รายงานประจำปี ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2559

Page 1

รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เสนอ

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ


บทสรุปสำหรับผู้บริหำร ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการแต่งตั้งโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามมติ ของสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์วิชาการที่เน้นความเป็น เลิศทางด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย โดยมีพันธกิจหลักคือเป็นศูนย์วิชาการที่เน้นความเป็นเลิศด้านยุโรป ศึกษา รวมถึงเสริมสร้ าง พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านยุโรปศึกษาในประเทศและในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศไทย ประเทศในภูมิภาค เอเชียกับสหภาพยุโรป และประเทศอื่นๆในทวีปยุโรป อีกทั้งยังสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านยุโรปศึกษา ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยและสถาบันอุดมศึกษาของต่างประเทศ ตลอดจนความร่ วมมือกับทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาศูนย์ในด้านต่างๆ รวมถึงพัฒนาองค์ความรู้ในด้านยุโรป ศึกษาโดยเน้นการบูรณาการ และพยายามสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางวิชาการร่วมกับ สถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ อาทิ สถาบันเอเชียศึกษาฯ และสถาบันอุดมศึกษาชั้นนาอีกหลายแห่ง รวมถึงหน่วยงานต่าง ๆ ในภาครัฐ เช่น กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ สถานทูตของประเทศในทวีปยุโรปประจาประเทศไทย รวมถึงองค์กรภาคธุรกิจ ในการร่วมกันเผยแพร่ความรู้ในมิติทางนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษร ศาสตร์ และวั ฒ นธรรมควบคู่ กั น ไปเพื่ อ ให้ ทั น กั บ สถานการณ์ ปั จ จุ บั น ที่ เ ปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา ใน ปีงบประมาณที่ผ่านมา ศูนย์ยุโรปศึกษาฯได้จัดกิจกรรมต่างๆเพื่อสนับสนุนพันธกิจด้านต่างๆของศูนย์ฯ อาทิ เช่น ๑. การอบรมวิชาการประจาปี ๒๕๕๙ เรื่อง “Brexit: ทิศทางของอังกฤษกับสหภาพยุโรปและ ผลกระทบในเวทีโลกและประเทศไทย” เมื่อวันพุธที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยเป็นการสรุป วิเคราะห์สถานการณ์ ทิศทาง และผลกระทบ เนื่องจากการลง ผลประชามติขอออกจากกลุ่มสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร ๒. การประสานงานโครงการ “Erasmus+” ซึ่งเป็นโครงการใหม่ ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพ ยุโรป โดยมีที่มาจากโครงการ Swap and Transfer (SAT) ซึ่งเป็นโครงการแลกเปลี่ยนนิสิต นักศึกษาและบุคลากรระหว่างมหาวิทยาลัยภายใต้ทุน “Erasmus Mundus Action 2” ของ คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาอย่าง


๓. ยั่ ง ยื น และเพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพของมนุ ษ ย์ ผ่ า นการแลกเปลี่ ย นความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมภายใต้กรอบความร่วมมือโครงการ SAT ได้แก่ การประชุมนานาชาติเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง “Possibility for a Fast Track in the Translation of Naturally-Derived Biomaterials into the Clinic (NDB 2015)” โดยเป็นความร่วมมือของสองมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านวัสดุชีวภาพเพื่อการแพทย์ ได้แก่ University of Trento ประเทศอิตาลี และ University of Minho ประเทศโปรตุเกส ในการนี้ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุ ฬาฯ จึ งร่ ว มประสานจั ดงานดั งกล่ าว ระหว่างวัน ที่ ๒ – ๓ พฤศจิก ายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๔. กิจกรรมต่างๆซึ่งร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย ๔ ประเทศในกลุ่ม Visegrád อันได้แก่สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเช็ ก สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฮังการี สถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐสโลวัก และสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโปแลนด์ ในการจัด กิจกรรมต่างๆ ได้แก่ - สัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมเช็ก (Czech Arts and Culture Week) - งานแสดงนิทรรศการ “Hungarian Exploring the Orient” - การบรรยายพิเศษหัวข้อ “European Union at the Crossroads Again – Fragments of Integration in Recent Years” - งานแสดงนิทรรศการ “The Good Samaritans of Markowa” - กิจกรรม “Polish – German Friendship Jubilee Days” - งานสัมมนาเรื่อง “Towards the NATO Summit in Warsaw 2016: The North Atlantic Treaty Organization and the Security Architecture in Europe – Challenge between 1889 and Today” ๕. การเสนาเรื่อง “Outcomes of the Paris Climate Change Conference – the Paris Agreement: A Turning Point to Combat Climate Change” ในวันพฤหัสบดีที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเนื่องจากการ ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The United Nations Climate Change Conference of the Parties: COP21) จนนามา ซึ่งการลงนามในข้อตกลงปารีส หรือ ‘Paris Agreement’


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๖. โครงการ “การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนานโยบายการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และ IUU ใน กิจการประมงทะเลอย่างยั่งยืน ” ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องมาจากโครงการวิชาการเนื่องด้วย วิกฤต “ใบเหลืองอียู” ผลกระทบต่อประมงไทย ในปีพ.ศ. ๒๕๕๘ โดยร่วมกับศูนย์วิจัยการย้าย ถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา และคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมศาสตร์ ใน การระดมความคิดเห็น และนาข้อมูลที่ได้มาสังเคราะห์เพื่อประกอบการพิจารณาถึงปัญหาที่ เกิดขึ้น จนนาไปสู่การจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อเสนอต่อหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้พันธกิจของศูนย์ฯดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง ศูนย์ยุโรปศึกษาฯจึงมีการวางแผนการดาเนินงานใน ปีงบประมาณถัดไป โดยเป็ น การต่อยอดจากกิจกรรมที่ได้ทาไปแล้ ว ในปีงบประมาณที่ผ่ านๆมา อาทิเช่น โครงการจัดการบรรยายพิเศษ เรื่อง “ยุโรปและประเด็น Brexit” โครงการความร่วมมือในการจัดกิจกรรม ต่างๆของประเทศในกลุ่ม Visegrád โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติเรื่องนวัตกรรมและเทคโนโลยี (ร่วมกับ Chulalongkorn University Innovation Hub) โครงการทุนการศึกษา ‘Erasmus Mundus Action 2: Swap and Transfer (SAT)’ และโครงการ Erasmus+ การสนับสนุนงานวิจัยประจาปี ๒๕๖๐ การจัดทาหนังสือโครงการพิเศษ และ การจัดทาหนังสือจากงานวิจัย กล่าวโดยสรุปแล้วก้าวต่อไปของศูนย์ยุโรปศึกษาในสภาพแวดล้อมระหว่างประเทศที่เป็นพลวัตรจะ ยึดมั่น อยู่ กับ พัน ธกิจ และปณิธ านซึ่งมุ่งเผยแพร่องค์ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมในสหภาพยุโรป ตลอดจนมุ่งหมายที่จะเป็นหน่วยงานซึ่งสามารถปรับตัวให้เข้ากับโลกที่ เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จาริต ติงศภัทิย์) รักษาการผู้อานวยการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


คำนำ

ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิท ยาลัย ได้จัดทารายงานประจาปี ๒๕๕๙ ขึ้น เพื่อแจ้งให้ผู้ที่ เกี่ ย วข้ อ งทุ ก ท่ า นได้ ท ราบถึ ง ผลการด าเนิ น งานของศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาฯ ซึ่ ง เป็ น ไปตามแผนกลยุ ท ธ์ แ ละ เป้าประสงค์อันเป็นพันธกิจหลักของศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ทั้งยังได้ดาเนินการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา และจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ในการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาฯ ตลอดจนการทาประกันคุณภาพตามแนวทางที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้กาหนดไว้ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้ รวบรวมกิจกรรมที่ดาเนินการผ่านมาทั้งหมดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๘ – ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๙) โดยรายงานประจาปีฉบับนี้จะแสดงให้เห็นถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทุกฝ่ายงานของศูนย์ ยุโรปศึกษาฯ ได้จัดขึ้นตลอดระยะเวลา ๑ ปีงบประมาณที่ผ่านมา เพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ ของกลุ่มประเทศในทวีปยุโรปให้เป็นที่แพร่หลายในประเทศไทยมากยิ่งขึ้น ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลต่าง ๆ ในรายงานประจาปีฉบับ นี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจ และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทาทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จาริต ติงศภัทิย์) รักษาการผู้อานวยการ


สำรบัญ

เรื่อง

หน้า

๑. รู้จักเรา

๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

๖ ๗ ๘ ๙ ๑๕

รายชื่อคณะกรรมการบริหารศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อคณะกรรมการที่ปรึกษาศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อเจ้าหน้าที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กิจกรรมด้านการศึกษา กิจกรรมด้านวิชาการ

๗. กิจกรรมด้านงานวิจัย

๓๓

๘. กิจกรรมด้านสิ่งพิมพ์

๔๐

๙. กิจกรรมด้านบริหาร

๕๔


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากการที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้พิจารณาเห็นว่า ยุโรปเป็นภูมิภาคที่มีความสัมพันธ์กับประเทศ ไทยมาช้า นาน และมีความส าคัญต่ อไทยทั้ง ทางด้านเศรษฐกิ จ สั งคม การเมื อง และความก้า วหน้าทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบกับการที่สหภาพยุโรปได้ขยายเครือข่ายของการให้ความช่วยเหลือทาง วิชาการมายังภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังนั้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสหภาพยุโรปจึงได้ร่วมกัน จัดตั้ง “โครงการยุโรปศึกษา” (Chulalongkorn University European Studies Program) ขึ้นมา ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งได้เริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นต้นมา โครงการยุโรป ศึกษามีลักษณะเป็นโครงการอาณาบริเวณศึกษา (area studies) ซึ่งเป็นการสร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับยุโรปใน สาขาวิชาต่าง ๆ ได้แก่ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ (ประวัติศาสตร์) และวัฒนธรรม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการและเงิ น ทุ น จากคณะกรรมาธิ ก ารยุ โ รป ( The European Commission) เพื่อใช้ในการสอน วิจัย อบรมสัมมนา เผยแพร่และพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับ สหภาพยุโรป ทั้งภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในประเทศไทย รวมถึงประเทศเพื่อน บ้านและภูมิภาคใกล้เคียง การดาเนินกิจกรรมของโครงการฯ ที่ผ่านมานั้น นับว่าได้รับความสาเร็จเป็นอย่างดียิ่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยจึงเห็นสมควรที่จะให้มีการจัดตั้ง “ศูนย์ยุโรปศึกษา” (Centre for European Studies) ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของทบวงมหาวิทยาลัย ที่จะผลักดันให้ศูนย์ยุโรปศึกษาเป็นศูนย์ระดับอาเซียน และเป็นไปตามแผนของทบวงมหาวิทยาลัย ที่จะพัฒนาอาณาบริเวณศึกษาขึ้นใน สถาบันการศึกษาระดับสูงของประเทศ ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยจึงได้มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งศูนย์ ยุ โ รปศึ ก ษาขึ้ น ในจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ภายใต้ ก ลุ่ ม ของหน่ ว ยงานลั ก ษณะพิ เ ศษ สั ง กั ด ส านั ก งาน มหาวิทยาลัย โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนกาหนดนโยบายและส่วนปฏิบัติงาน ในส่วนกาหนด นโยบายมีคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ทาหน้าที่ในการกาหนดนโยบายและแนวทางการดาเนินงานของศูนย์ ให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยและวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ สาหรับส่วนปฏิบัติงานนั้น ลักษณะการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บริหารงานของศูนย์ฯ จะมีอานาจอิสระในการบริหารดาเนินการด้านบุคคลและการจัดการระบบทรัพยากร ต่างๆ ด้วยตนเอง ตามระเบียบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยศูนย์ยุโรปศึกษาฯ โดยให้มีโครงสร้างองค์กร ภายในที่มีขนาดเล็กกะทัดรัด แต่มีป ระสิ ทธิภ าพ ในการบริห ารจัดการของศูนย์ฯ นั้น มีผู้ อานวยการเป็น หัวหน้าองค์กร รับผิดชอบกากับดูแลให้การปฏิบัติงานของศูนย์ฯ เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วาง ไว้ ทั้งนี้ ฝ่ ายบริห ารมีห น้าที่รั บ ผิ ดชอบการบริห ารงานภายในทั้งหมดของศูนย์ยุโ รปศึกษาฯ โดยมี ร อง ผู้อานวยการฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ มีเป้าหมายที่จะสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการด้านยุโรปศึกษา โดยการพัฒนา ทรั พ ยากรบุ ค คล และสนั บ สนุ น การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามรู้ ค วามเชี่ ย วชาญด้ า นยุ โ รปศึ ก ษา จั ด การ ประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ จัดการประชุมอบรมภายในประเทศ เผยแพร่ความรู้สู่สาธารณชน และเปิด โอกาสให้นักวิชาการชาวไทย/อาเซียนและยุโรป ได้พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นระหว่างกัน รวมทั้ง การทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ความรู้ด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย และครอบคลุมถึงภูมิภาค อาเซียนด้วย ในด้ า นงบประมาณ ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาฯ ได้ รั บ เงิ น สนั บ สนุ น จากงบประมาณแผ่ น ดิ น จาก ทบวงมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นต้นมา และงบประมาณสนับสนุนเงินรายได้จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนการอานวยความสะดวกอื่น ๆ อันจาเป็นต่อการปฏิบัติงานของศูนย์ยุโรป ศึกษาฯ นอกจากนี้ ศูนย์ฯ มีรายได้จากการจัดกิจกรรมทางวิชาการต่าง ๆ และจากการจาหน่ายสิ่งพิมพ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับคือ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ จะสามารถมุ่งเน้นการเรียนการสอนและการผลิตบุคลากร ทางด้านยุโรปศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็จะเน้นการวิจัยระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ ให้ เกิดประโยชน์ แก่ป ระเทศชาติได้อย่ างกว้างขวาง ศูนย์ฯ จะเป็นตัวกลางเครือข่าย (Network) ในการ ประสานและสร้างความร่วมมือระหว่างนักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญในสาขายุโรปศึกษา ทั้งในประเทศไทย ภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉีย งใต้และยุ โ รป โดยจะมีการจัดกิจกรรมที่สอดคล้ องกับวั ตถุ ประสงค์ และเปิด ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป ตลอดจนส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยร่วมและกิจกรรมด้านวัฒนธรรม

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิสัยทัศน์ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เป็นศูนย์วิชาการที่เน้นความเป็นเลิศทางด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย ในการ สร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับยุโรป ที่สามารถเชื่อมโยงมายังเอเชียและอาเซียน ส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างประเทศไทย เอเชียและยุโรป และเป็นหน่วยงานประสานวิชาการระดับชาติทางด้านยุโรป ศึกษา พันธกิจ ๑. เป็นศูนย์วิชาการที่เน้นความเป็นเลิศทางด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย ๒. เสริมสร้าง พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านยุ โรปศึกษาให้แก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ทาง การศึ ก ษาด้ า นยุ โ รปศึ ก ษาทั้ ง ภายในประเทศ และในภู มิ ภ าคเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ซึ่ ง ครอบคลุ ม สาขาวิ ช าต่ า งๆ ได้ แ ก่ นิ ติ ศ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์ อั ก ษรศาสตร์ (ประวัติศาสตร์) และวัฒนธรรม ตลอดจนขยายสาขาวิชาให้หลากหลายยิ่ง ขึ้นเพื่อให้ทันกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ๓. เป็นแหล่งรวบรวมความรู้และพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน รวมทั้งเพื่อ การวิ จั ย และส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ร ะหว่ า งประเทศใน ระดับอุดมศึกษา ๔. เป็นศูนย์กลางส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศไทย ประเทศในภูมิภาคเอเชียกับสหภาพยุโรป และประเทศอื่นๆ ในทวีปยุโรป ๕. สร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ด้ า นยุ โ รปศึ ก ษา ระหว่ า งสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทยและ สถาบันอุดมศึกษาในต่างประเทศ ตลอดจนความร่วมมือกับทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและ ต่างประเทศ ภำรกิจหลัก ๑. การจั ดอบรม สั มมนา สนั บ สนุนการทาวิจัย จัดทาฐานข้อมูล เผยแพร่เอกสารและสิ่ งตีพิมพ์ ตลอดจนสร้ า งเครื อ ข่า ยทางวิ ช าการระหว่ างสถาบัน การศึ ก ษาและบุ ค คลทั่ว ไป รวมทั้ง จั ด กิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ ๒. สนับสนุนการจัดกิจกรรมทางวิชาการแก่หน่วยงานอื่น รวมทั้งเปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยอื่น ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตผลงานวิจัย ๓. พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วยงานอื่น ทั้งในและต่างประเทศ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงสร้ำงบริหำรงำนศูนย์ยุโรปศึกษำแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดี คณะกรรมการบริหารศูนย์ยุโรปศึกษา

ผู้ทรงคุณวุฒิประจาศูนย์ฯ

ผู้อานวยการศูนย์ฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาศูนย์ฯ ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ ภายใต้สถาบันวิทยบริการ

รองผู้อานวยการ ฝ่ายบริหาร

รองผู้อานวยการ ฝ่ายวิจัย

รองผู้อานวยการ ฝ่ายสิ่งพิมพ์

รองผู้อานวยการ ฝ่ายวิชาการและการศึกษา

เลขานุการบริหาร

เจ้าหน้าที่วิชาการ เจ้าหน้าที่บริการการศึกษา เจ้าหน้าที่สิ่งพิมพ์ เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

เจ้าหน้าที่วิจัย


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Organization Chart of CES Administration

CU University Council CU’s President CES Executive Board

Fellow-in-Residence

CES Director CES Advisory Committee International Information Center, Center of Academic Resources

Deputy Director for Administrative Affairs

Deputy Director for Research Affairs

Deputy Director for Publication Affairs

Deputy Director for Academic and Educational Affairs

Executive Secretary

Academic Affairs Officer

Educational Affairs Officer

Publication Officer

Accountancy and Financial Officer

Research Affairs Officer

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รำยชื่อคณะกรรมกำรบริหำรศูนย์ยุโรปศึกษำแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย (อย่ำงไม่เป็นทำงกำร)

๑. อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการที่ปรึกษา ๒. อัครราชทูตที่ปรึกษา และหัวหน้าคณะผู้แทน กรรมการที่ปรึกษา สหภาพยุโรปประจาประเทศไทย (His Excellency Jesus Misuel SANZ) ๓. อธิบดีกรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ กรรมการที่ปรึกษา ๔. รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมการที่ปรึกษา ๕. รองอธิการบดี (ผศ.ดร.ปมทอง มาลากุล ณ อยุธยา ) ประธานกรรมการ ๖. ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ ๗. ดร. ชิงชัย หาญเจนลักษณ์ กรรมการ ๘. อาจารย์ สาธิน สุนทรพันธุ์ กรรมการ ๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนิช บุณยัษฐิติ กรรมการ ๑๐. ดร. ธรรมนิตย์ วราภรณ์ กรรมการ ๑๑. รักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษา กรรมการและเลขานุการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รำยชื่อคณะกรรมกำรที่ปรึกษำศูนย์ยุโรปศึกษำแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

๑. ๒. ๓. ๔.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จาริต ติงศภัทิย์ น.ส. ยุพิน จันทร์เจริญสิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐนันท์ คุณมาศ รองศาสตราจารย์ วิมลวรรณ ภัทโรดม

รักษาการผู้อานวยการ รักษาการแทนรองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร รักษาการแทนรองผู้อานวยการฝ่ายสิ่งพิมพ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รำยชื่อเจ้ำหน้ำที่ศูนย์ยุโรปศึกษำแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

 นางสาว ยุวดี อัศวพาณิชย์วงศ์

เลขานุการบริหาร

 นางสาว มณฑณา จันทนะผะลิน

เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน

 นางสาว สุภาภรณ์ มหาวรรณ

เจ้าหน้าที่ธุรการ

 นางสาว ครองธรรม นีละไพจิตร

เจ้าหน้าทีบ่ ริการวิชาการ

 นาย วิชญ์ วัชรคิรินทร์

เจ้าหน้าที่บริการการศึกษา

 นาย นนทิวรรธน์ สามัญบุตร

เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานวิจัย

 นาย อภิชัย กุญชรชัย

เจ้าหน้าที่สิ่งพิมพ์

 นาย ฑภิพร สุพร

เจ้าหน้าทีเ่ ว็บมาสเตอร์

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กิจกรรมด้ำนกำรศึกษำ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จัดกำรเรียนกำรสอนวิชำ Seminar in Global Governance เนื่องด้วยมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ก มหาวิทยาลัยฮัมโบลต์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีโครงการความ ร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกันจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา Global Studies โดย นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ก และมหาวิทยาลัยฮัมโบลต์มาลงทะเบียนเรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเวลา ๑ ภาคการศึกษา โดยศูนย์ยุโรปศึกษาฯร่วมกับบัณฑิตวิทยาลัยจัดการเรียนการสอนวิชา Seminar in Global Governance ตั้งแต่วันที่ ๒๒ มกราคม – ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีนิสิตลงทะเบียนทั้งสิ้น ๒๕ คน

วิชำบูรณำกำรสหภำพยุโรปเบื้องต้น หลักสูตรภำษำไทย ฝ่ า ยการศึ ก ษาได้ ร่ ว มกั บ ส านั ก การศึ ก ษาทั่ ว ไปในการจั ด การเรีย นการสอนภาคปลาย ประจ าปี การศึกษา ๒๕๕๘ ให้แก่นิสิตระดับปริญญาตรี ตั้งแต่วั นที่ ๖ มกราคม – ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยเป็น การให้ ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ สหภาพยุ โ รป ในประเด็ น ทาง ประวัติ ศ าสตร์ วั ฒ นธรรม การเมื อง การปกครอง เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยในปีการศึกษานี้มีจานวนนิสิตลงทะเบียนเรียน ๖๓ คน ในการ ประเมินผลแบ่งเป็นคะแนนสอบร้อยละ ๘๐ งานอื่นๆและการเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ ๒๐

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิชำบูรณำกำรสหภำพยุโรปเบื้องต้น หลักสูตรนำนำชำติ ฝ่ า ยการศึ ก ษาได้ ร่ ว มกั บ ส านั ก การศึ ก ษาทั่ ว ไปในการจั ด การเรีย นการสอนภาคปลาย ประจ าปี การศึกษา ๒๕๕๗ ให้แก่นิสิตระดับปริญญาตรี หลักสูตรนานาชาติ ตั้งแต่วันที่ ๗ มกราคม – ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับสหภาพยุโรป ในประเด็นทาง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยในปีการศึกษานี้มีจานวนนิสิตลงทะเบียนเรียน ๒๘ คน ในการประเมินผลแบ่งเป็นคะแนนสอบร้อยละ ๗๐ งานอื่นๆและการเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ ๓๐

ประสำนงำนหลักสูตร Global Studies เนื่ องด้ว ยมหาวิ ทยาลั ย ไฟรบวร์ ก และจุ ฬาลงกรณ์ มหาวิท ยาลั ย มี โ ครงการความร่ว มมือ ระหว่ า ง มหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกันจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา Global Studies โดยนักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยไฟรบวร์กและฮัมโบลต์มาลงทะเบียนเรียนที่จุฬาลงกรณ์เป็นเวลา ๑ ภาคการศึกษา ตั้งแต่เดือน มกราคม – พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยนับเป็นนักศึกษาในโครงการ GSP รุ่นที่ ๗ โดยในปีการศึกษานี้มีนิสิต จากมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ก และฮัมโบลต์ ลงทะเบียนทั้งสิ้น ๒๓ คน ศูนย์ยุโรปศึกษาฯในฐานะผุ้ประสานงานหลักสูตรได้ประสานงานกับฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดการ เรียนการสอน ๔ รายวิชา และดูแลนิสิตตลอดภาคการศึกษา การปฐมนิเทศเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และสิ้นสุดภาคการศึกษาเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๑


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อบรมทำงวิชำกำร ๑/๒๕๕๙ เมื่อวันพุธที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ทางศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้จัดงานอบรมวิชาการครั้งที่ ๑ ประจาปี ๒๕๕๙ ขึ้น ในหัวข้อ เรื่อง Brexit: ทิศทางของอังกฤษกับสหภาพยุโรปและผลกระทบในเวทีโลกและประเทศ ไทย ณ ห้อง ๑๐๕ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ซึ่งแบ่งการนาเสนอ ออกเป็น ช่วงเช้าและช่วงบ่าย ใน ๔ หัวข้อหลัก โดยในแต่ละหัวข้อมีอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญและวิทยากรจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้การบรรยาย โดยเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีโอกาสในการซักถามวิทยากรในแต่ ละช่วงด้วย หัวข้อในการบรรยายมีดังนี้ การอบรมในตอนเช้าแบ่งเป็น ๓ หัวข้อคือ ๑. “สรุปสถานการณ์ Brexit” โดย ผศ. ดร. จาริต ติงศ ภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒. “สหราชอาณาจักรและสหภาพ ยุโรป” โดย ผศ. ดร. ณัฐนันท์ คุณมาศ (Jean Monnet Chair) จาก คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ๓. "ทาไมถึงออก: มอง Brexit จากสายตาของชาวอังกฤษ" โดย ผศ. ดร. ภูริ ฟูวงศ์เจริญ จาก คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนการอบรมในช่วงบ่ายมี ๑ หัวข้อการเสวนาในหัวข้อ “Brexit: ทิศทางและผลกระทบที่มีต่อเวที โลกและประเทศไทย” ผู้เข้าร่วมเสวนามี รศ. ดร. ประภัสสร์ เทพชาตรี ผู้อานวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ รศ. ดร. ชโยดม สรรพศรี คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดาเนิน รายการโดย ผศ. สุรัตน์ โหราชัยกุล คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผู้เข้าร่วมสัมมนาประมาณ ๑๐๐ คน

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๒


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๑๓

แผนงำนระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๘ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๕๙ เดือน กิจกรรม

ปีงบประมำณ ๒๕๕๙ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๘ ๕๘ ๕๘ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙

๑.เตรียมการและประสานงานการจัดการ เรียนการสอนหลักสูตร Global Studies ปี การศึกษา ๒๕๕๙ ๒.การจัดการเรียนการสอนรายวิชา บูรณา การฯ หลักสูตรภาษาไทย ภาคปลายประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓.การจัดการเรียนการสอนรายวิชา บูรณา การฯ หลักสูตรนานาชาติ ภาคปลาย ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๔.การจัดการเรียนการสอนรายวิชา Seminar in Global Governance และ ประสานงานหลักสูตร GSP ๕. อบรมครู ครั้งที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๖. การจัดการเรียนการสอนรายวิชา บูรณาการฯ (หลักสูตรนานาชาติ) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๗. การจัดการเรียนการสอนรายวิชา บูรณาการฯ หลักสูตรภาษาไทย ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๘.การจัดการเรียนการสอนรายวิชา Seminar in Global Governance และ ประสานงานหลักสูตร GSP

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๑๔

งำนที่กำลังดำเนินกำรระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๙ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๐ เดือน

ปีงบประมำณ ๒๕๖๐ ต.ค. ๕๙

กิจกรรม

พ.ย. ๕๙

ธ.ค. ๕๙

ม.ค. ๖๐

ก.พ. ๖๐

มี.ค. ๖๐

เม.ย. ๖๐

พ.ค. ๖๐

มิ.ย. ๖๐

ก.ค. ๖๐

๑.เตรียมการและประสานงานการจัดการ เรียนการสอนหลักสูตร Global Studies ปี การศึกษา ๒๕๕๙ ๒.การจัดการเรียนการสอนรายวิชาบูรณาการ ยุโรปเบื้องต้นหลักสูตรภาษาไทยประจาปี การศึกษา ๒๕๕๙ ๓. การจัดการเรียนการสอนรายวิชาบูรณา การยุโรปเบือ้ งต้น (หลักสูตรนานาชาติ) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๔.จัดการเรียนการสอนรายวิชา Seminar in Global Governance และประสานงาน หลักสูตร GSP ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๕. อบรมครู ครั้งที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๖. อบรมครู ครั้งที่ ๒ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๗.เตรียมการและประสานงานการจัดการ เรียนการสอนหลักสูตร Global Studies ปี การศึกษา ๒๕๖๐ ๘.การจัดการเรียนการสอนรายวิชา บูรณา การยุโรปเบือ้ งต้น หลักสูตรภาษาไทย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ ๙. การจัดการเรียนการสอนรายวิชา บูรณา การยุโรปเบือ้ งต้น (หลักสูตรนานาชาติ) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

ส.ค. ๖๐

ก.ย. ๖๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กิจกรรมด้ำนวิชำกำร

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๕


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงกำร Swap and Transfer (SAT) และโครงกำร Erasmus+ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เข้าร่วมโครงการ “Swap And Transfer (SAT)” ซึ่งเป็นโครงการ แลกเปลี่ยนนิสิตนักศึกษาและบุคคลากรระหว่างมหาวิทยาลัยภายใต้ทุน “Erasmus Mundus Action 2” ของคณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) โดยมีมหาวิทยาลัยเทรนโต้ (University of Trento) ประเทศอิตาลี เป็นหน่วยงานกลางในการดาเนินโครงการและประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยพันธมิตร โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ผ่านการแลกเปลี่ยน ความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งนี้ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้รับมอบหมายให้เป็นองค์กรประสานงานโครงการร่วมกับ สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ โดยมีการเปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการดังกล่าว โดยในปี การศึกษา ๒๕๕๘/๒๐๑๕ มีนิสิต บุคลากร และคณาจารย์ให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการเป็นจานวนมาก จากการประสานความร่วมมืออันดีระหว่างมหาวิทยาลัยพันธมิตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการ เชิญชวนเข้าร่วมโครงการ “Erasmus+” ซึ่งเป็นโครงการใหม่ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรป และเริ่ม ดาเนินโครงการตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๘ โดยศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้รับมอบหมายให้เป็นองค์กรประสานงาน ทั้งนี้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ทาข้อตกลงในกรอบนี้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ อาทิ University of Trento (Italy), Ludwig-Maximilians-Universität München (Germany), Universidade do Minho (Portugal), Warsaw School of Economics -SGH (Poland), Birmingham City University (United Kingdom) เป็นต้น

นอกจากนี้ ยัง มีกิจกรรมภายใต้กรอบความร่ว มมือโครงการ SAT กล่ าวคือ การประชุม นานาชาติเชิงปฏิบัติการเรื่อง “Possibility for a Fast Track in the Translation of NaturallyDerived Biomaterials into the Clinic (NDB 2015)” โดยเป็นความร่วมมือของสองมหาวิทยาลัย Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๖


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้เชี่ยวชาญด้านวัสดุชีวภาพเพื่อการแพทย์ อันได้แก่ University of Trento ประเทศอิตาลี และ University of

Minho

ประเทศโปรตุ เ กส ในการนี้ ศู น ย์ ยุ โ รปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และคณะ

วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงร่วมประสานจัดงานดังกล่าว ระหว่างวันที่ ๒ – ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งำนแสดงนิทรรศกำร “Hungarians Exploring the Orient” ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถานเอกอั ค รราชทู ต ฮั ง การี ป ระจ าประเทศไทย จั ด การแสดงนิ ท รรศการหั ว ข้ อ “Hungarians Exploring the Orient” โดยมีพิธีเปิดนิทรรศการและการเสวนาหัวข้อ “The Hungarian Rhapsody of Travels and Memories: Hungarian Explorers and Explorers of Hungary” ในวันอังคารที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๙.๓๐-๑๒.๐๐ น. ณ สรรพศาสตร์สโมสร อาคารมหาจักรีสิรินธร ชั้น ๒ คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การแสดงนิทรรศการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอภาพการเดินทางของ นักสารวจชาวฮังกาเรียนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ อันส่งผลต่อการศึกษาเกี่ยวกับประเทศแอฟริกา อิหร่าน ตุร กี

เกาหลี และญี่ ปุ่ น นอกจากนี้ ยั ง ก่อ ให้ เ กิ ด การศึ ก ษาด้ า นวั ฒ นธรรมและวัต ถุ โ บราณของอี ยิ ป ต์

(Egyptology) ด้านภารตวิทยา (Indology) วิชาว่าด้วยอารยธรรมจีน (Sinology) รวมทั้งการศึกษาภูมิภาค เอเชียกลาง เอเชียใน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะอักษรศาสตร์ วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ สมเด็จพระเทพ รั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ ทอดพระเนตรนิทรรศการ โดยมี ฯพณฯ ปี เตอร์ ยาค็อ บ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๗


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เอกอัครราชทูตประเทศฮังการี ประจาประเทศไทย รับเสด็จฯ และอธิบายความเป็นมาและเรื่องราวของ นิทรรศการดังกล่าว

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๘


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กำรบรรยำยพิเศษหัวข้อ “The EU Economic Crisis: Toward a More Flexible EU Integration” ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการบรรยายพิเศษหัวข้อ “The EU Economic Crisis: Toward a More Flexible EU Integration” ในวันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๗๐๑ ชั้น ๗ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา (อาคารจามจุรี ๑๐) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับเกียรติจากศาสตราจารย์มาร์โก้ บรูเนซโซ (Professor Marco Brunazzo) อาจารย์ประจาภาควิชาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยเทรนโต้ (University of Trento) ประเทศอิตาลี การ บรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์วิกฤตเศรษฐกิจสหภาพยุโรปในปัจจุบัน รวมทั้ง มาตรการและการดาเนินการต่างๆ ต่อการบูรณาการสหภาพยุโรปในอนาคต มีผู้เข้าร่วมฟังการบรรยายทั้งสิ้น ๗๒ คน

สัปดำห์ศิลปวัฒนธรรมเช็ก (Czech Arts and Culture Week) หน่วยยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ย ร่วมกับคณะ อักษรศาสตร์ และสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเช็กประจาประเทศไทย จัดงาน “สัปดำห์ศิลปวัฒนธรรม เช็ก (Czech Arts and Culture Week)” ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยมี วัตถุป ระสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางประวัติศาสตร์ การเมือง ศิล ปะ และวัฒนธรรมอันหลากหลายและมี เอกลักษณ์ของสาธารณรัฐเช็ก ผ่านกิจกรรมต่างๆ อันได้แก่ การเสวนา การฉายภาพยนตร์ การแสดงสื่อผสมซึ่ง ดัดแปลงจากวรรณกรรมคลาสสิก เป็นต้น

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๑๙


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิธีเปิดงานสัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมเช็กจัดในวันจันทร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ เรือนจุฬา นฤมิต ในพิธีเปิดจะแสดงนิทรรศการภาพถ่ายที่หาชมยากระหว่างที่วาซลาฟ ฮาเวล เดินทางมาเยือนประเทศ ไทย และนิทรรศการพระบรมฉายาลักษณ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว เมื่อคราวเสด็จประพาสสาธารณรัฐเชโกสโลวะเกีย นอกจากนี้จะมีการบรรยายปริทัศน์ปรัชญาทาง การเมืองและแนวคิดทางศิลปะอันเปี่ยมหวังและเชื่อมั่นในอานาจแห่งผู้ที่ไร้อานาจ (“the Power of the Powerless”) ซึ่งสะท้อนในงานเขียนของวาซลาฟ ฮาเวล อีกทั้งยังมีการฉายภาพยนตร์สารคดีชีวประวัติของ ฮาเวลเรื่อง “Václav Havel: A Life in Freedom” อีกด้วย ทั้งนี้กิจกรรมอื่นๆ ตลอดสัปดาห์ได้จัดที่คณะ อักษรศาสตร์ โดยมีรายละเอียดมีดังนี้  วันอังคำรที่ ๑๖ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ – การบรรยายพิเศษเรื่อง From Ambivalent Christianity to Kafkaesque and Schweikism: Czech Culture Reflected in Czech Cinema (วัฒนธรรมเช็กอันสะท้อนในภาพยนตร์เช็ก)  วันพุธที่ ๑๗ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ – การฉายภาพยนตร์เรื่อง “Fair Play” (2014)  วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ – การแสดงสื่อผสมเรื่อง “A (not so) Good Evening with the (not so) Good Soldier Švejk” (คืนที่แสน (ไม่ค่อยจะ) ดีกับพลทหาร ชเวกที่แสน (ไม่ค่อยจะ) ดี)  วันศุกร์ที่ ๑๙ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ – การฉายภาพยนตร์เรื่อง “Kawasaki's Rose”

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กำรเสวนำหัวข้อ “Outcomes of the Paris Climate Change Conference – the Paris Agreement: A Turning Point to Combat Climate Change” ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจาประเทศ ไทย กาหนดจัดการเสนาเรื่อง “Outcomes of the Paris Climate Change Conference – the Paris Agreement: A Turning Point to Combat Climate Change” ในวันพฤหัสบดีที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุมอาคารศศนิเวศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผู้เข้าร่วมการ เสวนาร่วมทั้งสิ้น ๖๕ คน

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๑


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การเสวนานี้ มี วัตถุ ป ระสงค์เ พื่อแลกเปลี่ ยนความคิด เห็ น เกี่ยวกับ ผลลั พ ธ์ ของการประชุมสมัช ชา ประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The United Nations Climate Change Conference of the Parties: COP21) จนนามาซึ่งการลงนามในข้อตกลงปารีส หรือ ‘Paris Agreement’ ทั้งนี้ข้อตกลงดังกล่าวไม่ได้มีขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเพียงเท่านั้น แต่จะส่งผลต่อการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมระดับโลกอย่างแท้จริง

กำรแสดงนิทรรศกำร "The Good Samaritans of Markowa"

หน่วยยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกศึกษา ร่วมกับภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ และ สถานเอกอัครราชทูตโปแลนด์ประจาประเทศไทย จัดกิจกรรม “Poles and Jews during the Second World War: The Opening Ceremony of “The Good Samaritans of Markowa” Exhibition” เมื่ อ วั น ที่ ๑๗ มี น าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ สรรพศาสตร์ ส โมสร อาคารมหาจั ก รี สิ ริ น ธร คณะอั ก ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เวลา ๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ภายในงานมีการบรรยายพิเศษหัวข้อ “Poles and Jews during World War II” ซึ่งได้รับเกียรติจาก Dr Jolanta Żyndul จาก POLIN Museum of the History of Polish Jews เป็นผู้บรรยาย และมีการฉายสารคดีปีค.ศ. ๒๐๑๕ จากโปแลนด์ นาเสนอเรื่องราวของอิเรนา เซนด์เลร์ พยาบาลและนักสังคมสงเคราะห์ที่ช่วยเหลือลักลอบพาเด็กชาวยิวหนีออกจากพื้นที่กักกันชาวยิว Warsaw ghetto สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ กำรบรรยำยพิเศษหัวข้อ "European Union at the Crossroads Again - Fragments of Integration in Recent Years" ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตฮังการีประจาประเทศไทย กาหนดจัดการบรรยายพิเศษเรื่อง “European Union at the Crossroads Again – Fragments of Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๒


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Integration in Recent Years” ในวันศุกร์ที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้อง ประชุม Dipak C.Jain อาคารศศนิเวศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การบรรยายนี้ได้รับเกียรติจากดร. บาร์นา เบิร์ค (Dr Barna Berke) รัฐมนตรีด้านความร่วมมือในยุโรปและกิจการด้านยุติธรรมระหว่างประเทศ ประเทศ ฮังการี (Minister of State for Cooperation in European and International Justice Affairs – Hungary) การบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอการดาเนินงานและการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของสหภาพยุโ รป ท่ามกลางวิกฤตการณ์ต่างๆ ที่สหภาพยุโรปต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ทั้งวิกฤตเศรษฐกิจ ปัญหาผู้ลี้ภัย และ แรงงานอพยพ อันส่งผลต่อการบูรณาการสหภาพยุโรปตลอดหลายปีที่ผ่านมา

งำนสัมมนำหัวข้อ “Towards the NATO Summit in Warsaw 2016: The North Atlantic Treaty Organization and the Security Architecture in Europe – Challenge between 1989 and Today” ศูน ย์ยุ โ รปศึกษาแห่ งจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ย ร่ว มกับสถานเอกอัครราชทูตโปแลนด์ และสถาน เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจาประเทศไทย ร่วมจัดงานสัมมนาเรื่อง “Towards the NATO Summit in Warsaw 2016: the North Atlantic Treaty Organization and the Security Architecture in Europe — Challenges between 1989 and Today” ในวันศุกร์ที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๘ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา (อาคารจามจุรี ๑๐) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย งานสั มมนานี้มีวัตถุป ระสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทขององค์การสนธิสั ญญา แอตแลนติกเหนือ (NATO) ต่อประเด็นความมั่นคงและความท้าทายที่เกิดขึ้นในภูมิภาคยุโรปตั้งแต่ปีค.ศ. ๑๙๘๙ จนถึงปัจจุบัน รวมทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับการประชุ ม NATO Summit ซึ่งจัดขึ้นระหว่าง วันที่ ๗ – ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ กรุงวอร์ซอ และความคาดหวังของโปแลนด์ในการเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมครั้งนี้

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๓


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๔

กิจกรรมในงานสัมมนานี้ได้แก่ การฉายภาพยนตร์สารคดีเกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงสงครามเย็นและ การก่อตั้งองค์กร NATO ท่ามกลางความตึงเครียดระหว่างประเทศมหาอานาจ นอกจากนี้ยังมีการเสวนาใน หัวข้อ “NATO as a Guarantor of Regional Security: Polish Perspective on the North Atlantice

Alliance” ซึ่ ง ได้รั บ เกีย รติ จาก Dr Marek

Madej ผู้ ช่ว ยศาสตราจารย์ป ระจาสถาบั น

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ เดินทางมาเป็นวิทยากรแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นร่วมกับ Mr Keith M. Anderton ที่ปรึกษาด้านการเมือง สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจา ประเทศไทย และผศ. สุรัตน์ โหราชัยกุล อาจารย์ประจาภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มีผู้เข้าร่วมงานรวมทั้งสิ้น ๗๐ คน สัมมนำเชิงปฏิบัติกำร เรื่อง “Thai – German Cooperation – The Role of German Political Foundations in Thailand” ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ สมาคมไทย–เยอรมัน และศูนย์ความเป็นเลิศด้านนโยบายสาธารณะและธรรมาภิบาล เยอรมัน –อุษาคเนย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “Thai–German Cooperation: The Role of German Political Foundations in Thailand” เมื่อวันพุธที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้อง ๑๐๕ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทและการดาเนินงานของมูลนิธิการเมืองจากสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในประเทศไทยที่ร่วมมือกับ สถาบันต่างๆ ของไทย นักวิชาการ และภาคประชาชน รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ จากตัวแทนมูลนิธิฯ และตัวแทนภาคส่วนต่างๆ ของไทยที่เกี่ยวข้อง มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น ๖๔ คน

โครงกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรพัฒนำนโยบำยกำรแก้ไขปัญหำกำรค้ำมนุษย์ และ IUU ในกิจกำรประมง ทะเลอย่ำงยั่งยืน ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ร่วมกับศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา และคณะกรรมการสภา วิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมศาสตร์ จัดทาโครงการ “กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรพัฒนำนโยบำยกำรแก้ไขปัญหำ กำรค้ำมนุษย์และ IUU ในกิจกำรประมงทะเลอย่ำงยั่งยืน ” โดยศึกษาในลักษณะการจัดประชุมร่วมกันระดม ความคิดเห็น (brainstorming workshop) ระหว่างหน่วยงานผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและสื่อมวลชน โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ อุปสรรคและข้อจากัดในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และ IUU ที่ผ่านมา และนาข้อมูลที่ได้มาสังเคราะห์เพื่อ ประกอบการพิจารณาถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จนนาไปสู่การจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อเสนอต่อหน่วยงานที่ มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งนี้กิจกรรมแบ่งออกเป็น ๓ ระยะ โดยมีความต้องการต่อผลผลิตแต่ละระยะ ดังนี้ - ระยะที่ ๑ ดาเนินการประชุมระดมความคิดเห็นจากวิทยากรรับเชิญจากภาคส่วนที่เกี่ ยวข้อง เพื่อ รับทราบอุปสรรคและปัญหาจากการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา โดยงานประชุม นี้จัดขึ้นในวันศุกร์ที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น ๗๐ คน

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๕


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- ระยะที่ ๒ ด าเนิ น การประชุ มร่ ว มกั นระหว่ า งคณะท างานและวิ ท ยากรรั บ เชิญ จากภาคส่ ว นที่ เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา แนวนโยบายที่ได้รับการตอบสนองอย่างเข้มข้น - ระยะที่ ๓ ประชุมนาเสนอการพัฒนาข้อเสนอแนะ นโยบายการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และ IUU ในกิจการประมงทะเลอย่างยั่งยืนต่อคณะกรรมการพิจารณาและดาเนินการประชุมฯ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๖


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทั้งนี้คณะผู้วิจัยได้จัดการประชุมนาเสนอร่างข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในวัน พุธที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยนาเสนอข้อเสนอแนะต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาดังกล่าว อีกทั้งยังรับฟังความคิดเห็น เพิ่มเติมจากผู้เข้าร่วมงานประชุม เพื่อนาข้อมูลที่ได้รับมาพัฒนาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อไป มีผู้เข้าร่วม การประชุมทั้งสิ้น ๗๓ คน จากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม “Polish-German Friendship Jubilee Days”

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๗


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูน ย์ ยุ โ รปศึกษาแห่ งจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ย ร่ว มกับสถานเอกอั ครราชทูตสหพั นธ์ส าธารณรั ฐ เยอรมนีประจาประเทศไทย สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโปแลนด์ประจาประเทศไทย และคณะดุริยางค ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จะจัดกิจกรรม “Polish-German Friendship Jubilee Days” ระหว่าง วันที่ ๑๗ – ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องใน โอกาสครบรอบ ๒๕ ปี สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและสาธารณรัฐโปแลนด์ได้ร่วมลงนามสนธิสัญญามิตรภาพ ประเทศเพื่อนบ้านที่ดีและความร่วมมือที่เป็นมิตร (Treaty of Good Neighbourship and Friendly Cooperation) ในวันที่ ๑๗ มิถุนายน ค.ศ. ๑๙๙๑ เหตุการณ์นี้นับเป็นจุดเปลี่ยนแห่งความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศเยอรมนีและโปแลนด์อันสาคัญยิ่ง ด้วยสนธิสัญญาดังกล่าวนามาซึ่งกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่ อ นบ้ า นที่ ครอบคลุ ม และรอบด้ า น อี กทั้ ง ยั ง ก่ อ ให้ เกิ ด การพั ฒ นาทางสั ง คม เศรษฐกิ จ การเมื อ ง และ วัฒนธรรม ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศให้แน่นแฟ้ นยิ่งขึ้น โดยกิจกรรมต่างๆ ของงานนี้ ประกอบด้วย ๑. การจั ด แสดงนิ ทรรศการจากสถานเอกอัค รราชทู ตสหพัน ธ์ส าธารณรัฐ เยอรมนีฯ และสถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโปแลนด์ฯ หัวข้อ “Learn Polish” และ “Poles and Germans – stories of dialogue” ระหว่างวันที่ ๑๗ สิงหาคม ถึง ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๒๘


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๙

๒. การแสดงดนตรีแจ๊สจากกรุงเบอร์ลินโดยวง “Iwona and the Crazy Vibes”

๓. การฉายภาพยนตร์ เ ยอรมั น และโปแลนด์ เ รื่ อง "Goodbye

GDR!"

และ “Winter’s

Daughter” ภาพยนตร์ซึ่งสะท้อนภาพเหตุการณ์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศช่วงหลัง เหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งมีการแลกเปลี่ยนสนทนาเรื่องประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และการเมือง

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๓๐

แผนงำนระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๘ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๕๙ เดือน กิจกรรม

ปีงบประมำณ ๒๕๕๙ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๘ ๕๘ ๕๘ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙

๑. การประชุมนานาชาติเชิงปฏิบัตกิ ารเรื่อง “Possibility for a Fast Track in the Translation of Naturally-Derived Biomaterials into the Clinic (NDB 2015)” ๒. งานแสดงนิทรรศการ “Hungarians Exploring the Orient” ๓. การบรรยายพิเศษหัวข้อ “The EU Economic Crisis: Toward a More Flexible EU Integration” ๔. สัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมเช็ก (Czech Arts and Culture Week) ๕. การเสวนาหัวข้อ “Outcomes of the Paris Climate Change Conference – the Paris Agreement: A Turning Point to Combat Climate Change” ๖. การแสดงนิทรรศการ "The Good Samaritans of Markowa" ๗. การบรรยายพิเศษหัวข้อ "European Union at the Crossroads Again Fragments of Integration in Recent Years" ๘.งานสัมมนาหัวข้อ “Towards the NATO Summit in Warsaw 2016: The North Atlantic Treaty Organization and the Security Architecture in Europe – Challenge between 1989 and Today”

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน กิจกรรม

๓๑

ปีงบประมำณ ๒๕๕๙ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๘ ๕๘ ๕๘ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙

๙. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “Thai – German Cooperation – The Role of German Political Foundations in Thailand” ๑๐. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา นโยบายการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ และ IUU ในกิจการประมงทะเลอย่างยัง่ ยืน ๑๑. กิจกรรม “Polish-German Friendship Jubilee Days” ๑๒. โครงการทุนการศึกษา ‘Erasmus Mundus Action 2: Swap and Transfer (SAT)’ และโครงการ Erasmus + ๑๓. การประสานงาน/ความร่วมมือกับ หน่วยงานภายนอก

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๓๒

งำนที่กำลังดำเนินกำรระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๙ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๐ เดือน กิจกรรม

ปีงบประมำณ ๒๕๖๐ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๙

๕๙

๕๙

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐ ๖๐

๑. การบรรยายพิเศษเรือ่ ง "Hungary in Global Diplomacy and the Future of Europe" ๒. สัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมฮังการี (Hungarian Arts and Culture Week) ๓.งานบรรยายพิเศษ ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูต สโลวักประจาประเทศไทย ๔. งานบรรยายพิเศษ ร่วมกับสถาน เอกอัครราชทูตไอร์แลนด์ประจาประเทศไทย ๕.สัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมโปแลนด์ (Polish Arts and Culture Week) ๖.โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติเรื่อง นวัตกรรมและเทคโนโลยี ร่วมกับ Chulalongkorn University Innovation Hub ๗. โครงการทุนการศึกษา ‘Erasmus Mundus Action 2: Swap and Transfer (SAT)’ และ โครงการ Erasmus+ ๘. การประสานงาน/ความร่วมมือกับหน่วยงาน ภายนอก

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กิจกรรมด้ำนงำนวิจัย

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๓๓


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประกำศกำรให้ทุนสนับสนุนงำนวิจัยขนำดเล็ก ประจำปี ๒๕๕๙ ฝ่ายวิจั ย ศูน ย์ยุ โ รปศึกษาแห่ งจุ ฬาฯ จัดทาประชาสั มพันธ์ประกาศให้ ทุนสนับสนุนโครงการวิจัย ประจาปี ๒๕๕๙ โดยให้ทุนโครงการวิจัยไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ – ๖๐,๐๐๐ บาท ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่วิจัยได้เผยแพร่ ประกาศให้ทุนสนับสนุนโครงการวิจัยดังกล่าวให้แก่อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ใน กระทรวง ทบวง กรมต่า งๆที่ มีความสนใจในการวิจัย เกี่ยวกับประเด็นปัญ หาต่ างๆ ที่น่า สนใจทั้งในด้า น สาขาวิชาสั งคมศาสตร์ มนุ ษยศาสตร์ รัฐ ศาสตร์ นิติศาสตร์ ฯลฯ ซึ่งจะเกี่ยวกับยุโ รปศึกษาโดยตรง หรือ ความสัมพันธ์ในด้านต่างๆระหว่างยุโรปและเอเชีย ผ่านทางเว็บไซต์ของศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาฯ โดยมี นักวิจัยส่งข้อเสนอโครงร่างงานวิจัยเข้ามาในประเด็นต่างๆ และได้รับการอนุมัติ จานวน ๓ หัวข้อ ดังนี้ คือ  โครงร่างงานวิจัยเรื่อง “The Expectations Hypothesis of the Term Structure of Interest Rates in the Eurozone: Does Geography Matter? " โดย ดร. บุญเลิศ จิตรมณี โรจน์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย ๓ ท่าน ได้แก่ ผศ.ดร. จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ผศ.ดร. ณัฐนันท์ คุณมาศ คณะรั ฐ ศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และ อาจารย์ ส าธิ น สุ น ทรพั น ธุ์ ผู้ อ านวยการ สถาบันการศึกษานานาชาติ มหาวิทยาลัยรามคาแหง  โครงร่างงานวิจัยเรื่อง “กำรดำเนินนโยบำยบูรณำกำรผู้ย้ำยถิ่นของสหภำพยุโรป : บทเรียนต่ อ อำเซียน " โดย ดร. โกสุม สายจันทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ข้อเสนอโครงการวิจัย ๓ ท่าน ได้แก่ ผศ.ดร. จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ผศ.ดร. ณัฐ นั น ท์ คุณ มาศ คณะรั ฐ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิท ยาลั ย และ อาจารย์ส าธิน สุ นทร พันธุ์ ผู้อานวยการสถาบันการศึกษานานาชาติ มหาวิทยาลัยรามคาแหง  โครงร่างงานวิจัยเรื่อง “คนไร้รัฐชำวโรฮิงญำ กำรเดินทำงแสดวงหำกำรปกป้องคุ้มครองในประเทศ สวีเดน ท่ำมกลำงกระแสต่อต้ำนผู้ลี้ภัยและเกลียดกลัวอิสลำมในยุโรป” โดย คุณวิภาวดี พันธุ์ยาง น้อย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย ๓ ท่าน ได้แก่ ผศ.ดร. จาริต ติงศ ภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ผศ.ดร. ณัฐนันท์ คุณมาศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ อาจารย์สาธิน สุนทรพันธุ์ ผู้อานวยการสถาบันการศึกษานานาชาติ มหาวิทยาลัย รามคาแหง

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๓๔


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กำรประสำนงำนและติ ดตำมควำมคืบหน้ำ โครงกำรวิจัยอยู่ใ นขั้น ตอนกำรดำเนินงำนและกำรติดตำม รำยงำนวิจัยฉบับสมบูรณ์เพื่อนำเสนอผลงำนวิจัย  ติดตามรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “The EU’s Trade and Development Policy as an Aspect of Inter-Regional Relations with ASEAN: a Case of Well-Being” โดย อาจารย์ พงษ์เทพ ประสพโชคชัย ความคืบหน้าการวิจัย อยู่ในขั้นตอนปรับปรุงงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และส่ง ให้คณะกรรมการพิจารณาต่อไป ก่อนนาไปสู่การนาเสนอผลงานวิจัย  ติดตามรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “ควำมคิดรวบยอดและบทบำทภำคประชำสังคมในกำร ขับเคลื่อนนโยบำยอำหำรปลอดภัย” โดย คุณสุมนมาลย์ สิงหะ ความคืบหน้าการวิจัย อยู่ในขั้นตอน ติดตามงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เพื่อส่งให้คณะกรรมการพิจารณา  ติดตามรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “กำรอพยพย้ำยถิ่นและกฎหมำย: กำรเข้ำสู่กำรค้ำบริกำร ทำงเพศ กำรต่อรองในชีวิตประจำวันและประสบกำรณ์ชีวิตของกลุ่มผู้ หญิง คนข้ำมเพศและคน แปลงเพศชำวไทยในประเทศเนเธอร์แลนด์ ” โดย คุณบุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุลและอาจารย์จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ ได้รับการอนุมัติและดาเนินการทาสัญญาจ้างโครงการวิจัยช่วงปลายปี ๒๕๕๗ ความ คืบหน้าการวิจัย อยู่ในขั้นตอนปรับปรุงไปสู่ตัวรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เพื่อส่งให้คณะกรรมการ ประเมิน ก่อนนาไปสู่การนาเสนอผลงานวิจัย

กิจกรรมนำเสนอผลงำนวิจัยประจำปี (Research Seminar No.12) ฝ่ายวิจัย ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาฯ จัดงานสัมมนานาเสนอผลงานวิจัยของนักวิจัยที่ศูนย์ยุโรปศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้เงินทุนสนับสนุนการประจาปีพ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๕๙ ครั้งที่ ๑๒ (Research Seminar No.12) เรื่อง “อัตลักษณ์ทำงกำรแข่งขันประเทศเอสโตเนีย ค.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๑๑” โดย อำจำรย์ สมพงค์ พรมสะอำด จากคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อวันอังคารที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. ณ ห้องประชุม DPAK C.JAIN อาคารศศนิเวศน์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิท ยาลั ย โดยได้รั บ เกีย รติจ าก ดร.วีระชัย เตชะวิจิ ตร์ กงสุ ล กิตติมศั กดิ์แห่ งสาธารณรั ฐ เอสโตเนียประจาประเทศไทย เป็นผู้กล่าวเปิดและปิดการบรรยาย ตลอดจนยังให้มุมมองที่เป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนางานวิจัยนี้อีกประการหนึ่งด้วย มีผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งสิ้น ๑๕ คน

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๓๕


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภำระงำนอื่นๆ  ประสานงานกับกระทรวงการต่างประเทศ เรื่องการจัดนิทรรศการครบรอบ ๒๐ ปี การประชุม ASEM เมื่อวันอังคารที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ TK Park ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิล์ด และเขียนบทความ ร่วมกับนายอภิชัย กุญชรชัย เจ้าหน้าที่สิ่งพิมพ์ เรื่อง “ASEM: พลวัตรความร่วมมือพหุภาคี ความท้า ทาย และโอกาสในอนาคต” โดยตีพิมพ์ในจดหมายข่าวของศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๙)  จัดรายการวิทยุ จุฬาปริทรรศน์ ระหว่างเดือน เมษายน ถึง สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙  เข้าร่วมงานสัมมนาต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากรักษาการผู้อานวยการศูนย์ฯ ดังนี้ - การสัมมนาเรื่อง “South China Sea Current Issues and Future prospects” โดย คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันศุกร์ที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ห้อง ๒๐๗ คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - การสัมมนาเรื่อง “The OSCE A regional model of security and Cooperation” โดย กระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันอังคารที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุมนราธิปพงศ์ ประพันธ์ กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา - การสัมมนาเรื่อง “กาเนิดรัฐสมัยใหม่ กระบวนการสร้างรัฐในญี่ปุ่น ยุคเมจิ และสยาม ยุค ร.5” โดย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวัน อังคารที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ห้อง ๑๐๓ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - การสัมมนาเรื่อง “สามทศวรรษการทูตไทยบนเวทีพหุภาคี ผลสาเร็จ อุปสรรค ความท้าทาย” โดย คณะรั ฐ ศาสตร์ มหาวิท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ เมื่ อวั น พุ ธ ที่ ๑๕ มิ ถุน ายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ หอประชุมเล็กศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๓๖


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- การสั ม มนาเรื่ อ ง “จะอยู่ ห รื อ ไป Brexit

กั บ ชะตากรรมยุ โ รป”

๓๗

โดย คณะรั ฐ ศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันพุธที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ห้อง ๑๐๒ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - การสั ม มนาเรื่ อ ง “Brexit

ผลกระทบต่ อ ไทยและอาเซี ย น”

โดย ศู น ย์ อาเซี ย นศึ ก ษา

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันศุกร์ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ห้องประกอบ หุตะสิงห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - การสัมมนาเรื่อง “ถนนสู่ทาเนียบขาว 2016 : ฮิลลารี่ คลินตัน V.S โดนัลด์ ทรัมป์” โดย คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ห้อง ๑๐๓ คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๓๘

แผนงำนระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๘ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๕๙ เดือน กิจกรรม

ปีงบประมำณ ๒๕๕๙ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๘ ๕๘ ๕๘ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙

๑. ประกาศการให้ทุนสนับสนุนงานวิจัย ปี ๒๕๕๙ ๒. การอนุมัติทุนสนับสนุนงานวิจัย ๒๕๕๘ (รายที่ ๑) ปัจจัยทางวัฒนธรรมกับ ความสาเร็จของนโยบายรัฐสวัสดิการใน ประเทศเดนมาร์ก-พ.ต.ต.ติรัช ตฤณเตชะ ๓. การอนุมัติทุนสนับสนุนงานวิจัย ๒๕๕๙ (รายที่ ๒) ”มาเฟียกับการพัฒนาเศรษฐกิจ: กรณีศึกษา มาเฟียนาโปลี” โดย ดร.ธานี ชัยวัฒน์ ๔. การจัดสัมมนานาเสนอผลงานวิจยั ”อัต ลักษณ์ทางการแข่งขันของประเทศ เอสโตเนีย” ๕. ติดตามรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรือ่ ง “The EU’s Trade and Development Policy as an Aspect of InterRegional Relations with ASEAN: a Case of Well-Being” จากอาจารย์พงษ์ เทพ ประสพโชคชัย ๗. ติดตามรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรือ่ ง “ควำมคิดรวบยอดและบทบำทภำคประชำ สังคมในกำรขับเคลื่อนนโยบำยอำหำร ปลอดภัย” จากคุณสุมนมาลย์ สิงหะ

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๓๙

งำนที่กำลังดำเนินกำรระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๙ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๐ เดือน กิจกรรม

ปีงบประมำณ ๒๕๖๐ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๙

๕๙

๕๙

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐ ๖๐

๑. ประกาศการให้ทุนสนับสนุนงานวิจัย ปี ๒๕๖๐ ๒. การอนุมัติทุนสนับสนุนงานวิจัย ๒๕๖๐ จานวน ๓ ทุน ๓. ประสานงานและติดตามความคืบหน้า งานวิจัยประจาปี ๒๕๕๙ ที่กาลังดาเนินการ

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กิจกรรมด้ำนสิ่งพิมพ์

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จดหมำยข่ำว  จดหมำยข่ำวปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๔ (ตุลำคม – ธันวำคม ๒๕๕๘)

ขณะนี้ ได้จัดส่งจดหมายข่าวไปยั งส่งโรงพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เตรียมพร้อมเพื่อจัดส่งเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แก่หน่วยงานต่างๆ เป็นที่เรียบร้อย ร่วมถึงจัดส่งจดหมายข่าวจานวน ๔๐๐ เล่ม ให้แก่สานักงาน การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานเพื่ อ ดาเนิ น การกระจายจดหมายข่ า งไปยั ง สถานศึ ก ษาต่ างๆ ทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และ ต่างจังหวัดที่อยู่ในสังกัดสพฐ. ต่อไป

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๑


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 จดหมำยข่ำวปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๑ (มกรำคม – มีนำคม ๒๕๕๙)

ขณะนี้ ได้จัดส่งจดหมายข่าวไปยั งส่งโรงพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เตรียมพร้อมเพื่อจัดส่งเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แก่หน่วยงานต่างๆ เป็นที่เรียบร้อย ร่วมถึงจัดส่งจดหมายข่าวจานวน ๔๐๐ เล่ม ให้แก่สานักงาน การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานเพื่ อ ดาเนิ น การกระจายจดหมายข่ า งไปยั ง สถานศึ ก ษาต่ างๆ ทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และ ต่างจังหวัดที่อยู่ในสังกัดสพฐ. ต่อไป

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๒


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 จดหมำยข่ำวปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒ (เมษำยน – มิถุนำยน ๒๕๕๙)

ขณะนี้ ได้จัดส่งจดหมายข่าวไปยั งส่งโรงพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เตรียมพร้อมเพื่อจัดส่งเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แก่หน่วยงานต่างๆ เป็นที่เรียบร้อย ร่วมถึงจัดส่งจดหมายข่าวจานวน ๔๐๐ เล่ม ให้แก่สานักงาน การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานเพื่ อ ดาเนิ น การกระจายจดหมายข่ า งไปยั ง สถานศึ ก ษาต่ างๆ ทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และ ต่างจังหวัดที่อยู่ในสังกัดสพฐ. ต่อไป

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๓


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 จดหมำยข่ำวปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๓ (กรกฎำคม – กันยำยน ๒๕๕๙) ตอนนี้อยู่ในขั้นตอนส่งโรงพิมพ์และพิสูจน์อักษร เมื่อแล้วเสร็จจะทาการจัดส่งเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ แก่หน่วยงานต่างๆ รวมถึงจัดส่ง จดหมายข่าวจานวน ๔๐๐ เล่ม ให้แก่สานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ ดาเนินการกระจายจดหมายข่างไปยังสถานศึกษาต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดที่อยู่ในสังกัดสพฐ. ต่อไป

วำรสำรยุโรปศึกษำ  วำรสำรยุโรปศึกษำ ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๑ (มกรำคม – มิถุนำยน ๒๕๕๗)

วารสารยุโรปศึกษา วารสารที่รวบรวมบทความจากนักวิชาการทรงคุณวุฒิที่มีชื่อเสียง และนิสิตที่มี ความสามารถ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ เป็นบรรณาธิการ ขณะนี้ได้เข้าส่งโรงพิมพ์และ ได้จัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่เรียบร้อยแล้ว โดยมีบทความดังต่อไปนี้ - ภาพลักษณ์การศึกษาของเด็กนักเรียนในประวัติศาสตร์โรมัน - สถาบันการศึกษาและการพัฒนาชนชั้นนา: กรณีโรงเรียนชั้นสูงฝรั่งเศส

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๔


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- The European Union: A Dumpy Global Military Power but a Giant International Civilian Authority - พรรคต่อต้านสหภาพยุโรป: ความท้าทายแห่งการบูรณาการ - สหภาพยุโรปกับบทบาทด้านความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม กรณีศึกษา: การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตกปี ๒๕๕๗ - บทเรียนจากสหภาพยุโรปสู่อาเซียน: ข้อเสนอด้านวิธีวิทยาการศึกษา และประสบการณ์ใน อดีต

 วำรสำรยุโรปศึกษำ ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๑ (มกรำคม – มิถุนำยน ๒๕๕๗)

วารสารยุโรปศึกษา วารสารที่รวบรวมบทความจากนักวิชาการทรงคุณวุฒิที่มีชื่อเสียง และนิสิตที่มี ความสามารถ โดยเล่มนี้ได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ เป็นบรรณาธิการพิเศษ ขณะนี้ได้เข้าส่งโรงพิมพ์และได้จัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่เรียบร้อยแล้ว โดยมีบทความดังต่อไปนี้ - สรรพวิทยาการจากฝรั่งเศส: ประสิทธิภาพ อานาจ และพระราชนิยมในแผ่นดินสมเด็จพระ นารายณ์ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๕


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- การเผยแพร่ ศาสนาคริ ส ต์นิกายโรมัน คาทอลิ คสู่ ชุ มชนจีน ”

๔๖

ในประวัติศ าสตร์ท้องถิ่ น

ฉะเชิงเทรา - ชีวิตและงานของเยเรเมียส ฟาน ฟลีต (Jeremias van Vliet) หรือ “วันวลิต” พ่อค้า ฮอลันดาในสยามคริสต์ศตวรรษที่ 17 - ฮอลันดาวาณิชย์: การค้าของดัชต์ในรัฐอยุธยา - นวัตกรรมทางทหารในสมัยกรุงศรีอยุธยาอันเป็นผลมาจากการติดต่อกับโปรตุเกส - สเวียตลานา อเล็กซิเยวิช และเรื่องเล่าจากโลกแห่งการสูญเสีย - การแปลเอกสารปฐมภูมิเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสเปน

 วำรสำรยุโรปศึกษำ ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๑ (มกรำคม – มิถุนำยน ๒๕๕๗)

วารสารยุโรปศึกษา วารสารที่รวบรวมบทความจากนักวิชาการทรงคุณวุฒิที่มีชื่อเสียง และนิสิตที่มี ความสามารถ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ เป็นบรรณาธิการ ขณะนี้กาลังตรวจทานใกล้ แล้วเสร็จ เมื่อการตรวจทานเสร็จสิ้น จะส่งโรงพิมพ์เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ต่อไป โดยมีบทความดังต่อไปนี้

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- “Does ASEAN-ization exist? : Assessing Social Constructivist Process through Europeanization” - บทบาทของเยอรมนีในวิกฤตเศรษฐกิจกรีซ: ผลกระทบต่อเสถียรภาพกลุ่มยูโรโซน” - “Increasing the Retirement Age: Can the Dutch Experience Be Applied to Thai Socio-Economic and Cultural Context?” - “ภาพลั ก ษณ์ ข องผู้ ห ญิ ง กั บ บทบาทสิ่ ง รองรั บ ความปรารถนาในวรรณกรรมโปรตุ เ กส: กรณีศึกษา Os Maias โดย Eça de Queiroz” - “Near East and the Nearer Brussles: Euro(h)ope possible ?” - “Noah, Peter Pan and the Sleeping Beauty (Europe – Identity Imagined)”

หนังสือโครงกำรพิเศษ  หนังสือ The First Austrian in Patani and Ayudhya (1624-1625) คริสตอฟ คำร์ล แฟร์นแบร์เกอร์ ชำวออสเตรียคนแรกในปตำนีและกรุงศรีอยุทธยำ (พ.ศ. ๒๑๖๗-๒๑๖๘) โดย รองศำสตรำจำรย์ ดร. เอลมุท ลูคัส

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๗


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หนังสือเล่มนี้มีวัตถุประสงค์ ในการแสดงให้เห็นถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสงครามระหว่าง กรุงศรีอยุธยาและอาณาจักรปตานี ดังนั้นการศึกษาบันทึกความทรงจาของแฟร์นแบร์เกอร์จึงมีความสาคัญ อย่างยิ่งต่อการทาความเข้าใจความเป็นมาและประวัติศาสตร์ระหว่างสยามกับดินแดนปตานีในอดีต รวมทั้งพล วัตรความเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลสืบเนื่องจนถึงปัจจุบัน ภายในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทแปลบันทึกการ เดินทางของแฟร์นแบร์เกอร์ช่วงที่พานักอยู่ ณ กรุงศรีอยุธยาและอาณาจักรปตานีระหว่างปีพ.ศ. ๒๑๖๗ – ๒๑๖๘ โดยแปลเป็นสามภาษา ได้แก่ ภาษาเยอรมัน (มาตรฐานสมัยใหม่) ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อม กับบทความวิเคราะห์ เรื่อง อาณาจักรอยุธยาและปตานี : บริบททางประวัติศาสตร์-การเมือง-วัฒนธรรม-และ เศรษฐกิจ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของรัฐปตานีที่มีต่ออยุธยา และเป็นปั จจัยให้ชาวต่างชาติเดินทางเข้าสู่ รัฐปตานี

 หนังสือ “ยุโรปหลังสงครำมโลกครั้งที่ ๒ (Europe after World War II)” โดย รองศำสตรำจำรย์วิมลวรรณ ภัทโรดม

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๘


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หนังสือยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ (Europe after World War II) มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นตารา เรียนในระดับอุดมศึกษาในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ร่วมสมัย และใช้เป็นเอกสารอ้างอิงสาหรับการเรียนการ สอนในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ให้แก่ผู้สนใจทั่วไป ภายในหนังสือเล่มนี้มีการอธิบายถึงการพัฒนากระบวนการรวมตัวของประเทศยุโรป รวม ไปถึงประวัติศาสตร์ในช่วงยุคสงครามเย็นจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ในการทาความเข้าใจกลุ่มประเทศ ในทวีปยุโรปเพิ่มมากขึ้น

 จุลสำร (Booklet) จำกงำนสัมมนำทำงวิชำกำร

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๔๙


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานสั มมนาทางวิช าการที่จั ดขึ้น ภายใต้การดาเนินการของศูนย์ยุโ รปศึกษาฯ มีวัตถุประสงค์เพื่ อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกลุ่มประเทศในยุโรป ทางฝ่ายสิ่งพิมพ์เล็งเห็นว่าสิ่งที่ผู้เข้าร่วมงานเสวนาต้องการ คือ เอกสารประกอบการเสวนาที่จัดทาในรูปแบบจุลสาร (Booklet) ซึ่งจะช่วยให้ผู้เข้าร่วมงานเสวนามีความเข้าใจ ต่อภาพรวมของงาน นอกจากนี้ ภายในตัวเล่ มได้มีการแทรกเกร็ดความรู้เพิ่มเติมให้กับผู้อ่าน ทั้งนี้ เนื้อหา ภายในเล่มจะเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุประสงค์ของงานนั้นๆ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ แก่ ผู้เข้าร่วมเสวนา

 เอกสำรข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ วิกฤติใบเหลือง อียู: ผลกระทบต่อประมงไทย (EU “Yellow Card” Crisis and it’s effect on Thai Fisheries)

ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้า หลักสูตรวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกิจการทางทะเล คณะอนุกรรมการจัดการความรู้เพื่อผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเล (อจชล.) และศูนย์บริหารจัดการความยั่งยืน สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ฯ จัดทา เอกสารข้อค้นพบและข้อเสนอแนะในประเด็น “วิกฤต ‘ใบเหลือง’ อียู: ผลกระทบต่อประมงไทย” อันเป็นส่วน Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หนึ่งของโครงการวิชาการเรื่อง “วิกฤต ‘ใบเหลือง’ อียู: ผลกระทบต่อประมงไทย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ รวบรวม วิเคราะห์รวมทั้งสังเคราะห์องค์ความรู้ ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่างๆ ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ของคณาจารย์และผู้ดาเนินโครงการฯ รวมทั้งผู้เข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นและงานประชุมวิชาการทุกท่าน อัน ได้แ ก่ ตัว แทนจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ นั ก วิช าการและผู้ เชี่ ยวชาญด้านการประมง ตัว แทนกลุ่ ม ประมง พาณิชย์/ประมงนอกน่านน้า ตัวแทนกลุ่มประมงพื้นบ้าน ตัวแทนกลุ่มผู้ผลิตสินค้าประมง ตัวแทนจากภาค ธุรกิจและองค์กรเอกชน (NGO) เป็นต้น โดยเอกสารฉบับนี้จะนาเสนอต่อสาธารณะชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาในประเด็นดังกล่าวต่อไป

 หนังสือวิจัยฉบับสมบูรณ์ : “อัตลักษณ์ทำงกำรแข่งขันประเทศเอสโตเนีย ค.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๑๑” โดย อำจำรย์ สมพงค์ พรมสะอำด หนังสือวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสามารถทางการแข่งขันในอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศของเอสโตเนียถือเป็นตัวแบบสาคัญให้แก่ประเทศกาลังพัฒนาทั้งหลายในการสร้างแบ รนด์และประชาสัมพันธ์ประเทศ ทั้งนี้จึงอาจพิจารณาได้ว่า เอสโตเนียนั้นเป็นชาติที่มีความน่าสนใจทั้งในแง่ของ กระบวนการสร้างชาติ การพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนการเร่ง เสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศให้ทัดเทียมกับมาตรฐานในระดับสากล เอสโตเนียยังถือเป็นชาติที่มี ระดับในการพัฒนาประเทศที่ก้าวหน้ามากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดารัฐต่างๆที่แยกตัวจากสหภาพโซเวียต ในช่วงเวลาเดียวกัน หนังสือรายงานวิจัยกาลังอยู่ในกระบวนการพิสูจน์อักษรและออกแบบปก เมื่อแล้วเสร็จจะ นาตีพิมพ์เผยแพร่ต่อไป

กำรจัดรำยกำรวิทยุจุฬำปริทัศน์ การจั ดรายการวิทยุ จุ ฬาปริทัศน์ เป็นการรายงานข่าวที่น่าสนใจรอบโลกโดยจะเน้นประเด็นด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม พร้อมกันนี้ได้มีการวิเคราะห์ถึงสถานการณ์รอบโลกที่อาจจะส่งผลกระทบต่อ ประเทศไทย วัต ถุป ระสงค์ในการจั ดรายการวิ ทยุจุ ฬาปริทัศ น์ เพื่ อให้ ผู้ ฟัง วิทยุ จุฬาสามารถติดตามความ เคลื่อนไหวของสถานการณ์รอบโลก และสามารถที่จะนาความรู้ที่ได้จากการรับฟังไปต่อยอดผ่านการศึกษา หรือในภาคส่วนธุรกิจสามารถที่จะนาข้อมูล ไปวิเคราะห์และจัดทาแผนรองรับสถานการณ์ในอนาคต โดย ออกอากาศผ่านวิทยุจุฬา (CU Radio) คลื่นความถี่ ๑๐๑.๕ Mhz ทุกวันอาทิตย์ของสัปดาห์ที่ ๔ ของทุกเดือน เวลา ๑๑.๓๐ – ๑๑.๕๕ น.

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๑


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๕๒

แผนงำนระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๘ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๕๙ เดือน กิจกรรม

ปีงบประมำณ ๒๕๕๙ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๘ ๕๘ ๕๘ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๕๙

๑. จดหมำยข่ำว ๒. วำรสำรยุโรปศึกษำ ๓. หนังสือโครงกำรพิเศษ - ยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ - Christoph Carl Fernberger:The First Austrian in Patani and Ayudhya (16241625) - Booklet งานสัมมนาทางวิชาการ - เอกสารวิกฤติใบเหลือง EU - ประวัติศาสตร์โปรตุเกส อาจารย์สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ๔. หนังสือจำกงำนวิจัย -Foreign Nationals crossing Borders: Thailand and Germany

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๕๓

งำนที่กำลังดำเนินกำรระหว่ำงตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๙ – กันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๐ เดือน กิจกรรม

ปีงบประมำณ ๒๕๖๐ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕๙

๕๙

๕๙

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐

๖๐ ๖๐

๑. จดหมำยข่ำว ๒. วำรสำรยุโรปศึกษำ ๓.. หนังสือโครงกำรพิเศษ - ยุโรป และประเด็น Brexit - เกร็ดการเสด็จประพาสสเปน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว (รัชกาลที่ ๕) - ประวัติศาสตร์โปรตุเกส อาจารย์สุธาชัย ยิ้ม ประเสริฐ - อีกฟากหนึ่งของยุโรป (ฉบับตีพิมพ์ใหม่) - Booklet งานสัมมนาทางวิชาการ ๔. หนังสือจำกงำนวิจัย - Foreign Nationals crossing Borders: Thailand and Germany - หนังสือวิจยั ฉบับสมบูรณ์ : “อัตลักษณ์ ทางการแข่งขันประเทศเอสโตเนีย ค.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๑๑”

หมำยเหตุสัญลักษณ์  เริ่มดาเนินการ  งานเสร็จสิ้น (หรือคาดว่าจะเสร็จสิ้น) ดาเนินการ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กิจกรรมด้ำนงำนบริหำร

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๔


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กิจกรรมฝ่ำยบริหำร  บุคลากร ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ไม่มีการลาออก หรือ รับเจ้าหน้าที่คนใหม่ เข้ามาปฏิบัติงานในศูนย์ยุโรปศึกษา

 โครงการตรวจสุขภาพ ฝ่ายบริหารได้คานึงถึงความสาคัญของคุณภาพชีวิตในการทางานของเจ้าหน้าที่ทุกคนจึงได้จัดโครงการ ตรวจสุขภาพประจาปี ๒๕๕๙ ในช่วงระหว่างเดือน มกราคม – เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ให้กับเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ซึ่งผลการตรวจพบว่าเจ้าหน้าที่ทุกคนมีสุขภาพที่ปกติและแข็งแรงดี

 กิจกรรมอื่นๆ เนื่องด้วยมหาวิทยาลัยกาหนดชี้แจง “กรอบแนวคิดการแปลงนโยบายสู่การปฎิบัติ ” การจัดทาแผนปฎิบัติ การประจาปี และงบประมาณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ในการนี้ นางสาวยุวดี อัศว พาณิชย์วงศ์ เลขานุการบริหาร และนางสาวมณฑนา จันทนะผลิน เจ้าหน้าที่บัญชีการเงิน ได้เป็นตัวแทนศูนย์ ยุโรปฯในการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ในวันจันทร์ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมอาคารสถาบัน ๓ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ พร้อมด้วยบุคลากรศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เข้าร่วมพิธีใส่ บาตร เนื่องในโอกาส ครบรอบ 99 ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวัน จันทร์ที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๗.๐๐ น. ณ เทวาลัย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๕


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชด าเนิ น มาเยี่ ย มชมนิ ท รรศการ "Hungarians Exploring the Orient" โดยมี H.E. Dr. Peter Jakab เอกอัครราชทูตฮังการีประจาประเทศ ไทย ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหารคณะ คณาจารย์ นิสิตและบุคคลากรมหาวิทยาลัย เฝ้ารับเสด็จฯ ในวัน จันทร์ที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ห้องสมุดสรรพศาสตร์ ตึกมหาจักรีสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนื่องในโอกาสที่นายโมฮัมมัด ฮามิด อันสารี รองประธานาธิบดีสาธารณรัฐอิ นเดีย เดินทางเยือนประเทศ ไทยอย่างเป็นทางการระหว่างวันที่ ๓-๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ ในการนี้ ศูนย์ อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับมอบหมายให้จัดปาฐกถาในวันพฤหัสบดีที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศูนย์อินเดียศึกษาฯได้ขอความร่วมมือจากศูนย์ยุโรปศึกษาฯในการส่ง บุคลากรศูนย์ยุโรปศึกษาฯไปช่วยปฏิบัติงานในวันดังกล่าว เนื่องด้วยฝ่ายบริหารศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในเรื่องการ พัฒนาบุคลากรในสายงานของศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เพื่อให้การทางานในหน้าที่นั้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิ ท ธิ ผ ลยิ่ ง ขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการปฏิ บั ติ ง านตามนโยบายของจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้นั้น จึงได้จัดทาโครงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อพัฒนาคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการทางานในองค์กร โดยผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๖


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้อานวยการศูนย์ พร้อมด้วยบุคลากรศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เข้าร่วมโครงการนี้ ในวันอังคารที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ จ.ราชบุรี

เนื่องในโอกาสที่ ศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะดารงตาแหน่งครบ กาหนดตามวาระในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ นั้น มหาวิทยาลัยจึงจัดงาน “อธิการบดีพบประชาคม” เพื่อนาเสนอผลการดาเนินงานที่ผ่านมา ในการนี้ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ พร้อม ด้วยบุคลากรศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้เข้าร่วมงานดังกล่า ว ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ พร้อมด้วยบุคลากรศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เข้าร่วมพิธีเปิด โครงการอุ ท ยานจามจุ รี ศรี จุ ฬ าฯ "จุ ฬ าฯ รั ก ษ์ โ ลก" เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ ในวันศุกร์ที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๒.๓๐ น. ณ บริเวณโถงชั้น ๑ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บุคลากรศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้เข้าร่วมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่ องการป้องกันอัคคีภัยและการซ้อม อัคคีภัย ประจาปี ๒๕๕๙ ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๔.๐๐ น. ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๗


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนื่องด้วยฝ่ายเครือข่ายนานาชาติ สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดการประชุมนานาชาติเชิงปฏิบัติการเรื่อง "Thai-German Cooperation - the Roles of German Political Foundations in Thailand" ในวันพุธที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๗.๓๐ น. ณ ห้อง ๑๐๕ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นั้น ในการนี้ ฝ่ายเครือข่ายนานาชาติฯ ได้ขอ ความร่วมมือจากศูนย์ยุโรปศึกษาฯในการส่ง บุคลากรศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้แก่ นางสาวยุวดี อัศวพาณิชย์วงศ์ เลขานุการบริหาร และนางสาวครองธรรม นีละไพจิตร เจ้าหน้าที่ประสานงานวิชาการ ไปช่วยปฏิบัติงานในวัน เวลาดังกล่าว

ผศ.ดร.จาริ ต ติงศภัทิย์ รั กษาการผู้อานวยการศูนย์ พร้อมด้วยบุคลากรศูนย์ยุโ รปศึกษาฯ ได้เข้าร่ว ม โครงการสัมมนาประสานพลังประชาคมจุฬาฯ เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ โดย ศ.ดร. บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันศุกร์ที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมต้อนรับ H.E. Dr. Peter Jakab เอกอัครราชทูตฮังการีประจาประเทศไทย และ Dr. David Gorombolyi ที่ปรึกษาและรองหัวหน้าคณะผู้แทน ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ ห้องรับรอง ชั้น ๒ อาคารจามจุรี ๔ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการนี้ รักษาการ ผู้อานวยการศูนย์ ได้มอบหมายให้ นางสาวยุวดี อัศวพาณิชย์วงศ์ เลขานุการบริหาร และนางสาวครองธรรม นี ละไพจิตร เจ้าหน้าที่ประสานงานวิชาการ เข้าร่วมแทน

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๘


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 การเข้าเยี่ยมเยียนศูนย์ ในวันจันทร์ที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๔.๐๐ น. Mr. Georges Rivalin, euronews Distribution representative in South East Asia ได้เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับรักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันศุกร์ที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. Prof. Kjell Arnold Eliassen, Director of the Centre for European and Asian Studies, BI Norwegian Business School ประเทศนอร์เวย์ ได้เข้าพบ เพื่อปรึกษาหารือกับรักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการที่ศูนย์ยุโรป ศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในวันศุกร์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๔.๐๐ น. Dr. Paolo Euron อาจารย์ภาควิชาภาษา ตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับรักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวัน อังคารที่

๑๕ ธัน วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๔.๐๐ น. รองศาสตราจารย์ ดร.สุรีย์พร พันพึ่ง

ผู้อานวยการสถาบั น วิจัย ประชากรและสั งคม มหาวิทยาลั ยมหิ ดล และคุณภัทราภรณ์ จึงเลิ ศศิริ นักวิจัย โครงการ “Transnational Migration in Transition: Transformative Characteristics of Temporary Mobility of People (EURA-NET)” ได้เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือและขอสัมภาษณ์รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับประเด็นการย้ายถิ่นระหว่างประเทศไทยและประเทศในทวีปยุโรปที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๕๙


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในวันจันทร์ที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐ น. ดร.ศราวุฒิ อารีย์ รองผู้อานวยการสูนย์มุสลิม ศึกษา สถาบันเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับรักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรป ศึกษาฯ เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันอังคารที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๐๐ น. Mr. Yekta Kamil NOYAN ที่ปรึกษา สถานทูตตุรกีประจาประเทศไทยเข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับรักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับ ความร่วมมือทางวิชาการที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ น. Prof. Janos JANY, Chair of the Institute of International Studies and Political Science, Pázmány Péter Catholic University ประเทศฮังการี เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับรักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับความร่วมมือทาง วิชาการที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในวันจันทร์ที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๓๐ น. Mr. Pawel BARTOSIK, Head of Asian Development, College of Europe ประเทศโปแลนด์เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับรักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการที่ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในวันอังคารที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ น. Mr. Muhadi Sugiono จาก Indonesian Community in European Studies, Universitas Gadjah Mada, Indonesia เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เกี่ยวกับความร่วมมือด้านยุโรปศึกษาระหว่างประเทศในแถบอาเซียน ในวันพุธที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๑.๓๐ น. คุณพงษ์เทพ ประสพโชคชัย ผู้รับ ทุนวิจัยจากศูนย์ฯ ขอเข้าพบรักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เพื่อขอสัมภาษณ์ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง กับงานวิจัย (เรื่อง The EU’s Trade and Development Policy as an aspect of Inter-regional relations with ASEAN: a case of well-being)

 ภารกิจผู้รักษาการผู้อานวยการศูนย์ยุโรปศึกษา สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เป็นอาจารย์พิเศษบรรยายรายวิชา Seminar in Environment, Development and Sustainability และ Doctoral Dissertation Seminar ในวันศุกร์ที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๗.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. ณ ห้องบรรยาย ๒๒๒ ชั้น ๒อาคารสถาบัน ๒ สถาบันวิจัย สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๑


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบั น ระหว่ า งประเทศเพื่ อการค้ า และการพัฒ นา ได้ เรี ย นเชิ ญ ผศ.ดร.จาริต ติ งศภั ทิ ย์ รั ก ษาการ ผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมพิธีเปิดและงานเลี้ยงรับรองอาหารเย็นโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ Regional Trade Policy Course for Asia and Pacific 2015 (RTPC 2015) ในวันจันทร์ที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๘.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. ณ ห้อง ๑๐๕ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับวิทยาลัยสหวิทยาการ โครงการหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเอเชียแปซิฟิกศึกษา ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา ในวันพุธที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุมสถาบันฯ อาคารโดมบริหาร ชั้น ๑ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สถานทูตออสเตรียประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในโอกาสวันครบรอบวันชาติของออสเตรีย ในวันจันทร์ที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ ห้อง Royal Ballroom โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเตล กรุงเทพฯ สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ร่วมรับรอง H.E.Mr.Peter Prugel เอกอัครราชทูตเยอรมนีประจาประเทศไทยและ คณะรวม 5 คน ในโอกาสเข้ารับตาแหน่งใหม่และหารือเกี่ยวกับการขยายกิจกรรมความร่วมมือระหว่างจุฬาฯ กับมหาวิทยาลัยในเยอรมนี ในวันอังคารที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๑.๐๐ น. ณ เรือนภะรตราชา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มูล นิ ธิโ ครงการตาราสั ง คมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ได้ เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รั กษาการ ผู้อานวยการศูนย์เข้าร่วมงานเสวนาและเปิดตัวหนังสือ “Studies in Thai and Southeast Asian Histories” โดย ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ในวันศุกร์ที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๕.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. ณ Viva & Aviv The River, River City กรุงเทพฯ ฝ่ายเครือข่ายนานาชาติ และ คณะกรรมการเครือข่ายโลกและภูมิภาคศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รั กษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่าง หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิตสาขาโลกศึกษา ในวันจันทร์ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ณ ห้องประชุม Dipak C. Jain ศศนิเวศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๒


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถานทูตเบลเยียมประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในโอกาสวันครบรอบวันชาติ ในวันจันทร์ที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ ห้อง Thonburi Ballroom โรงแรมมิลเลนเนียม ฮิลตัน กรุงเทพฯ สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ร่วมรับรอง Prof. Dr. Frank E.P. Dievernich, President และ Prof. Dr.-Ing. Kira Kastell, Vice President, Frankfurt University of Applied Sciences สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เพื่อหารือเกี่ยวกับการขยายกิจกรรมความร่วมมือ ในด้านต่างๆ ในวันอังคารที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๓๐ น. ณ เรือนภะรตราชา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม (USER) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร. จาริ ต ติง ศภั ทิย์ รั กษาการผู้ อานวยการศูนย์ เข้า ร่ว มเวที แลกเปลี่ ย นความรู้ เรื่ อง "การปรั บตั ว ต่ อสภาพ ภูมิอากาศในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า" ระหว่างวันที่ ๑๙ – ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมเชียงดาว ชั้น 3 โรงแรมดวงตะวัน จ.เชียงใหม่ โดยหน่วยวิจัยฯ เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ในฐานะหัวหน้าโครงการบูรณาการตลาดพลังงาน อาเซียน หรือ ASEAN Energy Market Integration (AEMI) ได้เข้าร่วมการประชุม AEMI Forum on "Energy security and connectivity: The Nordic and European Union Approaches" ระหว่างวันที่ ๒๔ – ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ Hotel Jen Tanglin ประเทศสิงคโปร์ ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานสัมมนาวิชาการนานาชาติในหัวข้อ "Viet Nam – Thailand cooperation for sustainable management of marine and resources in the ASEAN context" ในวันศุกร์ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ชั้น ๒๐ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย Konrad Adenauer Stiftung (KAS) ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมการประชุมเรื่อง "Challenges for Competition Policy on the Eve of the ASEAN-Economic Community: Lessons Learnt in Europe and Asia" ระหว่างวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน – ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ ประเทศสิงคโปร์

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๓


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มูล นิ ธิโ ครงการตาราสั ง คมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ได้ เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รั กษาการ ผู้อานวยการศูนย์เป็นวิทยากรงานสัมมนาวิชาการเรื่อง "ASEAN กับ EU/OAS: ความเหมือนและความต่าง-ข้อ พึงสาเหนียกจากเอเชีย และยุโรปกับลาตินอเมริกา" ในวันศุกร์ที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุม Auditorium C Asean ชั้น 10 อาคารไซเบอร์ เวิลด์ ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพฯ สถานทูตเบลเยียมประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเปิดนิทรรศการ "Belgium, Siam and World War One" ในวันศุกร์ที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๒.๓๐ น. ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ กรมศิลปากร กรุงเทพฯ ฝ่ายเครือข่ายนานาชาติ สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมประชุม หารือในประเด็น Think Tanks ในวัน อังคารที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม Dipak C. Jain ศศนิเวศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทูตเนเธอร์แลนด์ประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงาน "Dutch Movie Night" ในวันจันทร์ที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ สถานทูต เนเธอร์แลนด์ประจาประเทศไทย กรุงเทพฯ สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยผศ.ดร.เกรียงไกร บุญเลิศอุทัย รักษาการผู้อานวยการสานักบริหารวิรัชกิจฯ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมประชุมหารือเกี่ยวกับโครงการ ERASMUS MUNDUS: SWAP AND TRANSFER (SAT) ในวัน พฤหัสบดีที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ชั้น ๑๘ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทูตโปแลนด์ประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในโอกาสที่นายณัฐ และนางพ.วงเดือน ยนตรรักษ์ เข้ารับรางวัล the Decoration of Honour for "Meritorious for Polish Culture" ในวันจันทร์ที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ ห้อง Royal Ballroom โรงแรมแมนดาริน โอเรียลเต็ล กรุงเทพฯ สถาบั น ระหว่ า งประเทศเพื่ อการค้า และการพัฒ นา ได้ เรี ย นเชิ ญ ผศ.ดร.จาริต ติ งศภั ทิ ย์ รั ก ษาการ ผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงานสัมมนาเรื่อง "Post-2015 Development Agenda and Sustainable Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๔


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Development Goals (SDGs): Key Challenges and opportunities for the Group of 77" ในวัน อังคารที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ โรงแรมโนโวเทล สยามสแควร์ กรุงเทพฯ ฝ่ายพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ สานักบริหารวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมในพิธีเปิดนิทรรศการ “ทัศน์ ทัศน์ ทัศน์” ครั้งที่ ๔ ในวันจันทร์ที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๗.๐๐ น. ณ นิทรรศสถาน อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทูตเบลเยียมประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงาน "The First Thai-Belgian Alumni and Business Leaders Get Together" ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ the Belgian Residence กรุงเทพฯ สถานทูตอิตาลีประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงาน Thailand Philharmonic Orchestra 2015 "Thailand Meets Italy" ในวันเสาร์ที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๖.๐๐ น. ณ มหิดลสิทธาคาร (Prince Mahidol Hall) มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จ. นครปฐม หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาวิชายุโรปศึ กษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร. จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมและเป็นประธานในงานสัมมนาวิชาการนานาชาติ เรื่อง "2016-Asia-Pacific Graduate Research Workshop" ระหว่างวันที่ ๒๐-๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Stockholm Environment Institute (SEI) ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานประชุม SUMERNET 10th Anniversary Celebration and Annual Meeting 2016 ระหว่างวันที่ ๒๕ – ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ โรงแรมโนโวเทล สยามสแควร์ กรุงเทพฯ Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๕


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมรับรอง H.E.Mr. Francisco Vaz Patto เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ โปรตุเกสประจาประเทศไทย ในวันอังคารที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ เรือนภะรตราชา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมการประชุมเชิงวิชาการในหัวข้อ "ASEAN-Africa: Towards a Renewed Partnership" ในวัน ศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๗๐๒ ชั้น ๗ อาคารเฉลิมราช กุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับวิทยาลัยสหวิทยาการ โครงการหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเอเชียแปซิฟิกศึกษา ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมประชุมกรรมการโครงการ ในวันศุกร์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุมสถาบันฯ อาคารโดมบริหาร ชั้น ๑ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ได้รับมอบหมายจาก ผศ.ดร.ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิ ก ารบดี ในฐานะผู้ แ ทนจากจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ในการประสานงาน ASEAN-European Academic University Network (ASEA-UNINET) ให้เข้าร่วมประชุมเรื่อง “ASEA-UNINET Plenary Meeting 2016” ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ Bali Paragon Resort Hotel ประเทศ อินโดนีเซีย ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมการอภิปรายในหัวข้อ "The ASEAN Economic Community and A Regionalism of the Commons Alternative to Natural Resource Management" ในวันอังคารที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๓๐ –

๑๗.๐๐ น. ณ ห้ องประชุม ๗๐๒ ชั้น ๗ อาคารเฉลิ ม ราชกุม ารี ๖๐ พรรษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริ ต ติ งศภัทิย์ รั กษาการผู้ อานวยการศูนย์ เป็นอาจารย์พิเ ศษบรรยายรายวิช า Research Methodology in Environment, Development and Sustainability ในหัวข้อ “Issue in sustainability

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๖


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

research” ในวันพุธที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๗.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. ณ ห้องบรรยาย ๒๒๒ ชั้น ๒ อาคารสถาบัน ๒ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันนโยบายศึกษา ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมเสวนาเรื่อง "ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องออร์คิด 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ สถานทูตคูเวตประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในโอกาสวันครบรอบวันชาติ ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานเสวนาโต๊ะกลมเรื่อง “COP 21 ผลกระทบทางวิชาการ” ซึ่งสืบเนื่องมาจากการประชุมรัฐภาคี อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยที่ 21 หรือ Conference of Parties (COP21) ในวันจันทร์ที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๓๑๗ ชั้น ๔ อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมพิธีเปิดนิทรรศการ "โครงการครบรอบ ๒๐ ปีของการก่อตั้งกรอบการประชุมเอเชีย -ยุโรป (Asia-Europe Meeting - ASEM)" ในวันอังคารที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. ณ อุทยานการเรียนรู้ TK Park ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิล์ด ถนนพระราม 1 กรุงเทพฯ สถานทูตอิตาลีประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงาน 11th Edition of the Italian Festival in Thailand 2016 ชื่อการแสดง "ENRICO RAVA NEW QUARTET" ในวันอังคารที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๙.๐๐ น. ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานสัมมนาเรื่อง “Business Opportunities between Malaysia and Thailand” ในวันพุธที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๒.๓๐ น. ณ ห้อง Ballroom III, Ground Floor โรงแรมแชงกรี-ล่า กรุงเทพฯ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๗


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริ ต ติ งศภัทิย์ รั กษาการผู้ อานวยการศูนย์ เป็นอาจารย์พิเ ศษบรรยายรายวิช า Research Methodology in Environment, Development and Sustainability ในหัวข้อ “Global environment, development and sustainability research” ในวันพุธที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๗.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. ณ ห้องบรรยาย ๒๒๒ ชั้น ๒ อาคารสถาบัน ๒ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานเสวนาโต๊ะกลมเรื่อง “ทิศทางและการสร้างภาคีเพื่ออนาคต: ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมกับ การสร้างธรรมาภิบาล” ซึ่งสืบเนื่องมาจากการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศสมัยที่ 21 หรือ Conference of Parties (COP21) ในวันอังคารที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุม ๓๑๗ ชั้น ๔ อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานกงสุ ล ประเทศเอสโตเนี ย ประจ าประเทศไทย ได้ เ รี ยนเชิ ญ ผศ.ดร.จาริ ต ติ งศภั ทิ ย์ รัก ษาการ ผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงานเลี้ยงเนื่องในโอกาสวันครบรอบวันชาติ ในวันอังคารที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ ห้อง Auditorium โรงเรียนนานาชาติรีเจ้นท์ กรุงเทพฯ ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานเลี้ยงรับรองการประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ ADB – CU “Workshop on Cross-border E-commerce: Towards Seamless Connectivity” ในวันพุธที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. ณ อาคารเรือนไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรั กษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) และศูนย์วิชาการ Asian Water Academy (AWA) ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมการประชุม เชิงปฏิบัติการเรื่อง "Hydro Diplomacy: International water law and Regional Cooperation" ในวัน ศุกร์ที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๓๐ น. ณ IUCN Asia Regional Office สุขุมวิท ๓๙ กรุงเทพฯ สานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการ ผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมพิธีเปิดนิทรรศการ ๑๐๐ ภาพเขียนพฤกษชาติฝีมือ พันธุ์ศักดิ์ จักกะพาก ฉลอง

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๘


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๑๐๐ ปีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันอังคารที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๗.๐๐ น. ณ นิทรรศสถาน อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมพิธีประกาศเกียรติคุณ และยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้ได้รับรางวัล จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ย ประจาปี ๒๕๕๘ ในวันอังคารที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ศาลาพระเกี้ยว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมต้อนรับ Prof. Anne Anderson OBE, Vice Principal/Head, College of Social Sciences, University of Glasgow สหราชอาณาจักร และคณะ เพื่อหารือเกี่ยวกับความเป็นไปได้ ในการขยายกิจกรรมความร่วมมือ ในวันศุกร์ที่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๓๐ น. ณ ห้องประชุม สานักบริหารวิรัชกิจฯ ชั้น ๑๘ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมต้อนรับ Dr.Zsuzsanna Tarr, Head of External Relations Office, Szent István University และ Dr. Marcel Pop, Director of International Relations, Semmelweis Univeristy ประเทศฮังการี เพื่อหารือเกี่ยวกับการสร้างกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการ ในวันจันทร์ที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ ห้องประชุมสานักบริหารวิรัชกิจฯ ชั้น ๑๘ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทูตบังคลาเทศประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันประกาศอิสรภาพและวันชาติของบังคลาเทศ ในวันจันทร์ที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ น. ณ ห้องนภาลัย โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๙ ในวันพฤหัสบดีที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๒๐๙ อาคาร สถาบัน ๒ ชั้น ๒ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริ ต ติ งศภัทิย์ รั กษาการผู้ อานวยการศูนย์ เป็นอาจารย์พิเ ศษบรรยายรายวิช า Research Methodology in Environment, Development and Sustainability ในหัวข้อ “Global environment, Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๖๙


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

development and sustainability research” ในวันศุกร์ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๗.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. ณ ห้ อ งบรรยาย ๒๒๒ ชั้ น ๒ อาคารสถาบั น ๒ สถาบั น วิ จั ย สภาวะแวดล้ อ ม จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์กิตติคุณ สุริชัย หวันแก้ว ประธานคณะกรรมการเครือข่ายโลกและภูมิภาคศึกษา ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมประชุมหารือเกี่ยวกับแนวทางการดาเนินงาน จัดตั้งหลักสูตรโลกศึกษา (Global Studies) ในวันจันทร์ที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๖.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. ณ ห้ อ งประชุ ม ศู น ย์ ศึ ก ษาสั น ต ิภ าพและความขั ด แย้ ง ชั้ น ๑๖ อาคารเฉลิ ม ราชกุ ม ารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่ วมงานวั นคล้ายวัน สถาปนาสถาบันวิจัยสั งคม ครบรอบ ๔๒ ปี ในวันศุกร์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ บริ เ วณชั้ น ๕ อาคารวิ ศิ ษ ฐ์ ประจวบเหมาะ สถาบั น วิ จั ย สั ง คม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทูตโปแลนด์ประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันชาติ ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ รอยัลบอลรูม โรงแรมแมนดาริน โอเรียลเต็ล กรุงเทพฯ สหสาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม (TIP) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ. ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมเป็นกรรมการในการสอบสัมภาษณ์ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อ ในหลักสูตรฯ ประจาภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ในวันเสาร์ที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ณ ขั้น ๑๔ จามจุรีสแควร์ กรุงเทพฯ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ในฐานะหัวหน้าโครงการบูรณาการตลาดพลังงาน อาเซียน หรือ ASEAN Energy Market Integration (AEMI) ได้เข้าร่วมการประชุมเรื่อง ASEAN Power Grid Consultative Committee (APGCC) Meeting ระหว่างวันที่ ๒ – ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ Don Chan Palace กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๐


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมการเสวนาในหัวข้อ "จีนในอาเซียน (แผ่นดินใหญ่) China in Mainland ASEAN" ในวันพฤหัสบดี ที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ชั้น ๑๘ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันยุโรปในวันพฤหัสบดีที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. ณ ห้องเลิศวนาลัย โรงแรมสวิสโฮเต็ล ปาร์คนายเลิศ กรุงเทพฯ สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมต้อนรับ H.E.Mr. Francisco Vaz Patto เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ โปรตุเกสประจาประเทศไทย เพื่อลงนามสัญญาความร่วมมือระหว่างจุฬาฯ กับ The Camoes, Instituto da Cooperacao e da Lingua, I.P. สาธารณรัฐโปรตุเกส ในวันอังคารที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ชั้น ๑๘ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๑


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถานทูตเยอรมันประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในโอกาสที่ ศ.ดร.พรสรรค์ วัฒนางกูร เข้ารับเครื่องราชอิสริยาภรณ์จากสหพันธรัฐเยอรมนี ในวันพุธที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. ณ สถานทูตเยอรมันประจาประเทศไทย ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ในฐานะหัวหน้าโครงการบูรณาการตลาดพลังงาน อาเซียน หรือ ASEAN Energy Market Integration (AEMI) ได้เข้าร่วมการประชุม HAPUA-AEMI Workshop – Powering ASEAN: Can the Nordic Model Work? ระหว่างวันที่ ๒๔ – ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย

สถานทูตเบลเยียมประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมพิธีเปิดนิทรรศการศิลปะ “Round Angle” by Niki Kokkinos ในวันอังคารที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. ณ ARDEL’s Third Place Gallery ทองหล่อ ซ. ๑๐ กรุงเทพฯ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมโครงการสัมมนาประสานพลังผู้บริหารและ บุคลากรสายปฏิบัติการกลุ่มบริหารจัดการจุฬาฯเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ โดย ศ.ดร. บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันพุธที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๒.๓๐ – ๑๕.๐๐ ณ ห้องประชุม ๘๐๑ ชั้น ๘ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๙ ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๑.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๒๐๙ อาคารสถาบัน ๒ ชั้น ๒ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๒


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถานทูตลักเซมเบิร์กประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันชาติ ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. ณ โรงแรมแมนดาริน โอเรียลเต็ล กรุงเทพฯ รายการข่ า วภาคค่ า สถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ก องทั พ บกช่ อ ง ๕ ได้ ข อสั ม ภาษณ์ ผศ.ดร.จาริ ต ติ ง ศภั ทิ ย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ทางโทรศัพท์ในประเด็นที่สหราชอาณาจักรลงประชามติขอออกจากสหภาพยุโรป (BREXIT) ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๙.๐๐ น. สานักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมต้อนรับ H.E. Mr. Peter Prügel เอกอัครราชทูตสหพันธรัฐเยอรมนีประจา ประเทศไทย และผู้แทนจาก German Academic Exchange Service (DAAD) จานวนรวม 4 คน เพื่อหารือ เกี่ย วกับ ความเป็ น ไปได้ในการขยายกิจ กรรมความร่ว มมือ ในวัน ศุกร์ ที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. ณ ห้องรับรอง ชั้น ๒ อาคารจามจุรี ๔ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายการวิทยุ จุฬา ได้ เรี ย นเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้ อานวยการศูนย์ ร่ว มสั มภาษณ์ใน รายการวิทยุในประเด็นที่สหราชอาณาจักรลงประชามติขอออกจากสหภาพยุโรป (BREXIT) ในวันศุกร์ที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ สถานีวิทยุจุฬา อาคารวิทยพัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายการสถานการณ์ข่าวรอบวัน ๒๐๑๖ สถานีข่าวโทรทัศน์ ๒๔ ชั่วโมง TNN24 ได้ขอสัมภาษณ์ ผศ.ดร.จา ริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ทางโทรศัพท์ในประเด็นที่สหราชอาณาจักรลงประชามติขอออกจาก สหภาพยุโรป (BREXIT) ในวันศุกร์ที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๐๐ น. ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมพิธีทาบุญเลี้ยงพระเนื่องในโอกาสครบรอบ ๒๐ ปีแห่งการก่อตั้งศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันอังคารที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ โถงชั้น ๑ อาคารเฉลิมราชสุดากีฬาสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานีข่าว CCTV (ภาคภาษาอังกฤษ) ได้ขอเข้ามาสัมภาษณ์ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ ในประเด็นที่สหราชอาณาจักรลงประชามติขอออกจากสหภาพยุโรป (BREXIT) ในวันพุธที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๓๐ น.

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๓


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมเป็นกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ของ นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต ในวันพฤหัสบดีที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๒๐๙ อาคารสถาบัน ๒ ชั้น ๒ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทูตอเมริกาประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันชาติ ในวันพฤหัสบดีที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. ณ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี กรุงเทพฯ สถานทูตฝรั่งเศสประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันชาติ ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. ณ โรงแรมโซฟิเทล โซ กรุงเทพฯ ตามที่คณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา สภานิติบัญญัติแห่ งชาติ โดยคณะอนุกรรมาธิการการ อุดมศึกษาและการอาชีวศึกษาได้พิจารณาศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการจัดอาณาบริเวณศึกษา (Area Study) พร้ อ มกั บ รวบรวมความเห็ น เพื่ อ เป็ น แนวทางในการขั บ เคลื่ อ นด้ า นการจั ด อาณาบริ เ วณศึ ก ษาของ สถาบันอุดมศึกษาให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน ฐานะหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณในการดาเนินการจัดอาณาบริเวณศึกษา (Area Study) จึงได้มีการจัดการ ประชุมหารือประเด็นความเห็นเกี่ยวกับการจัดอาณาบริเวณศึกษา (Area Study) เพื่อหารือข้อมูลและความ คืบหน้าในการดาเนินการในเรื่องต่างๆ ในการนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภัช ศุภชลาศัย ผู้อานวยการสถาบัน อาณาบริเวณศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นางสาวณัฏฏกัญญา จรุงศรี นักวิชาการประจาสถาบัน อาณาบริ เ วณศึ ก ษาแห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. สุ ท ธิ พั น ธ์ จิ ร าธิ วั ฒ น์ ประธาน กรรมการบริหารเครือข่ายจุฬาฯนานาชาติ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรัตน์ โหราชัยกุล รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าร่วมประชุมหารือด้วย ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทูตสวิสเซอร์แลนด์ประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติ งศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันชาติ ในวันจันทร์ที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. ณ ห้องเลิศวนาลัย โรงแรมสวิสโฮเต็ล ปาร์คนายเลิศ กรุงเทพฯ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๔


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมพิธีเปิดงานเสวนาประชาคมอาเซียนของรัฐสภา ครั้งที่ ๒ งานสัปดาห์จุฬาฯอาเซียน ครั้งที่ ๕ "ประชาคมอาเซียน ๒๐๒๕: ก้าวหน้าอย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน" ในวันอังคารที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐ น. และเรียนเชิญเป็นวิทยากรในหัวข้อ AEMI 2025: What's next? ในวันพุธที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ ห้ อ งประชุ ม ๘๐๑ ชั้ น ๘ อาคารเฉลิ ม ราชกุ ม ารี ๖๐ พรรษา จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานการแสดงดนตรี “The Royal Celebration Concert” ในวันพุธที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๒๐.๐๐ น. ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมการบรรยายพิเศษ หัวข้อ "Colombia in Asia" โดย Mr. Alfredo Ramos อธิบดีกรมเอเชีย แอฟริกา และโอเชียเนีย กระทรวงการต่างประเทศโคลอมเบีย ในวันพุธที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๑.๐๐ น. ณ ห้องนราธิป กระทรวงการต่างประเทศ ถ.ศรีอยุธยา กรมยุโรป กองสหภาพยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการ ผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงานสัมมนาภายใต้หัวข้อ "ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการทาประมงอย่างยั่งยืน" ในวัน พฤหัสบดีที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ โรงแรม โซ โซฟิเทล กรุงเทพฯ สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมงานสัมมนา เรื่อง "มรดกทางภูมิปัญญาการทูตไทยของพระองค์วรรณฯ" ใน วันจันทร์ที่ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องนราธิป กระทรวงการต่างประเทศ ถ.ศรีอยุธยา กรมยุโรป กองยุโรปตะวันออก กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการ ผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมการบรรยายเชิงเสวนา เรื่อง "บทบาทของตุรกีในไทย: กรณีพื้นที่ในจังหวัดชายแดน ภาคใต้และนัยต่อความมั่นคงของไทย" ในวันอังคารที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุมกรมยุโรป ชั้น ๓ กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา Stockholm Environment Institute (SEI) ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมงานประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง SUMERNET Workshops on Communicating for Influence Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๕


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

and Gender Mainstreaming and Steering Committee Meeting on SUMERNET beyond Phase 3 ระหว่างวันที่ ๒๔ – ๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ Hotel Courtyard by Marriott ถ.ราชดาริ กรุงเทพฯ สถานทูตอิตาลีประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงาน Italian Festival in Thailand 2016: "Baroque Musike" ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๙.๐๐ น. ณ หอแสดงดนตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สหสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืน บัณฑิตวิท ยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียน เชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมประชุมกรรมการบริหารหลักสูตร ในวันจันทร์ ที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๑.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๒๐๙ อาคารสถาบัน ๒ ชั้น ๒ สถาบันวิจัย สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมยุโ รป กองยุ โรปกลาง กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการ ผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมการประชุม กาหนดท่าทีการดาเนินความร่วมมือกับกลุ่มประเทศยุโรปกลางและ ยุโรปเหนือ ในวันพุธที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๑.๓๐ น. ณ ห้องประชุม ๓ กระทรวงการ ต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา สถานทูตยูเครนประจาประเทศไทย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่วมงานเลี้ยงเนื่องในวันชาติ ในวันพฤหัสบดีที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๘.๓๐ – ๒๐.๓๐ น. ณ ห้อง บอลรูม โรงแรมคอนราด กรุงเทพฯ กรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้า ร่ ว มการประชุ ม ระดมความคิ ด เห็ น จากผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด าเนิ น งานของกรมยุ โ รป ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ โรง แรมเรเนซองส์ ราชประสงค์ กรุงเทพฯ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เข้าร่วมการประชุมสัมมนา เรื่อง "ASEAN-EU High Level Dialogue (HLD) on Maritime Security Cooperation ครั้งที่ ๓" ในวันศุกร์ที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. ณ โรงแรมอนันต รา สยาม กรุงเทพฯ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๖


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการ ศูนย์ เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ "India-Myanmar-Thailand Trilateral Relationship: Way Towards a Stronger ASEAN-India Partnership" และเรียนเชิญเป็นวิทยากรในหัวข้อ ดังกล่าว ในวัน พฤหัสบดีที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๓๐ น. ณ ห้องประชุม ๗๐๒ ชั้น ๗ อาคารเฉลิมราชกุมารี ๖๐ พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักความร่วมมือระหว่างประเทศและวิเทศสัมพันธ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เรียนเชิญ ผศ.ดร.จาริต ติงศภัทิย์ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ เป็นวิทยากรร่วมอภิปรายในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “Brexit: Opportunity for Science, Technology and Innovation (STI) Collaboration between Thailand-United Kingdom” ในวันอังคารที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ โรงแรมปทุมวัน ปริ้นเซส กรุงเทพฯ

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)

๗๗


รายงานประจาปี ๒๕๕๙ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๗๘

ศูนย์ยุโรปศึกษำแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย งำน/โครงกำร ศูนย์ยุโรปศึกษำ กรม สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำแห่งชำติ กระทรวงศึกษำธิกำร งบประมำณประจำปี ๒๕๕๙ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลำคม พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๓๐ กันยำยน พ.ศ. ๒๕๕๙ รำยได้ เงินงบประมาณแผ่นดิน

๒,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

รวมรำยได้

๒,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

รำยจ่ำย ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ เงินอุดหนุนโครงการวิจัย รวม รำยจ่ำย

๑,๕๗๐,๗๓๐.๐๐ ๗๓๓,๒๗๐.๐๐ ๑๙๖,๐๐๐.๐๐ ๒,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

Centre for European Studies at Chulalongkorn University (http://www.ces.in.th)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.