนั ง สื อ “วรรณกรรมยุ โ รปกลางร่ ว ม สมัยในประเทศไทย” เป็นหนังสือรวมบทแปล วรรณกรรมยุโรปกลางเป็นภาษาไทย ที่จัดท�ำ ขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างหน่วยยุโรปกลาง และยุโรปตะวันออกศึกษา ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานเอกอัครรัฐทูต ฮั ง การี ป ระจ�ำประเทศไทย สถานเอกอั ค รรั ฐ ทู ต สโลวั ก ประจ�ำประเทศไทย สถานเอกอั ค ร รัฐทูตสาธารณรัฐเช็กประจ�ำประเทศไทย และ สถานเอกอัครรัฐทูตสาธารณรัฐโปแลนด์ประจ�ำ ประเทศไทย ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจาก กรอบการด�ำเนินงานประธานกลุม่ วิเชอกราดของ ประเทศฮังการี (2560-2561) มี ผศ.ดร.วริตตา ศรี รัตนา และ ดร.ดาวิด เกอเริมเบอหยี่ (Dr.David Gorombolyi) เป็นบรรณาธิการ

กาลครั้ ง หนึ่ ง ของโปรตุ เ กส: ประวั ติ ศ าสตร์ โปรตุเกส จากจักรวรรดิทางทะเลสู่สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย หนั ง สื อ “กาลครั้ ง หนึ่ ง ของโปรตุ เ กส: ประวัติศาสตร์โปรตุเกส จากจักรวรรดิทางทะเล สู่สาธารณรัฐประชาธิปไตย” ของ สุธาชัย ยิ้ม ประเสริฐ เป็นหนังสือประวัติศาสตณ์โปรตุเกส ที่ พ รรณนาวิ เ คราะห์ เ รื่ อ งราวตั้ ง แต่ ก ารก่ อ ตั้ ง ประเทศโปรตุเกส ผ่านยุคทีโ่ ปรตุเกสขยายอ�ำนาจ เป็นจักรวรรดิทางทะเล จนถึงยุคเสื่อม คือ ยุค ที่ราชส�ำนักโปรตุเกสถูกควบรวมโดยราชส�ำนัก สเปน จนกระทั่งถึงยุคแห่งการฟื้นฟูเอกราช ยุค สมบูรณาญาสิทธิ์ ยุคปฏิวัติสู่ระบอบกษัตริย์ใต้ รัฐธรรมนูญ การเกิดสาธารณรัฐ และกลับกลายไป สูย่ คุ เผด็จการ แล้วฟืน้ ฟูมาสูป่ ระชาธิปไตยอีกครัง้ ศูนย์ฯเป็นผูส้ นับสนุนทุนในการค้นคว้าศึกษาและ การจัดพิมพ์ โดยตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือนกันยายน

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 27


พ.ศ.2561 จ�ำนวนทั้งสิ้น 1,000 เล่ม จัดจ�ำหน่าย โดยศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สิ่งพิมพ์ในการประชุม ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯได้จดั พิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่ใช้ในการประชุมทางวิชาการของศูนย์ฯ รวมทัง้ สิน้ 1 ฉบับ ได้แก่ International Conference: Sustainability of Regional Integration in the EU and ASEAN (Abstract Book) ซึง่ เป็น หนังสือรวมบทคัดย่อของบทความที่น�ำเสนอใน International Conference: Sustainability of Regional Integration in the EU and ASEAN ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 9-10 กรกฎาคม พ.ศ.2561 ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

หนังสือที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 150 ปีแห่งการ สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยและ ออสเตรีย หนั ง สื อ ที่ ร ะลึ ก ในโอกาสครบรอบ 150 ปีแห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต ระหว่างไทยและออสเตรีย เป็นโครงการความ ร่วมมือระหว่างศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สถานเอกอัครราชทูตไทยประจ�ำ ออสเตรีย และกระทรวงยุโรป การบูรณาการและ การต่างประเทศแห่งออสเตรีย มี ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ Anna Gadzinski เป็นบรรณาธิการ ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการจัดท�ำต้นฉบับ โดยมีก�ำหนด เสร็จสมบูรณ์ภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2562 รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 28


ตารางสรุปการด�ำเนินงาน ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

2.1. วารสารยุโรปศึกษา 2.1.1. การจัดท�ำและเผยแพร่ วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 23 ฉบับที่ 2

u

2.1.2. การจัดท�ำและเผยแพร่ วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 1

l

u

2.1.3. การจัดท�ำและเผยแพร่ วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 2

l

u

2.1.4. การจัดท�ำและเผยแพร่ วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 1

l

2.1.5. การจัดท�ำและเผยแพร่ วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 2

l

2.2. จดหมายข่าวยุโรปศึกษา 2.2.1. การจัดท�ำและเผยแพร่ จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับ u ที่ 3 2.2.2. การจัดท�ำและเผยแพร่ จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับ l ที่ 4 สัญลักษณ์ l u

u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 29


2.2.3. การจัดท�ำและเผยแพร่ จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับ ที่ 1

l

2.2.4. การจัดท�ำและเผยแพร่ จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับ ที่ 2

ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

u

l

u

2.2.5. การจัดท�ำและเผยแพร่ จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับ ที่ 3

l

2.3. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2.3.1. การจัดพิมพ์และเผยแพร่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “The EU’s Trade and Development Policy as An Aspect of Inter-Regional Relations with ASEAN: A Case of Well-Being” 2.3.2. การจัดพิมพ์และเผยแพร่ รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ เรือ่ ง “ความ คิดรวบยอดและบทบาทภาคประชา สังคมในการขับเคลื่อนนโยบายอาหาร ปลอดภัยในยุโรป กรณี อาหารตัดต่อ พันธุกรรม” สัญลักษณ์ l u

u

l

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 30


2.3.3. การจั ด พิ ม พ์ แ ละเผย แพร่รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “มาเฟียกับการพัฒนาเศรษฐกิจ กรณี ศึกษามาเฟียนาโปลี”

ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

l

2.3.4. การจัดพิมพ์และเผยแพร่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “การ ด�ำเนินนโยบายบูรณาการผูย้ า้ ยถิน่ ของ สหภาพยุโรป: บทเรียนต่ออาเซียน”

l

2.3.5. การจัดพิมพ์และเผยแพร่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “คน ไร้รัฐชาวโรฮิงญา การเดินทางแสวงหา การปกป้ อ งคุ ้ ม ครองในประเทศ สวีเดน”

l

2.4. หนังสือโครงการพิเศษ 2.4.1. การจัดท�ำและเผยแพร่ หนังสือ “วรรณกรรมยุโรปกลางร่วม สมัยในประเทศไทย” 2.4.2. การจัดท�ำและเผยแพร่ หนังสือ “กาลครั้งหนึ่งของโปรตุเกส: ประวัติศาสตร์โปรตุเกส จากจักรวรรดิ ทางทะเลสู่สาธารณรัฐประชาธิปไตย” สัญลักษณ์ l u

l

u

u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 31


2.4.3. หนังสือที่ระลึกในโอกาส ครบรอบ 150 ปีแห่งการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยและ ออสเตรีย

ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

l

2.5. สิ่งพิมพ์ในการประชุม 2.5.1. International Conference: Sustainability of Regional Integration in the EU and ASEAN (Abstract Book) สัญลักษณ์ l u

l u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 32


การด�ำเนินงานด้านวิจัย ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยมีพันธกิจส�ำคัญในการเสริมสร้าง พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านยุโรปศึกษา ในประเทศไทยและภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต้ ศูนย์ฯจึงได้ให้การสนับสนุนเงินทุนวิจัย ส�ำหรับโครงการวิจัยขนาดเล็กที่มีประเด็นการ ศึกษาเกี่ยวข้องกับภูมิภาคยุโรป ทั้งในสาขาวิชา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิตศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมถึงจัดพิมพ์และเผยแพร่ รายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ ที่ เ ป็ น ผลผลิ ต จาก โครงการเหล่านั้นอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างและกระจายองค์ความรู้ เชิงลึกใหม่ ๆ ในแขนงวิชา อันจะเป็นประโยชน์ ต่อวงการการศึกษาและสังคมในวงกว้างต่อไป การให้เงินทุนวิจัยประจ�ำปีงบประมาณ 2561 ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯได้รับงบ ประมาณทุนวิจัยจากส�ำนักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษาเป็นจ�ำนวน 240,000.00 บาท (สอง แสนสี่หมื่นบาทถ้วน) โดยได้จัดสรรแบ่งเป็นทุน วิจัย 4 ทุน ทุนละ 60,000 บาท และประกาศ รับสมัครโครงการวิจัยเข้ารับทุนในเดือนตุลาคม พ.ศ.2561 การประกาศได้รับการตอบรับจากผู้ วิจัยทั้งในสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ และองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไรอย่างกว้างขวาง มีโครงการยื่นขอรับการพิจารณาให้ทุนวิจัยถึง 12 โครงการ ศู น ย์ ฯ ได้ ตั้ ง คณะกรรมการขึ้ น เพื่ อ พิจารณาโครงการที่เสนอเข้ามา โดยอนุมัติให้ทุน วิจัยทั้ง 4 ทุนแก่โครงการการดังต่อไปนี้

(1) “กระบวนการประยุกต์ใช้ตัวแบบ สวั ส ดิ ก ารนอร์ ดิ ก กรณี ศึ ก ษาการปรั บ ใช้ ใ น ประเทศไทย” วิจัยโดย ษัษฐรัมภ์ ธรรมบุษดี (2) “ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยเนเธอร์ แ ลนต์ ในบริ บ ทการล่ ม สลายระบอบ อาณานิคมในอินโดนีเซีย 1947-1949” วิจัยโดย ธนัท ปรียานนท์ (3) “นิทรรศการ กิจกรรมการเรียนรู้ และ การถอดบทเรียนประวัตศิ าสตร์บาดแผลเพือ่ ความยุติธรรมและสมานฉันท์ในพิพิธภัณฑ์ ความ ท้าทาย ข้อจ�ำกัด การรับมือ กรณีศกึ ษาพิพธิ ภัณฑ์ ในบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีน่า” วิจัยโดย ภัทรภร ภู่ทอง (4) “ความ(ไม่)มั่นคงทางอาหาร จาก ภูมิภาคอาเซียนผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคในยุโรป” วิจัย โดย สิญา อุทัย ศูนย์ฯได้ตกลงท�ำสัญญาจ้างวิจยั กับผูว้ จิ ยั ทั้ง 4 คนในช่วงต้นปี พ.ศ.2561 โดยมีระยะเวลา จ้าง 1 ปี และก�ำหนดเสร็จสิน้ โครงการในช่วงต้นปี พ.ศ.2562 ขณะนี้ โครงการทั้งหมดได้ส่งรายงาน ความก้าวหน้าครั้งที่ 1 และรับทุนวิจัยงวดที่ 2 เรียบร้อยแล้ว ก่อนจะมีการจัดงานสัมมนาน�ำ เสนอผลงานวิจยั และส่งรายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ต่อไปภายในปี พ.ศ.2562

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 33


l

มาเฟี ย กั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ กรณีศึกษามาเฟียนาโปลี (ทุนวิจัย ธานี ชัยวัฒน์ ปีงบประมาณ 2559)

l

l

l

ปัจจัยทางวัฒนธรรมกับความส�ำเร็จ ของนโยบายรัฐสวัสดิการในประเทศ ติรัช ตฤณเตชะ เดนมาร์ก (ทุนวิจัยปีงบประมาณ 2559)

l

l

l

การอพยพย้ า ยถิ่ น และกฎหมาย: การเข้ า สู ่ ก ารค้ า บริ ก ารทางเพศ การต่ อ รองในชี วิ ต ประจ�ำวั น และ ประสบการณ์ชีวิตของกลุ่มผู้หญิง คนข้ามเพศและคนแปลงเพศชาว ไทยในเนเธอร์ แ ลนด์ (ทุ น วิ จั ย ปีงบประมาณ 2558)

บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล และ จิราพร เหล่าเจริญวงศ์

ส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

l

ผู้วิจัย

รับทุนวิจัยงวดที่ 3

l

โครงการวิจัย

น�ำเสนอผลงานวิจัย

รับทุนวิจัยงวดที่ 2

หมายถึง ด�ำเนินการแล้ว ส่งรายงานความก้าวหน้า

หมายเหตุ l

รับทุนวิจัยงวดที่ 1

การติดตามความก้าวหน้าของโครงการวิจัยที่ ล่าช้า ด้วยโครงการวิจยั จ�ำนวนหนึง่ ไม่สามารถ ด�ำเนินการได้เสร็จสมบูรณ์ทันตามก�ำหนดเวลา ในสั ญ ญาจ้ า ง ศู น ย์ ฯ จึ ง ได้ ด�ำเนิ น การติ ด ตาม เร่งรัดการด�ำเนินโครงการเหล่านัน้ อย่างสม�ำ่ เสมอ เพื่ อ ให้ ส ามารถผลิ ต ผลงานวิ จั ย ได้ ส�ำเร็ จ ตาม วัตถุประสงค์ของการให้ทุน บรรดาโครงการวิจัย ที่ล่าช้ามีสถานะ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2561 ดังนี้

l

l

l

l

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 34


รับทุนวิจัยงวดที่ 1

ส่งรายงานความก้าวหน้า

รับทุนวิจัยงวดที่ 2

น�ำเสนอผลงานวิจัย

รับทุนวิจัยงวดที่ 3

ส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

การติดตามความก้าวหน้าของโครงการวิจยั ทีไ่ ด้ รับทุนวิจัยปีงบประมาณ 2560 ในปีงบประมาณ 2560 ศูนย์ฯได้พจิ ารณา ให้การสนับสนุนทุนวิจัยกับโครงการวิจัยทั้งสิ้น 3 โครงการ โครงการเหล่านี้มีสถานะการด�ำเนิน งาน ณ สิ้นปีงบประมาณ 2561 ดังนี้

The Expectations Hypothesis of the Term structure of บุญเลิศ Interest rates in The Eurozone: จิตรมณีโรจน์ Does Geography matter? (ทุน วิจัยปีงบประมาณ 2560)

l

l

l

l

l

การด�ำเนิ น นโยบายบู ร ณาการผู ้ ย้ายถิ่นของสหภาพยุโรป: บทเรียน โกสุมภ์ สายจันทร์ ต่ออาเซียน (ทุนวิจัยปีงบประมาณ 2560)

l

l

l

l

l

l

คนไร้ รั ฐ ชาวโรฮิ ง ญา การเดิ น วิภาวดี ทางแสวงหาการปกป้องคุ้มครอง พันธ์ยางน้อย และ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ส วี เ ด น ( ทุ น วิ จั ย ศิววงศ์ สุขทวี ปีงบประมาณ 2560)

l

l

l

l

l

l

โครงการวิจัย

หมายเหตุ l

ผู้วิจัย

หมายถึง ด�ำเนินการแล้ว

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 35


การจัดงานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจัย ด้วยศูนย์ฯประสงค์จะเผยแพร่องค์ความ รู้ใหม่ที่เกิดจากการด�ำเนินโครงการวิจัย ซึ่งได้รับ การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ฯ รวมถึงให้ผู้วิจัย ได้ รั บ ข้ อ คิ ด เห็ น ต่ อ การวิ จั ย ของตนจากบุ ค คล ภายนอก อั น จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นา โครงการวิจัยในขั้นสุดท้าย ศูนย์ฯจึงได้ก�ำหนด ให้ ผู ้ วิ จั ย ต้ อ งน�ำเสนอผลงานวิ จั ย ของตน เมื่ อ การด�ำเนิ น โครงการใกล้ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ โดยใน ปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯได้จัดงานสัมมนาน�ำ เสนอผลงานวิจัยขึ้น 3 ครั้ง ส�ำหรับโครงการวิจัย 3 โครงการ ดังนี้ งานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจยั “สมมติฐานความ คาดหวังของโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยในยูโรโซน” เมื่ อ วั น ที่ 21 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2561 ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดงานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ “สมมติฐานความคาดหวังของโครงสร้างอัตรา ดอกเบี้ยในยูโรโซน” ซึ่งศูนย์ฯสนับสนุนทุนวิจัย ในปีงบประมาณ 2560 และด�ำเนินงานวิจัยโดย บุญเลิศ จิตรมณีโรจน์ ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจัย “คนไร้รัฐชาวโร ฮิงยา การเดินทางแสวงหาการคุม้ ครองในประเทศ สวีเดน ท่ามกลางกระแสต่อต้านผูล้ ภี้ ยั และเกลียด กลัวอิสลาม” เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2561 ศูนย์ ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัด งานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง “คนไร้รัฐ ชาวโรฮิงยา การเดินทางแสวงหาการคุ้มครองใน ประเทศสวีเดนท่ามกลางกระแสต่อต้านผู้ลี้ภัย และเกลียดกลัวอิสลาม” ซึง่ ศูนย์ฯเป็นผูส้ นับสนุน ทุนวิจัยในปีงบประมาณ 2560 และด�ำเนินการ วิจัยโดย วิภาวดี พันธุ์ยางน้อย และศิววงศ์ สุขทวี ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 36


งานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจัย “มาเฟียกับการ พัฒนาเศรษฐกิจ กรณีศึกษามาเฟียนาโปลี” เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2561 ศูนย์ ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัด งานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง “มาเฟีย กั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ กรณี ศึ ก ษา มาเฟี ย นาโปลี ” ซึ่ ง ศู น ย์ ฯ เป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น ทุ น วิ จั ย ใน ปีงบประมาณ 2559 และด�ำเนินการวิจัยโดยธานี ชัยวัฒน์ ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 37


ตารางสรุปการด�ำเนินงาน ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

3.1. การให้เงินทุนวิจัยประจ�ำปีงบประมาณ 2561 3.1.1. กระบวนการพิ จ ารณา คั ด เลื อ กโครงการวิ จั ย ที่ ข อรั บ การ l สนับสนุนทุนวิจัย 3.1.2. การจัดท�ำสัญญาจ้างวิจัย

u l

u

3.2. การติดตามความก้าวหน้าของ โครงการวิจัยที่ได้รับทุนวิจัยไปแล้ว 3.3. การจัดงานสัมมนาน�ำเสนอผลงานวิจัย 3.3.1. การจัดงานสัมมนาน�ำเสนอ ผลงานวิจัย “สมมติฐานความคาดหวัง ของโครงสร้ า งอั ต ราดอกเบี้ ย ในยู โ ร โซน” 3.2.1. การจัดงานสัมมนาน�ำเสนอ ผลงานวิ จั ย “คนไร้ รั ฐ ชาวโรฮิ ง ยา การเดินทางแสวงหาการคุ้มครองใน ประเทศสวีเดน ท่ามกลางกระแสต่อ ต้านผู้ลี้ภัยและเกลียดกลัวอิสลาม” 3.3.3. การจัดงานสัมมนาน�ำเสนอ ผลงานวิ จั ย “มาเฟี ย กั บ การพั ฒ นา เศรษฐกิจ กรณีศึกษามาเฟียนาโปลี” สัญลักษณ์ l u

l u

l u

l u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 38


การด�ำเนินงานด้านวิชาการ งานเสวนาสาธารณะ “สเปน-กาตาลู ญ ญา: มากกว่าเรื่องการเมืองร่วมสมัย?” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย โดยความร่ ว มมื อ กั บ สาขาวิ ช า ภาษาสเปน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จดั งานเสวนา สาธารณะ “สเปน-กาตาลูญญา: มากกว่าเรื่อง การเมืองร่วมสมัย?” ขึน้ เมือ่ วันจันทร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 09.30-12.00 น. ณ อาคารเฉลิม ราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ อ.ดาบิด กูเตียร์เรซ (David Gutierrez) และคุณณภัทร พุ่มศิริ เป็นผู้ร่วมเสวนา และมี อ.ดร.สุกิจ พู่พวง เป็นผู้ด�ำเนินรายการ

การบรรยายสาธารณะหัวข้อ “ประวัติศาสตร์ที่ สร้างใหม่?: ชาตินิยมในยุโรปกลาง” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด งานบรรยายสาธารณะใน หัวข้อ “ประวัติศาสตร์ที่สร้างใหม่?: ชาตินิยมใน ยุโรปกลาง” (Rewriting History? Nationalism in Central Europe) เมื่อวันพุธที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 09.00-12.00 น. ณ อาคารเฉลิม ราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศ.ดร.มิ ล าดา โปลิ เ ซนสกา (Milada Polišenská) เป็นวิทยากร

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 39


การบรรยายสาธารณะหั ว ข้ อ “นโยบาย การแข่ ง ขั น ของสหภาพยุ โ รป: มุ ม มองทาง เศรษฐศาสตร์” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด งานบรรยายสาธารณะใน หัวข้อ “นโยบายการแข่งขันของสหภาพยุโรป: มุม มองทางเศรษฐศาสตร์” (The EU Competition Policy: Economic Aspects) เมื่อวันจันทร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 09.00-11.30 น. ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยมี ศ.คาร์โล ฟิลิปปินี (Carlo Filippini) เป็นวิทยากร

15 ธันวาคม พ.ศ.2560 - 15 มกราคม พ.ศ.2561 ณ อาคารไปรษณีย์กลาง บางรัก งานเสวนา “เข้าถึงประมงพื้นบ้าน ผลกระทบ จากไอยูยูต่อประมงไทย” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด งานเสวนาในหั ว ข้ อ “เข้ า ถึ ง ประมงพื้ น บ้ า น ผลกระทบจากไอยู ยู ต ่ อ ประมงไทย” เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2561 ณ กนกรัตน์รีสอร์ท จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อ เป็นเวทีให้คณะผูท้ �ำงานด้านการเจรจากับสหภาพ ยุโรปเกี่ยวกับไอยูยูและกลุ่มตัวแทนชาวประมง พืน้ บ้านได้มโี อกาสพบปะ พูดคุย แลกเปลีย่ นความ คิดเห็น และข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องผล กระทบที่กลุ่มชาวประมงพื้นบ้านได้รับ และข้อ เรี ย กร้ อ งต่ า งๆที่ ก ลุ ่ ม ประมงพื้ น บ้ า นต้ อ งการ เสนอให้คณะผู้ท�ำงานได้ทราบ โดยมีผู้แทนจาก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แอคเซสยุ โ รป (Access Europe) รวมถึงชาวประมงพื้นบ้านใน พื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 40 คน

นิ ท รรศการ “Wonderful Poland in Stamps” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย โดยความร่ ว มกั บ สถานเอก อั ค รรั ฐ ทู ต โปแลนด์ ป ระจ�ำประเทศไทย และ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด ได้จัดนิทรรศการ “Wonderful Poland in Stamps” ระหว่างวันที่ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 40


งานเสวนา “Get Smart in Hungary” และ นิทรรศการ “Get Smart in Hungary” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือกับสถานเอกอัคร รัฐทูตฮังการีประจ�ำประเทศไทย ได้จัดกิจกรรม “Get Smart in Hungary” เพื่อเผยแพร่ข้อมูล เกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และนวัตกรรม ทุนการศึกษาให้เปล่าจากรัฐบาล รวมถึงประสบการณ์การศึกษาของนักเรียนไทย ในฮั ง การี เมื่ อ วั น ที่ 13 มกราคม พ.ศ.2561 ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยได้รับเกียรติจาก H.E. Peter Jakab, Ph.D. เอกอั ค รรั ฐ ทู ต ฮั ง การี ป ระจ�ำ ประเทศไทย ดร.สุภัทร จ�ำปาทอง เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดี มาเป็นประธานกล่าวเปิด งานและต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม

นอกจากนี้ ทั้งสองหน่วยงานยังได้ร่วม กันจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรม ในฮั ง การี ภ ายใต้ หั ว ข้ อ “Smart Hungary” ระหว่ า งวั น ที่ 16 มกราคม – 31 มี น าคม พ.ศ.2561 ณ อาคารมหาธีรราชานุสรณ์ ส�ำนักงาน วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีพธิ ี เปิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2561

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 41


การบรรยายสาธารณะหั ว ข้ อ “นโยบายผู ้ ลี้ ภั ย และผู ้ อ พยพของยุ โ รปกั บ ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างสหภาพยุโรปและรัสเซียในมุมมองแบบ ประยุกต์” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด การบรรยายสาธารณะใน หัวข้อ “นโยบายผู้ลี้ภัยและผู้อพยพของยุโรปกับ ความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปและรัสเซียใน มุมมองแบบประยุกต์” (European Asylum and Migration Policy and EU-Russia Relations From an Applied Perspective) เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2561 ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีคุณ เซบาสเตียน เชฟเฟอร์ (Sebastian Schaffer) และคุณอิริส เรห์คลาว (Iris Rehklau) นักวิจัย จากเอสเอสซียุโรป (SSC Europe) เป็นวิทยากร การบรรยายสาธารณะหัวข้อ “เป็นเช่นนี้ได้ อย่ า งไร?: สาเหตุ นั ย ยะและผลกระทบของ เบร็กซิทต่อสหภาพยุโรป” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย โดยความร่ ว มมื อ กั บ หลั ก สู ต ร

ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชายุโรปศึกษา จัดการบรรยายสาธารณะในหัวข้อ “เป็นเช่นนี้ ได้อย่างไร?: สาเหตุ นัยยะและผลกระทบของ เบร็กซิทต่อสหภาพยุโรป” (How did it get to this? The origins, implications and consequences of BREXIT for the EU) เมื่อ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 ณ อาคารเฉลิมราช กุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศ.มาร์ติน ฮอลแลนด์ (Martin Holland) Jean Monnet Chair Professor และผู้อ�ำนวยการ ศูนย์วิจัยยุโรปแห่งชาติ มหาวิทยาลัยแคนเทอร์ เบอร์รี่ (National Centre for Research on Europe, University of Canterbury) เป็น วิทยากร

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการงานวิจัยด้าน ยุโรปศึกษาระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยอเตเนโอ เดอ มะนิลา ครัง้ ที่ 2 ด้วยศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และหลักสูตรยุโรปศึกษา มหา วิทยาลัยอเตเนโอ เดอ มะนิลา (Ateneo de Manila University) ต่างมีพันธกิจร่วมกันในการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยุโรปและ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 42


สหภาพยุโรปในหมู่นิสิตของตน จึงร่วมมือกัน จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการงานวิจัยด้าน ยุโรปศึกษาระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ มหาวิทยาลัยอเตเนโอ เดอ มะนิลา ครัง้ ที่ 2 (The 2nd Chulalongkorn University and Ateneo de Manila University EU Studies Research Workshop) เพื่อเป็นเวทีให้นิสิตและนักศึกษา ของทั้งสองมหาวิทยาลัยได้แลกเปลี่ยนความรู้ และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับยุโรปศึกษา เมื่อวันที่ 5-6 เมษายน พ.ศ.2561 ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีผู้เข้า ร่วมโครงการนี้ทั้งสิ้นประมาณ 30 คน

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 43


การบรรยายสาธารณะในหัวข้อ “ประชานิยมใน ยุโรป: ไม่เสมอไป” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด การบรรยายสาธารณะใน หัวข้อ “ประชานิยมในยุโรป : ไม่เสมอไป” เมื่อ วันที่ 24 เมษายน 2561 เวลา 09.30-11.00 น. ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยมี ผศ.ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย Jean Monnet Professor และ ผู้ประสานงานชุดรายวิชาฌอง มอนเนต์ เป็น วิทยากร มีผู้เข้าฟังบรรยายประมาณ 30 คน

การบรรยายสาธารณะในหัวข้อ “นโยบายการ วิจัยและนวัตกรรมของสหภาพยุโรป” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด การบรรยายสาธารณะใน หั ว ข้ อ “นโยบายการวิ จั ย และนวั ต กรรมของ สหภาพยุโรป” (EU research and innovation policy) เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 เวลา 09.30-12.00 น. ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย โดยมี ดร.โคสตาส กลิโนส (Kostas Glinos) มีผู้เข้าฟัง บรรยายประมาณ 35 คน

กิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “วรรณกรรม ยุโรปกลางในประเทศไทย” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือกับสถานเอกอัคร รั ฐ ทู ต ฮั ง การี ป ระจ�ำประเทศไทย จั ด กิ จ กรรม สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารในหั ว ข้ อ “วรรณกรรม ยุโรปกลางในประเทศไทย” (Central European Literature in Thailand) เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2561 เวลา 16.00-19.00 น. ณ เรือนจุฬา นฤมิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กิจกรรม “หนึง่ ศตวรรษ เชกและสโลวัก – ค�ำ่ คืน แห่ ง สั ง คี ต และนาฏศิ ล ป์ : การเฉลิ ม ฉลองใน โอกาสหนึ่งศตวรรษแห่งการได้รับเอกราชของ เชโกสโลวเกีย” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือกับสถานเอกอัคร รัฐ-ทูตเชกประจ�ำประเทศไทยและสถานเอกอัคร รัฐทูตสโลวักประจ�ำประเทศไทย ได้จดั งาน “หนึง่ ศตวรรษ เชกและสโลวัก – ค�่ำคืนแห่งสังคีตและ นาฏศิลป์: การเฉลิมฉลองในโอกาสหนึ่งศตวรรษ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 44


แห่งการได้รบั เอกราชของเชโกสโลวเกีย” (Czech and Slovak Century – An Evening of Traditional Music and Dance: Celebration of the Centenary of Czechoslovak Independence 1918) เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2561 เวลา 18.00-21.00 น. ณ หอแสดงดนตรี อาคาร ศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การบรรยายในหัวข้อ “ภูมิภาคนิยมในยุโรป กับการจัดการปกครองของสหภาพยุโรป” และ “ความสัมพันธ์ระหว่างประชาคมยุโรป/สหภาพ ยุโรปกับประเทศไทย” เมื่ อ วั น ที่ 19 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2561 เวลา 09.00 น. ผศ.ดร.ณั ฐ นั น ท์ คุ ณ มาศ ผู ้ อ�ำนวยการศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย Jean Monnet Professor และ ผู้ประสานงานชุดรายวิชาฌอง มอนเนต์ ได้ไป บรรยายในหัวข้อ “ภูมิภาคนิยมในยุโรปกับการ จัดการปกครองของสหภาพยุโรป” และ “ความ สัมพันธ์ระหว่างประชาคมยุโรป/สหภาพยุโรปกับ ประเทศไทย” ให้แก่ขา้ ราชการกระทรวงยุตธิ รรม ที่ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ ในโครงการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการ ต่ า งประเทศของกระทรวงยุติธรรม (กิ จกรรม พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสหภาพยุโรป) จัดโดย กองการต่างประเทศ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวน ชั่นโฮเทล ในการนี้ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) วิศิษฏ์ วิ ศิ ษ ฏ์ ส รอรรถ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ ใ ห้ เกียรติมาเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการและ ต้อนรับ ผศ.ดร.ณัฐนันท์ ด้วย การบรรยายในครั้งนี้ถือเป็นส่ วนหนึ่ ง ของโครงการ Transcending the European Union to the Thai Public by Chulalongkorn

University: Jean Monnet Chair Professorship ซึง่ ผศ.ดร.ณัฐนันท์ ในฐานะ Jean Monnet Professor เป็นผูด้ �ำเนินการ ภายใต้การสนับสนุน ของโครงการอีราสมุส+ ของสหภาพยุโรป

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 45


งานเสวนา “ฟุตบอลโลก 2018 – มากยิ่งกว่า เกมส์ฟุตบอล” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือกับสมาคมไทยเยอรมัน สถานเอกอัครราชทูตเยอรมนีประจ�ำ ประเทศไทย สถานเอกอัครราชทูตรัสเซียประจ�ำ ประเทศไทย มู ล นิ ธิ วั ฒ นธรรมไทย-เยอรมั น และสมาคมนั ก เรี ย นเก่ า เยอรมั น ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ได้จัดกิจกรรมเสวนา “ฟุตบอลโลก 2018 – มากยิ่ ง กว่ า เกมส์ ฟุ ต บอล” เมื่ อ วั น อาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2561 เวลา 13.0016.00 น. ณ อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยมีพลอากาศโทนิกร ช�ำนาญ กุล ผู้เชี่ยวชาญด้านฟุตบอล สมาคมนักเรียนเก่า เยอรมันในพระบรมราชูปถัมภ์ คุณซาลบาดอร์ บาเลโร การ์เซีย (Salvador Valero Garcia) หั ว หน้ า ผู ้ ฝ ึ ก สอนฟุ ต บอลที ม ชาติ ไ ทย รุ ่ น อายุ ไม่ เ กิ น 14 ปี และคุ ณ แอร์ น ส์ มิ ด เดิ น ดอร์ ฟ (Ernst Middendorp) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเทคนิค สโมสร True Bangkok United เป็นวิทยากร ร่วมเสวนา และมีคุณจริย์วัฒน์ สันตะบุตร อดีต เอกอัครราชทูตไทยประจ�ำเยอรมนี เป็นผู้ด�ำเนิน รายการ มีเข้าร่วมงานประมาณ 60 คน

การประชุมนานาชาติ “Sustainability of Regional Integration in the EU and ASEAN” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือกับศูนย์อาเซียน ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จดั การประชุม นานาชาติ ภ ายใต้ หั ว ข้ อ “Sustainability of Regional Integration in the EU and ASEAN: In A Period of Weakening Multilateralism” ระหว่ า งวั น ที่ 9-10 กรกฎาคม พ.ศ.2561 ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยทั่ว ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และยุโรปเข้าร่วม เสนอบทความประมาณ 20 คน การประชุมแบ่งออกเป็น 4 หัวข้อย่อย (sessions) ดังต่อไปนี้

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 46


(1) Integration Dynamics in EU and ASEAN: A Historical Perspective (2) Perspectives on Trade and Multilateralism (3) The Challenges of Protectionism and FDI (4) Effects of Weakening Multilateralism ส่วนหนึ่งของบทความที่น�ำเสนอในการ ประชุมครั้งนี้จะได้รับการคัดเลือกเข้าพิจารณาตี พิมพ์ใน Journal of International Economics and Economic Policy ฉบับพิเศษต่อไป

การบรรยายพิ เ ศษ “Belgium in Focus: History, Economic Policy, and Politics” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือกับกระทรวงการ ต่างประเทศและสถานเอกอัครราชทูตเบลเยี่ยม ประจ�ำประเทศไทย ได้จัดการบรรยายพิเศษใน หัวข้อ “Belgium in Focus: History, Economic Policy, and Politics” เมื่อวันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2561 เวลา 13.30-16.00 น. ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยมี ผศ.ดร.ภาวรรณ เรืองศิลป์ หัวหน้าภาควิชาประวัตศิ าสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย Marc Devriendt ที่ ป รึ ก ษาด้ า นการลงทุ น และการค้ า สถาน เอกอั ค รราชทู ต เบลเยี่ ย มประจ�ำประเทศไทย และ รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ นักวิชาการ อิสระ ผู้เชี่ยวชาญการเมืองยุโรป เป็นวิทยากร มี ผู้เข้าร่วมรับฟังประมาณ 50 คน

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 47


การบรรยายสาธารณะ “The wound that has not healed: Poland, the Holocaust and World War II” ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้จดั การบรรยายสาธารณะในหัวข้อ “The wound that has not healed: Poland, the Holocaust and World War II” เมื่อวัน ที่ 29 สิงหาคม 2561 เวลา 09.00-11.30 น. ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยมี Dr.Rafal Pankawski จาก Collegium Civitas กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ เป็นวิทยากร

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 48


ตารางสรุปการด�ำเนินงาน ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

5.1. การเตรียมการและจัดงานเสวนา สาธารณะ “สเปน-กาตาลู ญ ญา: u มากกว่าเรื่องการเมืองร่วมสมัย?” 5.2. การเตรียมการและจัดการบรรยาย สาธารณะหั ว ข้ อ “ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ u สร้างใหม่?: ชาตินิยมในยุโรปกลาง” 5.3. การเตรี ย มการและจั ด การ บรรยายสาธารณะหัวข้อ “นโยบาย l u การแข่งขันของสหภาพยุโรป: มุมมอง ทางเศรษฐศาสตร์” 5.4. การเตรียมการและจัดนิทรรศการ l “Wonderful Poland in Stamps”

u

5.5. การเตรียมการและจัดงานเสวนา “เข้าถึงประมงพื้นบ้าน ผลกระทบจาก l ไอยูยูต่อประมงไทย”

u

5.6. การเตรี ย มการและจั ด งาน เสวนา “Get Smart in Hungary” และนิ ท รรศการ “Get Smart in Hungary”

สัญลักษณ์ l u

l

u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 49


5.7. การเตรียมการและจัดการบรรยาย สาธารณะหัวข้อ “นโยบายผู้ลี้ภัยและ ผู ้ อ พยพของยุ โ รปกั บ ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างสหภาพยุโรปและรัสเซียในมุม มองแบบประยุกต์”

5.10. การเตรี ย มการและจั ด การ บ ร ร ย า ย ส า ธ า ร ณ ะ ใ น หั ว ข ้ อ “ประชานิยมในยุโรป: ไม่เสมอไป” 5.11. การเตรี ย มการและจั ด การ บรรยายสาธารณะในหัวข้อ “นโยบาย การวิ จั ย และนวั ต กรรมของสหภาพ ยุโรป”

สัญลักษณ์ l u

ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

l u

5.8. การเตรี ย มการและจั ด การ บรรยายสาธารณะหัวข้อ “เป็นเช่น นี้ได้อย่างไร?: สาเหตุ นัยยะและผล กระทบของเบร็กซิทต่อสหภาพยุโรป” 5.9. การเตรียมการและจัดโครงการ สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารงานวิ จั ย ด้ า น ยุ โ รปศึ ก ษาระหว่ า งจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย และมหาวิ ท ยาลั ย อเตเนโอ เดอ มะนิลา ครั้งที่ 2

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

l u

l

u

l u

l u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 50


5.12. การเตรียมการและจัดกิจกรรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “วรรณกรรม ยุโรปกลางในประเทศไทย”

l

l

ก.ย. 2561

u

5.14. การเตรี ย มการและจั ด การ บรรยายในหั ว ข้ อ “ภู มิ ภ าคนิ ย มใน ยุ โ รปกั บ การจั ด การปกครองของ สหภาพยุโรป” และ “ความสัมพันธ์ ระหว่างประชาคมยุโรป/สหภาพยุโรป กับประเทศไทย”

l u

5.15. การเตรียมการและจัดงานเสวนา “ฟุตบอลโลก 2018 – มากยิง่ กว่าเกมส์ ฟุตบอล”

l u

สัญลักษณ์ l u

ส.ค. 2561

u

5.13. การเตรียมการและจัดกิจกรรม “หนึง่ ศตวรรษ เชกและสโลวัก – ค�ำ่ คืน แห่ ง สั ง คี ต และนาฏศิ ล ป์ : การเฉลิ ม ฉลองในโอกาสหนึง่ ศตวรรษแห่งการได้ รับเอกราชของเชโกสโลวเกีย”

5.16. การเตรี ย มการและจั ด การ ประชุมนานาชาติ “Sustainability of Regional Integration in the EU and ASEAN”

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

l

u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 51


5.17. การเตรี ย มการและจั ด การ บรรยายพิเศษ “Belgium in Focus: History, Economic Policy, and Politics” 5.18. การเตรี ย มการและจั ด การ บรรยายสาธารณะ “The wound that has not healed: Poland, the Holocaust and World War II” สัญลักษณ์ l u

l

ก.ย. 2561

ส.ค. 2561

ก.ค. 2561

มิ.ย. 2561

พ.ค. 2561

เม.ย. 2561

มี.ค. 2561

ก.พ. 2561

ม.ค. 2561

ธ.ค. 2560

พ.ย. 2560

กิจกรรม

ต.ค. 2560

ปีงบประมาณ 2561

u

l u

หมายถึง เริ่มด�ำเนินการ หมายถึง สิ้นสุดการด�ำเนินการ

รายงานประจำ�ปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 | 52



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.