จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2556)

Page 1

เมษายน - มิถุนายน 2556 April - June 2013

ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 Vol. 21 No. 2

อียูเตือนสหรัฐว่าการเจรจาการค้าอาจชะงัก หากพิสูจน์ได้ว่าข้อกล่าวที่สหรัฐดักฟังโทรศัพท์ สถานที่ราชการในอียูเป็นเรื่องจริง

นางวิเวียน เรดดิง คณะกรรมาธิการด้าน ยุติธรรมของยุโรป กล่าวเมื่อวานนี้ (30 มิ.ย.) ว่า ข้อตกลงการค้าที่รอคอยมาเป็นเวลานาน ระหว่างสหภาพยุโรป (อียู) กับสหรัฐอาจต้อง หยุดชะงักลง หลังมีกระแสข่าวว่ารัฐบาลสหรัฐเคยดักฟังโทรศัพท์สถานทูต หลายแห่งในอียู โดยข้อกล่าวหาล่าสุดนี้คาดว่ามาจากนายเอ็ดเวิร์ด สโนว์เดน อดีตนักวิเคราะห์ข่าวกรองแห่งสภาความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐ (เอ็นเอสเอ) ซึ่งก�ำลังลี้ภัยอยู่ในขณะนี้ ข่าวการเปิดโปงสหรัฐถูกตีพิมพ์ใน หนังสือพิมพ์การ์เดียน ฉบับวันนี้ (1 ก.ค.) ซึง่ ระบุวา่ สหรัฐเคยพุง่ เป้าดักฟัง โทรศัพท์ของสถานทูตสหรัฐในฝรัง่ เศส อิตาลี และกรีซ ท�ำให้ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศตกอยู่ในภาวะตึงเครียดต่อไปอีก รัฐบาลของเบลเยียม ฝรั่งเศส และเยอรมนี แสดงท่าทีไม่พอใจ อย่างมากต่อรายงานในนิตยสารรายสัปดาห์ของเยอรมนี “แดร์ สปีเกล” (อ่านต่อหน้า 3)

โครเอเชียก้าวเข้าสู่สมาชิกของ อียู ลำ�ดับที่ 28 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เป็น

ต้นไป สาธารณรัฐโครเอเชียจะได้เข้าเป็น สมาชิกของอียู เป็นเวลากว่าสองทศวรรษที่ โครเอเชียได้ต่อสู้กับผลกระทบจากสงคราม ฟื้นฟูระบบสาธารณูปโภค ขยายเศรษฐกิจที่ มีการท่องเที่ยวเป็นตัวน�ำ และยังได้ปฏิรูปประเทศเพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ การเป็นสมาชิกอียู โครเอเชียเป็นสมาชิกล�ำดับที่ 28 ตามหลังจากบัลแกเรียและโรมาเนีย ที่เข้าเป็นสมาชิกล�ำดับที่ 26 และ 27 ในปี 2550 นับเป็นความส�ำเร็จของ โครเอเชีย ประเทศที่มีประชากรเพียง 4 ล้าน 2 แสนคน หลังจากสามารถ แยกตัวออกมาจากสาธารณรัฐยูโกสลาเสียในช่วงสงครามกลางเมือง ทศวรรษ 90 และท�ำให้ยูโกสลาเวียล่มสลายไป นายเฮอร์แมน แวน รอมปุย ประธานคณะมนตรียุโรป บอกว่า โครเอเชียได้ก้าวสู่จุดส�ำคัญ ที่จะเปลี่ยนแปลงประเทศให้ดีขึ้น และนายก รัฐมนตรีโซราน มิลาโนวิช ของโครเอเชีย บอกด้วยว่า รู้สึกยินดีที่ชาติ สมาชิกจะเปิดรับโครเอเชียทีม่ เี อกลักษณ์ของตัวเอง เข้าสูค่ รอบครัวทีเ่ ต็ม ไปด้วยความหลากหลาย (อ่านต่อหน้า 3)

นายกรัฐมนตรีเยอรมนีเห็นชอบการปฏิรูป สหภาพยุโรป นางแองเกลา แมร์เคิล นายกรัฐมนตรี

เยอรมนี กล่าวว่าการแก้ปัญหาวิกฤตสกุล เงินยูโรจะต้องเพิ่มความเป็นยุโรปมากขึ้น ซึ่งนั่นหมายความว่าจะมีการปฏิรูประบบ อียูทั้งหมด อย่างไรก็ตาม นางแองเกลา แมร์เคิล นายกรัฐมนตรีเยอรมนี ยังคง ระมัดระวังเรื่องนโยบายการปฏิรูปอียูก่อนการเลือกตั้งที่เยอรมนีในเดือน กันยายนนี้ ในขณะที่ผู้น�ำฝรั่งเศสเห็นว่าการก�ำหนดนโยบายควรมาจาก ความตกลงระหว่างรัฐบาล นางแองเกลา แมร์เคิล นายกรัฐมนตรีเยอรมนี กล่าวให้สัมภาษณ์ซึ่ง ได้นำ� ลงเว็บไซต์ Der Spiegel ว่า ยังไม่เห็นความจ�ำเป็นทีค่ ณะกรรมาธิการ ยุโรปจะเลื่อนขั้นเป็นรัฐบาลยุโรป เพราะในปัจจุบันภาครัฐบาลของสมาชิก สหภาพยุโรปก็ไม่สามารถตัดสินใจได้ดว้ ยตนเอง โดยเฉพาะภาคการเกษตร (อ่านต่อหน้า 3)

กรีซปรับคณะรัฐมนตรี สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเอเธนส์ รายงานเมือ่ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2556 ถึง สถานการณ์ความขัดแย้งภายในรัฐบาล กรีซ อันมีผลมาจากการด�ำเนินมาตรการ ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของกรีซ ว่า รัฐบาลกรีซมีคำ� สัง่ ปิดสถานีโทรทัศน์ของรัฐบาลเพือ่ ปลดพนักงานออก ตามแผนเศรษฐกิจที่ตกลงไว้กับกลุ่มเจ้าหนี้ (Troika) ด้วยเหตุนี้ท�ำให้นาย Antonis Samaras นายกรัฐมนตรีกรีซตกเป็นเป้าหมายในการโจมตีจาก ทุกภาคส่วน ทั้งจากพรรคร่วมรัฐบาล 2 พรรค (พรรค Pasok และพรรค Democratic Left) และจากพรรคฝ่ายค้านที่โจมตีว่า ค�ำสั่งรัฐบาลไม่ชอบ ธรรม โดยเรียกร้องให้รฐั บาลเปิดสถานีโทรทัศน์อกี ครัง้ อย่างไรก็ตาม นาย Samaras ยังคงยืนกรานที่จะปิดสถานีโทรทัศน์ต่อไปจนกว่าจะมีการเปิด สถานีโทรทัศน์ของรัฐแห่งใหม่ ในขณะเดียวกันสหภาพแรงงานสถานี โทรทัศน์ได้ยนื่ ฟ้องต่อศาลปกครองสูงสุดกรีซให้พจิ ารณาว่า ค�ำสัง่ ปิดสถานี โทรทัศน์ดงั กล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ แต่คำ� ตัดสินของศาลปกครอง สูงสุดกรีซในวันที่ 18 มิถุนายน 2556 กลับสร้างความคลุมเครือและการ ตีความที่แตกต่างกัน โดยศาลได้มีค�ำวินิจฉัยว่ารัฐบาลมีสิทธิจะปิดสถานี โทรทัศน์ของรัฐ แต่จะต้องไม่ตดั สัญญาณการแพร่ภาพสถานีโทรทัศน์ของ รัฐ (the government had the right to shut down ERT but not to (อ่านต่อหน้า 3)


เมษายน - มิถุนายน 2556

สรุปถ้อยแถลงของนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส ต่อ OECD เกี่ยวกับมาตรการทางเศรษฐกิจ ของโปรตุเกส เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 นาย Pedro Passos Coelho นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส ได้กล่าว ถ้อยแถลงต่อ OECD ที่กรุงปารีส เรื่ อ งการด� ำ เนิ น มาตรการทาง เศรษฐกิจของโปรตุเกสภายหลัง จากที่ได้รับข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากรายงานของ OECD ภายใต้หัวข้อ “Report on Portugal’s Challenges” สรุปสาระส�ำคัญของถ้อยแถลง มีดังนี้ ในช่วง 15 ปีทผี่ า่ นมาหลังจากการทีโ่ ปรตุเกสเริม่ ใช้สกุลเงินยูโรได้สะท้อน ถึงปัญหาของประเทศ ซึ่งส่งผลให้โปรตุเกสมีความจ�ำเป็นต้องปรับตัวและ ปรับโครงสร้างของประเทศ เพือ่ ลดความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม ภายในประเทศ เช่น การลดช่องว่างศักยภาพการแข่งขัน (competitiveness gap) และเสถียรภาพภายนอก (external balance) ทั้งนี้ ภายหลังจากที่ โปรตุเกสต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ จากวิกฤตเศรฐกิจ โปรตุเกสได้ด�ำเนิน การปรับโครงสร้างทางเศรฐกิจและสังคมในหลายประเด็นแล้ว อาทิ (1) การปฏิรปู ภาคแรงงาน ภาครัฐ และภาคเอกชน (2) การปฏิรปู ภาคการผลิต (3) การปฏิรปู กระบวนการยุตธิ รรม (4) การปฏิรปู การคลัง (5) การแปรรูปกิจการ ภาครัฐ และ (6) การปฏิรปู ในภาคสาธารณสุข การศึกษา และระบบกฎหมาย ซึง่ ในปีนี้ โปรตุเกสสามารถเกินดุลบัญชีเงินทุนเคลือ่ นย้ายเป็นครัง้ แรกในรอบ 20 ปี และบัญชีดลุ การค้าเกินดุลเป็นครัง้ แรกในรอบ 60 ปี ซึง่ สือ่ ให้เห็นว่าการ ปฏิรปู โครงสร้างประเทศโปรตุเกสได้สร้างการเจริญเติบโตทางเศรฐกิจ โดยที่ ประชาชนทั้งประเทศได้ประโยชน์ร่วมกัน อีกทั้งยังเปิดโอกาสทางสังคมให้ กระจายกว้างขวางยิง่ ขึน้ โดยโปรตุเกสให้ความส�ำคัญกับการเปิดโอกาสสังคม และระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เช่น ระบบการศึกษาหรือการค้นคว้าและ พัฒนาอาชีพที่สงวนไว้ และการเปิดรับการค้าระหว่างประเทศ โดยเน้นการ ส่งออกและการรับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมากขึน้ ทัง้ นี้ โปรตุเกสให้ ความส�ำคัญกับภาคการส่งออก คาดว่าในปี 2557 มูลค่าการส่งออกจะเท่ากับ 40% ของ GDP ซึ่งสูงกว่า 28% ในปี 2551 และในปีที่ผ่านมา มูลค่าการ ส่งออกไปยังประเทศนอกกลุ่ม EU เพิ่มขึ้น 20% ด้วย ทั้ ง นี้ นายกรั ฐ มนตรี โ ปรตุ เ กสกล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า โปรตุ เ กสต้ อ ง เตรี ย มความพร้ อ มทางเศรษฐกิ จ ภายหลั ง สิ้ น สุ ด การขอรั บ ความ ช่วยเหลือทางการเงินจาก Troika ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนมิถุนายน 2557 นอกจากนี้ โปรตุเกสยังคงสนับสนุนโครงการเป็นสหภาพธนาคาร (Banking Union) และสหภาพทางการเงินที่แ ท้จ ริง (True Financial Union) ภายใต้หลักการของตลาดร่วมยุโรปที่เน้นแนวคิดด้านการแข่งขันเสรีและ การค้าเสรีโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ และโปรตุเกสได้วางยุทธศาสตร์ เพื่ อ กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ คื อ (1) ปรั บ ลดภาษี ธุ ร กิ จ อย่ า งค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไป และปฏิรูประบบภาษีให้เอื้อต่อการลงทุน (2) ลดขั้นตอนความยุ่งยาก ด้ า นกฎเกณฑ์ ใ นการท� ำ ธุ ร กิ จ และ (3) ก่ อ ตั้ ง สถาบั น การเงิ น เพื่ อ ให้ สินเชื่อแก่ธุรกิจ SMEs นายกรัฐมนตรีโปรตุเกสเห็นว่า ความส�ำเร็จของ โปรตุเกสถือเป็นความส�ำเร็จของภูมิภาคยุโรป และหวังว่าโปรตุเกสจะได้รับ การสนับสนุนจากประเทศในภูมิภาค อย่างไรก็ดี OECD ได้เผยแพร่รายงาน ออกมาเมือ่ ต้นเดือนพฤษภาคม 2556 ระบุวา่ โปรตุเกสยังเผชิญกับปัญหาการ ขาดผลิตภาพการผลิต (productivity) และการลดลงของศักยภาพการแข่งขัน โดยรัฐบาลโปรตุเกสต้องปฏิรปู ภาครัฐให้สามารถสนับสนุนภาคเอกชนในการ แข่งขันในตลาดระหว่างประเทศ รวมทั้งปฏิรูปกฎระเบียบต่างๆ ระบบภาษี การศึกษา การฝึกอบรมทรัพยากรณ์มนุษย์ และระบบบ�ำนาญด้วย ข้อมูลจากศูนย์ Europe Watch

2

โปรตุเกสลดภาษีนิติบุคคล เพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างชาติ

โปรตุเกสเป็นประเทศทีม่ อี ตั ราภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ ในสหภาพ ยุโรป ทั้งนี้ รัฐบาลโปรตุเกสได้ประกาศมาตรการลดภาษีนิติบุคคลส�ำหรับ เอกชนต่างชาติทลี่ งทุนในโปรตุเกสเพือ่ ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและ การลงทุน โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1. บริ ษั ท ต่ า งชาติ ต ้ อ งน� ำ เงิ น เข้ า ไปลงทุ น ในโปรตุ เ กสระหว่ า ง 1 มิถุนายน – 31 ธันวาคม 2556 โดยบริษัทสามารถน�ำเงินทุนดังกล่าวใช้ ในการด�ำเนินกิจภายใน 31 ธันวาคม 2556 2. มูลค่าการลงทุนไม่เกิน 5 ล้านยูโร 3. บริษัทต่างชาติสามารถขอเครดิตภาษีเงินได้นิติบุคคล ร้อยละ 20 ของมูลค่าการลงทุน (ตามข้อ 1) แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของมูลค่าภาษีฯ ที่ต้องช�ำระในปีภาษีนั้น 4. อัตราภาษีฯ ภายใต้มาตรการดังกล่าว (อัตราภาษีฯ ปกติเท่ากับ ร้อยละ 25) 5. ผูเ้ สียภาษีฯ สามารถน�ำเครดิตภาษีสว่ นเกินทีไ่ ม่สามารถหักลดหย่อน ในปีภาษี 2556 ไปลดหย่อนได้ภายในระยะเวลา 5 ปีภาษี ตัวอย่างการค�ำนวณภาษีฯ มีดังนี้ 1. บริษัท A มีฐานภาษีที่ต้องช�ำระ 45,000 ยูโร และได้น�ำเงินเข้าไป ลงทุนในโปรตุเกสภายใต้มาตรการฯ จ�ำนวน 40,000 ยูโร 2. กฎหมายโปรตุเกสก�ำหนดให้บริษัทเอกชนในโปรตุเกสเสียภาษี ร้อยละ 25 ของฐานภาษี ซึ่งบริษัท A ต้องจ่ายภาษีในอัตราปกติเท่ากับ 11,250 ยูโร (45,000 ยูโร x 25%) 3. หากบริษัทฯ น�ำเงินเข้าไปลงทุนภายใต้มาตรการฯ จึงมีสิทธิเครดิต ภาษีร้อยละ 20 ของมูลค่าการลงทุน ซึ่งเท่ากับ 8,000 ยูโร (40,000 ยูโร x 20%) แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของมูลค่าภาษีฯ ซึ่งเท่ากับ 7,875 ยูโร 4. จ�ำนวนภาษีที่บริษัทฯ จ่ายจริง เท่ากับ 3,375 ยูโร (11,250 – 7,878 ยูโร) หรือเท่ากับร้อยละ 7.5 ของฐานภาษี (45,000 ยูโร x 7.5%) 5. เครดิตภาษีส่วนเกิน 125 ยูโร (8,000 – 7,875 ยูโร) สามารถ น�ำเงินไปหักลดหย่อนภายในระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ ผู้สนใจรายละเอียด เรื่องการลงทุนในโปรตุเกส สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www. portugalglobal.pt/EN/InvestInPortugal/Documents/2013_05_23_ CFEI_%20English.pdf ข้อมูลจาก สถานเอกอัครราชทูต. ณ กรุงลิสบอน


April - June 2013 จากหน้า 1 อียูเตือนสหรัฐว่าการเจรจาการค้าอาจชะงัก หาก พิสูจน์ ได้ว่าข้อกล่าวที่สหรัฐดักฟังโทรศัพท์สถานที่ ราชการในอียูเป็นเรื่องจริง เมื่อวานนี้ ซึ่งระบุรายละเอียดการลักลอบสอดแนมข้อมูลภารกิจทางการ ทูตของอียโู ดยเอ็นเอสเอ รายงานดังกล่าวมีทมี่ าจากเอกสารลับหลายฉบับ โดยมีบางส่วนอ้างอิงมาจากนายสโนว์เดน นางเรดดิงเตือนว่า การเจรจาเพื่อสร้างเขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดใน โลกซึ่งเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อต้นเดือนนี้ อาจต้องหยุดชะงักลงหาก ข้อกล่าวหาที่ว่าสหรัฐดักฟังโทรศัพท์ถูกพิสูจน์ได้ว่าเป็นเรื่องจริง โฆษกของนางเรดดิง เปิดเผยกับส�ำนักข่าวเอเอฟพีว่า อียูไม่สามารถ เจรจาการค้าร่วมกับสหรัฐได้ หากมีข้อกังขาว่าประเทศคู่ค้าของอียูดักฟัง โทรศัพท์สถานที่ราชการในอียู ด้านสหรัฐแถลงเมือ่ วานนีว้ า่ เตรียมจะชีแ้ จงต่ออียผู า่ นช่องทางทางการ ทูตเกี่ยวกับข้อกล่าวหาดังกล่าว ข้อมูลจากเว็บไซต์ Bangkokbiznews

จากหน้า 1 กรีซปรับคณะรัฐมนตรี cut the broadcaster’s signal) จากการหารือกับพรรคร่วมรัฐบาลอีกครั้ง นาย Samaras รับปากว่าจะเร่งเปิดสถานีโทรทัศน์ของรัฐช่องใหม่ โดยจะ จ้างพนักงานเก่าซึ่งถูกปลดออกจ�ำนวน 2,000 คน (จาก 2,656 คนที่ปลด ออกไป) กลับเข้ามาท�ำงานใหม่ ซึ่งพรรค Pasok เห็นด้วยกับแนวทางของ นาย Samaras อย่างไรก็ตาม พรรค Democratic Left ยืนกรานให้รับ พนักงานเก่าทั้งหมดกลับมาท�ำงาน ทั้งนี้ พรรค Democratic Left ได้ถอนตัวออกจากการเป็นพรรคร่วม รัฐบาลผสม โดยเมื่อวันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน 2556 พรรค Democratic Left เรียกประชุมพรรค และได้มีมติถอนตัวออกจากการเป็นพรรคร่วม รัฐบาลผสม การถอนตัวครั้งนี้ท�ำให้การเมืองภายในกรีซเกิดภาวะชะงักงัน อี ก ครั้ ง หนึ่ ง นอกจากนี้ ภายหลั ง ที่ น าย Samaras ได้ ห ารื อ กั บ นาย Evangelos Venizelos หัวหน้าพรรค Pasok ในทีส่ ดุ เมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน 2556 นาย Samaras ได้ประกาศปรับคณะรัฐมนตรีใหม่ ซึ่งคณะรัฐมนตรี ชุดนี้ได้เข้าสาบานตนต่อประธานาธิบดี Karalos Papoulias ในวันที่ 25 มิถุนายน 2556 ซึ่งรวมถึงการแต่งตั้งนาย Evangelos Venizelos หัวหน้า พรรค Pasok เป็นรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศคนใหม่ด้วย จากหน้า 1 โครเอเชียก้าวเข้าสู่สมาชิกของ อียู ลำ�ดับที่ 28 พิธเี ฉลิมฉลองจะจัดขึน้ อย่างเล็กๆ เรียบง่าย เพราะโครเอเชียเป็นชาติ เรียบเรียงโดย กองยุโรป 2 กรมยุโรป ยากจนล�ำดับที่สามของอียู โดยมีอัตราว่างงานสูงถึงเกือบ 20% คุณภาพ ชีวิตค่อนข้างต�่ำ มีการคอร์รัปชั่นอย่างกว้างขวาง และถูกจัดอันดับความ น่าเชื่อถือในระดับไม่น่าลงทุน ชาวโครเอเชียบางส่วนทีส่ นับสนุนอียู เห็นว่า การเข้าอียจู ะท�ำให้มกี าร จ้างงานมากขึ้น และจะมีการลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น และผู้บริหาร อียูอาจช่วยก�ำจัดคอร์รัปชั่นและเปลี่ยนแปลงการบริหารเศรษฐกิจใน โครเอเชียให้ดขี นึ้ ได้ แต่ผปู้ ระท้วงมองว่า อียไู ม่ใช่หนทางแก้ปญ ั หา เพราะ อียกู ย็ งั เผชิญกับเศรษฐกิจถดถอยโดยหลายประเทศประสบวิกฤติหนี้ และ เศรษฐกิจทีซ่ บเซาในอียู ก็สง่ ผลกระทบต่อการส่งออกของโครเอเชีย ทีเ่ คย ส่งออกสินค้ามากถึง 60% ไปยังอียู นอกจากนี้มีรายงานว่า เนื่องจากโครเอเชียมีปัญหาคอร์รัปชั่นและ อาชญากรรมมากจึงยังไม่สามารถเข้าร่วมกลุม่ ยูโรโซน ทีใ่ ช้สกุลเงินยูโรได้ และยังไม่อาจเข้าร่วมเป็นภาคีของข้อตกลงเชงเก้น ทีอ่ นุญาตให้ประชาชน ในประเทศสมาชิกเดินทางเข้าออก ระหว่างกันโดยไม่ตอ้ งใช้หนังสือเดินทาง ได้ จากหน้า 1 นายกรัฐมนตรีเยอรมนีเห็นชอบการปฏิรปู สหภาพยุโรป

และนางแมร์เคิล นายกรัฐมนตรีเยอรมนี ไม่เห็นความจ�ำเป็นที่จะต้องเพิ่ม อ�ำนาจให้แก่คณะกรรมาธิการยุโรป ในการพบปะหารื อ กั น เมื่ อ วั น ที่ 30 พฤษภาคม 2556 ที่ ผ ่ า นมา นางแมร์เคิล และนายฟร็องซัว ออลองด์ ประธานาธิบดีฝรั่งเศส มีความ เห็นร่วมกันว่ารัฐบาลประเทศสมาชิก EU จ�ำเป็นต้องประสานนโยบาย ด้านเศรษฐกิจมากขึ้น โดยกุญแจส�ำคัญในการพัฒนาขีดความสามารถใน การแข่งขันคือ นโยบายของภาคตลาดแรงงาน สวัสดิการ บ�ำเหน็จ-บ�ำนาญ และด้านภาษีอากร เป็นต้น อย่างไรก็ตาม นางแมร์เคิล และนายออล็องด์ เห็นพ้องกันว่า การปฏิรูปสหภาพยุโรปควรรอต่อไปจนถึงการเลือกตั้ง รัฐสภายุโรปในเดือนพฤษภาคม 2557 ข้อมูลจาก Oxford Analytica “Germany’s Merkel champions an EU of nations”

3


เมษายน - มิถุนายน 2556

โครเอเชีย: ประเทศสมาชิกลำ�ดับที่ 28 ของสหภาพยุโรป

ฑภิพร สุพร

วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เวลา 0.00 น. ตามเวลาท้องถิ่น ประเทศโครเอเชี ย เสียงตะโกนโห่ร้อ งแสดงความยิน ดีของ ชาวโครเอเชียที่ดังกึกก้องประกอบกับท่วงท�ำนองของบทเพลง อมตะ “Ode to Joy” ที่รจนาโดยลุดวิก ฟาน เบโธเฟ่น คีตกวี ชาวเยอรมั น ช่ ว ยสะท้ อ นอารมณ์ แ ละความปลื้ ม ปิ ติ ข อง ชาวโครเอเชียภายหลังจากการเข้าเป็นสมาชิกล�ำดับที่ 28 ใน สหภาพยุโรปได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม การขยายสมาชิกภาพ ของสหภาพยุโรปในครั้งนี้ถือเป็นทั้งความท้าทายและโอกาสที่ ส�ำคัญต่อทั้งโครเอเชียและสหภาพยุโรป อนึ่ง ในบรรดาประเทศที่เคยอยู่ภายใต้สหพันธ์สาธารณรัฐ ยูโกสลาเวีย โครเอเชียถือเป็นประเทศที่ 2 ตามหลังแอลแบเนีย ทีเ่ ข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แท้จริงแล้วกระบวนการในการ สมัครเป็นสมาชิกของโครเอเชียเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี 2005 พร้อม กับตุรกี แต่ในกรณีของตุรกี นอกเหนือจากความเห็นที่แตกต่าง หลากหลายเกี่ยวกับความเหมาะสมในการเป็นสมาชิกของตุรกี ในบริบทปัจจุบันตุรกียังประสบปัญหากับวิกฤตการเมืองภายใน จึงท�ำให้กระบวนการในการสมัครเป็นสมาชิกของตุรกีตอ้ งประสบ ความล่าช้ามากยิ่งขึ้นไปอีก ข้อกังวลประการส�ำคัญเกีย่ วกับการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพ ยุโรปของโครเอเชียเกิดจากปัญหาในการปรับตัวของบัลแกเรีย และโรมาเนีย ซึ่งต่างเผชิญกับการปรับตัวครั้งใหญ่ให้สอดคล้อง

4

กับมาตรฐานของสหภาพยุโรปโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเรื่อง การทุจริตและเสถียรภาพของการเมืองภายใน ตลอดจนความ โปร่งใสของระบบตุลาการภายในประเทศ การเปิดรับสมาชิกใหม่ อย่างโครเอเชียจึงตามมาซึง่ ข้อก�ำหนดและมาตรฐานทีโ่ ครเอเชีย จ�ำต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ยิ่งไปกว่านั้น กระแสสังคม ภายในสหภาพยุโรปกลับไม่คอ่ ยเห็นด้วยกับการเพิม่ จ�ำนวนสมาชิก เพราะกังวลเกีย่ วกับปัญหาการเคลือ่ นย้ายแรงงานเสรีซงึ่ อาจตาม มาด้วยปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมดังที่ปรากฏให้เห็นอย่าง เป็นรูปธรรมในกรณีของแรงงานชาวโรมาเนียและบัลแกเรียที่ ไหลทะลักสูต่ ลาดแรงงานในสหภาพยุโรปได้อย่างเสรี ในกรณีของ โครเอเชียโดยแม้จะเป็นประเทศที่อัตราเงินเฟ้อสูงถึงร้อยละ 20 ประกอบกับมีค่าเฉลี่ยผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัวต�่ำกว่า มาตรฐานของสหภาพยุโรป แต่กระนั้นสภาพทางเศรษฐกิจของ โครเอเชียโดยภาพรวมนั้นยังมีทิศทางที่สดใสกว่าโรมาเนียและ บัลแกเรีย ท้ายที่สุดแล้วอาจพิจารณาได้ว่า แม้การเข้าร่วมเป็นสมาชิก สหภาพยุโรปของโครเอเชียจะช่วยลดความกังวลเกีย่ วกับอนาคต ของสหภาพยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้วงยามที่สหภาพยุโรป ต้องเผชิญกับปัญหาวิกฤตหนีส้ าธารณะ แต่กระนัน้ ก้าวต่อไปของ สหภาพยุโรปทีม่ โี ครเอเชียเป็นรัฐสมาชิกก็ถอื เป็นบททดสอบและ ความท้าทายที่ส�ำคัญต่อทั้งโครเอเชีย ตลอดจนทิศทางของการ ขยายสมาชิกภาพของสหภาพยุโรปต่อไปในอนาคต


April - June 2013

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (CES) organized a research seminar on “Foreign Nationals Crossing Borders: Between Much Courted Guests, Unasked for Refugees and Unwelcome Intruders: Political Reality and Legal Policy of the Migration and Asylum Problems in Thailand and Germany”

On May 2nd, 2013, Centre for European Studies at Chulalongkorn University (CES) organized a research seminar on “Foreign Nationals Crossing Borders: Between Much Courted Guests, Unasked for Refugees and Unwelcome Intruders: Political Reality and Legal Policy of the Migration and Asylum Problems in Thailand and Germany” at Room 105, Maha Chulalongkorn Building, Chulalongkorn University. The research abstract can be founded at :https://dl.dropboxusercontent.com/u/58716630/Abstract.pdf

5


เมษายน - มิถุนายน 2556

ผู้บริหารสูงสุดจากองค์กร THINK TANK ประเทศโปแลนด์ เข้าเยี่ยมคารวะผู้อ�ำนวยการศูนย์ยุโรปศึกษา เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคมที่ผ่านมา ทางองค์กร Think Tank องค์กรอิสระที่ได้รับการยอมรับจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจาก

ประเทศโปแลนด์ เข้าเยีย่ มคารวะผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ยโุ รปศึกษาเพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นในด้านศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจของ ไทยและภูมิภาคอาเซียนซึ่งกลุ่มชนชั้นน�ำทางเศรษฐกิจของโปแลนด์ก�ำลังสนใจอยู่ในขณะนี้

คณะวิจัยศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ดูงานบริษัท บี.ฟูู้ดส์ อินเตอร์เนชั่นแนล โปรดักส์ จ�ำกัด ณ โรงงาน บี.ฟู้ดส์ อินเตอร์ เนชั่นแนล โปรดักส์ จ�ำกัด จังหวัดลพบุรี เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม 2556 คณะวิจัยจากศูนย์ยุโรปศึกษาฯ น�ำโดย ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ หัวหน้าโครงการวิจัย และผู้ช่วยวิจัย เข้าเยี่ยมชมและศึกษาดูงาน ณ บริษัท บี.ฟู้ดส์ อินเตอร์เนชั่นแนล โปรดักส์ จ�ำกัด จังหวัดลพบุรี (Betagro) เพื่อ ศึกษากระบวนการและขัน้ ตอนการผลิตเนือ้ ไก่ รวมถึงการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูปประเภทต่างๆ จากการบรรยายรวมถึงข้อมูล ในเรื่องการส่งออกสินค้าไก่แปรรูปของบริษัทไปยังกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก โดยผู้ให้การบรรยายในการดูงานครั้งนี้ คือ คุณสาคร จุลรัตน์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาและวิจัย (R&D) โดยข้อมูลจากการดูงานในครั้งนี้จะน�ำไปใช้ในรายงานโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษา ผลกระทบจากการเจรจาความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป” ในประเด็นสินค้าด้านพืชเกษตรและอาหารซึง่ จะเป็นส่วน ที่ได้รับจากความคิดเห็นของกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารโดยตรงว่าได้รับผลประโยชน์และกระทบหากมีการเจรจา FTA ระหว่างไทยกับ สหภาพยุโรปในประเด็นเรื่องใดบ้างในอนาคต

6


April - June 2013

งานสัมมนาฝ่ายวิจัยในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2556

1. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดงานสัมมนาเวทีรับฟังความคิดเห็น (Focus Group III) เรื่อง “สินค้าพืชเกษตรและอาหาร ที่มีศักยภาพในการแข่งขันกับการเปิดเจรจาความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 เวลา 9.30-15.00 น. ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร.กนกวรรณ จันทร์เจริญชัย และดร.วุฒิยา สาหร่ายทอง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มาเป็นผูก้ ล่าวปาฐกถาน�ำเวทีรบั ฟังความคิดเห็น โดยมีวตั ถุประสงค์ในการจัดงานสัมมนาเวที รับฟังความคิดเห็นเรื่องดังกล่าวเพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเด็นด้านสินค้าพืชเกษตรและอาหารที่มีศักยภาพสามารถส่งออกไป สหภาพยุโรปไม่ว่าจะเป็นจากภาครัฐ-วิชาการ ภาคอุตสาหกรรมและภาคประชาสังคม-ผู้บริโภคได้แสดงความคิดเห็นต่อร่างกรอบการเจรจาข้อตกลงการ ค้าเสรีในเรื่องสินค้าพืชเกษตรและอาหารที่มีศักยภาพในการแข่งขัน ผลกระทบของการท�ำข้อตกลงการค้าเสรีไทย-สหภาพยุโรปในเรื่องสินค้าพืชเกษตร และอาหารที่มีศักยภาพในการแข่งขันกับสหภาพยุโรปและให้ข้อเสนอแนะต่อท่าทีการเจรจาของทีมเจรจาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ภาพที่ 1 ผศ.ดร.กนกวรรณ จันทร์เจริญชัยและ ดร.วุ ฒิ ย า สาหร่ า ยทอง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นผู้กล่าวปาฐกถาน�ำ เวทีรับฟังความคิดเห็นครั้งนี้

ภาพที่ 3 คุณสาคร จุลรัตน์ (ฝั่งซ้ายมือ) บริษัท บี . ฟู ๊ ด ส์ โปรดั ก ส์ อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล จ� ำ กั ด ร่วมแสดงความคิดเห็น

ภาพที่ 2 คุ ณ จั ก รชั ย โฉมทองดี FTA Watch ร่วมแสดงความคิดเห็น

ภาพที่ 4 คุ ณ นลิ น ทิ พ ย์ หอมวิ เ ศษวงศา กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ร่วมแสดง ความคิดเห็น

2. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดงานสัมมนาเวทีรับฟังความคิดเห็น (Focus Group IV) เรื่อง “สินค้าเครื่องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กับการเปิดเจรจาความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป”เมื่อวันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เวลา 9.30-15.00 น. ห้อง 111 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับเกียรติจาก คุณสมบูรณ์ หอตระกูล ผู้อ�ำนวยการสถาบัน ไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (EEI) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการจั ด งานสั ม มนาเวที รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น เรื่ อ งดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงานจากหน่ ว ย งานที่เกี่ยวข้องในประเด็นด้านสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไม่ว่าจะเป็นจากภาครัฐ-วิชาการภาคอุตสาหกรรมและภาคประชาสังคม ผู้บริโภค ได้แสดงความคิดเห็นต่อร่างกรอบการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีในเรื่องสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ผลกระทบของการท�ำข้อตกลง การค้าเสรีไทย-สหภาพยุโรปในเรื่องสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และให้ข้อเสนอแนะต่อท่าทีการเจรจาของทีมเจรจาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ภาพที่ 1 คุณสมบูรณ์ หอตระกูล ผู้อ�ำนวยการ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นผูก้ ล่าวปาฐกถา น�ำเวทีรับฟังความคิดเห็นครั้งนี้

ภาพที่ 3 ผู้แทนจากบริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค คอนซู ม เมอร์ โปรดั ก ส์ จ� ำ กั ด ร่ ว มแสดง ความคิดเห็น

ภาพที่ 2 คุณเนตรนภา ปึ้งประเสริฐกุล บริ ษั ท โตชิ บ าคอนซู ม เมอร์ โ ปรดั ก ส์ (ประเทศไทย) ร่วมแสดงความคิดเห็น

ภาพที่ 4 คุ ณ วิ ล าวั ล ย์ ศรี พ รหม บริษัท ทียูวี ไรน์ แลนด์ (ประเทศไทย) ร่วมแสดงความคิดเห็น

7


3. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดงานสัมมนาเวทีรับฟังความคิดเห็น (Focus Group V) เรื่อง “สินค้ายานยนต์และชิ้นส่วน ยานยนต์ กั บ การเปิ ด เจรจาความตกลงการค้ า เสรี ร ะหว่ า งไทยกั บ สหภาพยุ โ รป” วั น พุ ธ ที่ 26 มิ ถุ น ายน เวลา 9.30-15.00 น. ห้ อ ง 105 อาคารมหา จุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุภวรรณ พรวุฒิกร อุปนายกอาวุโสสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย โดยมีวัตถุประสงค์ ในการจัดงานสัมมนาเวทีรับฟังความคิดเห็นเรื่องดังกล่าวเพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเด็นด้านสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ไม่ว่าจะเป็นจากภาครัฐ-วิชาการ ภาคอุตสาหกรรมและภาคประชาสังคม-ผู้บริโภค ได้แสดงความคิดเห็นต่อร่างกรอบการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีในเรื่องสินค้า ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ผลกระทบของการท�ำข้อตกลงการค้าเสรีไทย-สหภาพยุโรป ในเรื่องสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ และให้ข้อเสนอแนะต่อท่าที การเจรจาของทีมเจรจาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ภาพที่ 1 คุณสุภวรรณ พรวุฒิกร อุปนายก อาวุโส สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย เป็น ผูก้ ล่าวปาฐกถา น�ำเวทีรบั ฟังความคิดเห็นครัง้ นี้

ภาพที่ 2 คุณมานิตย์ ศรีม่วง บริษัท เมอร์เซเดสเบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมแสดง ความคิดเห็น ภาพที่ 3 ศาสตราจารย์พูลพร แสงบางปลา (ฝั่งซ้ายมือ) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และ ดร.บัญชา ชุณหสวัสดิกุล (ฝั่งขวามือ) ร่วม แสดงความคิดเห็น

ผู้สนใจสามารถติดต่อขอรับหนังสือได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ที่ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ โทร. 0-2218-3922-3 หรือ ces@chula.ac.th

Published by

Editor

Centre for European Studies Natthanan Kunnamas, Ph.D. Chulalongkorn University Assistant Editor Bangkok, Thailand Palist Lunruangrit

Adviser

Assoc.Prof. Vimolwan Phatharodom.

บรรณาธิการ: ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ ที่ปรึกษา: รศ.วิมลวรรณ ภัทโรดม ผู้ช่วยบรรณาธิการ: พลิษฐ์ ลั่นเรืองฤทธิ์ ผู้อำ�นวยการ: ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รองผู้อำ�นวยการ: ยุพิน จันทร์เจริญสิน พิมพ์ที่: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Website: www.cuprint.chula.ac.th จำ�นวนพิมพ์: 800 เล่ม สถานที่ติดต่อ: อาคารวิทยพัฒนา ชั้น 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พญาไท กทม. 10330 โทร.: 0-2218-3922-3 Fax: 0-2215-3580 E-mail: ces@chula.ac.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.